Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การวัดและประเมินผลในช่วงCovid PPT

การวัดและประเมินผลในช่วงCovid PPT

Published by Kru Nok, 2021-08-23 13:38:25

Description: การวัดและประเมินผลในช่วงCovid PPT

Search

Read the Text Version

วดั และประเมนิ ผลอย่างไร? ในช่วงสถานการณ์การแพร่ระบาดของเช้ือโรคติดต่อโคโรน่า2019 ดร.ชนาธิป ทุย้ แป สานักทดสอบทางการศกึ ษา สพฐ. สิงหาคม 2564 1

หลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน พุทธศกั ราช 2551 สอดคล้องกบั จดุ เนน้ หลกั สูตร สถานศกึ ษา ระเบียบการวัด ข้อตกลงรว่ มกนั และบรบิ ท สถานศึกษา และประเมนิ ผล ของบุคลากร ตามหลกั สูตร ในสถานศกึ ษา ของสถานศกึ ษา ของสถานศกึ ษา

องคป์ ระกอบสาคัญในการจัดการเรยี นรู้ในชน้ั เรียน O (Objective) เป้าหมาย สอดคล้อง สอดคล้อง L (Learning) สอดคล้อง E (Evaluation) การจดั การเรียนรู้ การวัดและประเมินผล

องค์ประกอบท่ี 1 เป้าหมายการเรยี นรู้ (Objective)

หลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐาน พทุ ธศักราช 2551 อยากใหเ้ ดก็ ไทยของเราเป็นอยา่ งไร ดงั นั้น เราตอ้ งวิเคราะหห์ ลกั สูตรสถานศกึ ษาใหพ้ ฒั นาเด็กใหบ้ รรลุเป้าหมายอยา่ งแทจ้ รงิ

สมรรถนะผเู้ รยี น 1 เป็นความสามารถของผู้เรียนท่ีประกอบไปด้วยความรู้ ทักษะกระบวนการ บุคลิกภาพส่วนตัว และแรงจูงใจ ที่มาประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติงานร่วมกัน 2 จนผลักดันให้ผลการปฏิบัติงานสาเร็จบรรลุตามเป้าหมาย หรือเกินกว่าเป้าหมาย ที่กาหนด 3

K “รู้วธิ ีการทกุ อย่าง...แต่ทาไมเ่ ป็น” สถานการณ์/ภารกจิ / ชิน้ งาน “ทาไปเร่ือย...แตไ่ ม่รู้วา่ ถูกรึเปลา่ ” สถานการณ/์ ภารกิจ/ P ชนิ้ งาน “ทาไมไ่ ด.้ ..แมใ้ จเราพรอ้ ม” สถานการณ์/ภารกจิ / A ชนิ้ งาน

การจัดการเรยี นรู้และการประเมนิ อิงสมรรถนะ (Competency based Learning and Evaluation) Objective Learning Evaluation สมรรถนะ การบริหาร การวดั และ ผา่ น พร้อม สะทอ้ น จดั การเรยี นรู้ ประเมนิ ผล K K สถานการณ์/ สมรรถนะ ภารกิจ/ชนิ้ งาน P P (Outcome) การวัดและ A A ประเมินผล มาตรฐาน มาตรฐาน และตัวชวี้ ัด และตวั ชีว้ ัด (Output)

ตวั อย่าง การวางแผนการพัฒนาและประเมนิ คุณภาพผ้เู รียนตามหลักสตู รฯ (ภายใต้สถานการณก์ ารแพร่ระบาดของเชื้อโรคตดิ ตอ่ โคโรนา่ 2019) การพัฒนา การประเมินผล คณุ ภาพผเู้ รียน ครผู สู้ อน ผปู้ กครอง ครผู สู้ อน ผ้ปู กครอง มาตรฐานและตวั ชี้วัด   การอา่ น คดิ วเิ คราะห์  และเขยี น  คณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์ สมรรถนะ  

หลักสตู รแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 กลมุ่ สาระการเรียนรู้ ตัวช้วี ัด1 กล่มุ สาระการเรยี นรู้ หลักสตู ร กล่มุ สาระการเรยี นรู้ มาตรฐาน1 ตวั ชี้วัด2 มาตรฐาน2 ตวั ชวี้ ัด3 สาระฯเพิ่มเติม มาตรฐาน3 ตวั ชี้วัด4 ผลการเรยี นรู้ ผลการเรียนรู้ ตัวชีว้ ดั และสาระการเรียนรูแ้ กนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้..... (ฉบับปรบั ปรงุ 2560) ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขัน้ พื้นฐาน พุทธศกั ราช 2551 10

มาตรฐานและตัวชี้วดั ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพน้ื ฐาน พุทธศักราช 2551 มาตรฐานและตวั ชี้วดั มาตรฐานและตวั ชี้วัดตอ้ งรู้ (Must be) มาตรฐานและตัวชีว้ ดั ควรรู้ (May be)

ลกั ษณะพฤตกิ รรมของมาตรฐานตัวชี้วัด ตวั ชีว้ ัด1 ความรู้ (knowledge: K) หรือพทุ ธพิ สิ ัย (Cognitive Domain) มาตรฐาน1 ตวั ชีว้ ดั 2 ทกั ษะกระบวนการ (process skill: P) หลกั สตู ร มาตรฐาน2 ตวั ชี้วัด3 หรือทกั ษะพิสยั (Psychomotor D.) มาตรฐาน3 ตวั ช้ีวดั 4 คณุ ลกั ษณะ (Attribute: A) หรอื จติ พิสยั (Affective Domain) 12

ตัวชว้ี ัด อา่ นออกเสียงบทร้อยแกว้ และบทรอ้ ยกรองได้ถกู ต้องเหมาะสมกับเรื่องทอ่ี า่ น สถานการณ์ หรอื บรบิ ทเนอ้ื หา คาสาคัญ (key word) หรือ พฤตกิ รรมทีน่ กั เรยี นแสดงออกมา ท 1.1 ม.1/1

มฐ. ท 1.1ใชก้ ระบวนการอา่ นสรา้ งความรแู้ ละความคดิ เพือ่ นาไปใช้ ตัดสินใจ แก้ปญั หาในการดาเนินชวี ติ และมีนสิ ยั รักการอ่าน  อ่านออกเสียงบทรอ้ ยแก้ว และบทรอ้ ยกรองได้ถูกต้อง เหมาะสมกบั เรื่องทอี่ ่าน Process & Skill  จบั ใจความสาคญั จากเรอื่ งที่อา่ น  ระบุเหตแุ ละผล และข้อเท็จจรงิ กบั ขอ้ คิดเหน็ จากเรื่องที่ อา่ น  .............. Knowledge  มมี ารยาทในการอ่าน Attribute 14

องค์ประกอบท่ี 2 การจัดการเรยี นรู้ (Learning)



มาตรฐานและตัวชีว้ ดั กับการออกแบบการเรียนรู้ เชือ่ มโยง/สอดคล้องกนั มาตรฐานและตัวชวี้ ัด ตามหลกั สตู รฯ จดุ ประสงค์ หนว่ ยที่ 1 หนว่ ยที่ 2 หนว่ ยที่ 3 หน่วยท.่ี .. เชงิ พฤตกิ รรม KPA KPA KPA

มาตรฐานและตวั ช้ีวัดกบั การออกแบบการเรียนรู้ รปู แบบท่ี 1 ตวั ชว้ี ดั ระบุใน จดุ ประสงค์เชงิ พฤติกรรม มาตรฐาน ท 1.1ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรู้และความคดิ เพ่อื นาไปใช้ตดั สนิ ใจ แก้ปัญหาในการดาเนินชวี ติ และมีนิสัย รักการอ่าน ตัวชวี้ ัด ท 1.1 ม.1/1อ่านออกเสียงบทร้อยแก้ว และบทร้อยกรองได้ถูกต้องเหมาะสมกับเร่ืองท่อี ่าน จุดประสงค์เชงิ พฤตกิ รรม 1. นักเรียนสามารถอ่านออกเสียงบทร้อยแก้ว และบทร้อยกรองได้ถูกต้องเหมาะสมกับเร่ืองท่อี ่าน (ท 1.1 ม.1/1)

มาตรฐานและตวั ชว้ี ดั กบั การออกแบบการเรียนรู้ จาแนกเปน็ จดุ ประสงค์เชงิ พฤตกิ รรม (ความร)ู้ จุดประสงค์เชงิ พฤตกิ รรม (ทกั ษะ) รปู แบบที่ 2 ตัวชี้วดั จุดประสงคเ์ ชงิ พฤติกรรม (คณุ ลักษณะ) มาตรฐาน มาตรฐาน ท 1.1ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรู้และความคดิ เพ่ือนาไปใช้ตัดสนิ ใจ แก้ปัญหาในการดาเนินชวี ติ และมี นิสัยรักการอ่าน ตัวชวี้ ดั ท 1.1 ม.1/1อ่านออกเสียงบทร้อยแก้ว และบทร้อยกรองได้ถกู ต้องเหมาะสมกับเร่ืองท่อี ่าน จุดประสงค์เชงิ พฤตกิ รรม 1. นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจเก่ียวกับบทร้อยแก้ว และบทร้อยกรอง (ความรู้) 2. นักเรียนสามารถอ่านออกเสียงได้ถกู ต้องตามหลักไวยกรณ์ (ทักษะ) 3. นักเรียนมีนิสัยรักการอ่าน (คุณลักษณะ)

มาตรฐานและตัวชว้ี ัดกับการออกแบบกิจกรรมการเรยี นรู้ เช่อื มโยง/สอดคลอ้ งกนั มาตรฐานและตวั ชวี้ ดั ตามหลักสูตรฯ จดุ ประสงค์ K หน่วยท่ี....... A เชิงพฤตกิ รรม P Normal บรรยาย ฝึกปฏิบตั ิ พฒั นาจาก ประสบการณ์จริง New การบ้าน การบรรยาย การเรยี นรู้ ฝกึ ปฏบิ ตั ิ ฝกึ ปฏบิ ตั ิ ปลูกฝังคุณลกั ษณะ Normal ใบงาน เน้ือหาแบบ แบบ On-air โดย จาก จากกิจกรรมใน แบบฝกึ หดั Online ผา่ น DLTV ชีวิตประจาวัน การสืบค้น ผู้ปกครอง Clip VDO โดย ผปู้ กครอง

Cone of Experience ที่มา : Edgar Dale (1969)

Cone of Experience ที่มา : Edgar Dale (1969)

รปู แบบการจัดการเรยี นการสอน (Instruction Model) Passive Learning Active Learning หาปลาให้เดก็ สอนวธิ ีหาปลาใหเ้ ดก็ กระบวนการเรียนรู้โดยการอ่าน ฟังบรรยาย โดยยดึ กระบวนการเรยี นรู้โดยการลงมอื กระทาและสร้างองค์ เนอ้ื หาจากตาราหรอื หนงั สือเป็นหลกั ความรดู้ ว้ ยตนเองจากสงิ่ ใกล้ตวั หรอื โลกแห่งความเป็น จรงิ ผ่านทางระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ ครูจะพยายามบรรยาย บอกทกุ สิง่ ทุกอยา่ งท่ีอยใู่ นตารา หรอื หนังสอื ครเู ปน็ ผูร้ ว่ มออกแบบกระบวนการเรยี นรู้ อานวยความ สะดวก และคอยใหค้ าแนะนาในการจัดกิจกรรมของ ผเู้ รียนจดบันทึกสง่ิ ที่ครบู รรยายแลว้ นาไปใชส้ อบวดั เกบ็ ผเู้ รยี น เป็นคะแนนความรู้ ผู้เรียนร่วมกับครอู อกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ เรยี นรแู้ ละ ยดึ ครูเป็นศนู ยก์ ลาง (Teacher-Centered) สร้างองค์ความรดู้ ว้ ยตนเองแล้วนาความรู้ทีไ่ ด้มา แลกเปลี่ยนเรยี นรู้กบั เพื่อนในหอ้ งเรยี น ยึดผ้เู รียนเป็นศนู ยก์ ลาง (Student-Centered)

Active Learning Problem-Based Learning Project-Based Learning Inquiry-Based Learning Discovery Learning STEM / STEAM

มาตรฐานและ Output ตัวช้ีวัด Outcomes (K P A) สะท้อน ประเมินแบบแยกส่วน (K P A) • ภาระงาน • โครงงาน • ชนิ้ งาน • รายงาน ประเมนิ แบบองคร์ วม สะทอ้ น สมรรถนะ (Competency)

องคป์ ระกอบท่ี 3 การวัดและประเมินผล (Evaluation)



แนวปฏิบตั ิในการวัดและประเมินผล ตามบทบาทของการวดั และประเมินผลในชั้นเรียน (ภายใตส้ ถานการณ์การแพรร่ ะบาดของเชอื้ โรคติดตอ่ โคโรนา่ 2019) การวัดและประเมนิ ผล การวัดและประเมินเพื่อการปรบั ปรุง ในชน้ั เรียน และพฒั นา (Classroom Assessment) (Formative Assessment) การวัดและประเมนิ ผลเพือ่ สรุปผล การเรยี นรู้ (Summative Assessment)

บทบาทของการวัดและประเมนิ ผลในระดับชั้นเรยี น มาตรฐานและตัวชวี้ ัด ตามหลกั สตู รฯ หนว่ ยที่ 1 หนว่ ยที่ 2 หน่วยที่.... หนว่ ยท่ี... บบฟฟ.5.3 การประเมนิ เพอื่ ปรบั ปรงุ สอบ สอบ สอบ สอบ และพฒั นา ทา้ ยหนว่ ย ทา้ ยหน่วย ท้ายหนว่ ย ทา้ ยหนว่ ย (Formative สอบกลางภาค/ปกี ารศกึ ษา สอบปลายภาค/ปีการศกึ ษา Assessment) การประเมินเพ่อื ตัดสินผล การเรยี น (Summative Assessment)

แนวปฏบิ ัติในการวัดและประเมินผลเพ่ือการปรบั ปรงุ และพัฒนา (Formative Assessment) • เปน็ การวดั และประเมนิ ผลเพือ่ ปรับปรุงและพัฒนาผู้เรียนรายมาตรฐานและตวั ชีว้ ดั ในแต่ละ หน่วยการเรียนรู้ โดยดาเนินการอยา่ งต่อเน่อื งตลอดภาคเรยี น/ปีการศึกษา • ครูผสู้ อนต้องวางแผนเก่ียวกบั วิธีการและเครือ่ งมือทีใ่ ช้ในการวัดและประเมินผลตามมาตรฐาน และตัวชวี้ ดั ในแต่ละหนว่ ยการเรียนรู้ โดยใชว้ ธิ กี ารประเมินผลท่ีหลากหลาย เชน่ ผา่ นการตรวจ การบา้ นหรอื แบบฝึกหดั การประเมินภาคปฏบิ ตั ิ การสัมภาษณ์ การซกั ถาม แฟ้มสะสมงาน ไม่ มุ่งเนน้ การทดสอบแต่เพียงอยา่ งเดียว • ในหน่วยการเรียนรทู้ ่ีมกี ารประเมนิ ภาคปฏบิ ัตคิ วรกาหนดสถานการณ์หรอื กิจกรรมที่เกีย่ วข้อง กับชวี ติ ประจาวนั ของผูเ้ รียน โดยกาหนดสอ่ื หรือวัสดอุ ุปกรณท์ ี่หาได้ง่ายและไม่เป็นการสร้าง ภาระให้แกผ่ ู้เรียน ซ่งึ รปู แบบการประเมนิ อาจตรวจสอบจากคลิปวดิ ีทัศน์การปฏิบัติงาน หรือ การตรวจสอบจากรูปภาพผลงาน ทผี่ ูเ้ รยี นสง่ มาผา่ นระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ • ครูผู้สอนอาจมีการประสานขอความร่วมมอื จากผู้ปกครองให้เข้ามามีส่วนร่วมในการประเมิน คุณภาพผ้เู รยี นในแต่ละหนว่ ยการเรียนรู้ โดยมีการเตรียมเครอ่ื งมือพร้อมคาช้ีแจงเกีย่ วกับ การประเมนิ ใหแ้ กผ่ ้ปู กครอง และสะทอ้ นผลการเรียนรู้ (Feedback) กลับไปยังครผู ้สู อน อย่างตอ่ เน่อื งในแต่ละหน่วยงานเรยี นรู้อีกด้วย

แนวปฏิบัติในการวัดและประเมนิ ผลเพอ่ื สรุปผลการเรยี นรู้ (Summative Assessment) • เป็นการวัดและประเมนิ คุณภาพผเู้ รียนเพื่อสรปุ ความคดิ รวบยอดของผู้เรยี นหลังจาก การเรยี นรมู้ าตลอดภาคเรียน/ปกี ารศกึ ษา ไดแ้ ก่ การสอบกลางภาค/ปี และการสอบ ปลายภาค/ปี • ครผู สู้ อนควรกาหนดกรอบในการวัดและประเมินผล โดยพจิ ารณาคัดเลือกมาตรฐานและ ตวั ชว้ี ัดสาคญั ที่สามารถสะท้อนความคิดรวบยอดของผู้เรยี นตลอดปกี ารศึกษา/ภาคเรียน • การวัดและประเมนิ ผลควรใชว้ ิธกี ารหรอื รูปแบบการทดสอบตา่ ง ๆ ทีเ่ หมาะสมกับจานวน และลักษณะธรรมชาติของผู้เรียน เชน่ การใชโ้ ปรแกรมทดสอบสาเรจ็ รปู ในการทดสอบแบบ ออนไลน์ทสี่ ะดวกและง่ายตอ่ การเขา้ ถึง หรอื การวัดและประเมนิ ดว้ ยแบบทดสอบท่ีให้ ผ้เู รียนทาการทดสอบที่บ้านของตนเอง (ไม่เนน้ การตอบแบบท่องจา แต่เป็นการตอบ เชงิ วเิ คราะหห์ รือเชอื่ มโยง หรอื บูรณาการองคค์ วามรตู้ ่างๆ) • ครผู สู้ อนควรนัดหมายผู้เรียนมาทาการทดสอบ และกาหนดช่วงเวลาในการทดสอบกบั ผ้เู รยี นล่วงหน้า หรอื การจัดสง่ ขอ้ สอบให้ผู้เรยี นทาทีบ่ า้ นแล้วจัดส่งกลบั คืนครผู ้สู อนผา่ น ช่างทางการส่ือสารต่าง ๆ เป็นตน้

การวัดและประเมินผลในช้นั เรยี น (Classroom Assessment) การประเมินเพอื่ การปรบั ปรุงและพัฒนา การประเมนิ เพอื่ สรุปผลการเรียนรู้ (Formative Assessment) (Summative Assessment) ตรวจสอบ บันทึกผล บันทึกผล การประเมินตวั ช้วี ัด คะแนนระหวา่ งปี + คะแนนปลายปี (ในแตล่ ะหนว่ ยการเรียนรู้) บันทึกผล บนั ทึกผล บนั ทึกผล ตัดสนิ ผล ตรวจสอบ แบบ ปพ.5 ความพร้อม แบบ ปพ.1 ตรวจสอบ ความพร้อม การทดสอบ O-NET

แนวปฏิบตั ใิ นการวัดและประเมนิ ผล ตามลกั ษณะของพฤตกิ รรมของผ้เู รียน (ภายใต้สถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของเช้ือโรคติดต่อโคโรนา่ 2019) การวัดและประเมนิ ผล ดา้ นความรู้ (Knowledge) ในชั้นเรยี น ด้านทกั ษะกระบวนการ (Process skill) (Classroom Assessment) ด้านคณุ ลักษณะ (Attribute)

แนวปฏิบตั ิในการประเมินผลด้านความรู้ (Knowledge) • การวดั และประเมินผลไมม่ ุ่งเนน้ การวัดด้วยข้อสอบแต่เพยี งอย่างเดยี ว อาจพิจารณาจาก การตรวจการบา้ น/แบบฝึกหัด การตรวจผลงาน/ชิน้ งาน การสอบถามหรอื การซกั ถาม นักเรยี น/ผ้ปู กครอง • ครูผู้สอนอาจประยกุ ตใ์ ช้โปรแกรมสาเร็จรูปมาใช้ในการวัดและประเมินผล โดยใหผ้ ู้เรยี น ทาการทดสอบทีบ่ ้านในรปู แบบออนไลน์ โดยในกรณีข้อสอบแบบเขยี นตอบ ครผู ้สู อนอาจ ให้ผู้เรยี นเขยี นคาตอบลงในกระดาษคาตอบแล้วจดั ส่งข้อมูลการทาข้อสอบมาให้ครูผู้สอน ผา่ นระบบเทคโนโลยีสารสนเทศตา่ ง ๆ • ครูผสู้ อนอาจมีการนดั หมายนกั เรียนมาทาการทาการทดสอบดว้ ยขอ้ สอบท่ีสถานศกึ ษา โดยมีการจดั ทาชุดขอ้ สอบตามมาตรฐานและตวั ช้วี ัด และมีการนัดหมายช่วงเวลาในการ ทดสอบกบั ผเู้ รียนลว่ งหนา้ โดยใหค้ านึงถงึ มาตรการการป้องการแพร่กระจายของเช้อื โรค อยา่ งเคร่งครัด • ครผู สู้ อนสามารถวดั พฤตกิ รรมด้านความรู้ของผู้เรียนผา่ นการนาเสนอคลปิ วิดโี อท่ีสะทอ้ น พฤตกิ รรมดา้ นความรู้ ทีน่ ักเรียนจดั สง่ มายังครผู ้สู อนผ่านระบบเทคโนโลยีต่าง ๆ ได้อีกดว้ ย

หลกั ในการสร้างขอ้ สอบตามมาตรฐานและตัวชีว้ ดั ตัวชีว้ ัด +พฤติกรรมทนี่ ักเรยี นแสดงออก บริบทเนื้อหา ขอ้ สอบ สอดคลอ้ ง สอดคลอ้ ง สถานการณ์ สอดคลอ้ ง ถามเกยี่ วกบั สถานการณ์ โจทยค์ าถาม สอดคล้อง คาตอบ

ตชว. บอกขัน้ ตอนในการทางานและปรบั ปรงุ การทางานแตล่ ะขั้นตอน พฤตกิ รรม บริบท/เนือ้ หา พฤตกิ รรม บริบท/เนือ้ หา 1. สถานการณ์ ครสู มศรกี ลับมาจากไปเท่ยี วตา่ งจงั หวัดหลายวนั เข้าไปในหอ้ งนัง่ เลน่ พบว่า เกา้ อ้มี ี ฝุ่นจับเยอะ โตะ๊ มีแต่ฝนุ่ ผง พ้นื ห้องก็เตม็ ไปดว้ ยเศษดิน บนฝา้ เพดานกม็ ีแตห่ ยากไย่ เตม็ ไปหมด วันนเ้ี ป็นวันหยดุ ครูสมศรีจงึ อยากจะทาความสะอาดห้องนั่งเลน่ 2. คาถาม ครสู มศรคี วรเรยี งลาดับสิ่งท่จี ะต้องทาความสะอาดตามข้อใด 3. คาตอบ 1) เกา้ อี้ โตะ๊ พ้ืนห้อง ฝ้าเพดาน 2) โต๊ะ พื้นหอ้ ง มา้ น่งั ฝา้ เพดาน 3) พนื้ ห้อง มา้ นงั่ โต๊ะ ฝา้ เพดาน 4) ฝ้าเพดาน โตะ๊ เกา้ อ้ี พ้นื หอ้ ง 36

ตชว. อภปิ รายแนวทางในการทางานและปรบั ปรงุ การทางานแต่ละขน้ั ตอน พฤตกิ รรม บริบท/เนือ้ หา พฤติกรรม บริบท/เนือ้ หา 1. สถานการณ์ ครูสมศรีกลบั มาจากไปเทย่ี วตา่ งจังหวัดหลายวัน เข้าไปในห้องน่งั เล่นพบวา่ เก้าอ้มี ี ฝ่นุ จบั เยอะ โตะ๊ มีแต่ฝนุ่ ผง พ้นื หอ้ งก็เตม็ ไปด้วยเศษดิน บนฝา้ เพดานก้อมแี ต่ หยากไย่เตม็ ไปหมด วนั นเ้ี ป็นวนั หยดุ ครสู มศรีจึงอยากจะทาความสะอาดหอ้ งนงั่ เล่น 2. คาถาม ถา้ ครูสมศรีเร่มิ ทาความสะอาดเกา้ อีด้ ้วยไม้ปดั ขนไก่ ตามด้วยใช้ ผ้าเชด็ โตะ๊ และใช้ไม้กวาดทางมะพร้าวกวาดพนื้ สดุ ท้ายใชไ้ ม้ กวาดดอกหญา้ ปดั หยากไย่บนเพดาน นักเรยี นคดิ วา่ การทาความ สะอาดหอ้ งนั่งเล่นของครสู มศรีถกู ตอ้ งหรือไม่อย่างไร 3. คาตอบ ไม่ถูกตอ้ ง 1)ครูสมศรเี รียงขัน้ ตอนการทาความสะอาดผดิ ควรเรม่ิ จากทาความ สะอาดฝ้าเพดาน ตามด้วยโต๊ะ เกา้ อี้ และพ้ืน 2)ใช้อปุ กรณผ์ ิด ควรใชไ้ มก้ วาดดอก หญ้ากวาดพ้ืน และควรใช้ไม้กวาดหยากไย่ทาความสะอาดฝา้ เพดาน 37

แนวปฏิบัติในการประเมนิ ดา้ นทักษะกระบวนการ (Process skill) • การวดั และประเมินผลใชก้ ารประเมนิ ภาคปฏิบัติเป็นหลัก โดยครผู ู้สอนควรกาหนด สถานการณห์ รือภารกจิ ให้นักเรียนปฏิบัติตามความสภาพความเปน็ จรงิ ในชวี ิตประจาวัน ของตนเอง โดยอาจประสานความรว่ มมอื กับผู้ปกครองในการจัดเตรียมอปุ กรณ์หรือสถานที่ • ครูผสู้ อนอาจประสานความร่วมมือจากผปู้ กครองรว่ มเป็นผ้ปู ระเมินทักษะกระบวนการของ นกั เรยี น โดยมีการเตรียมเครอ่ื งมือพร้อมคาชี้แจงเก่ียวกบั การประเมินให้แก่ผปู้ กครอง • นักเรยี นหรือผ้ปู กครองอาจถ่ายคลปิ วิดีโอการปฏบิ ัติของนักเรยี น หรือถา่ ยรูปภาพผลงาน หรอื บนั ทึกเสยี ง และจดั ส่งมายังครูผู้สอน โดยประสานขอความรว่ มมือจากผู้ปกครองใน การจัดส่งผา่ นระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ • ครูผู้สอนอาจไปตรวจเย่ยี มบ้านของผู้เรยี นเพ่ือประเมนิ และตรวจสอบความสามารถดา้ น ทกั ษะและการปฏบิ ัตงิ านของผู้เรยี น โดยใหค้ านึงถงึ มาตรการการปอ้ งการแพร่กระจายของ เช้อื โรคอยา่ งเคร่งครัด • ครูผสู้ อนอาจนัดหมายนกั เรียนกลุม่ เล็ก ๆ ให้ปฏบิ ัติงานที่สถานศกึ ษา หรือทบ่ี า้ นของ นักเรยี นคนในคนหน่ึง เพ่อื ครูผ้สู อนจะได้ทาการประเมนิ ทักษะการปฏบิ ัติงานของผู้เรยี นได้ โดยให้คานึงถงึ มาตรการการปอ้ งการแพรก่ ระจายของเชื้อโรคอย่างเคร่งครัด

การประเมนิ ภาคปฏิบตั ิ (Performance Assessment) มาตรฐานและตัวชวี้ ดั ตามหลักสูตรฯ การประเมนิ เพอ่ื ปรบั ปรุง หนว่ ยที่ 1 หน่วยที่ 2 หน่วยท่ี 3 หนว่ ยที่... และพฒั นา KPA KA K (Formative ช้ินงาน/ภารกจิ Formative ปบฟฟ.5.3 Assessment) Assessment การประเมิน สอบกลางภาค/ปกี ารศึกษา สอบปลายภาค/ปกี ารศึกษา ภาคปฏิบตั ิ การประเมนิ เพอื่ ตดั สินผล การเรียน (Summative Assessment)

ประเด็น/ ตวั อย่าง แบบเดมิ คณุ ลกั ษณะที่ 1 หนว่ ยการเรยี นรู้ ประเด็น/ (4 คะแนน) คณุ ลกั ษณะท่ี 3 ช้ินงาน/ภารกิจ Rubric (20 คะแนน) (2 คะแนน) ประเดน็ / Rubric คณุ ลักษณะที่ 2 (14 คะแนน) Rubric

ตัวชี้วดั ที่ 1 ตวั อยา่ ง แบบใหม่ (4 คะแนน) หน่วยการเรยี นรู้ ตวั ชวี้ ดั ท่ี 3 Rubric (2 คะแนน) ชนิ้ งาน/ภารกจิ (20 คะแนน) Rubric ตัวชี้วัดท่ี 2 (14 คะแนน) Rubric

แนวปฏิบตั ิในการประเมนิ ดา้ นคุณลักษณะ (Attribute) • การวดั และประเมนิ ผลใช้การสงั เกตและตรวจสอบพฤตกิ รรมเปน็ หลกั โดยครูผูส้ อนควร กาหนดสถานการณ์ตามความสภาพความเป็นจริงในชีวิตประจาวันของนักเรยี น โดย เครื่องมอื วดั และประเมินผู้เรียนต้องมีหลากหลาย เช่น แบบสัมภาษณ์ แบบสงั เกต แบบ ตรวจสอบรายการ และแบบประเมินตนเอง เป็นตน้ • ครูผู้สอนควรประสานขอความร่วมมอื กับผปู้ กครองในการประเมนิ พฤตกิ รรมของผู้เรียน ผา่ นการดาเนินชวี ติ ประจาวัน การทากิจกรรมทบ่ี า้ น การมอบหมายให้ปฏิบัตงิ าน เป็นตน้ โดยมกี ารเตรยี มเครอ่ื งมือพรอ้ มคาช้แี จงเก่ียวกับการประเมินใหแ้ ก่ผู้ปกครอง • ครูผู้สอนสามารถไปตรวจเยี่ยมบ้านของผู้เรียนเพ่ือประเมนิ และตรวจสอบคุณลกั ษณะของ ผเู้ รยี น โดยให้คานงึ ถงึ มาตรการการปอ้ งการแพรก่ ระจายของเช้ือโรคอย่างเคร่งครัด • ครผู ูส้ อนอาจนดั หมายนักเรียนกลุ่มเล็ก ๆ ให้มาทากิจกรรมทส่ี ถานศึกษา หรือท่ีบา้ นของ นกั เรยี นคนในคนหน่ึง เพือ่ ครผู สู้ อนจะได้ทาการประเมนิ คุณลักษณะของผู้เรียนได้ โดยให้ คานงึ ถึงมาตรการการปอ้ งการแพร่กระจายของเช้อื โรคอยา่ งเคร่งครดั

แบบสังเกต นสิ ยั รกั การอ่าน พฤติกรรมบง่ ชี้ ครั้งทส่ี ังเกต รวม 1 2 345 43 1. ใชเ้ วลาว่างในการหยิบจบั หนงั สอื ตา่ งๆ ถงึ แมย้ งั อ่านหนงั สอื ไมอ่ อก 2.ขอไปร้านหนังสอื เม่อื มีเวลาวา่ ง แลว้ ขอใหซ้ ้ือหนังสือ 3. ขออนญุ าตดูหรอื หยิบจบั หนงั สือท่ีร้าน ตามท่ีตนเองสนใจ 4. หยิบหนังสือด้วยความระมดั ระวงั และเกบ็ หนงั สือไวท้ ที่ ุกครงั้ เกณฑก์ ารตัดสิน ผา่ น คอื มีการแสดงพฤติกรรมมากกว่า 3 คร้ัง ในทกุ พฤตกิ รรมบง่ ช้ี

แบบมาตรประมาณคา่ (ตรวจสอบพฤตกิ รรม) นิสัยรักการอ่าน พฤติกรรมบ่งช้ี การปฏิบัติของนักเรยี น เป็นประจา บางครั้ง ไมเ่ คยทา 1. ใช้เวลาวา่ งในการหยบิ จับหนังสอื ต่างๆ ถึงแม้ยังอา่ นหนงั สอื ไม่ออก 2.ขอไปร้านหนังสอื เม่ือมีเวลาวา่ ง แล้วขอให้ ซื้อหนังสอื 3. ขออนุญาตดหู รือหยบิ จบั หนังสือท่ีรา้ น ตามที่ตนเองสนใจ 4. หยิบหนงั สอื ดว้ ยความระมัดระวัง และเก็บ หนังสือไว้ท่ีทกุ คร้งั เกณฑ์การตดั สิน ผา่ น คือ มกี ารแสดงพฤตกิ รรมบางครง้ั ขน้ึ ไป ในทุกพฤติกรรมบง่ ช44้ี

แบบมาตรประมาณคา่ (ตรวจสอบความคดิ เหน็ ) นสิ ยั รักการอ่าน รายการ เห็นด้วย ความคิดเห็นของนักเรยี น อยา่ งยิ่ง เหน็ ด้วย เฉยๆ ไม่เห็นดว้ ย ไมเ่ หน็ ดว้ ย 1. เวลาว่างนักเรยี นชอบหยบิ จบั หนังสอื ต่างๆ มาดู ถึงแมว้ า่ จะเขา้ ใจ อย่างย่งิ หรอื ไม่เข้าในเนื้อเร่ือง 2.นักเรยี นชอบไปท่รี ้านขายหนงั สือ 45 และซื้อหนังสือทกุ ครงั้ ทมี่ ีโอกาส 3. นักเรียนชอบซื้อขอดูหรอื หยบิ จบั หนังสือท่ีร้านตามทต่ี นเองสนใจ 4. นักเรยี นมกั หยบิ หนงั สอื ด้วยความ ระมดั ระวงั และเกบ็ เข้าทท่ี ุกครง้ั

ฝากโรงเรียนดาเนินการ

• ผูบ้ ริหารสถานศกึ ษา นิเทศ กากับ ตดิ ตามการออกแบบการเรยี นรู้ การจดั การเรยี นรู้ และการวัดและประเมนิ ผลของครูผสู้ อนให้มคี วาม สอดคลอ้ งกัน โดยมีมาตรฐานและตัวชวี้ ดั ของหลักสูตรเป็นตวั เชอื่ มโยง O (objective) มาตรฐานการเรียนรู้ สอดคล้อง สอดคล้อง L (Learning) สอดคล้อง E (Evaluation) การจัดการเรียนรู้องิ การประเมินองิ มาตรฐาน มาตรฐานการเรียนรู้

• ครูผู้สอนตอ้ งใหค้ วามสาคญั กับการประเมินเพอื่ ปรบั ปรุงและพฒั นา (Formative Assessment) โดยเฉพาะอย่างย่ิงการนาผลการประเมิน ใช้ในการพฒั นาคณุ ภาพผเู้ รียนแต่ละคนอย่างแท้จรงิ

ขอบคุณครับ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook