Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แก้ปัญหาเด็กก้าวร้าว

แก้ปัญหาเด็กก้าวร้าว

Published by Saowalakkobkuseekhiew, 2020-11-30 16:48:51

Description: เรื่องราวเกี่ยวกับการแก้ปัญหาเด็กก้าวร้าว

Search

Read the Text Version

60 วารสารพยาบาลสงขลานครนิ ทร์ ปที ี่ 35 ฉบับพเิ ศษ เดือนกันยายน - ธันวาคม 2558 บทความวิจยั ความสมั พนั ธ์ระหว่างพฒั นาการจริยธรรมและพฤติกรรม จริยธรรมกบั พฤติกรรมก้าวร้าวของนักเรียนระดบั ชนั้ มธั ยม ศึกษาตอนต้น จตุพร จนั ทรท์ พิ ยว์ าร*ี * กุลทตั หงสช์ ยางกรู *** พสิ มยั วฒั นสทิ ธิ ์**** บทคดั ย่อ การวจิ ยั ครงั้ น้มี วี ตั ถปุ ระสงคเ์ พอื่ ศกึ ษาความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งพฒั นาการจรยิ ธรรมและพฤตกิ รรม จรยิ ธรรมกบั พฤตกิ รรมกา้ วรา้ วของนกั เรยี นระดบั ชนั้ มธั ยมศกึ ษาตอนตน้ สมุ่ ตวั อยา่ งแบบแบง่ ชนั้ ไดก้ ลมุ่ ตวั อยา่ งเป็นนกั เรยี นระดบั ชนั้ มธั ยมศกึ ษาตอนตน้ โรงเรยี นสงั กดั สำ� นกั งานเขตพน้ื ทกี่ ารศกึ ษามธั ยมศกึ ษา จงั หวดั สรุ าษฎรธ์ านี อายุ 11-15 ปี จำ� นวน 470 ราย เกบ็ ขอ้ มลู โดยใชก้ ารสอบถามตามแบบสอบถาม ขอ้ มลู สว่ นบคุ คล แบบวดั พฒั นาการจรยิ ธรรม แบบวดั พฤตกิ รรมจรยิ ธรรม และแบบวดั พฤตกิ รรมกา้ วรา้ ว เครอื่ งมอื ตรวจสอบความตรงตามเน้ือหาโดยผทู้ รงคุณวุฒิ 3 ท่าน และทดสอบความเทยี่ งโดยใชส้ ตู ร สมั ประสทิ ธแิ์ อลฟาของครอนบาค ไดค้ า่ ความเทยี่ งของเครอื่ งมอื เทา่ กบั .81, .81, และ .87 ตามลำ� ดบั สถติ ทิ ใี่ ช้ คอื การแจกแจงความถี่ การหาคา่ รอ้ ยละ คา่ เฉลยี่ สว่ นเบยี่ งเบนมาตรฐาน การหาคะแนน มาตรฐานปกตจิ ากตำ� แหน่งเปอรเ์ ซนไทลส์ ำ� หรบั ขอ้ มลู ดา้ นพฤตกิ รรมกา้ วรา้ ว และวเิ คราะหค์ วามสมั พนั ธ์ ระหวา่ งพฒั นาการจรยิ ธรรมและพฤตกิ รรมจรยิ ธรรมกบั พฤตกิ รรมกา้ วรา้ วโดยใชส้ ถติ สิ หสมั พนั ธส์ เปียร์ แมน ผลการศกึ ษาพบวา่ พฒั นาการจรยิ ธรรมไมม่ คี วามสมั พนั ธก์ บั พฤตกิ รรมกา้ วรา้ ว (r = .09, p > .05) และพฤตกิ รรมจรยิ ธรรมไมม่ คี วามสมั พนั ธก์ บั พฤตกิ รรมกา้ วรา้ ว (r = -.06, p > .05) นอกจากน้ียงั พบ วา่ พฒั นาการจรยิ ธรรมมคี วามสมั พนั ธก์ บั พฤตกิ รรมจรยิ ธรรมอยา่ งมนี ยั สำ� คญั ทางสถติ ิ (r = .29, p < .01) ดงั นนั้ ควรมกี ารศกึ ษาปจั จยั อนื่ ทเี่ กยี่ วขอ้ งกบั พฤตกิ รรมกา้ วรา้ ว เพอื่ น�ำผลการศกึ ษาทไี่ ดไ้ ปพฒั นา ทกั ษะการตดั สนิ ใจเชงิ จรยิ ธรรม และพฤตกิ รรมจรยิ ธรรมของวยั รนุ่ และน�ำไปสกู่ ารพฒั นาแนวทางการ ชว่ ยเหลอื เพอื่ ป้องกนั ไมใ่ หว้ ยั รนุ่ เขา้ สกู่ ระบวนการของการเกดิ พฤตกิ รรมกา้ วรา้ ว คำ� สำ� คญั : พฤตกิ รรมกา้ วรา้ ว; พฒั นาการจรยิ ธรรม; พฤตกิ รรมจรยิ ธรรม; วยั รนุ่ * ไดร้ บั ทนุ อุดหนุนการวจิ ยั จากมหาวทิ ยาลยั สงขลานครนิ ทร์ ** นกั ศกึ ษาพยาบาลศาสตรมหาบณั ฑติ สาขาการพยาบาลเดก็ มหาวทิ ยาลยั สงขลานครนิ ทร์ จงั หวดั สงขลา *** ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ภาควชิ าการพยาบาลกุมารเวชศาสตร์ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั สงขลานครนิ ทร์ จงั หวดั สงขลา **** รองศาสตราจารย์ ภาควชิ าการพยาบาลกุมารเวชศาสตร์ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั สงขลานครนิ ทร์ จงั หวดั สงขลา

วารสารพยาบาลสงขลานครินทร์ 61 ปีท่ี 35 ฉบับพิเศษ เดือนกนั ยายน - ธนั วาคม 2558 ความสำ� คญั และที่มาของปัญหา พฤตกิ รรมกา้ วรา้ วในกลมุ่ วยั รนุ่ เป็นพฤตกิ รรมทท่ี วคี วามรนุ แรงเพม่ิ มากขน้ึ ทวั่ โลก (อมุ าพร, 2549; Mytton, Diguiseppi, Gough, Taylor, & Logan, 2009; WHO, 2002) ประเทศไทยพบวยั รนุ่ ใชค้ วาม รนุ แรง และพฤตกิ รรมกา้ วรา้ ว ในการแกไ้ ขปญั หาหลากหลายรปู แบบ (รตั โนทยั , 2551) รายงานภาวะสขุ ภาพนกั เรยี นอายุ 13–15 ปี ดา้ นความรนุ แรงและโดยไมเ่ จตนา พบนกั เรยี นรอ้ ยละ 33.3 ถกู ทำ� รา้ ยรา่ งกายจำ� นวน 1 ครงั้ หรอื มากกวา่ รอ้ ยละ 46.7 ไดร้ บั บาดเจบ็ รนุ แรงอยา่ งน้อยจำ� นวน 1 ครงั้ หรอื มากกวา่ (เพญ็ ศร,ี ศศวิ มิ ล, และปนดั ดา, 2553) พฤตกิ รรมกา้ วรา้ วสรา้ งความสญู เสยี ทงั้ ตอ่ ตวั เอง บคุ คลทเ่ี กย่ี วขอ้ ง ครอบครวั รวม ถงึ สงั คมโดยไมส่ ามารถประเมนิ คา่ ความเสยี หายได้ โดยผลกระทบตอ่ วยั รนุ่ นนั้ กอ่ ใหเ้ กดิ ปญั หาจติ ใจ หวาดระแวงและขาดความไวว้ างใจผอู้ น่ื เกดิ การบาดเจบ็ จนตอ้ งเขา้ รบั การรกั ษาในโรงพยาบาล ทพุ พลภาพ ส่งผลต่อความสามารถในด้านต่างๆ รวมทงั้ สูญเสยี โอกาสหลายอย่างในชวี ติ ทงั้ ด้านการศกึ ษา การ ประกอบอาชพี และอาจทำ� ใหเ้ กดิ การเสยี ชวี ติ กอ่ นวยั อนั ควรได้ (กฤตยา และปญุ ทร,ี 2552; อุมาพร, 2549) พฤตกิ รรมกา้ วรา้ วในกลมุ่ วยั รนุ่ เป็นปญั หาทไ่ี ดร้ บั ความสนใจจากผเู้ กย่ี วขอ้ งทกุ ๆ ดา้ น จงึ มงี าน วจิ ยั ทเ่ี กย่ี วกบั พฤตกิ รรมกา้ วรา้ วในกลุม่ วยั รนุ่ หลากหลายรปู แบบ ทงั้ กลมุ่ ทวั่ ไปทย่ี งั ไมเ่ คยมพี ฤตกิ รรม กา้ วรา้ วรนุ แรงและไมม่ ปี จั จยั เสย่ี งใดๆ กลมุ่ เสย่ี งทเ่ี น้นการลดปจั จยั เสย่ี ง และกลุม่ ทม่ี พี ฤตกิ รรมกา้ วรา้ ว เพอ่ื ลดพฤตกิ รรมกา้ วรา้ วไมใ่ หม้ คี วามรุนแรง การศกึ ษาทผ่ี า่ นมาสว่ นใหญ่เน้นแกไ้ ขพฤตกิ รรมกา้ วรา้ ว ในกลุ่มทก่ี ระทำ� ความผดิ และตอ้ งเขา้ รบั การอบรมในสถานพนิ ิจแลว้ ดว้ ยวธิ กี ารทห่ี ลากหลายทงั้ การให้ คำ� ปรกึ ษาเชงิ จติ วทิ ยา การเสรมิ แรงทางบวก การใชก้ ระบวนการกลุ่ม รวมถงึ การใชก้ ระบวนการทาง จรยิ ธรรม ดว้ ยการใชจ้ ติ บ�ำบดั ทเ่ี น้นการฝึกจติ และสมาธเิ ป็นตน้ การสงั เคราะหง์ านวจิ ยั เชงิ ทดลองใน กลมุ่ วยั รนุ่ ทม่ี พี ฤตกิ รรมกา้ วรา้ วพบวา่ การใหค้ ำ� ปรกึ ษาเชงิ จติ วทิ ยาเป็นวธิ ที ไ่ี ดร้ บั ความนิยมมากทส่ี ดุ เน่ืองจากเป็นวธิ กี ารทส่ี ามารถใชไ้ ดท้ งั้ ในระดบั บุคคล และระดบั ครอบครวั (นิตยา, 2550) อยา่ งไรกต็ าม การแกไ้ ขหรอื ปรบั เปลย่ี นพฤตกิ รรมในกลุม่ วยั รนุ่ ทม่ี พี ฤตกิ รรมกา้ วรา้ วแลว้ เพอ่ื สรา้ งพฤตกิ รรมใหมอ่ าจ เปลย่ี นแปลงไดย้ าก จำ� เป็นตอ้ งมคี วามตอ่ เน่อื งและใชร้ ะยะเวลานานเพยี งพอ ดงั นนั้ การแกป้ ญั หาพฤตกิ รรม กา้ วรา้ วทด่ี ที ส่ี ดุ คอื การป้องกนั ไมใ่ หเ้ กดิ พฤตกิ รรมกา้ วรา้ วมากกวา่ การแกป้ ญั หาภายหลงั เกดิ พฤตกิ รรม แลว้ (US Surgeon General Report on Youth Violence อา้ งตาม อุมาพร, 2549) การป้องกนั พฤตกิ รรม กา้ วรา้ วในกลมุ่ วยั รนุ่ มคี วามสำ� คญั เน่อื งจากชว่ ยใหว้ ยั รนุ่ มคี วามเขม้ แขง็ สามารถควบคมุ ตนเองจากสภาวะ ความตงึ เครยี ดทางอารมณ์ จากสภาพสงั คมทม่ี กี ารเปลย่ี นแปลงอยา่ งรวดเรว็ รวมทงั้ ปญั หาวกิ ฤตคา่ นยิ ม จรยิ ธรรมและพฤตกิ รรมทเ่ี ชอ่ื มโยงถงึ การดำ� เนนิ ชวี ติ และความประพฤติ วยั รนุ่ ทม่ี ปี ญั หาการปรบั ตวั หรอื ขาดการควบคมุ อารมณ์ อาจแสดงพฤตกิ รรมในลกั ษณะกา้ วรา้ วได้ การสง่ เสรมิ ใหว้ ยั รนุ่ มที กั ษะการคดิ และการใชเ้ หตุผลเชงิ จรยิ ธรรม จงึ เป็นทางเลอื กทด่ี ใี นการป้องกนั ไมใ่ หว้ ยั รนุ่ ใชพ้ ฤตกิ รรมกา้ วรา้ วในการ แกไ้ ขปญั หา (อุมาพร, 2549) การทบทวนวรรณกรรมทผ่ี า่ นมาพบวา่ มคี วามเชอ่ื มโยงของพฒั นาการดา้ นจรยิ ธรรม พฤตกิ รรม จรยิ ธรรมและพฤตกิ รรมก้าวรา้ ว (ดุจเดอื น, 2550) โดยวยั รุ่นเรยี นรูแ้ ละใชเ้ หตุผลเชงิ จรยิ ธรรมผ่าน สถานการณ์ทก่ี ำ� ลงั เผชญิ แลว้ แสดงออกมาในรปู แบบของพฤตกิ รรมต่างๆ รวมถงึ พฤตกิ รรมกา้ วรา้ วดว้ ย การมพี ฒั นาการดา้ นจรยิ ธรรมทด่ี จี ะทำ� ใหว้ ยั รนุ่ เชอ่ื มนั่ ในความสำ� คญั ของการกระทำ� ดี มที ศั นคตทิ ด่ี ตี อ่

62 วารสารพยาบาลสงขลานครนิ ทร์ ปีที่ 35 ฉบับพิเศษ เดือนกนั ยายน - ธนั วาคม 2558 การแสดงพฤตกิ รรมจรยิ ธรรมดา้ นตา่ ง ๆ มที กั ษะในการตดั สนิ ใจทด่ี ไี มย่ อมใหต้ นเองตกเขา้ ไปอยใู่ นเสน้ ทางแหง่ ความรนุ แรง เขา้ สกู่ ระบวนการของการกระทำ� ความผดิ หรอื มพี ฤตกิ รรมไมเ่ หมาะสม (วลิ าส ลกั ษณ์, 2552; อุมาพร, 2549) วยั รนุ่ กลมุ่ ท่ี มแี นวโน้มในการกระทำ� พฤตกิ รรมใดๆ ในลกั ษณะของความ กา้ วรา้ ว มกั มที ศั นคตเิ ชงิ บวกเกย่ี วกบั การแสดงพฤตกิ รรมในลกั ษณะทม่ี คี วามกา้ วรา้ ว และยงั เป็นกลมุ่ ท่ี ขาดจรยิ ธรรมในการดำ� เนินชวี ติ ดว้ ย (Hymel, Henderson, & Bonanno, 2005) การขาดจรยิ ธรรมทำ� ให้ วยั รนุ่ ไมส่ ามารถตดั สนิ ใจเลอื กความประพฤติ หรอื การแสดงออกเมอ่ื อยใู่ นสถานการณ์ตา่ งๆ ไดอ้ ยา่ ง เหมาะสม การศกึ ษาในตา่ งประเทศพบวา่ วยั รนุ่ ตอนตน้ ทไ่ี มใ่ หค้ วามสำ� คญั ในดา้ นจรยิ ธรรม จะมแี นวโน้ม กระทำ� พฤตกิ รรมกา้ วรา้ วได้ (Paciello, Fida, Tramontao, Lupinette, & Caprara, 2008) การมพี ฒั นาการดา้ นการใชเ้ หตุผลเชงิ จรยิ ธรรมทด่ี มี คี วามเกย่ี วขอ้ งกบั การแสดงพฤตกิ รรมใน ลกั ษณะต่าง ๆ ของวยั รนุ่ ทงั้ พฤตกิ รรมในเชงิ บวก เชน่ การมพี ฤตกิ รรมเชงิ จรยิ ธรรม และพฤตกิ รรมใน เชงิ ลบ เชน่ พฤตกิ รรมกา้ วรา้ ว การทบทวนวรรณกรรมทผ่ี า่ นมาในประเทศไทยพบวา่ มกี ารศกึ ษาเรอ่ื ง การใชเ้ หตุผลเชงิ จรยิ ธรรมในกลุม่ วยั รนุ่ แต่อยา่ งไรกต็ ามงานวจิ ยั ทต่ี พี มิ พเ์ ผยแพรย่ งั ไมป่ รากฏวา่ มกี าร ศกึ ษาถงึ ความสมั พนั ธข์ องพฒั นาการดา้ นจรยิ ธรรม และพฤตกิ รรมจรยิ ธรรมกบั พฤตกิ รรมกา้ วรา้ วในชว่ ง วยั รนุ่ ตอนตน้ ทงั้ ทว่ี ยั รนุ่ ตอนตน้ เป็นวยั ชว่ งตอ่ จากวยั เดก็ ตอนปลายเขา้ สวู่ ยั รนุ่ ทม่ี กี ารเปลย่ี นแปลงดา้ น อารมณ์และสตปิ ญั ญาเกดิ ขน้ึ อยา่ งรวดเรว็ เรม่ิ มคี วามคดิ แบบเป็นเหตุเป็นผล มคี วามคดิ แบบนามธรรม มากขน้ึ การป้องกนั ปญั หาพฤตกิ รรมกา้ วรา้ วในชว่ งน้ี จงึ มคี วามเหมาะสม และสามารถป้องกนั พฤตกิ รรม กา้ วรา้ วไดด้ กี ว่าช่วงวยั รุ่นอ่นื ทก่ี ารเปลย่ี นแปลงดา้ นอารมณ์มคี วามรุนแรงค่อนขา้ งมาก และมกั แสดง พฤตกิ รรมกา้ วรา้ วรา้ วออกมาในลกั ษณะทม่ี คี วามรนุ แรงมากกวา่ ดงั นนั้ การศกึ ษาและทำ� ความเขา้ ใจครงั้ น้ี ทำ� ใหไ้ ดข้ อ้ มลู พน้ื ฐานดา้ นพฒั นาการจรยิ ธรรม และพฤตกิ รรมจรยิ ธรรมทจ่ี ะน�ำไปสกู่ ารพฒั นาแนวทาง การชว่ ยเหลอื เพอ่ื ป้องกนั ไมใ่ หว้ ยั รนุ่ เขา้ สกู่ ระบวนการของการเกดิ พฤตกิ รรมกา้ วรา้ วในชว่ งวยั รนุ่ ตอน ตน้ โดยใชท้ ฤษฎพี ฒั นาการทางจรยิ ธรรมของโคลเบอรก์ (Kohlberg as cited in Dolph, & Lycan, 2008) แนวคดิ พฤตกิ รรมจรยิ ธรรมตามลกั ษณะจรยิ ธรรมในสงั คมไทย (การประชมุ ทางวชิ าการเกย่ี วกบั จรยิ ธรรม ในสงั คมไทย อา้ งตาม สวิ ล,ี 2548) และแนวคดิ พฤตกิ รรมกา้ วรา้ วเป็นกรอบแนวคดิ ในการวจิ ยั กรอบแนวคิดการวิจยั ในการศกึ ษาครงั้ น้ี ผวู้ จิ ยั ไดเ้ ชอ่ื มโยงทฤษฎพี ฒั นาการทางจรยิ ธรรมของโคลเบอรก์ (Kohlberg as cited in Dolph, & Lycan, 2008) แนวคดิ พฤตกิ รรมจรยิ ธรรมตามลกั ษณะจรยิ ธรรมในสงั คมไทย (การ ประชมุ ทางวชิ าการเกย่ี วกบั จรยิ ธรรมในสงั คมไทย อา้ งตาม สวิ ล,ี 2548) และแนวคดิ พฤตกิ รรมกา้ วรา้ ว ซง่ึ พฒั นาการจรยิ ธรรมและพฤตกิ รรมจรยิ ธรรมมคี วามสมั พนั ธก์ บั พฤตกิ รรมกา้ วรา้ ว โดยพฒั นาการจรยิ ธรรม เป็นการเปลย่ี นแปลงความสามารถเกย่ี วกบั การใชเ้ หตุผลเชงิ จรยิ ธรรมทบ่ี ุคคลใชใ้ นการตดั สนิ ใจเลอื ก กระทำ� พฤตกิ รรมอยา่ งใดอยา่ งหน่ึง การใชเ้ หตุผลเชงิ จรยิ ธรรมเป็นไปตามพฒั นาการทางดา้ นสตปิ ญั ญา และตามทส่ี งั คมนยิ มชมชอบ บคุ คลทม่ี พี ฒั นาการจรยิ ธรรมทด่ี สี ามารถใชเ้ หตผุ ลในการแกป้ ญั หาไดอ้ ยา่ ง ถกู ตอ้ ง มที กั ษะการตดั สนิ ใจ สามารถควบคมุ อารมณ์ และการแสดงออกของตนเองเมอ่ื อยใู่ นสถานการณ์ ทก่ี อ่ ใหเ้ กดิ ความขดั แยง้ ได้ มคี วามประพฤตแิ ละการปฏบิ ตั ทิ แ่ี สดงออกถงึ การมจี รยิ ธรรมทงั้ ทางดา้ นความคดิ คำ� พดู และการกระทำ� หรอื ไมแ่ สดงออกในลกั ษณะของพฤตกิ รรมทม่ี คี วามกา้ วรา้ ว ดงั น้ี 1. พฒั นาการจรยิ ธรรมตามแนวคดิ ของโคลเบอรก์ (Kohlberg, 1975 as cited in Dolph, & Lycan,

วารสารพยาบาลสงขลานครินทร์ 63 ปที ี่ 35 ฉบบั พิเศษ เดอื นกนั ยายน - ธันวาคม 2558 2008) เป็นการเปลย่ี นแปลงความสามารถในการใชเ้ หตุผลเชงิ จรยิ ธรรมตดั สนิ สถานการณ์ตา่ ง ๆ ก่อน เลอื กกระทำ� พฤตกิ รรม บุคคลเรยี นรกู้ ารใชเ้ หตุผลเชงิ จรยิ ธรรมผา่ นกระบวนการทางสงั คม ตามระดบั พฒั นาการในแตล่ ะชว่ งอายุ บุคคลทกุ คนจะตอ้ งผา่ นพฒั นาการเป็นขนั้ ตอน และเมอ่ื ผา่ นไปแลว้ กย็ ากท่ี จะกลบั คนื ขนั้ เดมิ ไดอ้ กี ในแต่ละระดบั ขนั้ พฒั นาการ ตงั้ แตก่ ารเชอ่ื ฟงั คำ� สงั่ และหลบหลกี การลงโทษ การ แสวงหารางวลั การทำ� ตามทผ่ี อู้ น่ื เหน็ ชอบ การกระทำ� ตามหน้าทท่ี างสงั คม การทำ� ตามคำ� มนั่ สญั ญา และ การยดึ อุดมคตสิ ากล ตามลำ� ดบั 2. พฤตกิ รรมจรยิ ธรรมเป็นความประพฤติ และการปฏบิ ตั ขิ องบคุ คลทแ่ี สดงออกถงึ การมจี รยิ ธรรม ทงั้ ดา้ นความคดิ คำ� พดู และการกระทำ� ทส่ี อดคลอ้ งกบั คา่ นิยมในสงั คม หรอื งดเวน้ การกระทำ� พฤตกิ รรม ทเ่ี ป็นการฝา่ ฝืนกฎเกณฑใ์ นสงั คมนนั้ โดยอยบู่ นพน้ื ฐานของจรยิ ธรรมตามลกั ษณะจรยิ ธรรมในสงั คมไทย ทงั้ 11 ดา้ น (สวิ ล,ี 2548) ประกอบดว้ ย ดา้ นความรบั ผดิ ชอบ ดา้ นความซ่อื สตั ย์ ดา้ นความมเี หตุผล ดา้ น ความกตญั ญกู ตเวที ดา้ นการรกั ษาระเบยี บวนิ ยั ดา้ นความเสยี สละ ดา้ นความสามคั คี ดา้ นความประหยดั ดา้ นความยตุ ธิ รรม ดา้ นความอุตสาหะและดา้ นความเมตตากรณุ า 3. พฤตกิ รรมกา้ วรา้ วเป็นความคดิ ความรสู้ กึ ทต่ี อ้ งการใชค้ วามรุนแรงจากภายในตนเองเพ่อื ตอบสนองตอ่ สงิ่ ทม่ี ากระตุน้ หรอื บคุ คลเป้าหมาย โดยการแสดงออกมาภายนอกอยา่ งเดน่ ชดั ใหผ้ อู้ น่ื รบั รู้ ในลกั ษณะของการกระทำ� ทงั้ ทางกาย และทางวาจา ตามแนวคดิ พฤตกิ รรมกา้ วรา้ วของบสั (Buss, 1961) ผลจากการกระทำ� กอ่ ใหเ้ กดิ อนั ตรายและความเสยี หายทงั้ ตอ่ ตวั เอง และบคุ คลอน่ื ทม่ี สี ว่ นเกย่ี วขอ้ งกบั การ แสดงพฤตกิ รรมกา้ วรา้ วนนั้ พฤตกิ รรมกา้ วรา้ ว ประกอบดว้ ย พฤตกิ รรมกา้ วรา้ วทางความคดิ พฤตกิ รรม กา้ วรา้ วทางกาย และพฤตกิ รรมกา้ วรา้ วทางวาจา วตั ถปุ ระสงคข์ องการวิจยั 1. เพอ่ื ศกึ ษาความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งพฒั นาการจรยิ ธรรมกบั พฤตกิ รรมกา้ วรา้ วของนกั เรยี นระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนตน้ 2. เพอ่ื ศกึ ษาความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งพฤตกิ รรมจรยิ ธรรมกบั พฤตกิ รรมกา้ วรา้ วของนกั เรยี นระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนตน้ สมมติฐานการวิจยั 1. พฒั นาการจรยิ ธรรมมคี วามสมั พนั ธท์ างลบกบั พฤตกิ รรมกา้ วรา้ วของนกั เรยี นระดบั มธั ยมศกึ ษา ตอนตน้ 2. พฤตกิ รรมจรยิ ธรรมมคี วามสมั พนั ธท์ างลบกบั พฤตกิ รรมกา้ วรา้ วของนกั เรยี นระดบั มธั ยมศกึ ษา ตอนตน้ วิธีการดำ� เนินการวิจยั การวจิ ยั ครงั้ น้ีเป็นการวจิ ยั แบบบรรยายเชงิ ความสมั พนั ธ์ (descriptive correlation research) เพอ่ื ศกึ ษาความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งพฒั นาการจรยิ ธรรมกบั พฤตกิ รรมกา้ วรา้ วของนกั เรยี นระดบั มธั ยมศกึ ษา ตอนตน้ และศกึ ษาความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งพฤตกิ รรมจรยิ ธรรมกบั พฤตกิ รรมกา้ วรา้ วของนกั เรยี นระดบั มธั ยม ศกึ ษาตอนตน้

64 วารสารพยาบาลสงขลานครินทร์ ปีที่ 35 ฉบบั พิเศษ เดอื นกนั ยายน - ธันวาคม 2558 กล่มุ ตวั อย่าง กลุม่ ตวั อยา่ งเป็นนกั เรยี นชายและหญงิ ระดบั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 1-ระดบั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 3ใน โรงเรยี นสงั กดั สำ� นกั งานเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษามธั ยมศกึ ษาสรุ าษฎรธ์ านี ปีการศกึ ษา 2555 (สำ� นกั งานเขต พน้ื ทก่ี ารศกึ ษามธั ยมศกึ ษา จงั หวดั สรุ าษฎรธ์ านี, 2555) อายุ 11-15 ปี ขนาดของกล่มุ ตวั อย่าง กำ� หนดขนาดของกลุม่ ตวั อยา่ งในการวจิ ยั ครงั้ น้ี โดยใชส้ ตู รการคำ� นวณหาขนาดกลุม่ ตวั อยา่ ง ของยามาเน่ (Yamane, 1973 อา้ งตามบญุ ใจ, 2553) ทร่ี ะดบั ความเชอ่ื มนั่ รอ้ ยละ 95 ไดก้ ลุม่ ตวั อยา่ งใน การศกึ ษาอยา่ งน้อย 393 ราย จาก 22 โรงเรยี น (สำ� นกั งานเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษามธั ยมศกึ ษา จงั หวดั สรุ าษฎรธ์ านี, 2555) วิธีการเลือกกล่มุ ตวั อย่าง กลมุ่ ตวั อยา่ งไดม้ าโดยการสมุ่ แบบแบง่ ชนั้ (stratified random sampling) โดยมขี นั้ ตอน ดงั น้ี 1. จำ� แนกโรงเรยี นในสงั กดั สำ� นกั งานเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษามธั ยมศกึ ษาสรุ าษฎรธ์ านี ออกเป็น 4 ขนาด โดยยดึ จำ� นวนนกั เรยี นเป็นเกณฑ์ องิ ตามเกณฑก์ ารแบ่งขนาดโรงเรยี นมธั ยมศกึ ษาของส�ำนกั งานคณะ กรรมการการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2549 คอื โรงเรยี นขนาดใหญ่พเิ ศษ จำ� นวน 2 โรงเรยี น, โรงเรยี นขนาดใหญ่ จำ� นวน 8 โรงเรยี น, โรงเรยี นขนาดกลาง จำ� นวน 18 โรงเรยี นและ, โรงเรยี นขนาดเลก็ จำ� นวน 16 โรงเรยี น จากนนั้ ผวู้ จิ ยั สมุ่ โรงเรยี นเพอ่ื เป็นกลุม่ ตวั อยา่ งในการศกึ ษา ดว้ ยวธิ กี ารสมุ่ อยา่ งงา่ ย (simple random sampling) โดยการจบั ฉลากแบบไมค่ นื มารอ้ ยละ 50 จากโรงเรยี นแตล่ ะขนาด เพอ่ื เป็น ตวั แทนของกลมุ่ ประชากร ไดโ้ รงเรยี นทเ่ี ป็นกลมุ่ ประชากร คอื โรงเรยี นขนาดใหญพ่ เิ ศษ จำ� นวน 1 โรงเรยี น, โรงเรยี นขนาดใหญ่ จำ� นวน 4 โรงเรยี น, โรงเรยี นขนาดกลาง จำ� นวน 9 โรงเรยี น, และโรงเรยี นขนาดเลก็ จำ� นวน 8 โรงเรยี น 2. คำ� นวณหาสดั สว่ นของกลมุ่ ตวั อยา่ งในแตล่ ะโรงเรยี น โดยใชส้ ตู รการคำ� นวณหาขนาดของกลมุ่ ตวั อยา่ งในแตล่ ะชนั้ โดยใชส้ ตู รการหาขนาดกลุม่ ตวั อยา่ งแบบแบง่ ชนั้ (สชุ าดา, 2542) เม่อื ทราบจ�ำนวนกลุ่มตวั อย่างในแต่ละโรงเรยี นแลว้ ผวู้ จิ ยั คดั เลอื กกลุ่มตวั อย่างทม่ี คี ุณสมบตั ิ ตามทก่ี ำ� หนดไว้ และสมคั รใจในการตอบแบบสอบถามจากแตล่ ะโรงเรยี นใหค้ รบตามจำ� นวนกลมุ่ ตวั อยา่ ง ท่ี ผวู้ จิ ยั คำ� นวณได้ และผวู้ จิ ยั มกี ารปรบั ขนาดของกลมุ่ ตวั อยา่ งเพอ่ื ลดปญั หาการตอบกลบั ของแบบสอบถาม ทไ่ี มส่ มบรู ณ์หรอื น้อยกวา่ ทก่ี ำ� หนด หรอื ในกรณที ข่ี อ้ มลู มกี ารสญู หาย (Missing data) ทส่ี ง่ ผลตอ่ การเกดิ อคตใิ นการเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู ดงั นนั้ ผวู้ จิ ยั จำ� เป็นตอ้ งปรบั เพมิ่ ขนาดของกลุม่ ตวั อยา่ งไดก้ ลมุ่ ตวั อยา่ งใน การศกึ ษาทงั้ หมด 470 ราย ซง่ึ มากกวา่ จำ� นวนกลุม่ ตวั อยา่ งทค่ี ำ� นวณได้ จำ� นวน 77 ราย ผวู้ จิ ยั จงึ ใชก้ ลมุ่ ตวั อยา่ งทงั้ หมดเป็นกลุม่ ตวั อยา่ งในการวจิ ยั เคร่อื งมอื ที่ใช้ในการวิจยั เป็นแบบสอบถาม ประกอบดว้ ย 1. แบบสอบถามขอ้ มลู สว่ นบุคคลของนกั เรยี นในระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนตน้ 2. แบบวดั พฒั นาการจรยิ ธรรม เป็นแบบวดั ทผ่ี วู้ จิ ยั ดดั แปลงจากแบบวดั การใหเ้ หตผุ ลเชงิ จรยิ ธรรม ของประไพพศิ (2550) ทส่ี รา้ งขน้ึ ตามแนวคดิ พฒั นาการของการใชเ้ หตผุ ลเชงิ จรยิ ธรรมของโคลเบอรก์ ทงั้ 6 ขนั้ มคี า่ ความเทย่ี งของเครอ่ื งมอื .82 เกย่ี วกบั การใชเ้ หตุผลเชงิ จรยิ ธรรมทบ่ี ุคคลใชใ้ นการตดั สนิ ใจ เลอื กกระทำ� พฤตกิ รรมทถ่ี กู ตอ้ ง เหมาะสม และมเี หตุผลในสถานการณ์ต่างๆ ของนกั เรยี นระดบั มธั ยม

วารสารพยาบาลสงขลานครนิ ทร์ 65 ปที ่ี 35 ฉบบั พิเศษ เดือนกันยายน - ธนั วาคม 2558 ศกึ ษาตอนตน้ ลกั ษณะคำ� ถามเรอ่ื งราว หรอื เหตุการณ์ทางจรยิ ธรรม ใหน้ กั เรยี นตดั สนิ ใจเลอื กวา่ มเี หตุผล อย่างไรในการเลอื กกระท�ำพฤตกิ รรมในแต่ละขอ้ ภายใต้ระดบั ขนั้ พฒั นาการของเหตุผลเชงิ จรยิ ธรรม จำ� นวน 20 ขอ้ ใหน้ กั เรยี นตอบเพยี ง 1 ตวั เลอื ก จาก 6 เหตุผล ในขอ้ ก-ฉ ตามระดบั พฒั นาการของการ มเี หตุผลเชงิ จรยิ ธรรม โดยมเี กณฑก์ ารใหค้ ะแนนดงั น้ี ก. จดั อยใู่ นกลุม่ พฒั นาการดา้ นการใชเ้ หตุผลเชงิ จรยิ ธรรม ขนั้ ท่ี 1 คอื การเชอ่ื ฟงั คำ� สงั่ และ หลบหลกี การลงโทษ ข. จดั อยใู่ นกลุม่ พฒั นาการดา้ นการใชเ้ หตุผลเชงิ จรยิ ธรรมขนั้ ท่ี 2 คอื การแสวงหารางวลั ค. จดั อยใู่ นกลมุ่ พฒั นาการดา้ นการใชเ้ หตผุ ลเชงิ จรยิ ธรรมขนั้ ท่ี 3 คอื การทำ� ตามทผ่ี อู้ น่ื เหน็ ชอบ ง. จดั อยใู่ นกลุม่ พฒั นาการดา้ นการใชเ้ หตุผลเชงิ จรยิ ธรรมขนั้ ท่ี 4 คอื การกระทำ� ตามหน้าทท่ี าง สงั คม จ. จดั อยใู่ นกลุม่ พฒั นาการดา้ นการใชเ้ หตุผลเชงิ จรยิ ธรรมขนั้ ท่ี 5 คอื การทำ� ตามคำ� มนั่ สญั ญา ฉ. จดั อยใู่ นกลุม่ พฒั นาการดา้ นการใชเ้ หตุผลเชงิ จรยิ ธรรมขนั้ ท่ี 6 คอื การยดึ อุดมคตสิ ากล 3. แบบวดั พฤตกิ รรมจรยิ ธรรม เป็นแบบสอบถามทผ่ี วู้ จิ ยั ดดั แปลงมาจากแบบวดั พฤตกิ รรมทาง จรยิ ธรรมของ สธุ นชยั (2548) ทม่ี คี า่ ความเทย่ี งของเครอ่ื งมอื .95 ใชป้ ระเมนิ ความประพฤติ หรอื การ ปฏบิ ตั ขิ องวยั รนุ่ ทแ่ี สดงออกถงึ การมจี รยิ ธรรม ทงั้ ดา้ นความคดิ คำ� พดู และการกระทำ� ทส่ี อดคลอ้ งกบั คา่ นิยมของสงั คม หรอื งดเวน้ การกระทำ� ทฝ่ี า่ ฝืนกฎเกณฑใ์ นสงั คมนนั้ ตามลกั ษณะจรยิ ธรรมของสงั คมไทย ทงั้ 11 ดา้ น ลกั ษณะของแบบสอบถามเป็นมาตรวดั ประมาณคา่ 5 ระดบั จำ� นวน 26 ขอ้ แปลผลคะแนน พฤตกิ รรมจรยิ ธรรม ใชเ้ กณฑก์ ารพจิ ารณาคะแนนเฉลย่ี ของมาตรวดั ลเิ คริ ทใ์ นการพจิ ารณาตดั สนิ คะแนน เฉลย่ี ทไ่ี ดร้ บั จากขอ้ มลู (สธุ นชยั , 2548) ดว้ ยการหาอนั ตรภาคชนั้ และใชค้ า่ พสิ ยั คำ� นวณจากคะแนน สงู สดุ ลบดว้ ยคะแนนต่ำ� สดุ แลว้ น�ำผลลพั ธท์ ไ่ี ดม้ าแบง่ เป็น 5 ชว่ ง เทา่ ๆ กนั สามารถแปลความหมายของ คะแนนออกเป็น 5 ระดบั ดงั น้ี คะแนนเฉลย่ี 1.00 – 1.80 หมายถงึ นกั เรยี นมพี ฤตกิ รรมจรยิ ธรรมน้อยทส่ี ดุ คะแนนเฉลย่ี 1.81 – 2.60 หมายถงึ นกั เรยี นมพี ฤตกิ รรมจรยิ ธรรมน้อย คะแนนเฉลย่ี 2.61 – 3.40 หมายถงึ นกั เรยี นมพี ฤตกิ รรมจรยิ ธรรมปานกลาง คะแนนเฉลย่ี 3.41 – 4.20 หมายถงึ นกั เรยี นมพี ฤตกิ รรมจรยิ ธรรมสงู คะแนนเฉลย่ี 4.21 – 5.00 หมายถงึ นกั เรยี นมพี ฤตกิ รรมจรยิ ธรรมสงู มากทส่ี ดุ 4. แบบวดั พฤตกิ รรมกา้ วรา้ ว ซง่ึ เป็นแบบสอบถามทผ่ี วู้ จิ ยั ดดั แปลงมาจากแบบคดั กรองพฤตกิ รรม เสย่ี งตอ่ การทะเลาะววิ าทของรงุ่ รงั สมิ า (2549) ทม่ี คี า่ ความเทย่ี งของเครอ่ื งมอื .93 ใชว้ ดั พฤตกิ รรม หรอื การกระทำ� ทแ่ี สดงออกถงึ ความคดิ ความรสู้ กึ ทต่ี อ้ งการใชค้ วามรนุ แรงจากภายในตนเองเพอ่ื ตอบสนอง ตอ่ สง่ิ กระตุน้ หรอื บคุ คลเป้าหมาย ทแ่ี สดงออกมาภายนอกทงั้ ทางกายและทางวาจา เมอ่ื อยใู่ นสถานการณ์ ทก่ี อ่ ใหเ้ กดิ พฤตกิ รรมกา้ วรา้ วระหวา่ งนกั เรยี นกบั ผอู้ น่ื ลกั ษณะเป็นมาตรวดั ประมาณคา่ 5 ระดบั จ�ำนวน 40 ขอ้ แปลความหมายของขอ้ มลู โดยหาคะแนนมาตรฐานปกติ (Normalized T-score) จากคา่ ตำ� แหน่งเปอร์ เซน็ ตไ์ ทล์ (รงุ่ รงั สมิ า, 2549) การตรวจสอบคณุ ภาพเครือ่ งมือ 1. การตรวจสอบความตรงของเน้ือหา (content validity) โดยผทู้ รงคณุ วฒุ พิ จิ ารณาตรวจสอบ ความเหมาะสมของเน้ือหา และภาษาทใ่ี ช้ จำ� นวน 3 ทา่ น ประกอบดว้ ย อาจารยพ์ ยาบาลสาขากุมาร

66 วารสารพยาบาลสงขลานครนิ ทร์ ปีที่ 35 ฉบบั พิเศษ เดือนกันยายน - ธันวาคม 2558 เวชศาสตรท์ ม่ี คี วามเชย่ี วชาญดา้ นจรยิ ศาสตร์ 1 ทา่ น อาจารยพ์ ยาบาลทม่ี คี วามเชย่ี วชาญดา้ นพฤตกิ รรม กา้ วรา้ ว 1 ทา่ น และครใู นระดบั มธั ยมศกึ ษาทม่ี ปี ระสบการณ์และมคี วามเชย่ี วชาญในการทำ� วจิ ยั 1 ทา่ น เพ่อื ตรวจสอบแกไ้ ข และใหข้ อ้ เสนอแนะเกย่ี วกบั ความสอดคลอ้ งของเน้ือหากบั กรอบแนวคดิ ความ ชดั เจนของภาษา ความเหมาะสมในการน�ำไปใชก้ บั กลมุ่ ตวั อยา่ ง จากนนั้ น�ำมาปรบั ปรงุ แกไ้ ขตามขอ้ เสนอ แนะของผทู้ รงคณุ วฒุ ิ 2. การตรวจสอบความเทย่ี งของเครอ่ื งมอื (Reliability) ผวู้ จิ ยั น�ำแบบสอบถามทผ่ี า่ นการตรวจ สอบความตรงตามเน้ือหา และปรบั ปรุงแกไ้ ขแลว้ ไปทดลองใชก้ บั นักเรยี นระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนตน้ ใน จงั หวดั สรุ าษฎรธ์ านีทม่ี คี ณุ สมบตั คิ ลา้ ยคลงึ กบั กลมุ่ ตวั อยา่ ง จำ� นวน 30 ราย เพอ่ื ทดสอบความสอดคลอ้ ง ภายในของแบบสอบถาม โดยใชส้ มั ประสทิ ธแิ ์ อลฟาของครอนบาค (Cronbach’s alpha coefficient) ได้ คา่ ความเทย่ี งของแบบวดั พฤตกิ รรมกา้ วรา้ ว แบบวดั พฤตกิ รรมจรยิ ธรรม และแบบวดั พฒั นาการจรยิ ธรรม ของนกั เรยี นระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนตน้ เทา่ กบั .81, .81 และ .87 ตามลำ� ดบั วิธีการเกบ็ รวบรวมข้อมลู มขี นั้ ตอนดงั น้ี 1. ผวู้ จิ ยั เขา้ พบผอู้ ำ� นวยการโรงเรยี นเพอ่ื แนะน�ำตวั ขออนุญาตเกบ็ ขอ้ มลู จากนกั เรยี นทอ่ี ยใู่ น ความดแู ล และชแ้ี จงวตั ถุประสงคก์ ารวจิ ยั รายละเอยี ดเกย่ี วกบั การเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู และขอความรว่ ม มอื ในการเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู 2. ผู้วจิ ยั เขา้ พบอาจารย์ประจ�ำระดบั ชนั้ เพ่อื ช้แี จงและอธบิ ายวตั ถุประสงค์ของการวจิ ยั ให้ อาจารยป์ ระจำ� ระดบั ชนั้ ทราบ กอ่ นเขา้ พบนกั เรยี นในแตล่ ะระดบั ชนั้ เพอ่ื สอบถามความสมคั รใจในการ ตอบแบบสอบถาม 3. เม่อื ไดก้ ลุ่มตวั อย่างทม่ี คี วามสมคั รใจในการเขา้ ร่วมเป็นกลุ่มตวั อย่างในการวจิ ยั แลว้ ผูว้ จิ ยั แนะน�ำตนเองกบั กลมุ่ ตวั อยา่ ง เพอ่ื ขอความรว่ มมอื ในการตอบแบบสอบถาม และสรา้ งสมั พนั ธภาพกบั กลมุ่ ตวั อยา่ ง เพอ่ื ใหเ้ กดิ ความไวว้ างใจ พรอ้ มชแ้ี จงวตั ถุประสงคข์ องการศกึ ษา และการพทิ กั ษส์ ทิ ธใิ ์ ห้ กลุ่มตวั อย่างทราบ พรอ้ มทงั้ แจกเอกสารค�ำชแ้ี จงแก่ผปู้ กครองของกลุ่มตวั อย่าง เอกสารแสดงความ ยนิ ยอมของผปู้ กครองของผเู้ ขา้ รว่ มโครงการวจิ ยั และเอกสารแสดงความยนิ ยอมเขา้ รว่ มโครงการวจิ ยั แก่กลุม่ ตวั อยา่ ง หลงั จากนนั้ ผวู้ จิ ยั นดั วนั เพอ่ื เขา้ พบกลุม่ ตวั อยา่ งในการทำ� แบบสอบถาม และรบั เอกสาร แสดงคามยนิ ยอมคนื 4. ดำ� เนินการใหก้ ลุม่ ตวั อยา่ งตอบแบบสอบถาม โดยผวู้ จิ ยั อธบิ ายวธิ กี ารตอบแบบสอบถามให้ กลุ่มตวั อย่างเขา้ ใจก่อนการตอบแบบสอบถาม เปิดโอกาสใหก้ ลุ่มตวั อย่างซกั ถามขอ้ สงสยั และรอรบั แบบสอบถามคนื 5. ผวู้ จิ ยั ตรวจสอบความสมบรู ณ์ของขอ้ มลู และรวบรวมขอ้ มลู ทงั้ หมด เพอ่ื ดำ� เนินการวเิ คราะห์ ทางสถติ ิ และวเิ คราะหเ์ น้ือหา การพทิ กั ษส์ ทิ ธขิ ์ องกลุม่ ตวั อยา่ ง มแี นวทางดงั รายละเอยี ดต่อไปน้ี 1. ผวู้ จิ ยั ขอความยนิ ยอมในการเขา้ รว่ มเป็นกลุม่ ตวั อยา่ ง โดยแจง้ วตั ถุประสงคข์ องการวจิ ยั ให้ แกผ่ อู้ ำ� นวยการโรงเรยี นรบั ทราบ และขออนุญาตเกบ็ ขอ้ มลู จากผอู้ ำ� นวยการโรงเรยี นทกุ แหง่ 2. ผวู้ จิ ยั ขอความยนิ ยอมในการเขา้ รว่ มเป็นกลมุ่ ตวั อยา่ งโดยการแจง้ วตั ถปุ ระสงค์ และประโยชน์ ทจ่ี ะไดร้ บั จากการวจิ ยั ใหแ้ กก่ ลมุ่ ตวั อยา่ งทกุ รายรบั ทราบ ตอ้ งไดร้ บั ความยนิ ยอมในการเขา้ รว่ มโครงการ วจิ ยั จากกลุม่ ตวั อยา่ งทกุ รายกอ่ นการเกบ็ ขอ้ มลู

วารสารพยาบาลสงขลานครินทร์ 67 ปีที่ 35 ฉบบั พิเศษ เดอื นกนั ยายน - ธันวาคม 2558 3. ชแ้ี จงใหน้ กั เรยี นทกุ คนทราบวา่ การเขา้ รว่ มเป็นกลมุ่ ตวั อยา่ งเป็นไปตามความสมคั รใจ สามารถ ทำ� ไดโ้ ดยการตอบแบบสอบถามตามความเป็นจรงิ การเลอื กเขา้ รว่ มหรอื ไมเ่ ขา้ รว่ มในการวจิ ยั ครงั้ น้ีไม่ ก่อใหเ้ กดิ ผลกระทบใด ๆ และไมม่ ผี ลตอ่ เกรดหรอื คะแนนของกลุม่ ตวั อยา่ ง กลุม่ ตวั อยา่ งมสี ทิ ธติ ์ ดั สนิ ใจ ดว้ ยตนเอง และแมว้ า่ กลมุ่ ตวั อยา่ งตดั สนิ ใจเขา้ รว่ มการวจิ ยั แลว้ กลุม่ ตวั อยา่ งมสี ทิ ธทิ ์ จ่ี ะถอนตวั ออกจาก การเป็นกลมุ่ ตวั อยา่ งไดโ้ ดยไมเ่ กดิ ผลกระทบใด ๆ 4. ผวู้ จิ ยั ใหค้ ำ� อธบิ ายถงึ ขอ้ มลู ทงั้ หมดเกย่ี วกบั งานวจิ ยั ตามความเป็นจรงิ อยา่ งเปิดเผย ตามท่ี กลมุ่ ตวั อยา่ งตอ้ งการตลอดระยะเวลาของการเขา้ รว่ มการวจิ ยั และขอ้ มลู ของกลมุ่ ตวั อยา่ งจะเกบ็ รกั ษาไว้ เป็นความลบั ขอ้ มลู ทไ่ี ดจ้ ะน�ำไปใชใ้ นการอภปิ รายผลในภาพรวมสำ� หรบั การวจิ ยั ครงั้ น้ีเทา่ นนั้ การวิเคราะหข์ ้อมลู ประมวลผลโดยใชโ้ ปรแกรมคอมพวิ เตอรส์ ำ� เรจ็ รปู และวเิ คราะหข์ อ้ มลู โดย 1) ขอ้ มลู ทวั่ ไป, พฒั นาการจรยิ ธรรม, และพฤตกิ รรมจรยิ ธรรมวเิ คราะหโ์ ดยการแจกแจงความถ่ี การหาคา่ รอ้ ยละ คา่ เฉลย่ี และสาวนเบย่ี งเบนมาตรฐาน 2) พฤตกิ รรมกา้ วรา้ ววเิ คราะหโ์ ดยการหาคะแนนมาตรฐานปกติ (Normalized T-score) จากคา่ ต�ำแหน่งเปอรเ์ ซน็ ตไ์ ทล์ (รุง่ รงั สมิ า, 2549) จ�ำนวนและรอ้ ยละ 3) วเิ คราะหค์ วามสมั พนั ธร์ ะหวา่ งพฒั นาการจรยิ ธรรม พฤตกิ รรมจรยิ ธรรมกบั พฤตกิ รรมกา้ วรา้ วโดยการ ทดสอบดว้ ยสมั ประสทิ ธสิ ์ หสมั พนั ธส์ เปียรแ์ มน (Spearman Rank’s Correlation) โดยกำ� หนดระดบั นยั สำ� คญั ทางสถติ ทิ ่ี p < .05 เน่ืองจากก่อนการวเิ คราะหข์ อ้ มลู ไดท้ ดสอบขอ้ ตกลงเบอ้ื งตน้ ของการใชส้ ถติ ิ สมั ประสทิ ธสิ ์ หสมั พนั ธเ์ พยี รส์ นั แต่ไมเ่ ป็นไปตามขอ้ ตกลงในเรอ่ื งขอ้ มลู ของตวั แปรพฤตกิ รรมกา้ วรา้ วท่ี มกี ารแจงแจงไมเ่ ป็นโคง้ ปกติ จงึ ปรบั มาใชส้ ถติ ใิ นระดบั ทเ่ี หมาะสมในการวเิ คราะหข์ อ้ มลู ของการศกึ ษา ครงั้ น้ี ผลการวิจยั จำ�นวน (คน) รอ้ ยละ ลกั ษณะทวั่ ไปของกล่มุ ตวั อย่าง ตาราง 1 70 14.9 ลกั ษณะทวั่ ไปของกลุม่ ตวั อยา่ ง (N = 470) 212 45.1 126 26.8 ลักษณะขอ้ มูลทัว่ ไป 62 13.2 อายุ (ป)ี (M = 13.38, SD = 0.89, min = 12, max = 15) 199 42.3 12 ปี 271 57.7 13 ปี 14 ปี 15 ปี เพศ ชาย หญิง

68 วารสารพยาบาลสงขลานครินทร์ ปีที่ 35 ฉบบั พิเศษ เดอื นกันยายน - ธันวาคม 2558 ตาราง 1 (ต่อ) จำ�นวน (คน) ร้อยละ 289 61.5 ลกั ษณะขอ้ มลู ทวั่ ไป 64 13.6 ระดบั การศกึ ษา 117 24.9 140 29.8 ระดบั ชนั้ มธั ยมศกึ ษาท่ี 1 123 26.2 ระดบั ชนั้ มธั ยมศกึ ษาท่ี 2 118 25.1 ระดบั ชนั้ มธั ยมศกึ ษาท่ี 3 89 18.9 ผลสมั ฤทธทิ ์ างการเรยี น 358 76.2 2.00 – 2.50 48 10.2 2.51 – 3.00 41 8.7 3.01 – 3.50 16 3.4 3.51 – 4.00 6 1.3 สถานภาพสมรสของบดิ ามารดา 1 0.2 อยดู่ ว้ ยกนั 355 75.5 แยกกนั อยู่ 26 5.5 หยา่ รา้ ง 51 10.9 บดิ าถงึ แก่กรรม 38 8.1 มารดาถงึ แก่กรรม 450 95.7 อน่ื ๆ (ไมร่ ะบ)ุ 20 4.3 ลกั ษณะความสมั พนั ธใ์ นครอบครวั 340 72.3 อยกู่ บั พอ่ แม่ 17 3.6 อยกู่ บั พอ่ เทา่ นนั้ 93 19.8 อยกู่ บั แมเ่ ทา่ นนั้ 20 4.3 ไมไ่ ดอ้ ยกู่ บั พอ่ และแม่ 129 27.4 ความเพยี งพอของคา่ ใชจ้ ่าย 28 6.0 เพยี งพอ 9 1.9 ไมเ่ พียงพอ 258 54.9 เมอ่ื มเี รอ่ื งไมส่ บายใจนกั เรยี นปรกึ ษา 25 5.3 พอ่ แม่ 21 4.5 คร/ู อาจารย์ เพอ่ื นๆ อน่ื ๆ (ไมร่ ะบ)ุ ลกั ษณะการเลย้ี งดทู น่ี กั เรยี นไดร้ บั แบบรกั และตามใจ แบบเผดจ็ การ แบบปลอ่ ยปละละเลย แบบใชเ้ หตุผลมากกวา่ อารมณ์ แบบไมส่ ม่ำ� เสมอ ไมม่ คี วามเสมอตน้ เสมอปลาย อน่ื ๆ (ไมร่ ะบ)ุ ผลการศกึ ษาพบวา่ กลมุ่ ตวั อยา่ งอายรุ ะหวา่ ง 12 – 15 ปี (M = 13.38, SD = 0.89) เกอื บครง่ึ อายุ 13 ปี (รอ้ ยละ 45.1) เป็นเพศหญงิ มากกวา่ เพศชาย (รอ้ ยละ 57.7) กำ� ลงั ศกึ ษาในระดบั มธั ยมศกึ ษา ปีท่ี 1 (รอ้ ยละ 61.5) ประมาณ 1 ใน 3 มผี ลสมั ฤทธทิ ์ างการเรยี นในระดบั 2.00 – 2.50 (รอ้ ยละ 29.8) (M

วารสารพยาบาลสงขลานครนิ ทร์ 69 ปีที่ 35 ฉบบั พิเศษ เดือนกันยายน - ธันวาคม 2558 = 2.33, SD = 1.09) อาศยั อยกู่ บั พอ่ แม่ (รอ้ ยละ 75.5) บดิ ามารดาของกลุม่ ตวั อยา่ งอาศยั อยดู่ ว้ ยกนั (รอ้ ย ละ 76.2) กลุม่ ตวั อยา่ งไดร้ บั คา่ ใชจ้ า่ ยอยา่ งเพยี งพอ (รอ้ ยละ 95.7) เมอ่ื มเี รอ่ื งไมส่ บายใจเลอื กปรกึ ษาพอ่ แม่ (รอ้ ยละ 72.3) และไดร้ บั การเลย้ี งดแู บบใชเ้ หตุผลมากกวา่ อารมณ์ (รอ้ ยละ 54.9) ตาราง 2 จำ� นวนครงั้ ของพฤตกิ รรมของกลมุ่ ตวั อยา่ งตามระดบั ขนั้ พฒั นาการ ขอ้ ระดบั ขั้นพัฒนาการ ขนั้ 1 ขนั้ 2 ขนั้ 3 ขนั้ 4 ขนั้ 5 ขนั้ 6 1. 44 23 67 18 198 120 2. 40 42 34 35 185 134 3. 39 15 73 56 137 150 4. 46 48 40 75 70 191 5. 58 27 49 51 205 80 6. 87 30 57 102 103 91 7. 45 22 73 90 150 90 8. 83 31 212 31 65 48 9. 43 59 57 102 78 131 10. 25 24 38 64 192 127 11. 43 48 53 167 68 91 12. 55 40 52 75 133 115 13. 63 23 45 64 163 112 14. 51 41 73 57 101 147 15. 56 48 71 30 117 148 16. 24 26 62 59 141 158 17. 50 49 42 106 71 152 18. 54 45 58 59 177 77 19. 55 79 122 48 61 105 20. 43 24 94 64 111 134 รวม 1,004 744 1,372 1,353 2,526 2,401 พฒั นาการจริยธรรม กลุม่ ตวั อยา่ งมรี ะดบั พฒั นาการจรยิ ธรรมตามขนั้ พฒั นาการจรยิ ธรรมของโคลเบอรก์ ในขนั้ ท่ี 5 การทำ� ตามคำ� มนั่ สญั ญา ขนั้ ท่ี 6 การยดึ อุดมคตสิ ากล ขนั้ ท่ี 3 การทำ� ตามทผ่ี อู้ น่ื เหน็ ชอบ ขนั้ ท่ี 4 การกระ ทำ� ตามหน้าทท่ี างสงั คม ขนั้ ท่ี 1 การเชอ่ื ฟงั คำ� สงั่ และหลบหลกี การลงโทษ และขนั้ ท่ี 2 การแสวงหารางวลั รอ้ ยละ 26.9, รอ้ ยละ 25.5, รอ้ ยละ 14.6, รอ้ ยละ 14.4, รอ้ ยละ 10.7, และรอ้ ยละ 7.9 ตามลำ� ดบั ดงั ราย ละเอยี ดในตาราง 3

70 วารสารพยาบาลสงขลานครินทร์ ปที ่ี 35 ฉบบั พเิ ศษ เดอื นกนั ยายน - ธนั วาคม 2558 ตาราง 3 จำ� นวนครงั้ ของพฤตกิ รรมจำ� แนกตามระดบั พฒั นาการจรยิ ธรรมของกลุม่ ตวั อยา่ ง (f = 9,400) พฒั นาการด้านการใชเ้ หตุผลเชงิ จรยิ ธรรม ความถ่ี ร้อยละ ขนั้ ท่ี 1 การเชอ่ื ฟงั คำ� สงั่ และหลบหลกี การลงโทษ 1,004 10.7 ขนั้ ท่ี 2 การแสวงหารางวลั 744 7.9 ขนั้ ท่ี 3 การทำ� ตามทผ่ี อู้ น่ื เหน็ ชอบ 1,372 14.6 ขนั้ ท่ี 4 การกระทำ� ตามหน้าทท่ี างสงั คม 1,353 14.4 ขนั้ ท่ี 5 การทำ� ตามคำ� มนั่ สญั ญา 2,526 26.9 ขนั้ ท่ี 6 การยดึ อุดมคตสิ ากล 2,401 25.5 พฤติกรรมจริยธรรม ผลการศกึ ษาพบวา่ กลุม่ ตวั อยา่ งมพี ฤตกิ รรมจรยิ ธรรมในระดบั สงู ระดบั ปานกลาง และระดบั สงู มากทส่ี ดุ รอ้ ยละ 49.4, รอ้ ยละ 27.9 และรอ้ ยละ 18.7 ตามลำ� ดบั เมอ่ื พจิ ารณากลมุ่ ตวั อยา่ งสว่ นใหญ่พบ วา่ มพี ฤตกิ รรมจรยิ ธรรมในระดบั ปานกลางขน้ึ ไป รอ้ ยละ 96 มเี พยี งรอ้ ยละ 4 เทา่ นนั้ ทม่ี พี ฤตกิ รรม จรยิ ธรรมในระดบั น้อย ตาราง 4 จำ� นวน รอ้ ยละและสว่ นเบยี่ งเบนมาตรฐานจำ� แนกตามระดบั พฤตกิ รรมจรยิ ธรรมของกลมุ่ ตวั อยา่ ง (N = 470) พฤติกรรมจริยธรรม ชว่ งคะแนน จำ�นวน (N) รอ้ ยละ พฤตกิ รรมจริยธรรมระดับน้อย 1.81 – 2.60 19 4.0 พฤตกิ รรมจรยิ ธรรมระดบั ปานกลาง 2.61 – 3.40 131 27.9 พฤติกรรมจริยธรรมระดับสงู 3.41 – 4.20 232 49.4 พฤติกรรมจรยิ ธรรมระดบั สูงมากทส่ี ดุ 4.21 – 5.00 88 18.7 M = 3.82, SD = 0.77 พฤติกรรมก้าวร้าว ผลการศกึ ษาพบวา่ กลุม่ ตวั อยา่ งมคี ะแนนพฤตกิ รรมกา้ วรา้ ว 52-188 คะแนน เมอ่ื แปลงคะแนน ดบิ เป็นคะแนนมาตรฐานปกติ (Normalized T-score) จากคา่ ตำ� แหน่งเปอรเ์ ซน็ ตไ์ ทลพ์ บวา่ กลุม่ ตวั อยา่ ง มพี ฤตกิ รรมกา้ วรา้ วระดบั ต่ำ� คะแนน T-Score ตงั้ แต่ T33 - T44 จำ� นวน 403 ราย (รอ้ ยละ 85.74) และมี พฤตกิ รรมกา้ วรา้ วระดบั ต่ำ� มาก คะแนน T-Score ตงั้ แต่ T32 ลงมา จำ� นวน 67 ราย (รอ้ ยละ 14.26) ตาม ลำ� ดบั ดงั รายละเอยี ดในตาราง 5 ตาราง 5 คะแนนมาตรฐานปกติ (Normalized T-score) จำ� นวน และรอ้ ยละของกลุม่ ตวั อยา่ งจำ� แนกตามคะแนน มาตรฐานปกตแิ ละระดบั พฤตกิ รรมกา้ วรา้ วของกลุม่ ตวั อยา่ ง (N = 470) พฤตกิ รรมกา้ วรา้ ว คะแนนมาตรฐานปกติ จำ�นวน (N) ร้อยละ (Normalized T-score) พฤตกิ รรมกา้ วรา้ วระดบั ต่ำ� T-score ตงั้ แต่ T33-T44 403 85.7 พฤตกิ รรมกา้ วรา้ วระดบั ต่ำ� มาก T-score ตงั้ แต่ T32ลงมา 67 14.3 รวม 470 100

วารสารพยาบาลสงขลานครินทร์ 71 ปที ่ี 35 ฉบบั พิเศษ เดือนกนั ยายน - ธนั วาคม 2558 ความสมั พนั ธ์ระหว่างพฒั นาการจริยธรรมและพฤติกรรมจริยธรรมกบั พฤติกรรม ก้าวร้าวของนักเรียนระดบั ชนั้ มธั ยมศึกษาตอนต้น เม่อื วเิ คราะห์ความสมั พนั ธ์ระหว่างพฒั นาการจรยิ ธรรมกบั พฤตกิ รรมก้าวร้าวของนักเรยี น ระดบั ชนั้ มธั ยมศกึ ษาตอนตน้ โรงเรยี นในสงั กดั สำ� นกั งานเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษามธั ยมศกึ ษาสรุ าษฎรธ์ านี โดยการทดสอบสมั ประสทิ ธสิ ์ หสมั พนั ธส์ เปียรแ์ มน ผลการศกึ ษาพบวา่ พฒั นาการจรยิ ธรรมไมม่ คี วาม สมั พนั ธก์ บั พฤตกิ รรมกา้ วรา้ ว (r = -.09, p > .05) และพฤตกิ รรมจรยิ ธรรมไมม่ คี วามสมั พนั ธก์ บั พฤตกิ รรมกา้ วรา้ ว (r = -.06, p > .05) นอกจากน้ีผลการศกึ ษายงั พบวา่ พฒั นาการจรยิ ธรรมมคี วาม สมั พนั ธก์ บั พฤตกิ รรมจรยิ ธรรมอยา่ งมนี ยั สำ� คญั ทางสถติ ิ (r = .29, p < .01) ตาราง 6 คา่ สมั ประสทิ ธสิ์ หสมั พนั ธร์ ะหวา่ งพฒั นาการจรยิ ธรรมและพฤตกิ รรมจรยิ ธรรมกบั พฤตกิ รรมกา้ วรา้ วของ นกั เรยี นระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนตน้ ในรปู เมตรกิ สหสมั พนั ธ์ (rs) ตวั แปร คา่ สมั ประสทิ ธสิ ์ หสมั พนั ธ์ พฒั นาการจรยิ ธรรม พฤตกิ รรมจรยิ ธรม พฤติกรรมกา้ วร้าว พฒั นาการจรยิ ธรรม 1 1 พฤติกรรมจรยิ ธรม .29** 1 พฤติกรรมกา้ วร้าว -.09ns -.06ns **p < .01 ns = not significant อภิปรายผลการวิจยั กลมุ่ ตวั อยา่ งในการศกึ ษาครงั้ นเ้ี ป็นนกั เรยี นวยั รนุ่ ชายและหญงิ ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนตน้ โรงเรยี น ในสงั กดั สำ� นกั งานเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษามธั ยมศกึ ษาสรุ าษฎรธ์ านี ปีการศกึ ษา 2555 จำ� นวน 470 ราย เป็นเพศหญงิ (รอ้ ยละ 57.7) ในสดั สว่ นทม่ี ากกวา่ เพศชายเลก็ น้อย (รอ้ ยละ 42.3) ซง่ึ สอดคลอ้ งกบั สดั ส่วนนักเรยี นโรงเรยี นในสงั กดั ส�ำนักงานเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษามธั ยมศกึ ษาสุราษฎร์ธานีทม่ี เี พศหญงิ มากกวา่ เพศชาย (สำ� นกั งานเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษามธั ยมศกึ ษาสรุ าษฎรธ์ านี, 2555) และยงั สอดคลอ้ งกบั สดั สว่ นประชากรของประเทศไทยทพ่ี บวา่ ประชากรหญงิ มากกวา่ ประชากรชาย (สำ� นกั งานสถติ แิ หง่ ชาต,ิ 2558) ดา้ นลกั ษณะทวั่ ไปของกลมุ่ ตวั อยา่ ง ผลการศกึ ษาพบวา่ บดิ ามารดาอยดู่ ว้ ยกนั และเลย้ี งดแู บบ ใชเ้ หตุผลมากกวา่ อารมณ์ ซง่ึ สอดคลอ้ งกบั สภาพสงั คมทวั่ ไปของไทยทค่ี รอบครวั เป็นสถาบนั หลกั และ เป็นสถาบนั ทางสงั คมแหง่ แรกซง่ึ มหี น้าทอ่ี บรมสงั่ สอน ใหค้ วามรกั ความอบอุน่ แกก่ ลมุ่ ตวั อยา่ ง การ อบรมเลย้ี งดทู ม่ี เี หตุผลชว่ ยใหว้ ยั รนุ่ เรยี นรวู้ า่ สง่ิ ใดควรหรอื ไมค่ วรกระทำ� สามารถดำ� เนินชวี ติ และเป็นท่ี ยอมรบั จากบคุ คลในสงั คม นอกจากน้ยี งั พบวา่ เมอ่ื มปี ญั หาหรอื มเี รอ่ื งไมส่ บายใจกลมุ่ ตวั อยา่ งเลอื กปรกึ ษา บดิ ามารดา ลกั ษณะครอบครวั ทอ่ี บอุน่ บุคคลในครอบครวั มสี มั พนั ธภาพทด่ี แี ละมคี วามใกลช้ ดิ ต่อกนั เชน่ น้ีมอี ทิ ธพิ ลต่อการกระท�ำพฤตกิ รรมของวยั รุ่นในทุกดา้ น ทงั้ พฤตกิ รรมดา้ นบวกหรอื แมแ้ ต่พฤตกิ รรม ดา้ นลบ การศกึ ษาทผ่ี า่ นมาเชอ่ื วา่ ปจั จยั ดา้ นครอบครวั เป็นปจั จยั ทม่ี สี ว่ นในการสง่ เสรมิ ใหว้ ยั รนุ่ มเี จตคติ

72 วารสารพยาบาลสงขลานครนิ ทร์ ปที ี่ 35 ฉบับพิเศษ เดือนกันยายน - ธนั วาคม 2558 ทด่ี ี เตบิ โตดว้ ยอารมณ์ทม่ี นั่ คง และสามารถควบคุมอารมณ์ของตนเองไดอ้ ย่างเหมาะสมโดยเฉพาะ กลุ่มวยั รนุ่ ทย่ี งั ไมโ่ ตพอ (กมลวรรณ, 2557; ดจุ เดอื น, 2557) ความสมั พนั ธ์ระหว่างพฒั นาการด้านจริยธรรมและพฤติกรรมจริยธรรมกบั พฤติกรรม ก้าวรา้ วของนักเรียนระดบั มธั ยมศึกษาตอนต้น โรงเรียนในสงั กดั สำ� นักงานเขตพืน้ ที่การศึกษา มธั ยมศึกษาสรุ าษฎรธ์ านี ผลการศกึ ษาความสมั พนั ธร์ ะหว่างพฒั นาการจรยิ ธรรมและพฤตกิ รรมจรยิ ธรรมกบั พฤตกิ รรม กา้ วรา้ ว พบวา่ พฒั นาการจรยิ ธรรมและพฤตกิ รรมจรยิ ธรรมไมม่ คี วามสมั พนั ธก์ บั พฤตกิ รรมกา้ วรา้ ว ทงั้ น้ี อาจอธบิ ายไดจ้ ากการมปี จั จยั อ่นื ทม่ี สี ว่ นเกย่ี วขอ้ งกบั พฤตกิ รรมกา้ วรา้ ว และขอ้ จ�ำกดั เรอ่ื งความไวของ เครอ่ื งมอื ในการวดั พฒั นาการจรยิ ธรรม พฤตกิ รรมจรยิ ธรรมและพฤตกิ รรมกา้ วรา้ วโดยปจั จยั อ่นื ๆ นอก เหนือจากปจั จยั ดา้ นพฒั นาการจรยิ ธรรมและพฤตกิ รรมจรยิ ธรรมอาจเก่ยี วขอ้ งโดยตรงกบั พฤตกิ รรม กา้ วรา้ วของกลมุ่ ตวั อยา่ งชว่ งวยั รนุ่ ตอนตน้ เชน่ ปจั จยั ดา้ นชวี ภาพและปจั จยั ดา้ นสง่ิ แวดลอ้ ม โดยในดา้ น ชวี ภาพอาจเกย่ี วขอ้ งกบั พนั ธกุ รรมหรอื โครโมโซม โครงสรา้ งของสมองและสารเคมใี นระบบประสาททม่ี ี บทบาทสำ� คญั ในการกำ� หนดพฤตกิ รรมของมนุษย์ รวมถงึ ฮอรโ์ มนทเ่ี ป็นสว่ นสำ� คญั ในการแสดงพฤตกิ รรม กา้ วรา้ ว และดา้ นสตปิ ญั ญาทเ่ี กดิ จากการพฒั นาดา้ นความคดิ ความเขา้ ใจ ความสามารถในการคดิ หา เหตุผล หรอื แมแ้ ต่การยอมรบั นับถอื ความเป็นมนุษยข์ องผอู้ ่นื ทม่ี สี ่วนส�ำคญั ใหว้ ยั รุ่นเขา้ ใจลกั ษณะ เฉพาะและความแตกต่างของบุคคล วยั รนุ่ จงึ มสี มั พนั ธภาพทด่ี กี บั ผอู้ น่ื สามารถอยรู่ ว่ มกนั ไดโ้ ดยไมเ่ กดิ ความขดั แยง้ สว่ นปจั จยั ดา้ นสง่ิ แวดลอ้ มอาจเป็น กลมุ่ เพอ่ื น สอ่ื ตา่ งๆ ทถ่ี ่ายทอดภาพแหง่ ความรนุ แรง และการกระตุน้ ความรสู้ กึ อยากเอาชนะ ทอ่ี าจมสี ว่ นทำ� ใหเ้ กดิ พฤตกิ รรมกา้ วรา้ วในกลุม่ วยั รนุ่ ได้ นอกจาก น้ีปจั จยั ดา้ นครอบครวั ทเ่ี กย่ี วเน่ืองกบั การอบรมเลย้ี งดู ยงั ช่วยใหว้ ยั รุน่ ประพฤตใิ นสงิ่ ทค่ี วร และแสดง พฤตกิ รรมไดอ้ ยา่ งเหมาะสม (ปารชิ าต,ิ ไพศาล, และปิยะธดิ า, 2014) ขอ้ จำ� กดั เรอ่ื งความไวของเครอ่ื งมอื ทใ่ี ชใ้ นการวดั พฒั นาการจรยิ ธรรม พฤตกิ รรมจรยิ ธรรม และ พฤตกิ รรมกา้ วรา้ วอาจไวไมเ่ พยี งพอตอ่ การวดั ตวั แปรดงั กลา่ ว คำ� ตอบทไ่ี ดอ้ าจเป็นความรขู้ องกลมุ่ ตวั อยา่ ง ทม่ี าจากการเรยี นรใู้ นระบบการศกึ ษาและการอบรมเลย้ี งดขู องครอบครวั หรอื คำ� ตอบของกลมุ่ ตวั อยา่ งท่ี ตอบเพอ่ื ตอ้ งการเป็นทย่ี อมรบั จากสงั คม เมอ่ื พจิ ารณาบรบิ ทของโรงเรยี นพบวา่ โรงเรยี นทศ่ี กึ ษาทงั้ หมด อย่ภู ายใตก้ ารดูแลของสำ� นักงานเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษามธั ยมศกึ ษาเขต 11 ซง่ึ ไดก้ �ำหนดหลกั สตู รและ ควบคุม ใหม้ กี ารจดั การเรยี นการสอนดา้ นจรยิ ธรรมทเ่ี นน้ ใหผ้ เู้ รยี นมองเหน็ ความสำ� คญั ในการพฒั นาความรู้ ควบคกู่ บั การสอดแทรกคณุ ธรรมจรยิ ธรรม เน้นกลยทุ ธใ์ นการปลกู ฝงั คณุ ธรรมจรยิ ธรรม ใหผ้ เู้ รยี นสามารถ คดิ วเิ คราะห์ แกไ้ ขปญั หา และสามารถอยรู่ ว่ มกนั ไดอ้ ยา่ งมคี วามสขุ เขา้ ใจถงึ การเปลย่ี นแปลงตามยคุ สมยั ตามสาเหตุปจั จยั ตา่ งๆ ใหเ้ กดิ ความเขา้ ใจในตนเองและผอู้ ่นื มคี วามอดทน อดกลนั้ ยอมรบั ในความ แตกตา่ งและมคี ณุ ธรรม กลมุ่ ตวั อยา่ งจงึ มคี วามรวู้ า่ การกระทำ� ใดมคี วามถกู ตอ้ ง และเป็นทย่ี อมรบั จากสงั คม เมอ่ื อยใู่ นสถานการณ์ต่างๆ ทอ่ี าจไมต่ รงกบั ความรสู้ กึ ทแ่ี ทจ้ รงิ ผลการศกึ ษายงั พบว่า พฒั นาการจรยิ ธรรมมคี วามสมั พนั ธก์ บั พฤตกิ รรมจรยิ ธรรมอย่างมนี ัย สำ� คญั ทางสถติ ิ (r = .29, p < .01) กลา่ วไดว้ า่ พฒั นาการจรยิ ธรรมมคี วามสมั พนั ธก์ บั พฤตกิ รรมจรยิ ธรรม โดยจรยิ ธรรมเป็นกฎเกณฑค์ วามประพฤตทิ ม่ี นุษยค์ วรปฏบิ ตั ิ และไดร้ บั การยอมรบั ในสงั คมวา่ เป็นสงิ่ ท่ี ถกู ตอ้ ง เหมาะสม ทำ� ใหร้ วู้ า่ อะไรควรหรอื ไมค่ วรปฏบิ ตั ทิ งั้ ทางกาย วาจา และใจเมอ่ื เผชญิ กบั สถานการณ์

วารสารพยาบาลสงขลานครินทร์ 73 ปที ี่ 35 ฉบบั พเิ ศษ เดอื นกนั ยายน - ธนั วาคม 2558 ทต่ี อ้ งตดั สนิ ใจ ซง่ึ จรยิ ธรรมควรมอี งคป์ ระกอบทงั้ เหตุผลเชงิ จรยิ ธรรมซง่ึ หมายถงึ พฒั นาการจรยิ ธรรม และพฤตกิ รรมจรยิ ธรรมทม่ี คี วามเกย่ี วเน่ืองกนั พฒั นาการจรยิ ธรรมเป็นการเปลย่ี นแปลงความสามารถ เกย่ี วกบั การใชเ้ หตุผลเชงิ จรยิ ธรรม ในการเลอื กกระทำ� หรอื ไมก่ ระทำ� พฤตกิ รรมอยา่ งใดอยา่ งหน่ึง สว่ น พฤตกิ รรมจรยิ ธรรมนัน้ เป็นการแสดงพฤตกิ รรมของบุคคลตามค่านิยมในสงั คม หรอื งดเวน้ การแสดง พฤตกิ รรมทเ่ี ป็นการฝา่ ฝืนกฎเกณฑใ์ นสงั คมนนั้ เหน็ ไดว้ า่ พฒั นาการจรยิ ธรรมและพฤตกิ รรมจรยิ ธรรม เป็นองคป์ ระกอบทค่ี วามสมั พนั ธก์ นั อนั ก่อใหเ้ กดิ จรยิ ธรรมขน้ึ ในตวั บุคคลทว่ี ยั รนุ่ แสดงออกมาในรปู แบบ ของพฤตกิ รรมจรยิ ธรรม การมพี ฒั นาการจรยิ ธรรมทด่ี ชี ว่ ยใหว้ ยั รนุ่ สามารถควบคมุ พฤตกิ รรม และการ แสดงบทบาททางสงั คมของตนเองไดอ้ ยา่ งเหมาะสม นอกจากน้บี รบิ ทของโรงเรยี นในสงั กดั พน้ื ทก่ี ารศกึ ษา มธั ยมศกึ ษา สรุ าษฎรธ์ านี ยงั มกี ารจดั การเรยี นการสอนทเ่ี น้นใหน้ กั เรยี นเหน็ ความสำ� คญั ในการพฒั นา องคค์ วามรขู้ องผเู้ รยี นควบคไู่ ปกบั การสอดแทรกคณุ ธรรมจรยิ ธรรม เน้นกลยทุ ธใ์ นการปลกู ฝงั คณุ ธรรม จรยิ ธรรมใหน้ ักเรยี นมคี วามสามารถในการคดิ วเิ คราะห์ แกไ้ ขปญั หา มจี ติ สาธารณะและจติ ใจบรกิ าร มรี ะเบยี บวนิ ัย มศี ลี ธรรม คุณธรรมและจรยิ ธรรม สามารถอยู่รวมกนั ไดอ้ ย่างสนั ตสิ ุขและเอ้อื อาทร (สำ� นกั งานเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษามธั ยมศกึ ษา เขต11, 2555) สรปุ ผลการวิจยั ผลการศกึ ษาพบวา่ พฒั นาการจรยิ ธรรมไมม่ คี วามสมั พนั ธก์ บั พฤตกิ รรมกา้ วรา้ ว (r = .09, p > .05) และพฤตกิ รรมจรยิ ธรรมไมม่ คี วามสมั พนั ธก์ บั พฤตกิ รรมกา้ วรา้ ว (r = -.06, p > .05) นอกจากน้ียงั พบวา่ พฒั นาการจรยิ ธรรมมคี วามสมั พนั ธก์ บั พฤตกิ รรมจรยิ ธรรมอยา่ งมนี ยั สำ� คญั ทางสถติ ิ (r = .29, p < .01) ข้อเสนอแนะในการทำ� วิจยั ครงั้ ต่อไป 1. ผลการศกึ ษาพบวา่ กลุม่ ตวั อยา่ งมคี ณุ ลกั ษณะดา้ นจรยิ ธรรม ทงั้ พฤตกิ รรมจรยิ ธรรม และ พฒั นาการจรยิ ธรรมในระดบั สงู จงึ ควรจดั กจิ กรรมเพอ่ื สง่ เสรมิ ใหก้ ลมุ่ ตวั อยา่ งน�ำคณุ ลกั ษณะดา้ นจรยิ ธรรม ไปประยกุ ตใ์ ชใ้ นชวี ติ ประจำ� วนั และควรมกี ารสง่ เสรมิ อยา่ งตอ่ เน่ืองในทกุ ระดบั ชนั้ 2. ควรทำ� วจิ ยั ซำ้� ในการศกึ ษาความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งพฒั นาการจรยิ ธรรม และพฤตกิ รรมจรยิ ธรรม กบั พฤตกิ รรมกา้ วรา้ วของนกั เรยี นระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนตน้ โดยการใชเ้ ครอ่ื งมอื วดั ทค่ี วามไวในการวดั 3. ควรมกี ารศกึ ษาปจั จยั อ่นื ทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั พฤตกิ รรมกา้ วรา้ ว ซง่ึ อาจไมใ่ ชพ่ ฒั นาการจรยิ ธรรม และพฤตกิ รรมจรยิ ธรรม เพอ่ื น�ำผลการศกึ ษาทไ่ี ดไ้ ปพฒั นาทกั ษะการตดั สนิ ใจเชงิ จรยิ ธรรม และพฤตกิ รรม จรยิ ธรรมของวยั รนุ่ และน�ำไปสกู่ ารพฒั นาแนวทางการชว่ ยเหลอื เพอ่ื ป้องกนั ไมใ่ หว้ ยั รนุ่ เขา้ สกู่ ระบวนการ ของการเกดิ พฤตกิ รรมกา้ วรา้ ว 4. ควรมกี ารวจิ ยั เพอ่ื พฒั นาเครอ่ื งมอื ทงั้ แบบวดั พฤตกิ รรมกา้ วรา้ ว และแบบวดั พฒั นาการจรยิ ธรรม ใหม้ คี วามไวทส่ี ามารถวดั พฤตกิ รรมกา้ วรา้ ว และวดั พฒั นาการจรยิ ธรรมไดอ้ ยา่ งแทจ้ รงิ คา่ ทไ่ี ดจ้ ากการ วดั มคี วามคลาดเคลอ่ื นน้อย หรอื อาจใชว้ ธิ เี กบ็ รวบรวมขอ้ มลู มากวา่ 1 วธิ ี เชน่ ใชว้ ธิ กี ารสมั ภาษณ์ควบคู่ กบั วธิ กี ารสงั เกต ใชว้ ธิ กี ารสงั เกตควบคกู่ บั การใชแ้ บบสอบถาม เพอ่ื ใหผ้ ลการวจิ ยั มคี วามน่าเชอ่ื ถอื

74 วารสารพยาบาลสงขลานครินทร์ ปที ่ี 35 ฉบบั พเิ ศษ เดือนกันยายน - ธนั วาคม 2558 บรรณานุกรม กมลวรรณ คลา้ ยแกว้ . (2557). บทบาทของครอบครวั ในการปลกู ฝงั และพฒั นาความเป็นพลเมอื งดตี าม ระบอบประชาธปิ ไตยใหก้ บั เดก็ และเยาวชน. วารสารพฤตกิ รรมศาสตร,์ 20(1), 1-18. กฤตยา แสวงเจรญิ , และปญุ ทรี พว่ งสวุ รรณ. (2552). พฤตกิ รรมเสย่ี งของเยาวชนตอ่ ความรนุ แรงในภาค ตะวนั ออกเฉยี งเหนือ. วารสารพยาบาลศาสตรแ์ ละสขุ ภาพ, 32(2), 21 - 33. ดจุ เดอื น พนั ธมุ นาวนิ . (2550). รายงานการสงั เคราะหง์ านวจิ ยั เกยี่ วกบั คณุ ธรรมจรยิ ธรรมในประเทศไทย และต่างประเทศ. กรงุ เทพมหานคร: บรษิ ทั พรกิ หวานกราฟฟิค. ดจุ เดอื น พนั ธมุ นาวนิ . (2557). กลยทุ ธค์ รอบครวั ไทยแกว้ กิ ฤตจรยิ ธรรมสงั คม. คน้ จาก http://www. km.nida.ac.th/home/images/pdf/3-4.pdf นิตยา พลศกั ด.ิ์ (2550). การสงั เคราะหง์ านวจิ ยั เชงิ ทดลองเกยี่ วกบั พฤตกิ รรมกา้ วรา้ ว. วทิ ยานิพนธ ์ ศกึ ษาศาสตรมหาบณั ฑติ คณะศกึ ษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ขอนแก่น, ขอนแกน่ . บญุ ใจ ศรสี ถติ นรากรู . (2553). ระเบยี บวธิ กี ารวจิ ยั ทางพยาบาลศาสตร์ (พมิ พค์ รงั้ ท่ี 5). กรงุ เทพมหานคร: ยแู อนดไ์ อ อนิ เตอร์ มเี ดยี . ปารชิ าต นิยมพงษ,์ ไพศาล วรคำ� , และปิยะธดิ า ปญั ญา. (2014). ปจั จยั ทม่ี อี ทิ ธพิ ลต่อพฤตกิ รรมกา้ วรา้ ว ของนกั เรยี นชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 4 จงั หวดั บงึ กาฬ Graduate Research Conference Khon Kaen University http://gsbooks.gs.kku.ac.th/57/grc15/files/hmp8.pdf ประไพพศิ บุญชติ . (2550). ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งเชาวอ์ ารมณ์กบั การใชเ้ หตุผลเชงิ จรยิ ธรรมของนกั เรยี น ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีที่3 จงั หวดั สงขลา. วทิ ยานิพนธศ์ กึ ษาศาสตรมหาบณั ฑติ สาขาวชิ าการวดั ผล และวจิ ยั การศกึ ษา มหาวทิ ยาลยั สงขลานครนิ ทร,์ สงขลา. เพญ็ ศรี กระหมอ่ มทอง, ศศวิ มิ ล ปจุ ฉาการ, และปนดั ดา จนั่ ผอ่ ง. (2553). การสำ� รวจภาวะสขุ ภาพของ นกั เรยี นในประเทศไทย พ.ศ. 2551. วารสารการสง่ เสรมิ สขุ ภาพและอนามยั สงิ่ แวดลอ้ ม กระทรวงสาธารณสขุ , 33(1), 53 60. รตั โนทยั พลบั รกู้ าร. (2551). พฤตกิ รรมกา้ วรา้ วในเดก็ . ในนิชรา เรอื งดารกานนท,์ ชาครยิ า ธรี เนตร, รววิ รรณ รงุ่ ไพรวลั ย,์ ทพิ วรรณ หรรษคณุ าชยั , และนิตยา คชภกั ดี (บรรณาธกิ าร),ตำ� รา พฒั นาการและพฤตกิ รรมเดก็ (หน้า 286 - 296). กรงุ เทพมหานคร: โฮลสิ ตกิ พบั ลชิ ชง่ิ . รงุ่ รงั สมิ า สตั ยาไชย. (2549). การสรา้ งแบบคดั กรองและโปรแกรมป้องกนั พฤตกิ รรมเสยี่ งตอ่ การทะเลาะ ววิ าทของวยั รนุ่ . วทิ ยานิพนธก์ ารศกึ ษามหาบณั ฑติ สาขาจติ วทิ ยาการแนะแนว มหาวทิ ยาลยั ศรนี ครนิ ทรวโิ รฒ,กรงุ เทพมหานคร. วลิ าสลกั ษณ์ ชวั วลั ล.ี (2552). จรยิ ธรรมในเดก็ เยาวชน. วารสารพฤตกิ รรมศาสตร,์ 15(1), 16 - 27. สวิ ลี ศริ ไิ ล. (2548). จรยิ ศาสตรส์ ำ� หรบั พยาบาล (พมิ พค์ รงั้ ท่ี 9). กรงุ เทพมหานคร: จฬุ าลงกรณ์ มหาวทิ ยาลยั . สชุ าดา กรี ะนนั ท.์ (2542). ทฤษฎแี ละวธิ กี ารสำ� รวจตวั อยา่ ง (พมิ พค์ รงั้ ท่ี 2). กรงุ เทพมหานคร: คณะ พานิชยศาสตรแ์ ละการบญั ชี จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั . สธุ นชยั ปานเกลยี ว. (2548). รปู แบบการพฒั นาการพฤตกิ รรมเชงิ จรยิ ธรรมของนกั เรยี นโรงเรยี น มธั ยมศกึ ษา: กรณศี กึ ษาโรงเรยี นชยานุกจิ พทิ ยาคม จงั หวดั ชยั นาท. วทิ ยานิพนธค์ รศุ าสตร มหาบณั ฑติ สาขาการบรหิ ารการศกึ ษา มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั นครสวรรค,์ นครสวรรค.์

วารสารพยาบาลสงขลานครินทร์ 75 ปีท่ี 35 ฉบบั พเิ ศษ เดอื นกันยายน - ธันวาคม 2558 สำ� นกั งานเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษามธั ยมศกึ ษาเขต 11. (2555). จำ� นวนนกั เรยี น หอ้ งเรยี น โรงเรยี นสงั กดั สำ� นกั งานเขตพน้ื ท่ี การศกึ ษามธั ยมศกึ ษาเขต11. คน้ จาก http://www.secondary11.go.th/th/. สำ� นกั งานสถติ แิ หง่ ชาต.ิ (2558). สำ� มะโนประชากรและเคหะ. คน้ จาก http://popcensus.nso.go.th/. อุมาพร ตรงั คสมบตั .ิ (2549). ความรนุ แรงในวยั รนุ่ ไทย: รายงานการทบทวนองคค์ วามรแู้ ละขอ้ เสนอแนะ เชงิ นโยบาย. กรงุ เทพมหานคร: องคก์ ารสงเคราะหท์ หารผา่ นศกึ . Buss, A. H., & Perry, M. (1992). The aggression questionnaire. Journal of Personality and Social Psychology, 63(3), 452 - 459. Dolph, K., & Lycan, A. (2008). Moral reasoning: A necessary standard of learning in today’s classroom. Journal of Cross-Disciplinary Perspectives in Education, 1(1), 13-19. Hymel, S., Henderson, N. R., & Bonanno, R. A. (2005). Moral disengagement: A framework for understanding bullying among adolescents. Journal of Social Sciences, 8, 1-11. Mytton, J. A., Diguiseppi, C., Gough, D., Taylor, R. S., & Logan, S. (2009). School-based secondary prevention programs for preveting violence (Review). Cochrane Database of System atic Reviews 2006, Issue 3. Art. No.: CD004606. doi:10.1002/14651858.CD00460 6. pub2. Paciello, M., Fida, R., Tramontao, C., Lupinette, C., & Caprara, G. (2008). Stability and change of moral disengagement and its impact on aggression and violence in late adolescence. Child Development, 79(5), 1288 - 1309. WHO. (2002). World report on violence and health. Geneva: World Health Organization.

76 วารสารพยาบาลสงขลานครนิ ทร์ ปที ี่ 35 ฉบบั พเิ ศษ เดือนกนั ยายน - ธนั วาคม 2558 Relationships between Moral Development, Moral Behavior and Aggressive Behavior of Students in Junior High Schools Jatuporn Juntipwaree**, Kullatat Hongchayangkool*** Pissamai Watthanasit**** Abstract The purpose of this study was to identify the relationships between moral development, moral behavior and aggressive behavior of students in junior high schools. Stratified random sampling was used to selected 470 male and female students, age between 11-15 years old, in junior high schools which under Surat Thani Secondary Education Service Area. The data were collected using 1) the demographic data, 2) the moral development questionnaire, 3) the moral behavior questionnaire and 4) the aggressive behavior questionnaire. The content validity of the instrument was examined by three experts. The Cronbach’s alpha coefficients of second, third, and fourth questionnaire were .81, .81, and .87 respectively. The data were analyzed using a descriptive statistic and spearman rank correlation. The results revealed that moral development had no correlation with aggressive behavior (r = .09, p > .05) and moral behavior had no correlation with aggressive behavior (r = -.06, p > .05). In addition, moral development had correlation with moral behavior (r = .29, p < .01). Thus, other related aggressive behavior factors should be further conducted. The further study results may be used for development of adolescents’ moral judgement skills, moral behavior, and leading to prevent aggressive behavior. Keywords : Aggressive Behavior, Moral development, Moral Behavior, Adolescent * This research was supported by Prince of Songkla University, Songkhla, Thailand ** Graduate students, Pediatric Nursing, Faculty of Nursing, Prince of Songkla University, Songkhla, Thailand *** AssistantProfessor, Faculty of Nursing, Prince of Songkla University, Songkhla Province. **** Associate Professor Faculty of Nursing, Prince of Songkla University, Songkhla Province


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook