Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แผนสัปดาห์ที่ 31 ฤดูหนาว

แผนสัปดาห์ที่ 31 ฤดูหนาว

Published by กิตติมา ศรีพรหมมา, 2022-05-18 08:02:05

Description: แผนสัปดาห์ที่ 31 ฤดูหนาว

Search

Read the Text Version

แผนการจดั ประสบการณ์ ชัน้ อนุบาล 3 สปั ดาห์ท่ี 31 ฤดูหนาว นางกิตตมิ า ศรพี รหมมา

การวเิ คราะหโครงสรา งหนว ยการจดั ประสบการณ ตามหลักสตู รการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช ๒๕๖๐ หนว ยที่ ๓๑ ฤดูหนาว ชัน้ อนบุ าลปที่ ๑ - ๓ ภาคเรียนที่ ๒ รายการ อนบุ าลปที ่ี 1 อนบุ าลปที ี่ 2 อนุบาลปีที่ 3 สาระท่ีควรเรียนรู้ 1. ฤดกู าลต่าง ๆ ในประเทศไทย 3 ฤดู 1. ฤดูกาล 3 ฤดู ฤดรู ้อน ฤดูฝน ฤดูหนาว 1. ฤดกู าล 3 ฤดู ฤดรู ้อน ฤดูฝน ฤดูหนาว ฤดูร้อน ฤดฝู น ฤดูหนาว ลกั ษณะทวั่ ไปของฤดูหนาว ชว่ งเดอื นท่ีเกดิ ฤดูกาลต่าง ๆ ในรอบปี การเกดิ 2. สภาพอากาศในฤดูหนาว การปอ้ งกนั 2. สภาพอากาศในฤดหู นาว ลมหนาว การเกิด ฤดูกาล อากาศหนาวเย็น ลม 2. สภาพอากาศในต่าง ๆ และปรากฏการณท์ ่ี ๓. สภาพภูมอิ ากาศในฤดูหนาวแหง้ ลมแรง ๓. อากาศร้อน อากาศเยน็ การเคล่อื นตัวของ เกิดขน้ึ ในฤดหู นาว การทดลอง ไฟฟา้ สถติ อากาศ ๓. แรงลมและการเคล่อื นท่ีของลม กระแสลม ๔. การดแู ลสขุ ภาพรา่ งกายในฤดูหนาว ๔. การรกั ษาสขุ ภาพของตนเองในฤดูหนาว ๔. การรักษาสุขภาพของตนเองในฤดูหนาว ๕. ความแตกต่างของฤดหู นาวในแต่ละภมู ภิ าค ๕. การเปลย่ี นแปลงของสภาพแวดล้อมในฤดู วธิ กี ารทาใหร้ า่ งกายอบอุ่นในฤดหู นาว ของประเทศไทย หนาว พืช ผกั ผลไม้ในฤดูหนาว ๕. สภาพแวดล้อมรอบตวั ในภูมิภาคต่าง ๆของ ประเทศเรา และของโลก มาตรฐาน มาตรฐานท่ี 1 ตบช 1.3 (1.3.1) มาตรฐานท่ี 1 ตบช 1.3 (1.3.1) มาตรฐานท่ี 1 ตบช 1.3 (1.3.1) ตัวบ่งชี้ มาตรฐานที่ 2 ตบช 2.1 (2.1.3) มาตรฐานท่ี 2 ตบช 2.1 (2.1.3) มาตรฐานท่ี 2 ตบช 2.1 (2.1.2) สภาพท่พี งึ ประสงค์ มาตรฐานท่ี 3 ตบช 3.2 (3.2.1) มาตรฐานท่ี 4 ตบช 4.1 (4.1.1) (4.1.3) ตบช 2.2 (2.2.1) ตบช 2.2 (2.2.3) มาตรฐานท่ี 5 ตบช 5.4 (5.4.1) มาตรฐานท่ี 3 ตบช 3.2 (3.2.1) มาตรฐานที่ 3 ตบช 3.2 (3.2.1) (3.2.2) มาตรฐานที่ 6 ตบช 6.2 (6.2.1) มาตรฐานท่ี 4 ตบช 4.1 (4.1.1) (4.1.3) มาตรฐานที่ 4 ตบช 4.1 (4.1.1) (4.1.3) มาตรฐานที่ 7 ตบช 7.1 (7.1.1) (7.1.2) มาตรฐานท่ี 5 ตบช 5.4 (5.4.1) มาตรฐานท่ี 5 ตบช 5.4 (5.4.1) มาตรฐานที่ 8 ตบช 7.1 (8.3.1) (8.3.2) มาตรฐานท่ี 6 ตบช 6.2 (6.2.1) มาตรฐานท่ี 6 ตบช 6.2 (6.2.1) มาตรฐานท่ี 7 ตบช 7.1 (7.1.1) มาตรฐานท่ี 7 ตบช 7.1 (7.1.1) มาตรฐานท่ี 8 ตบช 7.1 (8.3.1) (8.3.2) มาตรฐานท่ี 8 ตบช 7.1 (8.3.1) (8.3.2)

มาตรฐานท่ี 9 ตบช 9.1 (9.1.1) มาตรฐานที่ 9 ตบช 9.1 (9.1.1) มาตรฐานท่ี 9 ตบช 9.1 (9.1.1) มาตรฐานที่ 10 ตบช 10.1 (10.1.2) ตบช 9.2 (9.2.2) ตบช 9.2 (9.2.2) ตบช 10.2 (10.2.2) มาตรฐานท่ี10 ตบช 10.1 (10.1.2) มาตรฐานที่10 ตบช 10.1(10.1.2) (10.1.3) มาตรฐานท่ี 11 ตบช 11.1 (11.1.2) (10.1.4) (10.1.4) ตบช 11.2 (11.2.1) ตบช 10.2 (10.2.2) ตบช 10.2 (10.2.2) มาตรฐานที่ 12 ตบช 12.1 (12.1.2) มาตรฐานท่ี 11 ตบช 11.1 (11.1.2) มาตรฐานท่ี 11 ตบช 11.1 (11.1.2) ตบช 11.2 (11.2.1) ตบช 11.2 (11.2.1) มาตรฐานที่ 12 ตบช 12.1 (12.1.2) มาตรฐานที่ 12 ตบช 12.1 (12.1.2) ประสบการณส์ าคญั ดา้ นรา่ งกาย ด้านร่างกาย ด้านร่างกาย 1.1.1 การใช้กลา้ มเนื้อใหญ่ 1.1.1 การใชก้ ลา้ มเนอ้ื ใหญ่ 1.1.1 การใชก้ ลา้ มเนอ้ื ใหญ่ (2) การเคลื่อนไหวเคลื่อนท่ี (1) การเคลื่อนไหวอยกู่ บั ท่ี (1) การเคลื่อนไหวอยกู่ บั ท่ี (5) การเลน่ เคร่ืองเล่นสนามอย่างอิสระ (2) การเคล่ือนไหวเคลื่อนที่ (2) การเคล่ือนไหวเคล่ือนที่ 1.1.2 การใชก้ ล้ามเนือ้ เลก็ (5) การเล่นเครื่องเล่นสนามอยา่ งอิสระ (5) การเล่นเครื่องเลน่ สนามอย่างอสิ ระ (1) การเล่นเคร่ืองเล่นสัมผสั และการสร้างสง่ิ 1.1.2 การใช้กลา้ มเน้อื เลก็ 1.1.2 การใชก้ ล้ามเนือ้ เลก็ ตา่ ง ๆ จากแท่งไม้ บล็อก (1) การเลน่ เครื่องเล่นสัมผัสและการสร้างส่งิ (1) การเล่นเคร่ืองเลน่ สัมผัสและการสรา้ งส่งิ (2) การเขยี นภาพและการเล่นกับสี ต่าง ๆ จากแท่งไม้ บล็อก ตา่ ง ๆ จากแท่งไม้ บล็อก (3) การปน้ั (2) การเขียนภาพและการเล่นกบั สี (2) การเขียนภาพและการเล่นกับสี (3) การป้ัน (3) การป้นั 1.1.5 การตระหนกั รเู้ กีย่ วกับร่างกายตนเอง (4) การประดษิ ฐส์ ่ิงตา่ ง ๆด้วยเศษวสั ดุ (4) การประดิษฐ์สง่ิ ต่าง ๆดว้ ยเศษวสั ดุ (2) การเคลื่อนไหวโดยควบคุมตนเองไปใน (5) การหยบิ จับ การใชก้ รรไกร การฉกี การตัด 1.1.4 การรกั ษาความปลอดภัย ทศิ ทาง ระดบั และพ้ืนท่ี การปะ และการร้อยวัตถุ (1) การปฏิบตั ิตนให้ปลอดภยั ในกิจวตั ร 1.1.4 การรักษาความปลอดภยั ประจาวนั (1) การปฏิบตั ิตนใหป้ ลอดภัยในกิจวตั ร (4) การเลน่ บทบาทสมมตุ ิเหตุการณต์ า่ ง ๆ ประจาวนั

1.1.5 การตระหนักรเู้ กีย่ วกับรา่ งกายตนเอง 1.1.5 การตระหนักรเู้ ก่ยี วกับร่างกายตนเอง (2) การเคล่ือนไหวโดยควบคุมตนเองไปใน (2) การเคลื่อนไหวโดยควบคุมตนเองไปใน ทิศทาง ระดับ และพนื้ ท่ี ทิศทาง ระดับ และพื้นที่ ด้านอารมณ์ จติ ใจ ดา้ นอารมณ์ จิตใจ ดา้ นอารมณ์ จติ ใจ 1.2.1 สนุ ทรีภาพ ดนตรี 1.2.1 สุนทรีภาพ ดนตรี 1.2.1 สุนทรภี าพ ดนตรี (1) การฟังเพลง การรอ้ งเพลง และการแสดง (1) การฟังเพลง การร้องเพลง และการแสดง (1) การฟังเพลง การรอ้ งเพลง และการแสดง ปฏกิ ริ ิยาโต้ตอบเสยี งดนตรี ปฏกิ ิรยิ าโต้ตอบเสียงดนตรี ปฏิกริ ยิ าโตต้ อบเสยี งดนตรี (3) การเคลื่อนไหวตามเสยี งเพลง/ดนตรี (3) การเคล่ือนไหวตามเสยี งเพลง/ดนตรี (3) การเคลื่อนไหวตามเสยี งเพลง/ดนตรี (5) การทากจิ กรรมศลิ ปะต่าง ๆ (5) การทากจิ กรรมศลิ ปะต่าง ๆ (4) การเลน่ บทบาทสมมตุ ิ 1.2.2 การเลน่ 1.2.2 การเลน่ (5) การทากจิ กรรมศิลปะต่าง ๆ (1)การเลน่ อสิ ระ (1)การเล่นอสิ ระ 1.2.2 การเล่น (2) การเลน่ รายบุคคล กลุ่มย่อย และกลุ่มใหญ่ (2) การเล่นรายบคุ คล กลุ่มย่อย และกลุ่มใหญ่ (2) การเล่นรายบุคคล กลุ่มย่อย และกลุ่มใหญ่ (3) การเล่นตามมุมประสบการณ์/มุมเล่นต่าง ๆ (3) การเลน่ ตามมมุ ประสบการณ์/มุมเลน่ ตา่ ง ๆ (3) การเลน่ ตามมุมประสบการณ์/มมุ เล่นต่าง ๆ (4) การเลน่ นอกหอ้ งเรียน (4) การเล่นนอกห้องเรยี น (4) การเลน่ นอกหอ้ งเรียน 1.2.4 การแสดงออกทางอารมณ์ 1.2.4 การแสดงออกทางอารมณ์ 1.2.4 การแสดงออกทางอารมณ์ (3) การเคล่ือนไหวตามเสยี งเพลง/ดนตรี (3) การเคลื่อนไหวตามเสียงเพลง/ดนตรี (1) การพูดสะท้อนความรู้สึกของตนเองและ (4) การรอ้ งเพลง (4) การร้องเพลง ผู้อ่นื (3) การเคล่ือนไหวตามเสยี งเพลง/ดนตรี ด้านสังคม ดา้ นสงั คม ด้านสงั คม 1.3.4 การมีปฏสิ ัมพนั ธ์ มีวินยั มสี ่วนร่วมและ 1.3.2 การดูแลรกั ษาธรรมชาตแิ ละ 1.3.2 การดแู ลรกั ษาธรรมชาตแิ ละ บทบาทสมาชกิ ของสังคม สงิ่ แวดล้อม ส่งิ แวดล้อม (1) การให้ความรว่ มมือในการปฏิบัติกิจกรรม (2) การใช้วัสดแุ ละส่งิ ของเครื่องใชอ้ ย่างคุ้มคา่ (3) การทางานศลิ ปะทีน่ าวสั ดุหรือสิง่ ของ ตา่ ง ๆ เครือ่ งใช้ที่ใชแ้ ล้ว มาใช้ซ้าหรือแปรรูปแลว้ นา กลับมาใชใ้ หม่

1.3.5 การเลน่ และทางานแบบร่วมมือร่วมใจ 1.3.4 การมีปฏิสัมพนั ธ์ มีวินยั มสี ่วนรว่ ม 1.3.4 การมปี ฏสิ ัมพันธ์ มีวินยั มีส่วนร่วม (๒) การเล่นและการทางานรว่ มกบั ผอู้ ื่น และบทบาทสมาชิกของสังคม และบทบาทสมาชิกของสงั คม (1) การให้ความรว่ มมือในการปฏบิ ตั กิ ิจกรรม (1) การใหค้ วามรว่ มมือในการปฏบิ ัตกิ ิจกรรม ต่าง ๆ ต่าง ๆ 1.3.5 การเลน่ และทางานแบบรว่ มมือร่วมใจ 1.3.5 การเลน่ และทางานแบบร่วมมือร่วมใจ (1) การร่วมสนทนาและแลกเปลย่ี น (1) การร่วมสนทนาแลกเปลีย่ นความคิดเหน็ ความคดิ เห็น (๒) การเลน่ และการทางานร่วมกบั ผอู้ น่ื (๒) การเล่นและการทางานรว่ มกับผ้อู ่ืน ดา้ นสตปิ ัญญา ด้านสติปัญญา ดา้ นสติปญั ญา 1.4.1 การใช้ภาษา 1.4.1 การใชภ้ าษา 1.4.1 การใช้ภาษา (1) การฟังเสียงตา่ ง ๆในสง่ิ แวดลอ้ ม (1) การฟังเสียงต่าง ๆในสง่ิ แวดลอ้ ม (1) การฟังเสยี งต่าง ๆในสิง่ แวดลอ้ ม (2) การฟังและปฏิบัตติ ามตาแนะนา (2) การฟังและปฏบิ ัตติ ามตาแนะนา (2) การฟังและปฏบิ ตั ิตามตาแนะนา (3) การฟังเพลง นิทาน คาคล้องจอง บทรอ้ ย (3) การฟังเพลง นิทาน คาคล้องจอง บทร้อย (3) การฟังเพลง นิทาน คาคล้องจอง บทร้อย กรองหรือเรื่องราวต่างๆ กรองหรือเรื่องราวตา่ งๆ กรองหรือเรือ่ งราวต่างๆ (4) การพูดแสดงความคิดเหน็ ความรสู้ กึ และ (4) การพูดแสดงความคิดเหน็ ความรู้สึก และ 1.4.2 การคดิ รวบยอด การคิดเชงิ เหตุผล การ ความต้องการ ความต้องการ ตัดสินใจและแก้ปัญหา (15) การสังเกตตวั อักษรในช่ือของตนหรอื คา (5) การพูดกับผู้อืน่ เกย่ี วกบั ประสบการณ์ของ (3) การบอกและแสดงตาแหนง่ ทิศทาง และ คนุ้ เคย ตนเองหรอื พดู เล่าเร่ืองราวเกี่ยวกับตัวเอง ระยะทางของสิง่ ต่างๆ ดว้ ยการกระทา ภาพวาด 1.4.2 การคิดรวบยอด การคิดเชิงเหตผุ ล 1.4.2 การคดิ รวบยอด การคิดเชงิ เหตุผล ภาพถ่าย และรปู ภาพ การตัดสนิ ใจและแกป้ ญั หา การตัดสินใจและแกป้ ัญหา (8) การนับและแสดงจานวนของสงิ่ ตา่ ง ๆใน (3) การบอกและแสดงตาแหนง่ ทศิ ทาง และ (3) การบอกและแสดงตาแหนง่ ทศิ ทาง และ ชีวิตประจาวนั ระยะทางของสงิ่ ตา่ งๆ ดว้ ยการกระทา ระยะทางของสง่ิ ตา่ งๆ ดว้ ยการกระทา (17) การคาดเดาหรอื การคาดคะเนสง่ิ ทอ่ี าจจะ ภาพวาด ภาพถา่ ย และรปู ภาพ (5)การคัดแยก ภาพวาด ภาพถา่ ย และรูปภาพ เกดิ ขึน้ อยา่ งมีเหตผุ ล การจัดกลมุ่ และการจาแนกสิ่งต่าง ๆตาม (5) การคดั แยก การจัดกลุ่ม และการจาแนกส่งิ

1.4.3 จินตนาการและความคิดสรา้ งสรรค์ ลักษณะและรูปรา่ ง รูปทรง ต่าง ๆตามลักษณะและรปู ร่าง รูปทรง (2) การแสดงความคดิ สร้างสรรคผ์ า่ น (8) การนบั และแสดงจานวนของส่งิ ตา่ ง ๆใน (8) การนับและแสดงจานวนของสิ่งต่าง ๆใน สอื่ วัสดตุ า่ งๆผา่ นภาษาท่าทางการเคลื่อนไหว ชีวติ ประจาวนั ชีวิตประจาวัน และศลิ ปะ (14) การบอกและเรียงลาดับ กจิ กรรมหรือ (14) การบอกและเรยี งลาดับ กจิ กรรมหรือ 1.4.4 เจตคติทด่ี ตี ่อการเรียนรูแ้ ละการ เหตกุ ารณ์ตามช่วงเวลา เหตกุ ารณต์ ามชว่ งเวลา แสวงหาความรู้ (16) การอธิบายเชื่อมโยงสาเหตแุ ละผลที่ (16) การอธิบายเช่ือมโยงสาเหตแุ ละผลท่ี (1) การสารวจสง่ิ ต่างๆ และแหล่งเรยี นรู้รอบตวั เกดิ ข้นึ ในเหตุการณ์หรือการกระทา เกิดขึน้ ในเหตุการณ์หรือการกระทา (17) การคาดเดาหรือการคาดคะเนสงิ่ ทอ่ี าจจะ (17) การคาดเดาหรือการคาดคะเนสง่ิ ท่อี าจจะ เกิดขึ้นอยา่ งมีเหตุผล เกดิ ขน้ึ อย่างมีเหตผุ ล 1.4.3 จนิ ตนาการและความคิดสรา้ งสรรค์ (18) การมีสว่ นรว่ มในการลงความเห็นจาก (1) การรบั รู้และแสดงความคิด ความรู้สกึ ผา่ น ขอ้ มูลอย่างมเี หตผุ ล สื่อ วสั ดุ ของเลน่ และช้นิ งาน 1.4.3 จินตนาการและความคิดสร้างสรรค์ (2) การแสดงความคิดสร้างสรรค์ผา่ น (1) การรบั รู้และแสดงความคิด ความรสู้ กึ ผ่าน สื่อวัสดตุ า่ งๆผา่ นภาษาท่าทางการเคลื่อนไหว สือ่ วสั ดุ ของเลน่ และชิน้ งาน และศลิ ปะ (2) การแสดงความคดิ สรา้ งสรรค์ผ่าน 1.4.4 เจตคตทิ ่ดี ีต่อการเรียนรู้และการ สื่อวสั ดตุ ่างๆผ่านภาษาท่าทางการเคลอื่ นไหว แสวงหาความรู้ และศิลปะ (1) การสารวจสิ่งตา่ งๆ และแหลง่ เรียนรู้ 1.4.4 เจตคติทด่ี ีตอ่ การเรยี นรแู้ ละการ รอบตวั แสวงหาความรู้ (3) การสบื เสาะหาความรเู้ พ่ือค้นหาคาตอบ (1) การสารวจส่ิงตา่ งๆ และแหลง่ เรียนรู้ รอบตัว ของขอ้ สงสัยต่าง ๆ (3) การสบื เสาะหาความร้เู พ่ือค้นหาคาตอบ ของขอ้ สงสยั ต่าง ๆ

คณติ ศาสตร์  นับและแสดงจานวน 5  นบั และแสดงจานวน 10  นบั และแสดงจานวน 16  เปรยี บเทียบจานวนของสิ่งต่างๆ สองกลมุ่  เปรียบเทียบจานวนของสิง่ ต่างๆ สองกลุ่ม  เปรยี บเทยี บจานวนของส่งิ ต่างๆ สองกลุม่ โดยแต่ละกลุ่มมจี านวนไมเ่ กิน 5 วา่ มจี านวน โดยแตล่ ะกลุ่มมจี านวนไมเ่ กนิ 10 วา่ มี โดยแตล่ ะกลุ่มมจี านวนไม่เกนิ 16 ว่ามี เทา่ กันหรือไม่เทา่ กนั จานวนเท่ากนั หรอื ไม่เทา่ กัน จานวนเทา่ กันหรือไมเ่ ทา่ กัน  บอกจานวนทง้ั หมดท่เี กดิ จากการรวมสง่ิ  บอกจานวนทงั้ หมดทีเ่ กดิ จากการรวมส่งิ  ยอกจานวนทง้ั หมดทเ่ี กดิ จากการรวมสิง่ ต่างๆ สองกลมุ่ ท่ีมีผลรวมไม่เกิน 5 ตา่ งๆ สองกลมุ่ ที่มีผลรวมไม่เกนิ 10 ต่างๆ สองกลุม่ ท่ีมผี ลรวมไมเ่ กิน 16  เรยี งลาดับทข่ี องส่ิงตา่ งๆ จานวนไมเ่ กิน 3  เรียงลาดบั ทข่ี องสงิ่ ตา่ งๆ จานวนไม่เกิน 5  เรียงลาดับทข่ี องส่ิงต่างๆ จานวนไมเ่ กิน 7  เรยี งลาดบั เหตกุ ารณ์ในชวี ติ ประจาวนั จาแนก  เรียงลาดับเหตุการณ์หรือกจิ กรรมใน  เรียงลาดบั เหตุการณห์ รือกิจกรรมใน เหตุการณท์ ีเ่ กิดในเวลากลางวันและกลางคนื ชวี ิตประจาวัน จาแนกเหตุการณ์ตาม ชีวติ ประจาวนั จาแนกเหตกุ ารณล์ าดบั เวลา ชว่ งเวลา เชา้ สาย เทย่ี ง บ่าย เยน็ เม่ือวานนี้ วนั น้ี พรุ่งนี้ วิทยาศาสตร์ 1. การสังเกตลักษณะ การเปลี่ยนแปลงและ 1. การสังเกตลักษณะส่วนประกอบ 1. การสังเกตลักษณะส่วนประกอบ ความสัมพนั ธ์ของสิง่ ต่างๆ โดยใชป้ ระสาทสมั ผสั การเปล่ียนแปลงและความสัมพันธข์ องสง่ิ ต่างๆ การเปลย่ี นแปลงและความสมั พนั ธข์ องสง่ิ ต่างๆ พฒั นาการทางภาษา 2. การคาดคะเนสง่ิ ท่ีอาจจะเกดิ ข้ึนจากทดลอง โดยใชป้ ระสาทสมั ผสั โดยใชป้ ระสาทสัมผัส และการรหู้ นังสือ ไฟฟา้ สถิต 2. การคาดเดาหรอื คาดคะเนส่งิ ท่ีอาจจะเกิดขึ้น 2. การเปรียบเทยี บความแตกต่างอากาศร้อน และมีสว่ นรว่ มในการลงความเหน็ จากข้อมลู 1. การฟังเพลง นิทาน คาคล้องจอง จากการทดลองการเคล่ือนตัวของอากาศ อากาศเย็น 2. การพูด อธิบายเกย่ี วกับสงิ่ ของ เหตุการณ์ 3. การเปรียบเทียบความแตกตา่ งของความ และความสัมพนั ธข์ องสง่ิ ตา่ ง ๆ ร้อน ความเย็น 3. การคาดคะเนสิ่งที่อาจจะเกิดขึน้ และมีส่วน 1. การฟังเพลง นทิ าน คาคล้องจอง รว่ มในการลงความเห็นจากข้อมลู อย่างมีเหตุผล 2. การพูด อธบิ ายเก่ียวกบั สงิ่ ของ เหตุการณ์ และความสัมพนั ธข์ องสง่ิ ตา่ ง ๆ ขณะทาการทดลอง 4. การทดลองการสรา้ งกระแสลม 1. การฟังเพลง นิทาน คาคล้องจอง 2. การเหน็ แบบอย่างของการเขียนทถี่ ูกต้อง



หนว ยการจดั ประสบการณที่ ๓๑ ฤดูหนาว ชนั้ อนุบาลปท่ี ๓ แนวคดิ ประเทศไทยมีฤดูกาล 3 ฤดู คอื ฤดูรอ้ น ฤดฝู น ฤดหู นาว จะเกดิ ขึน้ ในแต่ละชว่ งของปี แตล่ ะฤดูอุณหภมู ิของอากาศต่างกนั อากาศร้อนจะเคล่ือนตวั ไดด้ ี อากาศท่ีเคลอ่ื นตัว เรยี กวา่ กระแสลม ฤดหู นาวควรทาใหร้ ่างกายอบอนุ่ เพ่ือรกั ษาสุขภาพของตนเองซ่งึ ทาได้หลายวิธี สภาพแวดล้อมและระดบั ความหนาวเย็นในฤดหู นาว ในภูมภิ าคตา่ ง ๆของประเทศเรา และของโลกต่างกัน มาตรฐาน มาตรฐานหลกั สูตรปฐมวัย จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ ประสบการณส์ าคญั สาระการเรยี นรู้ สาระท่คี วรเรยี นรู้ ตัวบ่งชี้ สภาพทพ่ี งึ ประสงค์ มาตรฐานที่ 1 1.3 รักษาความ 1.3.1เล่น ทากจิ กรรม 1. เลน่ และทากจิ กรรม 1.1.5 การตระหนักรเู้ ก่ียวกับ 1. ฤดูกาล 3 ฤดู ฤดรู อ้ น ฤดูฝน ฤดู รา่ งกาย ปลอดภัยของ และปฏบิ ตั ติ อ่ ผู้อื่น ร่วมกบั ผู้อ่ืนอย่าง ร่างกายตนเอง หนาว ชว่ งเดอื นทเ่ี กดิ ฤดูกาลตา่ ง ๆ ใน เจรญิ เตบิ โตตามวยั ตนเองและผู้อนื่ อย่างปลอดภัย ปลอดภยั (2) การเคลื่อนไหวโดยควบคุมตนเอง รอบปี การเกดิ ฤดูกาล และมสี ขุ นิสัยที่ดี ไปในทิศทาง ระดบั และพ้ืนท่ี 2. สภาพอากาศ และปรากฏการณท์ ี่ เกิดขึ้นในฤดหู นาว มาตรฐานที่ 2 2.1 เคล่อื นไหว 2.1.2 กระโดดขา 2. กระโดดขาเดยี วอยู่ 1.1.1 การใช้กลา้ มเนอ้ื ใหญ่ ๓. แรงลมและการเคลื่อนท่ีของลม กล้ามเนือ้ ใหญแ่ ละ ร่างกายอย่าง เดียวอย่กู บั ท่ีโดยไม่เสยี กบั ทไ่ี ด้ กล้ามเนอ้ื เล็ก คลอ่ งแคล่ว การทางตวั (2) การเคลื่อนไหวเคลื่อนท่ี กระแสลม แขง็ แรง ใช้ไดอ้ ยา่ ง ประสานสมั พนั ธ์ คล่องแคล่วและ และทรงตวั ได้ (5) การเลน่ เคร่ืองเลน่ สนามอย่าง ๔. การรักษาสขุ ภาพของตนเองใน ประสานสัมพันธ์ กนั อิสระ ฤดหู นาววิธีการทาใหร้ า่ งกายอบอุ่น 1.1.2 การใชก้ ลา้ มเนื้อเลก็ ๕. สภาพแวดลอ้ มและระดับความหนาว (1) การเลน่ เคร่ืองเลน่ สัมผัสและการ เยน็ ในฤดูหนาวในภูมิภาคตา่ ง ๆของ สรา้ งสงิ่ ต่าง ๆจากแทง่ ไมบ้ ล็อก ประเทศไทย และของโลก (2) การเขยี นภาพและการเล่นกบั สี (3) การปั้น

มาตรฐานหลักสตู รปฐมวัย จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ สาระการเรยี นรู้ มาตรฐาน ตัวบง่ ช้ี สภาพทพ่ี ึงประสงค์ ประสบการณส์ าคญั สาระท่คี วรเรียนรู้ มาตรฐานที่ 3 3.2 มคี วามรู้สกึ ที่ดี 3.2.1 กลา้ พดู กล้า 3. รว่ มสนทนา และพูด 1.3.5 การเล่นและทางานแบบ มีสขุ ภาพจติ ดแี ละ ตอ่ ตนเองและผู้อน่ื แสดงออกอย่าง แสดงความคิดเห็นได้ รว่ มมอื ร่วมใจ มีความสขุ เหมาะสมตาม เหมาะสมกับสถานการณ์ (1) การร่วมสนทนาและแลกเปลยี่ น สถานการณ์ ความคดิ เหน็ 3.2.2 แสดงความ 4. เล่าเรื่องเกย่ี วกับ 1.4.1 การใช้ภาษา พอใจในผลงานและ ผลงานของตนเองและ (4) การพูดแสดงความคิด ความรสู้ กึ ความสามารถของ ชนื่ ชมผลงานของผอู้ นื่ ได้ และความต้องการ ตนเองและผอู้ น่ื มาตรฐานที่ 4 4.1 สนใจมี 4.1.1 สนใจมีความสขุ 5. สรา้ งสรรคง์ านศิลปะ 1.4.3 จินตนาการและความคดิ ชน่ื ชมและ ความสุขและ และแสดงออกผา่ นงาน ไดอ้ ยา่ งมคี วามสุข สรา้ งสรรค์ แสดงออกทาง แสดงออกผ่านงาน ศลิ ปะ (1) การรับรู้และแสดงความคิด ศลิ ปะ ดนตรี และ ศลิ ปะ ดนตรี และ 4.1.3 สนใจ มี 6. แสดงท่าทาง ความร้สู กึ ผ่านสื่อ วัสดุ ของเล่น และ การเคลือ่ นไหว การเคลือ่ นไหว ความสขุ และแสดง เคล่อื นไหวประกอบ ชนิ้ งาน ทา่ ทาง/เคล่อื นไหว เพลง จังหวะและดนตรี (2) การแสดงความคิดสรา้ งสรรค์ ประกอบเพลง จังหวะ ได้ ผา่ น และดนตรี สอ่ื วสั ดุตา่ งๆผา่ นภาษาทา่ ทาง การเคล่ือนไหวและศลิ ปะ 1.2.1 สนุ ทรภี าพ ดนตรี (5) การทากจิ กรรมศลิ ปะต่าง ๆ

มาตรฐาน มาตรฐานหลักสตู รปฐมวัย จุดประสงค์การเรียนรู้ สาระการเรียนรู้ สาระที่ควรเรยี นรู้ ตัวบง่ ชี้ สภาพทพ่ี ึงประสงค์ 7. ทางานท่ีได้รับ ประสบการณส์ าคัญ มอบหมายจนสาเรจ็ 1.2.2 การเลน่ มาตรฐานท่ี 5 5.4 มีความ 5.4.1 ทางานท่ีไดร้ ับ (1) การเลน่ อสิ ระ 8. เก็บของเล่นและของ (2) การเล่นรายบุคคล กลุ่มย่อย มีคุณธรรม จรยิ ธรรม รบั ผิดชอบ มอบหมายจนสาเรจ็ ใช้ส่วนตัวเข้าทไ่ี ด้ และกลุ่มใหญ่ (3) การเล่นตามมมุ ประสบการณ์/ และมีจติ ใจทดี่ ีงาม ดว้ ยตัวเอง 9. ดูแลรักษาธรรมชาติ มุมเล่นต่าง ๆ สิง่ แวดล้อมได้ด้วยตัวเอง (4) การเล่นนอกห้องเรยี น มาตรฐานที่ 6 6.2 มีวินยั ใน 6.2.1 เก็บของเลน่ 1.2.4 การแสดงออกทางอารมณ์ มีทักษะชวี ติ และปฏบิ ตั ิ ตัวเอง ของใชเ้ ขา้ ที่อยา่ ง 10. ปฏบิ ตั ติ ามข้อตกลง (3) การเคล่ือนไหวตามเสยี งเพลง/ ตนตามหลักปรัชญา เรียบร้อยดว้ ยตนเอง ในการทากจิ กรรมและ ดนตรี เลน่ กบั ผูอ้ ื่นได้ (4) การรอ้ งเพลง ของเศรษฐกิจพอเพียง 11. ปฏิบัตติ นเป็นผนู้ า ดา้ นสังคม และผู้ตามได้ 1.3.4 การมปี ฏิสัมพนั ธ์ มีวินัย มี มาตรฐานท่ี 7 7.1 ดแู ลรักษา 7.1.1ดแู ลรกั ษา สว่ นรว่ มและบทบาทสมาชกิ ของ ธรรมชาตแิ ละ สงั คม รกั ธรรมชาติ ธรรมชาตแิ ละ ส่ิงแวดล้อมดว้ ยตวั เอง (1) การให้ความร่วมมือในการปฏบิ ตั ิ กิจกรรมตา่ ง ๆ สงิ่ แวดล้อม วฒั นธรรม ส่ิงแวดล้อม 1.3.5 การเล่นและทางานแบบ ร่วมมอื ร่วมใจ และความเป็นไทย (๒) การเลน่ และการทางานรว่ มกบั ผ้อู นื่ มาตรฐานที่ 8 8.3 ปฏบิ ัติตน 8.3.1 มสี ว่ นรว่ มสร้าง อยรู่ ว่ มกับผ้อู น่ื ได้อยา่ ง เป็นเบอ้ื งต้นใน ข้อตกลงและปฏิบัติ มคี วามสขุ และปฏิบตั ิ การเปน็ สมาชกิ ท่ี ตามข้อตกลงดว้ ย ตนเปน็ สมาชิกท่ีดีของ ดีของสังคม ตนเอง สงั คมในระบอบ 8.3.2 ปฏบิ ัตติ นเป็น ประชาธิปไตย ผูน้ าและผู้ตามได้ อนั มีพระมหากษัตรยิ ์ เหมาะสมกบั ทรงเปน็ ประมขุ สถานการณ์

มาตรฐานหลักสตู รปฐมวัย จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ สาระการเรยี นรู้ มาตรฐาน ตวั บ่งช้ี สภาพที่พงึ ประสงค์ ประสบการณส์ าคญั สาระท่คี วรเรยี นรู้ มาตรฐานที่ 9 9.1 สนทนาโตต้ อบ 9.1.1 ฟงั ผู้อ่ืนพูดจน 12. สนทนาโต้ตอบขณะ ด้านสตปิ ญั ญา ใชภ้ าษาสื่อสารให้ เล่าเรื่องใหผ้ อู้ ่ืน จบและสนทนาโตต้ อบ รว่ มทากิจกรรมได้ 1.4.1 การใชภ้ าษา เหมาะสมกับวัย เข้าใจ อย่างต่อเนอ่ื ง เชื่อมโยง (1) การฟังเสียงตา่ ง ๆในส่งิ แวดล้อม กบั เรือ่ งทีฟ่ งั 13. เขียนชื่อของตนเอง (2) การฟังและปฏิบตั ติ ามตาแนะนา 9.2.2 เขียนชือ่ ของ ตามแบบได้ (3) การฟังเพลง นิทาน คาคล้องจอง ตนเองตามแบบ เขยี น บทร้อยกรองหรือเร่ืองราวตา่ งๆ ขอ้ ความดว้ ยวิธที ีค่ ิด 1.4.2 การคิดรวบยอด การคดิ เชงิ ข้ึนเอง เหตุผล การตัดสนิ ใจและแก้ปญั หา มาตรฐานที่ 10 10.1 10.1.2 จบั คู่และ 14. จับคหู่ รือ (3) การบอกและแสดงตาแหนง่ มีความสามารถใน มคี วามสามารถใน เปรียบเทียบความ เปรยี บเทียบสิง่ ตา่ ง ๆ ทศิ ทาง และระยะทางของสิ่งต่างๆ การคดิ ที่เป็น การคิดรวบยอด แตกต่างและความ ตามลักษณะได้ ดว้ ยการกระทา ภาพวาด ภาพถ่าย พ้นื ฐานในการ เหมอื นของส่งิ ตา่ ง ๆ และรูปภาพ เรียนรู้ โดยใชล้ กั ษณะทีส่ งั เกต (8) การนับและแสดงจานวนของสง่ิ พบ 2 ลกั ษณะ ตา่ ง ๆในชวี ติ ประจาวนั 10.2 10.1.3 จาแนกและ 15. จาแนกและจดั กลุม่ (17) การคาดเดาหรือการคาดคะเน มีความสามารถใน จัดกลุ่มส่งิ ตา่ ง ๆโดยใช้ สิ่งต่างได้ ส่ิงทอี่ าจจะเกดิ ข้ึนอยา่ งมีเหตุผล การคดิ เชิงเหตุผล ต้ังแต่ 2 ลักษณะข้ึนไป เปน็ เกณฑ์ 10.1.4 เรียงลาดบั 16. เรยี งลาดับสิง่ ของ ส่ิงของหรือเหตกุ ารณ์ หรอื เหตกุ ารณ์ได้ อยา่ งน้อย 5 ลาดบั

มาตรฐานหลักสตู รปฐมวัย จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ สาระการเรยี นรู้ มาตรฐาน ตวั บง่ ช้ี สภาพทพ่ี งึ ประสงค์ 27. สร้างผลงานทาง ประสบการณส์ าคัญ สาระท่คี วรเรียนรู้ ศลิ ปะตามความคิด มาตรฐานที่ 11 11.1 ทางานศลิ ปะ 11.1.1 สร้างผลงาน สร้างสรรค์ได้ 1.4.3 จนิ ตนาการและความคดิ มจี ินตนาการและ ตามจินตนาการและ ศลิ ปะเพ่อื ส่ือสาร 28. แสดงท่าทางตาม สร้างสรรค์ ความคดิ และจนิ ตนาการ ความคดิ ความคิดสรา้ งสรรค์ ความคดิ ความรู้สึก ได้ (2) การแสดงความคิดสรา้ งสรรค์ สรา้ งสรรค์ ของตนเอง โดยมกี าร ผ่านส่อื วัสดุตา่ งๆผ่านภาษาท่าทาง ดัดแปลงและแปลก การเคลอ่ื นไหวและศิลปะ ใหมจ่ ากเดิมหรือมี รายละเอียดเพิ่มขน้ึ 11.2 แสดงทา่ ทาง/ 11.2.1 เคลอ่ื นไหว 1.4.4 เจตคติท่ีดตี ่อการเรยี นรูแ้ ละ การแสวงหาความรู้ เคลอ่ื นไหวตาม ทา่ ทางเพือ่ สื่อสาร (3 )การสารวจส่งิ ตา่ งๆ และแหลง่ เรียนรู้รอบตวั จนิ ตนาการอย่าง ความคดิ ความรสู้ ึก สร้างสรรค์ ของตนเองอยา่ ง หลากหลายหรอื แปลก ใหม่ มาตรฐานที่12 12.1 มเี จตคติทด่ี ี 12.1.2 กระตอื รือร้น 29. ร่วมเล่นและทา มีเจตคตทิ ดี่ ีต่อ ต่อการเรียนรู้ ในการรว่ มกจิ กรรม กิจกรรมไดอ้ ยา่ ง การเรียนรู้ และมี ความสามารถใน สนกุ สนาน การแสวงหา ความรู้ได้ เหมาะสมกับวัย

ผังความคิดแผนการจัดประสบการณ์หน่วยฤดูหนาว ช้ันอนุบาลปที ่ี 3 ๒. กจิ กรรมเสริมประสบการณ์ ๑. กจิ กรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ 1. ฤดูกาล 3 ฤดู ฤดูรอ้ น ฤดูฝน ฤดหู นาว ช่วงเดือนทีเ่ กิด ๓. กิจกรรมศลิ ปะสรา้ งสรรค์ ฤดูกาลต่าง ๆ ในรอบปี การเกิดฤดูกาล 1. การปะตดิ ภาพดว้ ยเศษวัสดุ 1. เคลอ่ื นไหวร่างกายประกอบเพลง 3 ฤดู 2. สภาพอากาศและปรากฏการณท์ เ่ี กดิ ขนึ้ ในฤดหู นาว 2. การประดิษฐว์ ่าวรูปนก ตามจินตนาการ 3. แรงลมและการเคลื่อนที่ของลม 3. การกล้งิ สี 2. เคลอื่ นไหวร่างกายตามจนิ ตนาการ 4. ทดลองการสร้างกระแสลม 4. การเป่าสี คลา้ ยการเคลื่อนไหวของขนนกปลวิ 5. การรักษาสขุ ภาพของตนเองในฤดูหนาววิธีการทาให้ 5. การพับสแี ละต่อเติมเป็นรูปกา้ น 3. เคลอ่ื นไหวปฏิบัติตนเป็นผนู้ า ผ้ตู าม ร่างกายอบอนุ่ ไม้ขดี ไฟ 4. การเคลอ่ื นไหวตามคาบรรยาย สภาพแวดลอ้ มและระดบั ความ 6. ปั้นดินน้ามัน 5. การเคล่อื นไหวตามเสียงเพลงและดนตรี หนาวเยน็ ในฤดหู นาวในภมู ิภาคต่าง ๆของประเทศเรา และ ของโลกต่างกัน หนว่ ยฤดูหนาว ๖. กิจกรรมเกมการศึกษา ๔. กจิ กรรมเลน่ ตามมุม ช้นั อนบุ าลปที ี่ 3 เล่นตามมมุ ประสบการณ์ - มมุ หนงั สอื ๕. กิจกรรมกลางแจง้ 1. เกมจัดหมวดหมูภ่ าพฤดูกาล - มมุ บล็อก 2. เกมจบั คู่ภาพกับสญั ลกั ษณ์ 5 - 10 - มุมบทบาทสมมตุ ิ 1. เกมเป่ากอ้ นกระดาษ 3. เกมจับคู่ภาพทิศทางการพัดของกระแสลม - มมุ เคร่ืองเล่นสมั ผสั 2. เลน่ วา่ ว 3. วดั กระแสลมอย่างง่าย 4. เกมโดมิโนเครอ่ื งแต่งกายในฤดูหนาว 4. เกมหลบภยั พายรุ า้ ย 5. เกมเรยี งลาดบั ภาพความหนาวในสถานท่ตี ่าง ๆ 5. เกมมนุษยน์ า้ แข็ง

การวางแผนกจิ กรรมรายหน่วยการจัดประสบการณช์ ้ันอนบุ าลปที ่ี 3 หน่วยฤดูหนาว วันที่ เคลอ่ื นไหวและจังหวะ เสรมิ ประสบการณ์ ศิลปะสร้างสรรค์ กิจกรรม เลน่ ตามมุม กลางแจ้ง เกมการศกึ ษา 1 เคลอื่ นไหวรา่ งกาย ฤดกู าล 3 ฤดู ฤดรู ้อน - การปะตดิ ภาพดว้ ย - เลน่ ตามมุม ได้แก่ เกมเปา่ ก้อนกระดาษ เกมจัดหมวดหมู่ภาพ ประกอบเพลง 3 ฤดู ฤดูฝน ฤดูหนาว ช่วง เศษวัสดุ มุมหนังสอื มมุ บลอ็ ก ฤดกู าล ตามจินตนาการ เดือนที่เกิดฤดูกาล - ปั้นดินนา้ มัน มุมบทบาทสมมตุ ิ ตา่ ง ๆ ในรอบปี มมุ เคร่ืองเล่นสมั ผัส การเกิดฤดกู าล 2 เคลอ่ื นไหวรา่ งกายตาม สภาพอากาศ และ - การประดษิ ฐว์ า่ วรปู - เลน่ ตามมมุ ไดแ้ ก่ เลน่ วา่ ว เกมจบั ค่ภู าพกบั สญั ลกั ษณ์ 5 - 10 จินตนาการ ปรากฏการณ์ท่เี กิดขนึ้ นก มมุ หนงั สือ มมุ บลอ็ ก คล้ายขนนกปลิว ในฤดูหนาว - ปั้นดินนา้ มนั มมุ บทบาทสมมุติ มมุ เคร่ืองเล่นสัมผสั 3 เคลื่อนไหวรา่ งกาย แรงลมและการเคล่ือนที่ - การกลิ้งสี - เล่นตามมมุ ได้แก่ วดั กระแสลมอยา่ งง่าย เกมจับคู่ภาพทศิ ทาง ปฏบิ ัติตนเปน็ ผูน้ า ของลม - ปั้นดินน้ามัน มมุ หนงั สอื มุมบลอ็ ก การพัดของกระแสลม ผ้ตู าม ทดลองการสร้าง มมุ บทบาทสมมตุ ิ กระแสลม มมุ เครื่องเลน่ สัมผสั 4 การเคล่ือนไหวตามคา การรักษาสุขภาพของ - การเป่าสี - เลน่ ตามมุม ไดแ้ ก่ เกมหลบภัยพายุร้าย เกมโดมิโนเคร่ือง มุมหนงั สือ มมุ บล็อก แตง่ กายในฤดหู นาว บรรยาย ตนเองในฤดูหนาว - ปั้นดินน้ามัน มุมบทบาทสมมตุ ิ มุมเครื่องเล่นสมั ผัส วิธีการทาใหร้ า่ งกาย อบอุ่น

วนั ท่ี เคลื่อนไหวและจังหวะ เสรมิ ประสบการณ์ ศิลปะสรา้ งสรรค์ กิจกรรม เล่นตามมุม กลางแจ้ง เกมการศกึ ษา เกมเรยี งลาดบั ภาพ 5 การเคลือ่ นไหวตาม สภาพแวดลอ้ มและ - การพับสแี ละต่อเติม - เล่นตามมมุ ได้แก่ เกมมนุษยน์ า้ แข็ง หนาวในสถานทีต่ ่าง ๆ เสยี งเพลงและดนตรี ระดับความหนาวเย็นใน เป็นกา้ นไมข้ ดี ไฟ มมุ หนงั สือ มุมบลอ็ ก ฤดูหนาวของภูมภิ าค - ปั้นดินนา้ มัน มุมบทบาทสมมตุ ิ ต่าง ๆของประเทศไทย มมุ เครื่องเลน่ สัมผัส และของโลกตา่ งกัน

แผนการจัดประสบการณช ัน้ อนุบาล ๓ หนวยท่ี ๓๑ ฤดหู นาว สัปดาหท่ี ๓๑ คร้ังที่ ๑ วนั ท.่ี ...............เดอื น..........................พ.ศ..................... จุดประสงคก์ าร สาระการเรียนรู้ กจิ กรรมการเรียนรู้ สอ่ื การประเมนิ พัฒนาการ เรยี นรู้ สงั เกต ประสบการณ์สาคญั สาระท่คี วรเรียนรู้ 1. เดก็ เคลื่อนไหวรา่ งกายไปทวั่ บรเิ วณอย่าง 1. เครื่องเคาะจังหวะ ความสนใจมีความสุข กจิ กรรม อสิ ระ เม่ือไดย้ ินสัญญาณหยุดใหห้ ยดุ เคลอ่ื นไหว 2. เพลง 3 ฤดู และแสดงท่าทาง/ เคลื่อนไหวและ (1) การเคลื่อนไหว ในท่านน้ั ทนั ที โดยในแตล่ ะรอบครตู กลงกับเด็ก เคลอ่ื นไหวประกอบเพลง จังหวะ โดยควบคมุ ตนเอง ให้เคล่อื นไหวอยกู่ ับท่ีและเคล่ือนที่ สลับกนั ไป จงั หวะ และดนตรี สนใจ มีความสขุ ไปในทิศทาง ระดบั 2. ครแู นะนาการปฏบิ ตั ิกจิ กรรมเคลอื่ นไหว และแสดงท่าทาง/ และพนื้ ที่ ประกอบเพลง 3 ฤดู สงั เกต เคลื่อนไหวประกอบ (3) การเคล่ือนไหว 3. เด็กและครรู ว่ มกันร้องเพลง 3 ฤดู 1. การฟังผู้อ่ืนพูดจนจบ เพลง และดนตรี ได้ ตามเสียงเพลง/ 4. เด็กเคล่อื นไหวร่างกายตามจติ นาการ และสนทนาโตต้ อบอย่าง ดนตรี ประกอบเพลง 3 ฤดู ต่อเนอ่ื งเช่อื มโยงกบั เรอ่ื งท่ี 5. ปฏบิ ัตกิ จิ กรรมในข้อ 4 ซ้า 2 - 3 รอบ ฟัง 6. พกั คลายกล้ามเนอ้ื เตรียมทากิจกรรมต่อไป 2. การอา่ นคา ตัวเลขด้วย การชหี้ รือกวาดตามอง กจิ กรรมเสริม (2) การฟังและ ๑. ฤดกู าลในประเทศไทย 1. เด็กและครรู ่วมกันร้องเพลง 3 ฤดู 1. เพลง 3 ฤดู จดุ เรม่ิ ต้นและจดุ จบของ ประสบการณ์ ปฏบิ ตั ติ าม ๓ ฤดู ได้แก่ ฤดูรอ้ น ๒. สนทนาร่วมกันเกยี่ วกับเพลง และลักษณะ 2. ปฏิทนิ 1.ฟังผู้อน่ื พดู จนจบ คาแนะนา ฤดูฝน ฤดหู นาว ทว่ั ไปของฤดูกาลฤดูร้อน ฤดูฝน ฤดหู นาว และสนทนาโตต้ อบ (๔) การพูดแสดง 2. ชว่ งเดือนทีเ่ กิดฤดูกาล 3. ครแู สดงปฏิทินทีแ่ สดงเดือนทั้ง 12 เดือนใน อย่างต่อเนื่อง ความคดิ เห็น ตา่ ง ๆในประเทศไทย หนึง่ ปี ให้เดก็ สังเกตส่วนประกอบและรว่ มกัน เช่อื มโยงกับเร่ืองที่ ความรสู้ กึ และ 3. ลกั ษณะโดยท่ัวไปของ อา่ นชือ่ วนั เดือน บอกสญั ลกั ษณ์ตวั เลข ฟังได้ ความต้องการ ฤดูหนาว 4. เด็กร่วมแสดงความคดิ เหน็ จากประสบการณ์ 2. อ่านคา ตัวเลข เดมิ ของตนเองเก่ยี วกับชว่ งเดอื นทเ่ี กิดฤดูกาล

จุดประสงคก์ าร สาระการเรียนรู้ กิจกรรมการเรียนรู้ สอ่ื การประเมินพัฒนาการ ขอ้ ความได้ เรยี นรู้ ประสบการณส์ าคัญ สาระท่คี วรเรยี นรู้ ต่าง ๆ ในประเทศไทย ครอู ธิบายเพมิ่ เติม ความรทู้ ีถ่ ูกตอ้ งแกเ่ ดก็ ด้วยการช้หี รอื กวาด 5. สนทนาร่วมกนั ถงึ ฤดูกาลในปัจจบุ ันคือ ฤดหู นาว โดยใชค้ าถาม ตามองจดุ เร่ิมตน้ และ - ต่นื มาเชา้ วนั นเ้ี ด็ก ๆ รสู้ ึกอย่างไรบ้าง - เดก็ ๆ ชอบ ฤดูหนาวหรือไมเ่ พราะเหตุใด จดุ จบของข้อความ 6. สรุปร่วมกันเก่ยี วกับฤดกู าลในประเทศไทย ได้ กจิ กรรมศลิ ปะ (3) การป้นั 1. เด็กทากิจกรรมปั้นดนิ น้ามัน และการตดิ ปะ 1. กาว สงั เกต 1. การติดปะภาพด้วยเศษ สร้างสรรค์ (5) การทางาน ภาพด้วยเศษวสั ดุ 2. กรรไกร วสั ดุ 2. ตรวจผลงาน สรา้ งสรรค์งานศลิ ปะ ศลิ ปะ 2. เตรยี มภาพทจี่ ะให้เด็กใช้ทากจิ กรรมการตดิ 3. เศษวสั ดุ ไดแ้ ก่ สาลี ดว้ ยเทคนคิ การติด ปะภาพดว้ ยเศษวัสดุ สนทนาภาพร่วมกนั กระดาษสี เศษใบไม้ ปะภาพดว้ ยเศษวสั ดุ ๓. ครูแนะนาข้นั ตอนการติดปะภาพด้วยเศษวัสดุ ได้อยา่ งสวยงามและ ตามจนิ ตนาการ สรา้ งสรรค์ ๔. เด็กปฏบิ ัตกิ จิ กรรมติดปะภาพดว้ ยเศษวัสดุ ๕. เด็กนาเสนอผลงาน ๖. เกบ็ อุปกรณ์และทาความสะอาดห้องเรียน

จดุ ประสงค์การ สาระการเรียนรู้ กจิ กรรมการเรยี นรู้ สอ่ื การประเมนิ พฒั นาการ สงั เกต เรียนรู้ ประสบการณ์สาคัญ สาระที่ควรเรยี นรู้ การเก็บของเลน่ ของใชเ้ ขา้ ท่ีอยา่ งเรยี บร้อยด้วย กิจกรรมเลน่ (1) การเลน่ เคร่ือง 1. ครแู นะนากจิ กรรมตามมุมประสบการณ์ - มมุ ประสบการณ์ใน ตนเอง ห้องเรียน ตามมุม เลน่ สมั ผัสและ 2. เดก็ เลอื กกจิ กรรมเสรีในมุมประสบการณ์ตาม สังเกต - นกหวีด การเล่น ทากจิ กรรมและ เล่น ทากจิ กรรมและ การสร้างจากแท่งไม้ ความสนใจมุมประสบการณ์อยา่ งน้อย ๔ มุม - อปุ กรณเ์ ลน่ เกมเปา่ ปฏิบัตติ ่อผูอ้ น่ื อย่าง ก้อนกระดาษ ได้แก่ ปลอดภัย ปฏิบัติต่อผอู้ ่นื อยา่ ง บล็อก - มุมธรรมชาติศึกษา - มุมหนังสอื กระดาษทาเปน็ ก้อน ขนาดพอดกี ับแรงเปา่ ปลอดภัย (2) การเลน่ - มุมบล็อก - มมุ เกมการศึกษา ของเด็ก เทปกาว กาหนดลู่ และเสน้ ชยั รายบคุ คล - บทบาทสมมติ - มุมเคร่อื งเลน่ สมั ผัส กลุ่มยอ่ ย กลุ่มใหญ่ 2. เมือ่ หมดเวลาเดก็ เก็บของเข้าทใ่ี ห้เรียบร้อย (3) การเลน่ ตามมุม 3. ครชู มเชยเด็กทเี่ กบ็ ของเข้าที่ได้เรียบร้อยเปน็ ประสบการณ์ การปฏิบัติที่ดที าให้ของไม่สญู หายปะปนกันเป็น ผมู้ ีความรับผดิ ชอบ กิจกรรมกลางแจง้ 1. นาเดก็ ไปที่สนาม สรา้ งข้อตกลงเกยี่ วกบั เลน่ ทากิจกรรมและ ปฏบิ ัติตอ่ ผอู้ ื่นอยา่ ง การปฏบิ ัติตนร่วมกัน ปลอดภยั ได้ 2. เดก็ ยนื เปน็ วงกลม เดก็ ๆ ขานชื่อฤดู ตามลาดบั (ฤดรู ้อน ฤดูฝน ฤดูหนาว)จนครบ ทุกคน เด็กจาชอ่ื ฤดูทต่ี นเองขานไว้ แล้วแยก กลุ่มที่ขานช่ือเหมือนกัน ออกเปน็ 3 กลุ่ม 3. เด็กเลน่ เกมแข่งขนั เป่ากอ้ นกระดาษ ครู แนะนากตกิ า โดย ใชเ้ ทปกาวกาหนดลกู่ ารเป่า ก้อนกระดาษยาว 1 - 2 เมตร และเส้นชัย แต่ละกล่มุ สง่ ตัวแทนออกมาแขง่ เปา่ ก้อน กระดาษดว้ ยแรงลมจากปากให้ถงึ เส้นชัย สาธิตเกม

จุดประสงค์การ สาระการเรียนรู้ กจิ กรรมการเรยี นรู้ สอ่ื การประเมินพัฒนาการ เรยี นรู้ ประสบการณส์ าคญั สาระทคี่ วรเรยี นรู้ ๔. เด็กๆ เลน่ เกมรว่ มกัน 2 - 3 รอบ 5. สรุปกจิ กรรม เก่ียวกับสาเหตกุ ารเคล่ือนท่ี ของก้อนกระดาษเกิดจากแรงลม 6. ทาความสะอาดรา่ งกาย กลับหอ้ งเรียน กิจกรรมเกม (5) การคัดแยก เกมจัดหมวดหมูภ่ าพ 1. นาเกมจัดหมวดหมภู่ าพเหตกุ ารณ์มาใหเ้ ดก็ 1. เกมจดั หมวดหมูภ่ าพ สงั เกต สงั เกตและสนทนาเกีย่ วกบั ภาพในเกม แนะนา เหตกุ ารณ์ การเปรยี บเทยี บความ การศึกษา การจับกล่มุ และ เหตุการณ์ และสาธิตเกมเกมจัดหมวดหมู่ภาพเหตกุ ารณ์ 2. เกมท่ีเลน่ มาแล้ว แตกตา่ งและความเหมือน 2. ครูและเด็กรว่ มกนั สรา้ งข้อตกลงเกย่ี วกับ ของสิ่งตา่ งๆ 1. นาชิ้นสว่ นของ การจาแนกสง่ิ ต่าง ๆ ขั้นตอนและวิธีการเล่นเกมการศึกษาโดย การทากจิ กรรมร่วมกัน แบง่ กลมุ่ เด็กกลุ่มละ 4-5 คน แต่ละกล่มุ ร่วมกนั ผูอ้ นื่ ภาพเหตกุ ารณ์ท่ี ตามเหตุผล คดิ วางแผนเลน่ เกม รูจ้ ักแบ่งปนั รอคอย และ ช่วยกนั เก็บเกมเม่อื เล่นเสรจ็ แตกต่างกนั มาจดั เขา้ ๓. เด็กเล่นเกมชุดใหมแ่ ละเกมที่เคยเล่นมาแล้ว หมุนเวียนกนั จนครบทุกเกม พวกกัน ๔. รว่ มกนั สนทนาสรุปเก่ียวกับเกมจัดหมวดหมู่ ภาพเหตกุ ารณ์ 2. เล่น ทากจิ กรรม ร่วมกันผ้อู ่นื โดยมี จุดมุง่ หมายเดียวกนั ได้

แผนการจัดประสบการณช น้ั อนบุ าล ๓ หนว ยท่ี ๓๑ ฤดูหนาว สปั ดาหท ่ี ๓๑ คร้ังที่ ๒ วันท.่ี ...............เดือน..........................พ.ศ..................... จดุ ประสงคก์ าร สาระการเรียนรู้ กิจกรรมการเรยี นรู้ สอ่ื การประเมิน เรียนรู้ ประสบการณ์สาคัญ สาระท่ีควรเรียนรู้ พฒั นาการ (1) การฟังเพลง 1. กจิ กรรมพ้นื ฐาน ให้เด็กเคลอื่ นไหวรา่ งกายไปท่ัว ขนนกรอ้ ยดา้ ยผกู ตดิ สังเกต กิจกรรมเคลอ่ื นไหว บริเวณอย่างอสิ ระตามจงั หวะ เม่อื ไดย้ นิ สัญญาณ กบั ปลายไม้ การแสดงตาม และจังหวะ การรอ้ งเพลง และ “หยดุ ” ใหห้ ยุดเคลื่อนไหวในท่านนั้ ทนั ที จนิ ตนาการ สนใจ มีความสขุ และ การแสดงปฏกิ ิรยิ า 2. ครูนาขนนก รอ้ ยดา้ ยผูกติดกับปลายไม้ มาให้เด็ก แสดงท่าทาง/ โต้ตอบเสียงดนตรี สงั เกตการเคล่ือนไหวเม่อื ถกู ลมพดั สังเกต เคล่ือนไหวตาม (3) การเคล่ือนไหวตาม 3.เด็กทกุ คนยนื กระจายทว่ั ห้อง แลว้ ทาท่าทางตาม 1. การฟังผูอ้ นื่ พดู จน จนิ ตนาการได้ จนิ ตนาการ จินตนาการเลียนแบบการเคลื่อนไหวของขนนก จบและสนทนา 3. ปฏิบตั ติ ามข้อ 3 ซา้ 2 - 3 ครง้ั โตต้ อบอย่างต่อเนื่อง กิจกรรมเสริม เช่ือมโยงกบั เร่ืองท่ีฟงั ประสบการณ์ (2) การฟังและปฏบิ ตั ิ 1. สภาพอากาศใน ๑. เดก็ และครรู ่วมกนั ร้องเพลงวา่ ว พร้อมทาทา่ ทาง เพลงว่าว ฟงั ผู้อ่นื พูดจนจบ ตามคาแนะนา ฤดูตา่ ง ๆ ประกอบเพลง และสนทนาโตต้ อบ (๔) การพูดแสดงความ 2. ฤดหู นาวอากาศ 2. สนทนาร่วมกันเกยี่ วกบั การละเล่นว่าวในฤดูหนาว อย่างต่อเนือ่ ง คิดเหน็ ความรูส้ ึกและ หนาวเยน็ ลมแรง มี โดยใช้คาถาม เชอ่ื มโยงกบั เร่ืองที่ ความต้องการ หมอกหนาทบึ ฝนไม่ตก ฟังได้ พ้ืนดนิ อากาศแหง้ - เดก็ รจู้ ักการเล่นวา่ วหรอื ไม่อย่างไร - ทาไมจงึ มีการเลน่ ว่าวในฤดหู นาว 3. ครูนาสนทนาเกยี่ วกบั เนอ้ื เพลง สอบถามและอธบิ าย ร่วมกนั เกีย่ วกบั สภาพภูมิอากาศและปรากฏการณ์ใน ฤดูหนาว 4. สรปุ ร่วมกนั ถงึ สภาพอากาศในฤดหู นาว การเกิด กระแสลม ลมหนาว และความแห้งของอากาศ

จุดประสงค์การ สาระการเรียนรู้ กจิ กรรมการเรยี นรู้ สอ่ื การประเมิน เรยี นรู้ พฒั นาการ ประสบการณส์ าคัญ สาระที่ควรเรียนรู้ กิจกรรมศิลปะ 1. ครนู าผลงานวา่ วมาแสดงให้เดก็ ดู 1. ดินน้ามนั สังเกต สร้างสรรค์ (3) การปั้น การประดิษฐ์ (5) การทางานศิลปะ 2. แบ่งกลุ่มเด็ก สรา้ งข้อตกลงในการทากจิ กรรมร่วมกนั 2. อุปกรณ์ การทางานศิลปะ วา่ วรปู นกได้ (6) การสรา้ งสรรค์ อย่างสวยงามและ สง่ิ สวยงาม ๓. ครูแนะนาอุปกรณแ์ ละสาธติ ข้นั ตอนการประดิษฐ์ ประดษิ ฐ์งเู ตน้ ระบา ประดิษฐ์ สร้างสรรค์ ว่าวรปู นก ๔. เด็กปฏิบตั กิ จิ กรรมการประดษิ ฐ์ว่าวรปู นก ๕. ตกแตง่ ว่าวรปู นกของตนใหส้ วยงามตามจินตนาการ 6. เดก็ ปัน้ ดนิ นา้ มัน 7. เก็บอุปกรณ์และทาความสะอาดห้องเรยี น กจิ กรรมเลน่ ตาม (3) การใหค้ วาม 1. เด็กเลอื กกจิ กรรมเสรีในมุมประสบการณ์ตามความ อปุ กรณ์ สังเกต มุม ร่วมมอื ในการปฏิบัติ เก็บของเลน่ ของใช้ กิจกรรมตา่ ง ๆ สนใจมุมประสบการณ์ควรมีอยา่ งนอ้ ย ๔ มมุ เชน่ มมุ ประสบการณ์ การเกบ็ ของเลน่ ของ เข้าท่ีอย่าง เรยี บรอ้ ยได้ดว้ ย - มมุ วทิ ยาศาสตร์ ในห้องเรยี นว่าวรปู ใชเ้ ข้าท่ีอย่าง ตนเอง - มมุ หนงั สือ นก เรียบร้อยด้วยตนเอง กิจกรรมกลางแจ้ง (3) การเลน่ นอก เล่น ทากจิ กรรม หอ้ งเรียน - มุมบลอ็ ก และปฏบิ ัตติ ่อผู้อนื่ อยา่ งปลอดภัยได้ - มมุ บทบาทสมมติ 2. ชมเชยเดก็ เก็บของเข้าท่ีให้เรยี บร้อย 1. นาเดก็ ไปทีส่ นาม สรา้ งข้อตกลงเกย่ี วกับการปฏิบัติ - สนาม สงั เกต ตน - เพลงลมเพลมพัด การเล่น ทากิจกรรม 2. เดก็ ยนื เปน็ วงกลม ทาทา่ บริหารร่างกาย และปฏบิ ตั ิตอ่ ผู้อื่น 3. เด็กเล่นวิง่ วา่ วรูปนกทป่ี ระดิษฐใ์ นกิจกรรมสรา้ งสรรค์ อยา่ งปลอดภัย อยา่ งอิสระในสนาม ครูดแู ลอย่างใกล้ชิด 4. สรปุ กจิ กรรมเก่ยี วกับการทาให้วา่ วของตนเองลอย 5. ทาความสะอาดร่างกายกลับชัน้ เรียน

จุดประสงค์การ สาระการเรยี นรู้ กจิ กรรมการเรยี นรู้ สอ่ื การประเมนิ พัฒนาการ เรยี นรู้ ประสบการณ์สาคญั สาระท่ีควรเรยี นรู้ กิจกรรมเกม การศึกษา (13) การจับคู่ เกมจับคู่ภาพกบั ภาพกบั 1. นาเกมจบั คภู่ าพกบั ภาพกับสัญลักษณแ์ ทน 1. เกมจบั คภู่ าพกับภาพ สงั เกต นาภาพจานวนมา จานวน 5 - 10 มาใหเ้ ด็กสงั เกตและสนทนา กบั สัญลกั ษณ์แทน จับคแู่ ละเปรยี บเทยี บ จดั คกู่ บั ภาพท่ีมี การเปรยี บเทียบ สัญลกั ษณ์แทนจานวน เกยี่ วกบั ภาพในเกม แนะนาและสาธิตเกม จานวน 5-10 ความแตกต่างและความ สัญลักษณเ์ ท่ากนั ได้ 2. ครแู ละเด็กร่วมกนั สร้างข้อตกลงเก่ยี วกบั 2. เกมชดุ เดมิ ในมมุ เกม เหมือนของสง่ิ ตา่ งๆได้ ความเหมือน 5 - 10 ขัน้ ตอนและวิธกี ารเลน่ เกมการศึกษาโดย การศึกษา แบ่งกลุ่มเด็กกล่มุ ละ 4 - 5 คน แต่ละกลุม่ ความตา่ ง รว่ มกันคดิ วางแผนเล่นเกม รู้จกั แบ่งปนั รอคอย และชว่ ยกนั เก็บเกมเม่ือเลน่ เสร็จ ๓. เดก็ เล่นเกมชุดใหม่และเกมทเี่ คยเล่นมาแล้ว หมุนเวียนกนั จนครบทุกเกม ๔. รว่ มกันสนทนาสรปุ เกีย่ วกับเกมจับคภู่ าพกับ สญั ลกั ษณ์แทนจานวน 5 - 10

แผนการจัดประสบการณช ้ันอนบุ าล ๓ หนว ยที่ ๓๑ ฤดหู นาว สปั ดาหท่ี ๓๑ คร้ังที่ ๓ วนั ท่ี................เดือน..........................พ.ศ..................... จุดประสงค์การ สาระการเรยี นรู้ กิจกรรมการเรียนรู้ สอ่ื การประเมนิ พฒั นาการ เรียนรู้ - เคร่อื งเคาะจังหวะ สังเกต ประสบการณ์สาคัญ สาระทีค่ วรเรียนรู้ 1. เดก็ เคลื่อนไหวรา่ งกายไปทัว่ บรเิ วณอยา่ งอิสระ ความสนใจมีความสุขและ กิจกรรม เมอื่ ได้ยินสัญญาณหยุดใหห้ ยุดเคลือ่ นไหวในทา่ นนั้ 1. เพลง หนาว แสดงออกผ่านงานศลิ ปะ เคลือ่ นไหวและ (1) การเคล่ือนไหว ทันที โดยในแต่ละรอบครูตกลงกบั เดก็ ให้ 2. ใบกจิ กรรมการเรียนรู้ ดนตรีและการเคลื่อนไหว จังหวะ อยู่กับที่ เคลอื่ นไหวอยกู่ บั ท่ีและเคล่ือนที่ สลบั กนั ไป เรื่อง สรา้ งกระแสลม 1. เคล่อื นไหวสว่ น (2) การเคลื่อนไหว 2. ครูเคาะจงั หวะประกอบการเคล่ือนไหว สังเกต ต่าง ๆ ของร่างกาย เคล่อื นที่ 3. เดก็ ยนื เป็นวงกลม ขออาสาสมคั รออกมายนื ใน 1. การฟังผู้อ่นื พดู จนจบ 2. ฟังและปฏิบตั ิ วงกลมเป็นผนู้ าทาท่าอยา่ งอิสระ โดยให้ผูน้ าคดิ และสนทนาโต้ตอบอย่าง ตามสญั ญาณ (1) การสงั เกต 1. อากาศหรอื ลมมี ทาทา่ เองแลว้ ใหค้ นอ่ืนท่ียนื รอบวงทาตาม ต่อเนื่องเช่ือมโยงกับเรอื่ งที่ 3. ปฏบิ ัติตนเปน็ 4. ครูใหส้ ัญญาณเปลยี่ นผ้นู า ให้เด็กคนอ่ืนมาเป็น ฟังได้ ผู้นาผู้ตาม ลักษณะ สว่ นประกอบ การเคลอ่ื นที่เม่ือพัดผา่ น ผ้นู าโดยพยายามทาท่าไมซ่ า้ กับผู้นาทที่ าไปแลว้ 2. การบอก ลกั ษณะ 5. สรุปรว่ มกันเกย่ี วกบั บทบาทของการเป็นผู้นา สว่ นประกอบ กจิ กรรมเสริม การเปลีย่ นแปลง และ แลว้ ทาใหส้ ิ่งของต่าง ๆ ผตู้ าม การเปล่ียนแปลง และ ประสบการณ์ ๑. เดก็ และครูร่วมกันร้องเพลงหนาว พร้อมทาท่า 1. ฟังผอู้ ่ืนพดู จน ความสมั พนั ธ์ของสงิ่ เคลื่อนทเ่ี รยี กวา่ แรงลม ทางประกอบเพลง จบและสนทนา 2. สนทนาร่วมกันเกี่ยวกับอากาศ และแรงลม โต้ตอบอย่าง ตา่ ง ๆ โดยใช้ประสาท 2. การทดลองการสรา้ ง โดยใชค้ าถาม ต่อเนอื่ งเชอ่ื มโยง - อากาศ และแรงลม ตา่ งกันอยา่ งไร กบั เรือ่ งท่ีฟังได้ สมั ผัสอย่างเหมาะสม กระแสลม - เราจะรไู้ ดอ้ ย่างไรว่ามลี มพดั เข้ามาในห้องเรียน - เดก็ ชอบใหล้ มพัดเข้ามาในห้องเรยี นหรอื ไม่ อยา่ งไร

จดุ ประสงคก์ าร สาระการเรยี นรู้ กจิ กรรมการเรียนรู้ สอ่ื การประเมนิ พฒั นาการ เรียนรู้ ประสบการณ์สาคญั สาระที่ควรเรยี นรู้ 2. รว่ มลงมือทา (๑๗) การคาดเดาหรือ 3. ทาการทดลอง เร่ืองการสร้างกระแสลม โดย 1. กลอ่ งสร้างกระแสลม ความสัมพันธข์ องสง่ิ ต่าง ๆ นากลอ่ งลังนม ใชก้ ระดาษกาวปดิ กล่องโดยรอบ 2. วัสดทุ บ่ี างเบาเพือ่ ใช้ โดยใช้ประสาทสมั ผัส การทดลองและใช้ การคาดคะเนสิ่งท่ี เพือ่ ป้องกนั อากาศเข้า เจาะรดู า้ นขา้ งของกล่อง ทดสอบกระแสลม เชน่ ขนาด 2 เซนตเิ มตร เศษผ้า รบิ บ้ิน สาลี สังเกต ทักษะกระบวนการ เกดิ ขึ้นอยา่ งมีเหตผุ ล 4. ขออาสาสมคั รเด็กออกมาใชม้ อื ทง้ั สองข้างตบ ลกู ปงิ ปอง เทยี นไข การทางานศลิ ปะ ดา้ นขา้ งกล่องพร้อม ๆ กันแล้วให้เด็กคนอนื่ ลอง ทางวิทยาศาสตร์ได้ (๔) การตัดสนิ ใจและ สัมผัสกบั ลมท่กี ระโชกท่อี อกมาจากชอ่ งท่ีเจาะไว้ 1. ดนิ นา้ มนั 5. เด็กรว่ มกนั ทดลองสรา้ งกระแสลมทาให้สิง่ ของ 2. สีนา้ ท่ีเหมาะสมกับวัย มีสว่ นรว่ มในการลง ตา่ ง ๆ เคลอ่ื นที่ เช่น ถือผ้าไว้ท่ีชองดา้ นหนา้ เวน้ 3. หลอดดูด ระยะห่าง แลว้ สังเกตวา่ ลมทาใหผ้ ้าเคลื่อนท่ี ความเหน็ จากข้อมลู เปล่ียนระยะหา่ งเพื่อสงั เกตความแรงของลม 6. เตรยี มวสั ดุอนื่ ๆ เพื่อให้เด็กเลือกใช้ทดสอบ อย่างมเี หตุผล กระแสลม เช่น สาลี ลูกปิงปอง เปลวเทียน 7.สรุปร่วมกันเก่ยี วกบั แรงลมในฤดูหนาวเม่ือมา กิจกรรมศิลปะ (3) การปัน้ ปะทะรา่ งกายของเราจะทาให้เรารสู้ กึ หนาวเย็น สรา้ งสรรค์ (๕) การทากิจกรรม 1. แบ่งกลุม่ เดก็ สรา้ งขอ้ ตกลงในการทากิจกรรม 2. ครูแนะนาอปุ กรณ์และสาธิตขัน้ ตอนปฏิบัติ สนใจมคี วามสขุ ศลิ ปะการเป่าสี กิจกรรมเปา่ สี 3. เดก็ ๆ เลือกสีที่จะนามาเป่าอยา่ งอสิ ระ และ และแสดงออกผา่ น เลา่ ถงึ ผลงานของตนเอง 4. เด็กทากิจกรรมศลิ ปะสรา้ งสรรค์ทงั้ 2 กิจกรรม งานศลิ ปะ 5. สนทนาเกย่ี วกบั ผลงานเก็บอปุ กรณ์

จุดประสงคก์ าร สาระการเรยี นรู้ กจิ กรรมการเรยี นรู้ สอ่ื การประเมินพัฒนาการ เรียนรู้ ประสบการณ์สาคญั สาระทีค่ วรเรยี นรู้ สังเกต การเก็บของเล่นของใชเ้ ขา้ กิจกรรมเลน่ ตาม (3) การให้ความ 1. เดก็ เลอื กกจิ กรรมเสรีในมุมประสบการณต์ าม - มมุ ประสบการณใ์ น ทีอ่ ย่างเรียบร้อยด้วย ตนเอง มุม ร่วมมอื ในการปฏบิ ตั ิ ความสนใจมุมประสบการณ์ควรมีอยา่ งน้อย ๔ มุม หอ้ งเรยี น สงั เกต เก็บของเลน่ ของใช้ กิจกรรมต่าง - มุมธรรมชาติศึกษา - มุมหนังสอื การเคลอื่ นไหวรา่ งกายได้ อย่างคล่องแคลว่ เขา้ ท่ีอย่าง - มมุ บลอ็ ก - มุมเกมการศึกษา การปฏบิ ัติตามข้อตกลง ตาม เรียบร้อยไดด้ ว้ ย - บทบาทสมมติ - มุมเครอ่ื งเล่นสมั ผสั ตนเอง - มมุ วทิ ยาศาสตร์ จดั แสดงงูเตน้ ระบา 2. เมอ่ื หมดเวลาเดก็ เกบ็ ของเข้าทใี่ ห้เรียบร้อย กจิ กรรมกลางแจ้ง (1) การเคล่ือนไหว 1. นาเดก็ ไปท่สี นาม สร้างข้อตกลงเก่ียวกบั การ อุปกรณ์ทดสอบกระแส 1. เคลอื่ นไหว อย่กู ับท่ี ปฏบิ ัติตนรว่ มกัน ลมอย่างง่าย รา่ งกายได้อยา่ ง (2) การเคล่ือนไหว 2. เดก็ ยืนเป็นวงกลม ทาท่าบรหิ ารรา่ งกาย คล่องแคลว่ เคลื่อนที่ 3. เด็กนาประดษิ ฐ์อุปกรณ์ทดสอบกระแสลม 2. ปฏิบัติตาม อยา่ งงา่ ยของตนเอง เชน่ ขนนก รบิ บนิ้ เศษผา้ ขอ้ ตกลงของ ท่รี ้อยตดิ กบั ปลายไม้ ถงุ พลาสติก ฯลฯ มาเลน่ กจิ กรรมได้ ตามหากระแสลมในบริเวณสนาม 4. เด็กเลน่ อย่างอิสระ ครดู แู ลแนะนา 5. สรุปร่วมกบั เก่ียวกบั แรงลม และทิศทางของ ลมโดยสงั เกตการเคลื่อนไหวของสงิ่ ของ 6. ทาความสะอาดรา่ งกาย นาเดก็ กลบั ชั้นเรียน

จดุ ประสงค์การ สาระการเรยี นรู้ กจิ กรรมการเรยี นรู้ สอ่ื การประเมินพัฒนาการ เรยี นรู้ (13) การจับคู่ การจับคู่ภาพทศิ ทาง 1. นาเกมจบั คภู่ าพทิศทางการพัดของกระแสลม เกมจับคูภ่ าพทศิ ทาง สงั เกต กจิ กรรมเกม มาให้เด็กสังเกตและสนทนาเก่ยี วกบั ภาพในเกม การพัดของกระแสลม การจบั คภู่ าพทิศทาง การศกึ ษา การเปรียบเทียบความ การพัดของกระแสลม แนะนาและสาธิตเกม การพดั ของกระแสลม จับคู่และ 2. ครูและเด็กรว่ มกนั สร้างขอ้ ตกลงเกย่ี วกบั เปรียบเทียบความ เหมอื นความต่าง ขัน้ ตอนและวิธกี ารเลน่ เกมการศึกษาโดยแบ่งกล่มุ แตกตา่ งและความ เดก็ กลมุ่ ละ 4 - 5 คน แต่ละกลุ่มร่วมกันคิด เหมือนของส่งิ วางแผนเล่นเกม รู้จกั แบ่งปนั รอคอย และช่วยกนั ต่างๆได้ เกบ็ เกมเม่อื เลน่ เสร็จ ๓. เดก็ เลน่ เกมชุดใหม่และเกมทเี่ คยเลน่ มาแลว้ หมุนเวยี นกันจนครบทุกเกม ๔. รว่ มกันสนทนาสรุปเก่ียวกบั เกมจบั คูภ่ าพ ทิศทางการพดั ของกระแสลม

แผนการจัดประสบการณช น้ั อนุบาล ๓ หนว ยที่ ๓๑ ฤดหู นาว สปั ดาหท่ี ๓๑ คร้งั ท่ี ๔ วันท่.ี ...............เดอื น..........................พ.ศ..................... จุดประสงคก์ าร สาระการเรยี นรู้ กจิ กรรมการเรยี นรู้ สอ่ื การประเมนิ พัฒนาการ เรียนรู้ ประสบการณ์สาคญั สาระท่ีควรเรียนรู้ 1. เด็กเคลื่อนไหวรา่ งกายไปท่วั บริเวณอยา่ งอิสระ 1. เครือ่ งเคาะจังหวะ สังเกต เคล่อื นไหวและ (๓) การเคล่ือนไหว เมือ่ ได้ยนิ สญั ญาณหยุดให้หยุดเคลือ่ นไหวในทา่ นั้น 2. พัดลม ความสนใจมีความสุขและ จงั หวะ ตามจินตนาการ ทันที โดยในแต่ละรอบครูตกลงกบั เดก็ ให้ แสดงออกผ่านการ สนใจมีความสขุ เคล่ือนไหวอยู่กับท่ีและเคลอ่ื นท่ี สลับกันไป โดย เคลือ่ นไหว และแสดงท่าทาง/ ครูเคาะจงั หวะประกอบการเคลือ่ นไหว เคลอ่ื นไหวตาม ๒. เดก็ ๆ ยนื กระจายทว่ั ห้อง คุณครูเปิดพดั ลมใน จินตนาการ ระดับความเย็นตา่ ง ๆ ใหเ้ ด็กได้สมั ผัสแรงลม 3. เปิดพัดลมในระดับความแรงของลมตา่ ง ๆ ให้ เด็กทาท่าทางเมือ่ ถกู ลมพัดในระดบั ความแรงของ ลมทีต่ ่างกนั 3. สรุปรว่ มกันเก่ยี วกับการเคลือ่ นไหวรา่ งกายเม่อื ถูกลมพัด

จดุ ประสงค์การ สาระการเรยี นรู้ กิจกรรมการเรียนรู้ สอ่ื การประเมนิ พัฒนาการ เรยี นรู้ ประสบการณ์สาคญั สาระท่ีควรเรียนรู้ สงั เกต 1. การฟังผูอ้ ื่นพูดจนจบ กจิ กรรมเสริม (1) การปฏิบัตติ นให้ 1. สภาพอากาศในฤดู ๑. เดก็ และครูรว่ มกันร้องเพลงหนาว ทาทา่ ทาง 1. เพลง หนาว และสนทนาโตต้ อบอยา่ ง ประสบการณ์ ต่อเนอื่ งเชือ่ มโยงกบั เรอ่ื งท่ี 1. ฟังผอู้ ่นื พูดจน ปลอดภัย หนาวอาจจะทาใหเ้ รา ประกอบเพลงทบทวนสภาพภูมิอากาศในฤดูหนาว ฟังได้ จบและสนทนา โตต้ อบอยา่ ง (๑๗) การคาดเดาหรอื เป็นหวัดได้ 2. สนทนารว่ มกนั เกี่ยวกบั วธิ ีการรกั ษาสุขภาพใน สังเกต ต่อเนอ่ื งเชอ่ื มโยง การทางานศลิ ปะประดิษฐ์ กบั เรื่องที่ฟงั ได้ การคาดคะเนสิ่งที่ 2.การรักษาสุขภาพ ฤดูหนาว โดยใชค้ าถาม 2. บอกวิธีการ ปฏบิ ตั ิตนใน เกดิ ข้นึ อยา่ งมีเหตผุ ล ของตนเองในฤดหู นาว - ในฤดูหนาว เดก็ ๆจะไม่ใหเ้ จบ็ ปว่ ยจะทา ฤดหู นาว อย่างไร กิจกรรมศลิ ปะ สร้างสรรค์ - มวี ธิ ีใดบ้างทท่ี าใหเ้ ราหายหนาว การประดษิ ฐ์ ตุ๊กตาโตล้ มหนาว 3. สนทนากบั เดก็ เก่ียวกับสภาพอากาศหนาวเย็น ได้อยา่ งสวยงาม และสรา้ งสรรค์ ของพนื้ ท่ตี ่าง ๆ ทัง้ ในประเทศและต่างประเทศท่ี ต่างกัน การป้องกันความหนาวเย็นของแตล่ ะท่จี ึง ต่างกนั 4. สรุปร่วมกันเก่ยี วกับการรกั ษาสขุ ภาพของ ตนเองในฤดูหนาว (3) การป้นั 1. ครนู าผลงานตกุ๊ ตาโต้ลมหนาวมาแสดงใหเ้ ด็กดู 1. ดินนา้ มัน (5) การทางานศิลปะ 2. แบง่ กล่มุ เด็ก สรา้ งข้อตกลงในการทากจิ กรรม 2. อุปกรณ์ประดิษฐ์ (6) การสร้างสรรค์ รว่ มกนั ตกุ๊ ตาโต้ลมหนาว ส่งิ สวยงาม ๓. ครูแนะนาอุปกรณแ์ ละสาธติ ขนั้ ตอนการ ประดิษฐ์ต๊กุ ตาโต้ลมหนาว ๔. เด็กปฏิบตั กิ จิ กรรมประดิษฐ์ต๊กุ ตาโตล้ มหนาว ๕. เด็กนาเสนอและจดั แสดงผลงานของตนเอง 6. เดก็ ป้นั ดินน้ามนั 7. เก็บอปุ กรณ์และทาความสะอาดห้องเรยี น

จุดประสงค์การ สาระการเรยี นรู้ กจิ กรรมการเรยี นรู้ สอ่ื การประเมนิ พฒั นาการ เรยี นรู้ ประสบการณ์สาคัญ สาระท่คี วรเรยี นรู้ สงั เกต การเก็บของเล่นของใช้เขา้ กจิ กรรมเลน่ (3) การให้ความรว่ มมือ 1. เด็กเลอื กกจิ กรรมเสรีในมุมประสบการณ์ตาม มมุ ประสบการณใ์ น ท่ีอยา่ งเรียบร้อยดว้ ย ตนเอง ตามมุม ในการปฏิบตั ิกิจกรรม ความสนใจมุมประสบการณ์ควรมีอย่างน้อย ๔ มุม หอ้ งเรียน สังเกต เก็บของเล่นของใช้ ตา่ ง เช่น การเลน่ ทากจิ กรรมและ ปฏิบตั ติ ่อผอู้ ่ืนอยา่ ง เขา้ ท่ีอยา่ ง - มมุ วิทยาศาสตร์ - มมุ หนังสอื ปลอดภยั เรียบร้อยไดด้ ้วย - มุมบลอ็ ก - มมุ เกมการศึกษา ตนเอง - บทบาทสมมติ 2. เมอ่ื หมดเวลาเด็กเก็บของเขา้ ทใ่ี ห้เรียบร้อย กจิ กรรมกลางแจง้ (3) การเล่นนอก 1. นาเด็กไปทสี่ นาม สร้างข้อตกลงเกีย่ วกับการปฏิบตั ิ - สนาม 1. เลน่ ทา หอ้ งเรยี น ตนร่วมกนั - นกหวดี กิจกรรมและ 2. เดก็ ยืนเป็นวงกลม ทาท่าบรหิ ารร่างกาย ปฏบิ ัติต่อผ้อู น่ื 3. เดก็ เล่นเกมหลบภยั พายรุ ้าย ครแู นะนากติกาและ อยา่ งปลอดภัยได้ สาธติ เกม โดยแบ่งเดก็ ออกเป็น 2 กลมุ่ 2. ปฏบิ ตั ติ าม กลุ่มท่ี 1 จบั คู่ 2 คน จดั ทา่ ทางเป็นทีห่ ลบภัย กตกิ าง่าย ๆ ได้ กลุ่มท่ี 2 เคล่อื นไหวอสิ ระ 4. กลุ่มท่ี 1 แต่ละคูย่ ืนกระจายท่ัวบรเิ วณ กลมุ่ ท่ี 2 เคล่อื นไหวอสิ ระทั่วบริเวณ ครเู ปา่ นกหวีดใหส้ ัญญาณ เดก็ กลุ่มที่ 2 แยง่ กันเขา้ ไปหลบภัยทเี่ ดก็ กล่มุ ท่ี 1 ทาท่าทางไว้ คนที่ไม่มที หี่ ลบภยั ถกู คดั ออก ลดท่ี หลบภยั ลงใหน้ ้อยกวา่ คนที่จะเข้าหลบภยั ทากจิ กรรม ซ้า ๆ จนได้ผูช้ นะ ๕. เด็ก ๆ เล่นเกมร่วมกัน

จุดประสงคก์ าร สาระการเรียนรู้ กจิ กรรมการเรยี นรู้ สอ่ื การประเมนิ พฒั นาการ เรยี นรู้ ประสบการณ์สาคญั สาระที่ควรเรียนรู้ กิจกรรมเกม (13) การเรยี งลาดบั ลาดบั ภาพเหตกุ ารณล์ ม 1. นาเกมเรียงลาดับภาพเหตุการณ์ลมพายพุ ัด 1. เกมเรียงลาดบั ภาพ สังเกต มาให้เดก็ สังเกตและสนทนาเก่ียวกับภาพในเกม เหตุการณล์ มพายุพัด การเรียงลาดบั เหตุการณ์ การศึกษา เหตุการณ์ พายุพดั แนะนาและสาธติ เกม 2. เกมชดุ เดิมในมมุ เกม 2. ครแู ละเด็กร่วมกันสร้างขอ้ ตกลงเกย่ี วกบั การศกึ ษา นาภาพมาเรยี งลาดับ ข้นั ตอนและวธิ กี ารเล่นเกมการศกึ ษาโดย แบ่งกลมุ่ เด็กกลมุ่ ละ 4 - 5 คน แต่ละกลุ่ม เหตกุ ารณ์ได้ รว่ มกันคดิ วางแผนเล่นเกม รู้จกั แบง่ ปันรอคอย และช่วยกันเก็บเกมเม่ือเล่นเสร็จ ๓. เดก็ เล่นเกมชดุ ใหมแ่ ละเกมทเ่ี คยเล่นมาแล้ว หมุนเวียนกันจนครบทุกเกม ๔. ร่วมกันสนทนาสรปุ เกย่ี วกับเกมเรยี งลาดับ ภาพเหตกุ ารณล์ มพายุพัด

แผนการจัดประสบการณชัน้ อนุบาล ๓ หนวยท่ี ๓๑ ฤดูหนาว สัปดาหท ่ี ๓๑ คร้งั ที่ ๕ วนั ท.่ี ...............เดือน..........................พ.ศ..................... จุดประสงคก์ าร สาระการเรยี นรู้ กจิ กรรมการเรยี นรู้ สอ่ื การประเมินพัฒนาการ เรยี นรู้ ประสบการณส์ าคัญ สาระทค่ี วรเรียนรู้ สังเกต ความสนใจมคี วามสุขและ เคลื่อนไหวและ (๓) การเคลื่อนไหว 1. เดก็ เคล่ือนไหวรา่ งกายไปทัว่ บริเวณอยา่ งอสิ ระ เม่ือ 1. cd เพลง แสดงออกผ่านการ เคลื่อนไหว จังหวะ พรอ้ มวัสดุอุปกรณ์ ได้ยินสญั ญาณหยุดให้หยุดเคลื่อนไหวในท่าน้นั ทันที Let ‘s go สนใจมีความสขุ (1) การปฏิบตั ิตาม โดยในแตล่ ะรอบครตู กลงกบั เด็กใหเ้ คลื่อนไหวอยู่กบั ท่ี 2. ริบบิ้น และแสดงท่าทาง ข้อตกลง และเคลื่อนที่ สลับกนั ไป โดยครเู คาะจังหวะ การเคลือ่ นไหว ประกอบการเคล่ือนไหว พร้อมอุปกรณ์ ๒. เดก็ ๆ ยืนกระจายท่ัวหอ้ ง แจกรบิ บนิ้ ให้เด็ก เคลื่อนไหวเคล่ือนที่พร้อมอุปกรณ์ เปิดเสียงดนตรี เรว็ -ชา้ ประกอบการเคล่อื นไหว 3. เดก็ รว่ มกนั ฟงั เพลงจากมิวสคิ วีดโี อเพลง Let ‘s go (ประกอบการ์ตนู Fozen) 4. เด็กเคลอ่ื นไหวพรอ้ มโบกริบบิ้นประกอบเพลง Let ‘s go 5. ทากจิ กรรมซ้า กิจกรรมเสรมิ (2) การฟังและปฏบิ ตั ิ สภาพแวดล้อมรอบตวั 1. ครูเลา่ นิทานเร่ือง เดก็ หญิงขายไม้ขีดไฟ หรอื เปดิ 1. นิทาน เรื่อง หนู ประสบการณ์ ตามคาแนะนา ในฤดูหนาว ใน นิทานจาก ยทู ูป ให้เด็ก ฟงั น้อยไม้ขีดไฟ 1. สนทนา ตอบ (๔) การพูดแสดงความ ภูมิภาคต่าง ๆ ของ https://www.youtube.com/watch?v=0D2Brv1yC4w2. ข้อซักถามและร่วม คดิ เหน็ ความรู้สึกและ ประเทศและของโลก สนทนา ตอบข้อซักถามและแสดงความคดิ เหน็ รว่ มกัน แสดงความคดิ เหน็ ความต้องการ เกี่ยวกบั นทิ าน และสงั เกตสภาพแวดลอ้ มรอบตัวในฤดู ได้ หนาวของต่างประเทศ โดยใชค้ าถาม - ดภู าพในนิทานแล้วเด็กรสู้ ึกอยา่ งไร

จดุ ประสงค์การ สาระการเรยี นรู้ กจิ กรรมการเรยี นรู้ สอ่ื การประเมินพฒั นาการ เรียนรู้ ประสบการณส์ าคญั สาระที่ควรเรียนรู้ 2. บอกความ (3) การให้ความร่วมมอื - เด็กคิดวา่ ฤดูหนาวทป่ี ระเทศเรากับตา่ งประเทศ แตกตา่ งกันอย่างไร แตกตา่ งของ ในการปฏิบตั ิกจิ กรรม - ในฤดูหนาวในตา่ งประเทศมสี ิ่งใดท่แี ตกต่างจาก ประเทศไทยของเรา สภาพแวดลอ้ ม ตา่ งๆ 3. สนทนาเกย่ี วกับสภาพแวดล้อมรอบตวั ในฤดหู นาว ในภูมิภาคตา่ ง ๆ ของประเทศและของโลก รอบตวั ในฤดหู นาว 4. สรุปร่วมกันสภาพแวดล้อมรอบตวั ท่ีเปลี่ยนแปลง ไปในฤดหู นาว ในท่ตี า่ ง ๆ ได้ 1. สนทนากบั นักเรียนเก่ยี วกับนทิ านเรือ่ งเด็กหญิง กิจกรรมศิลปะ (๕) การทากจิ กรรม ขายไม้ขดี ไฟที่เลา่ ใหฟ้ ังแลว้ ในกิจกรรมเสรมิ 1. สีเทียน สังเกต ประสบการณ์และตอนนเี้ ด็กจะไดป้ ระดษิ ฐภ์ าพไม้ขดี 2. สีน้าสีแดง เหลอื ง การทางานศลิ ปะ สรา้ งสรรค์ ศิลปะต่าง ๆ ไฟ สม้ 2. แบง่ กลมุ่ เด็ก สรา้ งข้อตกลงในการทากจิ กรรม 3. กระดาษ สนใจมีความสขุ ร่วมกัน 3. ครูแนะนาอุปกรณแ์ ละสาธติ ข้นั ตอนในการปฏิบตั ิ และแสดงออกผ่าน กจิ กรรมการพับสีและต่อเติมเปน็ ภาพกา้ นไมข้ ีดไฟ 4. เด็กทากิจกรรมศลิ ปะ งานศิลปะ 5. สนทนาเกย่ี วกับผลงานเก็บอุปกรณ์

จดุ ประสงค์การ สาระการเรยี นรู้ กิจกรรมการเรยี นรู้ สอ่ื การประเมนิ พฒั นาการ เรยี นรู้ ประสบการณส์ าคัญ สาระที่ควรเรียนรู้ กจิ กรรมเล่นตาม (3) การใหค้ วามรว่ มมือ 1. เดก็ เลอื กกิจกรรมเสรใี นมุมประสบการณ์ตาม - มุมประสบการณ์ใน สงั เกตการเกบ็ ของเล่นของ มมุ ในการปฏิบัติกจิ กรรม ความสนใจมมุ ประสบการณค์ วรมีอยา่ งน้อย ๔ มุม ห้องเรยี น ใช้เขา้ ทอี่ ย่างเรยี บรอ้ ยด้วย เกบ็ ของเลน่ ของใช้ ตา่ ง - มุมวทิ ยาศาสตร์ - มมุ หนังสือ ตนเอง เข้าท่ีอยา่ ง - มุมบลอ็ ก - มมุ เกมการศึกษา เรียบร้อยได้ด้วย - บทบาทสมมติ - มุมเคร่อื งเลน่ สมั ผสั ตนเอง 2. เม่อื หมดเวลาเด็กเกบ็ ของเขา้ ทใี่ ห้เรยี บร้อย 3. ครูชมเชยเด็กทเ่ี กบ็ ของเข้าทีไ่ ด้เรยี บร้อยเม่ือเล่น เสร็จ จะทาให้ของไม่สูญหายปะปนกันและเปน็ การ ปฏิบัติทดี่ ี เปน็ ผ้มู คี วามรับผิดชอบ กจิ กรรมกลางแจ้ง (1) การเคลื่อนไหว 1. นาเด็กไปท่สี นาม สรา้ งขอ้ ตกลงเกย่ี วกบั การปฏิบัติ นกหวีด สังเกต 1. เคลอ่ื นไหว อยูก่ ับท่ี ตนร่วมกนั เคลื่อนไหวรา่ งกายอสิ ระ รา่ งกายอสิ ระได้ (2) การเคลื่อนไหว 2. เดก็ ยนื เป็นวงกลม ทาท่าบรหิ ารรา่ งกาย และการจดั รา่ งกายเปน็ อยา่ งคล่องแคลว่ เคล่อื นที่ 3. สนทนากบั เด็กถึงลักษณะของมนษุ ยน์ ้าแข็ง มนุษยน์ ้าแขง็ ตาม 2. ปฏบิ ัตติ าม 4. เดก็ เลน่ เกมมนษุ ยน์ ้าแข็ง โดยเคลื่อนไหวรา่ งกาย จนิ ตนาการ ข้อตกลงได้ ในทา่ ทางตา่ ง ๆ อยา่ งอสิ ระ เมือ่ ได้ยินสญั ญาณ นกหวดี ใหจ้ ดั รา่ งกายเปน็ มนุษยน์ ้าแข็ง คนทีเ่ คล่ือนท่ี หรือเคลื่อนไหว จะถูกคดั ออก จนเหลือคนสุดท้าย เป็นผูช้ นะ ๕. เดก็ ทาความสะอาดร่างกาย กลบั ช้นั เรยี น

จุดประสงคก์ าร สาระการเรียนรู้ กจิ กรรมการเรยี นรู้ สอ่ื การประเมนิ พฒั นาการ เรยี นรู้ ประสบการณ์สาคัญ สาระท่คี วรเรียนรู้ (13) การเรยี งลาดับ ลาดบั ภาพตามเง่ือนไข 1. นาเกมเรยี งลาดบั ภาพความหนาวเย็นใน 1. เกมเรยี งลาดบั ภาพ สงั เกต กจิ กรรมเกม ภาพตามเง่ือนไข การเรียงลาดับภาพตาม การศกึ ษา ประเทศต่าง ๆ มาให้เด็กสังเกตและสนทนา ความหนาวเยน็ ใน เง่อื นไข นาภาพมา เรียงลาดับตาม เก่ยี วกบั ภาพในเกม แนะนาและสาธิตเกม ประเทศต่าง ๆ เงื่อนไขได้ 2. ครูและเด็กร่วมกนั สรา้ งข้อตกลงเกี่ยวกับ 2. เกมชดุ เดมิ ในมุมเกม ข้นั ตอนและวิธีการเล่นเกมการศกึ ษาโดยแบ่งกลุ่ม การศึกษา เด็กกลุ่มละ 4 - 5 คน แต่ละกลุ่มรว่ มกันคิด วางแผนเลน่ เกม รู้จักแบ่งปันรอคอย และชว่ ยกัน เก็บเกมเมอ่ื เล่นเสร็จ ๓. เดก็ เลน่ เกมชดุ ใหมแ่ ละเกมท่ีเคยเล่นมาแล้ว หมุนเวยี นกนั จนครบทุกเกม ๔. ร่วมกนั สนทนาสรุปเก่ยี วกับเกมเรยี งลาดับภาพ ความหนาวเยน็ ในประเทศตา่ ง ๆ

1. เลขที่ ชอ่ื – สกลุ 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10. 1. การเลน่ และทากิจกรรมอยา่ งปลอดภยั ด้านรา่ งกาย เมอื่ มมี ผี ูช้ ้แี นะได้ 2. การเคล่อื นไหวร่างกายตามคาบรรยาย ด้านอารมณ์ แผนการจดั ประสบการณช ั้นอนบุ าล ๓ หนวยที่ ๓๑ ฤดูหนาว และจติ ใจ 3. การปะตดิ ภาพด้วยเศษวัสดุ ดา้ นสังคม ประเมินพัฒนาการ แบบสังเกตพฤตกิ รรมเด็ก 4. แสดงท่าทาง / เคล่ือนไหวประกอบเพลง จงั หวะ และดนตรไี ด้ ดา้ นสตปิ ญั ญา 5. สรา้ งสรรค์งานศลิ ปะได้อยา่ งมคี วามสขุ 6. การปฏบิ ตั ติ ามสญั ญาณและขอ้ ตกลง 7. เกบ็ ของเข้าท่ีเม่ือเล่นและทากจิ กรรม เสร็จ 8. การฟงั และสนทนาโตต้ อบอยา่ งตอ่ เนื่อง เชอ่ื มโยงกับเร่ืองทฟ่ี งั 9. การเปรียบเทยี บและจบั คู่ความเหมอื น และความตา่ ง 10. การเรยี งลาดบั ภาพเหตุการณ์ 11. การต่อภาพชนิ้ ส่วนย่อยเป็นภาพท่ี สมบูรณ์ 12. การใชป้ ระสาทสมั ผัสสังเกตสญั ญาณ อนั ตราย 13. การแสดงความคดิ เหน็ อย่างมเี หตผุ ล 14. การคัดแยกสิ่งต่าง ๆตามลกั ษณะได้ หมายเหตุ

11. เลขท่ี ช่อื – สกลุ 12. 13. 14. 15. 16. 17. 18. 19. 20. คาอธบิ าย ครสู ังเกตพฤติกรรมเด็กรายบุคคล จดบนั ทึกสรุปเปน็ รายสัปดาห์ระบรุ ะดับคณุ ภาพเปน็ ๓ ระดับ คอื 1. การเลน่ และทากิจกรรมอย่างปลอดภยั ดา้ นรา่ งกาย ระดบั ๓ ดี ระดบั ๒ ปานกลาง ระดบั ๑ ตอ้ งสง่ เสรมิ เมอื่ มมี ผี ูช้ ้แี นะได้ 2. การเคล่อื นไหวร่างกายตามคาบรรยาย ดา้ นอารมณ์ และจติ ใจ 3. การปะตดิ ภาพด้วยเศษวัสดุ ด้านสงั คม ประเมนิ พฒั นาการ 4. แสดงท่าทาง / เคล่ือนไหวประกอบเพลง จงั หวะ และดนตรไี ด้ ด้านสติปญั ญา 5. สรา้ งสรรค์งานศลิ ปะได้อย่างมคี วามสขุ 6. การปฏบิ ตั ติ ามสญั ญาณและขอ้ ตกลง 7. เกบ็ ของเข้าท่ีเม่ือเล่นและทากจิ กรรม เสร็จ 8. การฟงั และสนทนาโต้ตอบอย่างตอ่ เนื่อง เชอ่ื มโยงกับเร่ืองทฟ่ี งั 9. การเปรียบเทยี บและจับคู่ความเหมือน และความตา่ ง 10. การเรยี งลาดบั ภาพเหตุการณ์ 11. การต่อภาพชนิ้ ส่วนย่อยเปน็ ภาพท่ี สมบูรณ์ 12. การใชป้ ระสาทสมั ผัสสังเกตสญั ญาณ อนั ตราย 13. การแสดงความคดิ เหน็ อย่างมเี หตผุ ล 14. การคัดแยกสิ่งต่าง ๆตามลกั ษณะได้ หมายเหตุ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook