Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore สรุปผลการดำเนินการฝ่ายวิจัยและนวัตกรรม_2561-2564_updateล่าสุด

สรุปผลการดำเนินการฝ่ายวิจัยและนวัตกรรม_2561-2564_updateล่าสุด

Published by Tuk Ka Ta Thongborisut, 2021-06-28 02:29:16

Description: สรุปผลการดำเนินการฝ่ายวิจัยและนวัตกรรม_2561-2564_updateล่าสุด

Search

Read the Text Version

สรุปผลการดำเนนิ การฝ่ายวจิ ยั และนวัตกรรม P4 รอบปงี บประมาณ 2561 - 2564 (ตลุ าคม 2561 – กนั ยายน 2564) ฝ่ายวิจัย จำนวนงบประมาณ ➢ โครงการวจิ ัย โครงการวิจยั 2561 2562 2563 2564 56,443,545 39,028,353 แหลง่ ทุนภายนอก 38,682,689 54,979,256 ข้อมูล ณ ม.ิ ย. 64 5,568,500 6,689,035 แหล่งทนุ ภายใน 2,800,000 1,520,000 3,317,641 2,150,000 เงินทุนคณะฯ 2,760,000 2,120,000 Routine to Research - 180,000 80,000 - กราฟจานวนงบประมาณ 70,000,000.00 60,000,000.00 50,000,000.00 40,000,000.00 30,000,000.00 20,000,000.00 10,000,000.00 0.00 2561 2562 2563 2564 แหลง่ ทนุ ภายนอก แหลง่ ทนุ ภายใน เงินทนุ คณะ

โครงการวิจัย จำนวนโครงการ แหล่งทนุ ภายนอก 2561 2562 2563 2564 แหลง่ ทุนภายใน 39 39 40 32 เงินทุนคณะฯ Routine to Research ข้อมลู ณ มิ.ย.64 10 3 7 16 14 16 16 20 -- 94 กราฟจานวนโครงการ 80 70 60 50 40 30 20 10 0 2562 2563 2564 2561 แหลง่ ทนุ ภายนอก แหลง่ ทนุ ภายใน เงนิ ทนุ คณะฯ

➢ ทนุ โครงการสร้างเสริมพลงั จุฬาฯ ก้าวสูศ่ ตวรรษที่ 2 (C2F) - นสิ ิตปริญญาเอกศักยภาพสูง ประกอบด้วย - นสิ ิตปรญิ ญาเอกศักยภาพสูง (หลกั สูตรปกติ 3 ปี) จำนวน 14 คน - นิสติ ปริญญาเอกศกั ยภาพสูง (หลกั สูตรต่อเน่ือง 5 ปี) จำนวน 15 คน - นักวิจยั หลงั ปริญญาเอก จำนวน 18 คน รวมทั้งส้ิน จำนวน 47 คน ➢ ผลงานทีไ่ ดร้ ับการสนับสนนุ การตีพิมพใ์ นวารสารวิชาการระดับนานาชาติ Publication 2018 2019 2020 2021 (by Journal quartile) 18 ข้อมูล ณ 8 มิ.ย. 64 Tier 1 27 26 33 46 Q1 46 54 88 ขอ้ มลู ณ 8 มิ.ย. 64 Q2 30 35 28 7 ข้อมูล ณ 8 ม.ิ ย. 64 Q3 42 19 16 7 Q4 25 2 ข้อมูล ณ 8 มิ.ย. 64 Total 147 139 167 2 ข้อมูล ณ 8 ม.ิ ย. 64 80 ข้อมลู ณ 8 ม.ิ ย. 64

➢ รางวัลผลงานวจิ ยั (ปีงบประมาณ 2561-2564) ลำดับ ชือ่ ผไู้ ดร้ ับรางวลั ชอ่ื รางวัล ชือ่ ผลงาน หนว่ ยงานท่ีใหร้ างวัล ที่ เรือ่ งหัวสุนขั จำลองจากเยอ่ื งานประชุม 43rd กระดาษและยางพารา (Canine International Invention 1 ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ สพ.ญ. Excellent Award Show INOVA-BUDI head model from pulp UZOR 2018 (INOVA 2018) ภาวนา เชื้อศริ ิ (Gold Award) from Highly paper and para rubber) ณ เมอื ง ZAGREB สาธารณรฐั ประเทศ Innovation Unique เรอื่ งหัวสุนขั จำลองจากเย่อื CROATIA กระดาษและยางพารา (Canine งานประชมุ 43rd Foundation (HIUF) In International Invention head model from pulp Show INOVA-BUDI Jeddah, Saudi Arabia paper and para rubber) UZOR 2018 (INOVA 2018) ณ เมอื ง ZAGREB 2 ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ สพ.ญ. International เรอื่ งหัวสุนขั จำลองจากเยอ่ื สาธารณรัฐประเทศ ภาวนา เชอ้ื ศริ ิ Engineering Invention กระดาษและยางพารา (Canine CROATIA งานประชมุ 43rd 3 ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ สพ.ญ. and Innovation head model from pulp International Invention ภาวนา เช้ือศริ ิ Exhibition (i-EVEX) 2018 paper and para rubber) Show INOVA-BUDI UZOR 2018 (INOVA 2018) 4 ศาสตราจารย์ น.สพ.ดร.เผดจ็ Gold Award from การเฝา้ ระวงั เชอ้ื ดื้อยาใน ณ เมอื ง ZAGREB ธรรมรักษ์ Malaysia เชิงสุขภาพหนงึ่ เดยี วใน สาธารณรฐั ประเทศ CROATIA 5 รองศาสตราจารย์ สพ.ญ.ดร. 43rd International ภูมิภาคเอเซยี สำนักงานคณะกรรมการวิจยั รงุ่ ทิพย์ ชวนชน่ื Invention Show ตะวันออกเฉยี งใต้ แห่งช่ าติ (วช.) เร่ืองอวยั วะจำลองทาง 6 ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ สพ.ญ. INOVA-BUDI กายวิภาคทางสตั วแพทย์ สำนกั งานคณะกรรมการวจิ ยั ภาวนา เชอ้ื ศิริ UZOR 2018 จากเย่ือกระดาษ แห่งช่ าติ (วช.) (INOVA 2018), (Veterinary The 47th International Zagreb, Anatomical Organ Exhibition of Inventions Croatia Silver Award Geneva รางวลั สภาวิจัยแห่งชาติ: ณ INTERNATIONAL นักวจิ ัยดเี ด่นแห่งชาติ สาขา EXHIBITION OF เกษตรศาสตรแ์ ละชีววทิ ยา ประจำปี 2562 รางวัลสภาวจิ ยั แห่งชาติ: รางวลั ผลงานวิจยั ประจำปี 2560 ระดับดีเดน่ (Swiss Bronze Award) ในสาขา Teaching methods and materials - Musical instruments -

7 ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ น.สพ.ดร. Art materials Model from INVENTIONS ภัทรรฐั จนั ทร์ฉายทอง Pulp Paper) Palexpo 7 Honorrable Research ณ นครเจนีวา 8 อาจารย์ ดร.ธรี พงศ์ ยะทา Award Poster presentation สมาพนั ธรัฐสวิส The Veterinary 9 ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ รางวัลนักวิทยาศาสตรด์ ีเดน่ ไขรหสั ลับการตดิ เชื้อรว่ มระหวา่ ง Practitioner Association of นายสตั วแพทย์ ดร. เชอ้ื ไวรสั พอรซ์ ายดเ์ ดลตา้ โคโรน่า Thailand เดชฤทธิ์ นิลอุบล และคณะ รางวลั สภาวจิ ัยแห่งชาติ: มูลนธิ ิสง่ เสรมิ วิทยาศาสตร์ รางวัลผลงานวจิ ยั ประจำปี และเช้ือไวรัสพอี ีดี เพอื่ แกไ้ ข และเทคโนโลยใี นพระบรม 10 รองศาสตราจารย์ น.สพ.ดร. ปัญหาอาการทอ้ งเสียทีเ่ กิดจาก ราชปู ถัมภ์ นพดล พฬิ ารัตน์ 2563 ระดับดมี าก โรคทอ้ งเสยี รนุ แรงเนอ่ื งจากภาวะ สำนักงานการวจิ ยั แหง่ ชาติ และคณะ ลำไสอ้ กั เสบแบบเร้อื รังจากการตดิ (วช.) รางวัลผลงานนวตั กรรมสาย 11 ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ น.สพ.ดร. อุดมศกึ ษา ประจำปี 2563 เชื้อไวรัสโคโรนา่ สำนกั งานการวจิ ยั แหง่ ชาติ ชาญณรงค์ รอดคำ วคั ซนี แช่นาโนแบบเกาะตดิ เยอ่ื (วช.) (ระดบั ดเี ดน่ ) เมือกดา้ นโรคเหงือกเน่าในปลา 12 อาจารย์ ดร.ธรี พงศ์ ยะทา รางวัลผลงานดเี ดน่ ประเภท จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลัย อาจารย์ กองทนุ รัชดาภเิ ษก การบรู ณาการองคค์ วามรู้จากการ 13 รองศาสตราจารย์ สพ.ญ.ดร. วจิ ัยเช้ือฟลาโวแบคทีเรยี ม งานการประชมุ วชิ าการ นันทรกิ า ชนั ซ่ือ สมโภช ประจำปี 2563 นานาชาติด้านวิทยาศาสตร์ คอลัมแนร์ สู่นวัตกรรมนาโนวคั ซนี เทคโนโลยีและนวตั กรรมทาง รางวัลนกั เทคโนโลยรี ่นุ ใหม่ เกาะตดิ เยื่อเมอื กเพ่อื ป้องกันโรค เทคโนโลยี ครง้ั ที่ 46 ประจำปี พ.ศ.2563 คอลมั นารสิ ในปลานำ้ จืดอยา่ ง สำนกั งานนวตั กรรมแหง่ ชาติ (องค์การมหาชน) รางวลั นวตั กรรมแห่งชาติ ยัง่ ยนื ประจำปี พ.ศ.2563 (ดา้ นการ “นาโนวัคซนี แบบจมุ่ โดย เลยี นแบบเช้อื ก่อโรคในปลา” ออกแบบผลิตภณั ฑแ์ ละ บรกิ าร ประเภทการออกแบบ \"นวตั ปะการังประตมิ ากรรมแห่ง ผลติ ภณั ฑ์ รางวัลชนะเลิศ) เทคโนโลยเี พ่ือชีวิต\"

14 ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ สพ.ญ.ดร. รางวัล เหรยี ญเงิน (Silver “Formalin free embalming The 14th International ศริ กานต์ ฐิตวัฒน์ Medal) solution” Warsaw Invention Show” และคณะ (IWIS 2020) ณ กรุงวอรซ์ อ สาธารณรฐั โปแลนด์ 15 ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ น.สพ.ดร. รางวัล Grand Prize “อุปกรณไ์ มโครฟลอู ดิ กิ สช์ ปิ The 14th International ประพฤติดี สำหรับตรวจหาไมโครฟลิ าเรีย” Warsaw Invention Show” ปยิ ะวิริยะกุล และคณะ (IWIS 2020) ณ กรงุ วอรซ์ อ สาธารณรฐั โปแลนด์ 16 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ สพ.ญ. เหรยี ญทอง INOVA 2020, ชดุ หุ่นจำลองสามมิตขิ องเยื่อหมุ้ 45th Inova-International ภาวนา เชื้อศริ ิ Gold Award (Medal and สมอง และโครงหลอดเลอื ดของ Invention Show, Zagreb, และคณะ Award Certificate), สมองสนุ ขั Croatia (Special Edition Zagreb, Croatia (THREE-DIMENSIONAL MODEL Live Event/Online Show), KIT OF MENINGES AND INOVA Croatia 2020, 2nd VASCULAR STRUCTURE OF Oldest world’s invention DOG’S BRAIN) show and 2nd largest European invention show 16 ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ สพ.ญ. INOVA 2020 Special ชุดหุน่ จำลองสามมติ ขิ องเยอ่ื หมุ้ 45th Inova-International ภาวนา เช้อื ศิริ Award (Award Certificate สมอง และโครงหลอดเลอื ดของ Invention Show, Zagreb, และคณะ Only), from the Croatian สมองสนุ ัข Croatia (Special Edition Inventors Network (THREE-DIMENSIONAL MODEL Live Event/Online Show), (organizer of INOVA) KIT OF MENINGES AND INOVA Croatia 2020, 2nd VASCULAR STRUCTURE OF Oldest world’s invention DOG’S BRAIN) show and 2nd largest European invention show 17 ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ สพ.ญ. Toronto International ชุดห่นุ จำลองสามมติ ิของเย่อื หมุ้ 45th Inova-International ภาวนา เชือ้ ศริ ิ Society of Innovation & สมอง และโครงหลอดเลือดของ Invention Show, Zagreb, และคณะ Advanced Skills (TISIAS) สมองสุนขั Croatia (Special Edition Special Award (Medal (THREE-DIMENSIONAL MODEL Live Event/Online Show), and Award Certificate) KIT OF MENINGES AND INOVA Croatia 2020, 2nd VASCULAR STRUCTURE OF Oldest world’s invention DOG’S BRAIN) show and 2nd largest European invention show

18 ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ สพ.ญ. เหรยี ญทอง ชุดหุ่นจำลองกายวิภาคตาสนุ ัข Innovation Week Africa, ภาวนา เช้ือศริ ิ แบบสามมติ เิ พอ่ื การเรียนร้ดู ้วย IWA 2020”, Rabat, ตนเอง 3D Dog Eye Anatomy Morocco) (Online) Model for Self-learning OFEED Morocco Supported by International Federation of Inventors’ Associations (IFIA) / The Patent Invention Magazine / Oxford Business Group 19 ศาสตราจารย์ สพ.ญ.ดร. รางวัลสภาวิจัยแหง่ ชาติ: \"นวตั กรรมอปุ กรณร์ ะบบของไหล สำนักงานการวจิ ยั แห่งชาติ อจั ฉริยา ไศละสตู รางวลั ผลงานวจิ ยั ประจำปี จลุ ภาคเพอ่ื ประยกุ ต์ใช้ศกึ ษาดา้ น (วช.) และคณะ 2564 ระดบั ดมี าก วิศวกรรมชีวภาพในทางสัตวแพทย์ เป็นรปู แบบการศึกษา\" 20 ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ สพ.ญ.ดร. เหรียญทอง (Gold Medal) ผลงานนวตั กรรม “Protein and งาน 2021 Shanghai ศริ กานต์ ฐติ วัฒน์ Amino Acid Test Kit International Invention&Innovation Expo ณ นครเซีย่ งไฮ้ สาธารณรฐั ประชาชนจีน 21 อ.ดร.ธีรพงศ์ ยะทา เหรยี ญทองแดง (Bronze ผลงานนวตั กรรม สเปรย์แก้ปวด งาน 2021 Shanghai Medal) เมื่อย คลายเครยี ดจากสารสกดั International พฤกษานาโน “An Innovative Invention&Innovation PhytoNano-MyoSpray : A Expo ณ นครเซ่ยี งไฮ้ Pain Relief Spray from สาธารณรฐั ประชาชนจนี Nanostructured Lipid Carriers carrying Herbal Extracts 22 รองศาสตราจารย์ น.สพ.ดร. รางวลั เหรียญเงนิ ระดับ เอควาพซี : ผลติ ภณั ฑน์ วัตกรรม Salon International Des นพดล พฬิ ารัตน์ นานาชาติ เพอ่ื สวัสดภิ าพสตั ว์ในการ Inventions GENEVE และคณะ เพาะเลี้ยงสัตวน์ ้ำ (Geneva 2021)

รางวัลสภาวิจยั แห่งชาต:ิ นกั วจิ ยั ดเี ดน่ แห่งชาติ สาขาเกษตรศาสตร์และชวี วิทยา ประจำปี 2562 ศาสตราจารย์ น.สพ.ดร.เผดจ็ ธรรมรักษ์ ผ้ไู ดร้ ับรางวลั ฟ้าหมน่ คนดี “Elanco Best Research Award” รางวลั นักวิจัยดีเด่น ประจำปี พ.ศ. 2561-2563 ปี อาจารย์ บคุ ลากรสายปฏิบัติการ นสิ ติ ระดับบัณฑิตศึกษา 2561 อ.สพ.ญ.ดร.เยาวลักษณ์ ปญั ญสงิ ห์ นายสงั วร อย่สู วา่ ง สพ.ญ.ดร.นทิตา ภูมิธนากรณ์ สงั กดั ภาควชิ าพยาธิวทิ ยา สงั กัดศูนยว์ จิ ยั และพฒั นาเทคโนโลยี สงั กดั ภาควิชาจลุ ชวี วิทยา การผลิตปศุสตั ว์ 2562 รศ.สพ.ญ.ดร.สมพร เตชะงามสุวรรณ นางสาวจนั ทมิ า อินทรปัญญา น.สพ.ดร.อลงกรณ์ ขุลิลงั สังกดั ภาควิชาพยาธิวิทยา สังกัดภาควิชากายวภิ าคศาสตร์ สังกัดภาควิชาจลุ ชวี วิทยา 2563 ผศ.สพ.ญ.ดร.อญั ญรตั น์ ตน้ ธีรวงศ์ สพ.ญ.ดร.นิธิรา อนัคกลุ น.สพ.ดร.อรรถกร มาดาป้อง สังกดั ภาควชิ าจุลชีววทิ ยา สงั กัดศนู ยว์ ิจยั และพัฒนาเทคโนโลยี สงั กัดภาควชิ าจลุ ชีววทิ ยา การผลติ ปศสุ ัตว์ ภาพบรรยากาศการมอบรางวัลฟ้าหม่นคนดี “Elanco Best Research Award” รางวัล

รางวัลฟา้ หมน่ คนดี “Boehringer Ingelheim Best Innovation for Society Award” รางวลั นกั วิจัยดเี ดน่ ประจำปี พ.ศ. 2563 ➢ ผู้ได้รบั รางวัลฟ้าหมน่ คนดี “Boehringer Ingelheim Best Innovation for Society Award” รางวัลนกั วจิ ัยดีเด่น ประจำปี พ.ศ. 2563 ประกอบดว้ ย 1. ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ สพ.ญ.ดร.ศริ กานต์ ฐิตวัฒน์ (ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ระดับ 8) สังกัดหนว่ ยชีวเคมี ภาควิชาสรีรวทิ ยา คณะสัตวแพทยศาสตร์ ตำแหน่งบรหิ าร ผูแ้ ทนฝ่ายบริหารดา้ นประกันคุณภาพ (QMR) 2. ผ้ชู ่วยศาสตราจารย์ น.สพ.ดร.สริ ิพงศ์ เกียรตกิ ิตติคุณ (ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ระดับ 8) สงั กัดภาควิชาศลั ยศาสตร์ คณะสตั วแพทยศาสตร์ ตำแหนง่ บรหิ าร ผูช้ ว่ ยคณบดแี ละผู้อำนวยการโรงพยาบาลสัตวเ์ ล็ก 3. นางสาวสจุ ินต์ ศริ ิสวัสดิ์ (นกั วทิ ยาศาสตร์ ระดบั ชำนาญการ) สงั กัดหน่วยชีวเคมี ภาควชิ าสรรี วิทยา คณะสัตวแพทยศาสตร์ 4. นางสาวสิริกร กติ โิ ยดม (นสิ ิตระดับบัณฑติ ศึกษาหลกั สูตร วิทยาศาสตรดษุ ฎบี ัณฑติ ) สังกดั ภาควชิ า ภาควชิ าพยาธิวิทยา คณะสตั วแพทยศาสตร์ ภาพบรรยากาศการมอบรางวลั ฟา้ หมน่ คนดี “Boehringer Ingelheim Best Innovation for Society Award” รางวลั นักวจิ ยั ดเี ด่น ประจำปี พ.ศ. 2563 เม่ือวันที่ 18 ธันวาคม 2563 ณ โถงอาคาร 60 ปี สตั วแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั

➢ กิจกรรมส่งเสริมงานวิจัย CU-VET Publication Clinic 2018 - โครงการอบรม CU-VET Publication Clinic 2018 29-30 กันยายน 2561 ณ ห้องประชมุ ชั้น 10 อาคารสัตววิทยวจิ ักษ์ และบ้านไม้ชายเลน อ. คลองโคลน จ. สมทุ รสงคราม - โครงการอบรม CU-VET Publication Clinic 2019 วนั ท่ี 16-18 ตลุ าคม 2562 ณ ห้องประชมุ ชน้ั 10 อาคารสตั ววิทยวิจักษ์ และ โรงแรมกรุงศรรี เิ วอร์ จ.พระนครศรอี ยธุ ยา ผลผลติ ทีไ่ ดร้ บั จำนวนบทความวจิ ัย ทีไ่ ด้ส่งเพ่อื ตีพิมพ์ในวารสารวชิ าการระดบั นานาชาตใิ นฐานข้อมลู ISI/Scopus/Pubmed ดงั น้ี - ปี 2018 จำนวน 15 บทความ - ปี 2019 จำนวน 5 บทความ ช่ือวารสารที่สง่ ที่ ช่ือ-นามสกุล (Author) ชอื่ บทความ (Title) บทความ (Journal Name) ปี 2018 1 Instructor Dr.Roongtham Kedkovid Detection of Porcine circovirus type 3 Veterinary (PCV3) from formalin-fixed paraffin- Microbiology embedded (FFPE) uterine tissues of pigs in Thailand during 2005, 2006, and 2008 2 Instructor Dr.Praopilas Combination of Rock Inhibitor, Hypoxia The Thai Journal of Phakdeedindan and Melatonin Improved Differentiation of Veterinary Medicine Rabbit induced Pluripotent Stem Cells into Cardiac Progenitor Cells 3 Professor Dr.Padet Tummaruk Administration of carbetocin after the first Theriogenology piglet was born reduced farrowing duration but compromised colostrum intake in newborn piglets

4 Asst.Prof.Dr.Aunyaratana Detection and genetic characterization of Poultry Science Thontiravong reticuloendotheliosis virus in chickens in Thailand 5 Professor Dr.Kaywalee Chatdarong Requirements of insulin-like growth factor-I Theriogenology and stem cell factor for cat preantral follicles cultured in a fibrin-alginate three- dimensional system 6 Dr.Gun Temeeyasen Emergence of a classical variant of porcine The Thai Journal of epidemic diarrhea virus novel to Thailand Veterinary Medicine responsible for the milder clinical disease in a herd previously infected with a pandemic variant 7 Assoc.Prof.Dr. Channarong Virulence properties and pathogenicity of Microbial Rodkhum Flavobacterium columnare in hybrid red Pathogenesis tilapia (Oreochromis sp.) 8 Dr.Alongkorn Kurilung Genomic analysis of Leptospira interrogans BMC Genomics serovar Paidjan and Dadas isolates from carrier dogs and comparative genomic analysis to detect genes under positive selection 9 Instructor Dr.Morakot Nuntapaitoon Concentration of immunoglobulin G in Tropical Animal colostrum of sows under tropical climate Health and Production 10 Asst.Prof.Dr.Chenphop Sawangmake Development of a Clinical Approach for Journal of Advanced Detecting Insulin Resistance for Research Normoglycemic Control in Canine Diabetes 11 Asst.Prof.Dr.Chenphop Sawangmake Mesenchymal stem cell-based bone tissue Journal of Advanced engineering for veterinary practice: a Research perspective review 12 Asst.Prof.Dr.Chenphop Sawangmake Insulin-Producing Cells Transplantation Journal of Advanced Platform for Veterinary Practice Research

13 Asst.Prof.Dr.Chenphop Sawangmake Simvastatin enhances proliferation and Journal of Advanced pluripotent gene expression by canine Research bone marrow-derived mesenchymal stem cells (cBM-MSCs) in vitro 14 Professor Dr.Alongkorn Amonsin Piglet and Pork Supply Chain in a Thai-Lao Food Control Border Province of Thailand; Hygiene Management on Cross-bordered Infectious Diseases 15 Professor Dr.Padet Tummaruk Induction of parturition by double doses Tropical Animal of prostaglandin F2alpha in sows reduces Health and gestation length without affecting the birth Production interval, manual assistance and piglet performance ปี 2019 1 Asst.Prof.Dr. Mesenchymal stem cell-based bone tissue Heliyon Chenphop Sawangmake engineering for veterinary practice 2 Asst.Prof.Dr. Different osteogenic differentiation Stem cell research & Chenphop Sawangmake behavior of canine mesenchymal stem therapy editorial cells derived from bone marrow and office dental pulp: the proteomics profile 3 Professor Dr.Padet Tummaruk Effect of backfat thickness during late Livestock Science gestation on farrowing duration, piglet birth weight, colostrum yield, milk yield and reproductive performance of sow 4 Asst.Prof. Dr.Sukullaya Molecular and antigen detection of TJVM Ritthikulprasert Dirofilaria immitis infection in client-owned cats in Bangkok, Thailand 5 Assoc.Prof.Dr.Sonthaya Tiawsirisup Duck Tembusu virus detection and the Transboundary characterization from mosquitoes in duck and Emerging farms, Thailand Diseases

โครงการประชมุ วิชาการนานาชาติ ประจำปี (Chulalongkorn University Veterinary Conference (CUVC)) สรุป CUVC CUVC 2018 CUVC 2019 CUVC 2020 Live CUVC 2021 Live 5,378,000 รายรบั 6,325,800 492,000 937,500 (Sponsor+คา่ ลงทะเบียน) 4,583,811.95 คา่ ใช้จา่ ย 1,008 4,330,308 238,270 568,299.90 จำนวนคนเข้ารว่ ม 1,325 1,062 1,226 794,188.05 253,730 รายรับเหนอื รายจา่ ย 1,995,492 369,200.10

โครงการเขยี นข้อเสนอโครงการขอทุนวจิ ัย (Researchers Meet Tutors) ฝ่ายวิจัยและนวัตกรรม จัดโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ \"การเขียนข้อเสนอโครงการขอทุนวิจัย (Researchers Meet Tutors) โดยมี ศาสตราจารย์ สพ.ญ.ดร.เกวลี ฉัตรดรงค์ รองคณบดฝี ่ายวิจัยและนวัตกรรม เปน็ ผ้จู ดั การอบรม ใน วันที่ 9 ธันวาคม 2563 ณ ห้องประชุม ชั้น 10 อาคารสัตววิทยวิจักษ์ และห้อง Smart classroom (ฝึกเขียนข้อเสนอ โครงการวิจัย) การอบรมคร้ังนม้ี ีวทิ ยากรผทู้ รงคุณวุฒเิ ป็นวทิ ยากรให้ความรู้และข้อมลู แหล่งทุนตา่ งๆ ดงั น้ี ศ.กิตติคุณ พีระศกั ดิ์ จันทร์ประทปี (วช.) ศ.กิตติคุณ น.สพ.ดร.อรรณพ คณุ าวงษก์ ฤต (สวก.) ศ.น.สพ.ดร.มงคล เตชะกำพุ (บพท.) ศ.น.สพ.ดร.อลงกร อมรศิลป์ (บพค.) ศ.น.สพ.ดร.สมศักดิ์ ภคั ภญิ โญ (แหลง่ ทุนเอกชน) และ ผศ.สพ.ญ.ดร.เยาวลักษณ์ ปญั ญสงิ ห์ (แหล่งทุนตา่ งประเทศ) โดยมีวัตถุประสงค์เพ่ือให้อาจารย์ และนักวิจัย ได้เพิ่มทักษะวิธีการเขยี นข้อเสนอโครงการวิจยั ที่ตรงโจทย์วิจัยใน การเสนอของบประมาณ ภายใต้แผนด้านวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (ววน.) โดยให้งานวิจัยของคณะฯ นำไปใ ช้ ประโยชน์ได้ พร้อมตอบโจทก์สังคม ทั้งนี้ยังเปน็ การส่งเสริมให้อาจารย์ บุคลากร และนิสิตได้มผี ลงานวิจัยที่มกี ารพัฒนา และเสริมสร้างความเขม้ แขง็ ใหแ้ ก่นกั วิจัยและ การพฒั นางานวิจยั สู่ความเป็นเลิศและมาตรฐานในระดบั นานาชาตติ อ่ ไป

• การขอใชส้ ัตวท์ ดลองเพ่ืองานทางวิทยาศาสตร์ ท้งั การวิจยั &การเรยี นการสอน (IACUC) IACUC ปงี บประมาณ 2561 2562 2563 2564 รวมท้ังสิ้น การย่นื ขอใชส้ ัตว์ทดลองเพ่ืองานทาง 113 96 104 59 372 วทิ ยาศาสตร์ ขอ้ มลู ณ มิ.ย.64 ออกใบอนุญาต 48 86 64 59 257 ข้อมูล ณ มิ.ย.64 • การขอใช้เชื้อ และสารเคมอี ันตราย (IBC) IBC ปงี บประมาณ 2563 2561 2562 77 2564 รวมท้ังสน้ิ 225 การย่นื ขอใช้เช้ือและสารเคมี 68 50 62 30 ข้อมลู ณ 166 อันตราย มิ.ย.64 ออกใบอนุญาต 34 40 30 ข้อมลู ณ ม.ิ ย.64 ➢ The Thai Journal of Veterinary Medicine (เวชชสารสตั วแพทย)์ TJVM ปงี บประมาณ 2561 2562 2563 2564 รวมท้ังส้ิน 294 จำนวนบทความทลี่ งในเวชสาร 88 66 69 71 สตั วแพทย์

กจิ กรรมอนื่ ท่ฝี า่ ยวจิ ัยและนวตั กรรมไดร้ บั มอบหมาย งาน \"CU VET DOG SHOW 2020\" เพื่อเป็นกิจกรรมส่งท้ายการเฉลิมฉลองวาระ 84 ปี คณะสัตวแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ร่วมกับ สโมสรนสิ ติ และเป็นกจิ กรรมใหค้ วามรแู้ ละส่งเสริมทเ่ี กย่ี วกบั การเลีย้ งสัตว์ โดยมงุ่ เนน้ สวัสดิภาพของสตั ว์เล้ียง วัน อาทติ ย์ที่ 12 มกราคม 2563 ณ อาคารจนั ทนยิ่งยง ศูนย์กฬี าแหง่ จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย ภาพบรรยากาศงาน CU VET Dog Show เมื่อวันอาทติ ยท์ ่ี 12 มกราคม 2563 ณ อาคารจันทนยง่ิ ยง ศูนย์กีฬาแหง่ จฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลยั

ประชุมหารอื แนวทางความร่วมมือและเย่ยี มชมผลงานวิจัยและพัฒนาด้านนาโนเทคโนโลยีระหว่าง ศูนย์นาโน เทคโนโลยแี หง่ ชาตกิ บั คณะสัตวแพทยศาสตร์ วันท่ี 5 กุมภาพนั ธ์ 2563 ณ หอ้ งประชุมบอรด์ รมู ช้นั 4 ศนู ย์นาโน เทคโนโลยีแห่งชาติ อาคารกลมุ่ นวัตกรรม 2 ทาวเวอร์บี โดยมี ศ.น.สพ.ดร.รงุ่ โรจน์ ธนาวงษน์ เุ วช คณบดี นำทีมผูบ้ ริหาร อาจารย์ บุคลากรและนิสิต จุฬาฯ มี ดร.อุรชา รักษ์ตานนท์ชยั รองผ้อู ำนวยการศูนยน์ าโนเทคโนโลยแี หง่ ชาติ ใหก้ ารตอ้ นรับและกลา่ วแนะนำ ศนู ยน์ าโนเทคโนโลยแี ห่งชาติ ซึง่ จะมีแนวทางลงนามความร่วมมอื ทางด้านวจิ ยั พัฒนา และสง่ เสรมิ การใช้ ประโยชน์นาโนชวี ภัณฑ์เพ่ือการป้องกันและรักษาโรคในสัตว์ระหวา่ งสำนักงานพัฒนาวทิ ยาศาสตรแ์ ละ เทคโนโลยีแห่งชาติ โดยศูนยน์ าโนเทคโนโลยีแห่งชาติกบั คณะสัตวแพทยศาสตร์ จุฬาฯ ตอ่ ไป ภาพบรรยากาศประชุมหารือแนวทางความรว่ มมือและเยี่ยมชมผลงานวจิ ัยและพัฒนาดา้ นนาโนเทคโนโลยรี ะหว่าง ศนู ย์นาโนเทคโนโลยีแห่งชาติกบั คณะ สัตวแพทยศาสตร์ วันท่ี 5 กุมภาพนั ธ์ 2563 ณ หอ้ งประชมุ บอรด์ รมู ชน้ั 4 ศูนยน์ าโนเทคโนโลยีแห่งชาติ อาคารกลมุ่ นวตั กรรม 2 ทาวเวอรบ์ ี

การอบรมเชิงปฏบิ ัติการ eRM (Electronic Research Management) วนั ที่ 9 กรกฎาคม 2563 ณ ช้ัน 9 ศนู ย์ คอมพิวเตอร์ อาคาร 60 ปี สัตวแพทย์ ฝ่ายวจิ ยั และนวตั กรรมได้ให้แก่เจ้าหนา้ ท่ีบริหารงานท่ัวไป ธุรการภาควิชา และหนว่ ยงาน โดยมี ศ.สพ.ญ.ดร.เกวลี ฉัตรดรงค์ รองคณบดฝี ่ายวิจยั และนวัตกรรม กลา่ วเปดิ การอบรม และ คุณ ธรี ภทั ร์ คำมณี จากสำนักบริหารวิจัย จฬุ าฯ เป็นวทิ ยากรอบรมเชิงปฏบิ ัตกิ าร ดังกลา่ ว โดยเปิดใชร้ ะบบ Chula eRM ระยะ2 เพื่อรองรับการบรหิ ารโครงการวจิ ัยจากแหล่งทุนภายนอก ประกอบด้วย - การจดั ทำหนังสอื มอบอำนาจเพือ่ ทำสญั ญารับทุนวิจยั - การจดั ทำประกาศฯ เพ่ือการบริหารการเงินของโครงการวิจัย - การขอรับการสนบั สนุนตีพิมพ์บทความวิชาการระดบั นานาชาติ (ของมหาวิทยาลยั ) เร่ิมใชร้ ะบบ Chula eRM ระยะ2 ในวันที่ 1 กันยายน 2563 เป็นต้นไป ภาพบรรยากาศการอบรมเชิงปฏบิ ตั กิ าร eRM (Electronic Research Management) เมอ่ื วนั ที่ 9 กรกฎาคม 2563 ณ ช้ัน 9 ศนู ย์คอมพวิ เตอร์ อาคาร 60 ปี สตั วแพทยศาสตร์

➢ การปรบั ปรุงพัฒนางาน



➢ การจดั ทำ Website ฝ่ายวจิ ัยและนวตั กรรม

สรุปผลการดำเนินงานฝ่ายนวตั กรรม ปีงบประมาณ 2561 – 2564 ระยะเวลาดำเนนิ งานตั้งแต่ตุลาคม 2561 ถึง กันยายน 2564 บทสรุปผูบ้ ริหาร (Executive Summary) คณะสัตวแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยมีพันธกิจในการสร้างบัณฑิตสัตวแพทย์และองค์ความรู้ ทางการสตั วแพทยใ์ นการแกไ้ ขปัญหาของสงั คม ได้มียุทธศาสตร์ดา้ นนวัตกรรมเพือ่ ให้มคี วามเทา่ ทันการเปลีย่ นแปลง ในโลกยุคปัจจุบันที่เป็นไปอย่างรวดเร็ว รวมถึงมีบทบาทเป็นในการสร้างงานวิจัยที่นำมาใช้ได้จริงในเชิงปฏิบัติ เป็นไปตามนโยบายนวัตกรรมเพื่อสังคม (Innovations for Society) ของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ฝ่ายนวัตกรรม จึงทำหน้าที่ดำเนินงานที่เกี่ยวข้องกับการสร้างคุณค่าจากองค์ความรู้ ทรัพย์สินทางปัญญา ที่จะนำไปต่อยอด ให้ใช้ ประโยชน์ได้จริงและขยายผลในเชิงพาณิชย์ อีกทั้งส่งเสริมให้เกิดระบบนิเวศนวัตกรรมในองค์กร สำหรับรับมือกับ การเปลี่ยนแปลงของสังคม ให้เกิดการพัฒนางาน บุคลากร และนิสิต รวมถึงการส่งเสริมการสร้างคุณค่าจากองค์ ความรู้ งานวจิ ยั ทั้งในรปู แบบกิจกรรมบรรยายให้ความรู้ และอบรมเชงิ ปฏิบตั ิการเพ่ือสรา้ งทักษะทางดา้ นนวัตกรรม แก่นิสิตและบุคลากร การจัดสรรทุนสนับสนุนโครงการสร้างนวัตกรรมและสิ่งประดิษฐ์ทางสัตวแพทย์ การสร้างส่ือ ประชาสมั พนั ธ์งานนวัตกรรมของคณะฯ และสอื่ ให้ความรเู้ กี่ยวกบั นวัตกรรมในองค์กร การส่งเสริมและเพิม่ การเรียน การสอนเนื้อหาด้านนวัตกรรมในรายวิชาแก่นิสิต และกิจกรรมเชิงปฏิบัติการเพื่อใหน้ ิสิตได้เรียนรู้ มีแนวคิด พัฒนา ทักษะเชิงนวัตกรรมอันเป็นประโยชน์ต่อวิชาชีพในอนาคต รวมถึงการจัดตั้งและดำเนินงานหน่วยงานประกอบการ บริษัท ซียู เว็ท เอ็นเทอร์ไพรส์ จำกัด เพื่อต่อยอดนวัตกรรมของนักวิจัยทำให้เกิดคุณค่าต่อสู่สังคมและมูลค่าในเชิง พาณชิ ย์

คณะกรรมการดำเนนิ งานฝ่ายนวัตกรรม คณะสัตวแพทยศาสตร์ จฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลัย ประจำปงี บประมาณ 2561 1. คณบดี ทีป่ รกึ ษา 2. ศาสตราจารย์ น.สพ.ดร. มงคล เตชะกำพุ ที่ปรึกษา 3. รองคณบดีวจิ ยั และนวัตกรรม ทป่ี รกึ ษา 4. ผชู้ ว่ ยคณบดีฝา่ ยนวตั กรรม ประธานกรรมการ 5. ผู้ช่วยคณบดฝี ่ายประชาสมั พันธ์ กรรมการ 6. รองศาสตราจารย์ น.สพ.ดร. กิตตศิ ักดิ์ อัจฉริยขจร กรรมการ 7. รองศาสตราจารย์ สพ.ญ.ดร. รุง่ ทพิ ย์ ชวนชน่ื กรรมการ 8. รองศาสตราจารย์ สพ.ญ.ดร. กรรณาภรณ์ สุริยผล กรรมการ 9. ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ น.สพ.ดร. ชัยเดช อินทรช์ ยั ศรี กรรมการ 10. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ น.สพ.ดร. ชาญณรงค์ รอดคำ กรรมการ 11. ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ สพ.ญ.ดร. ชาลิกา หวังดี กรรมการ 12. อาจารย์ น.สพ.ดร. สพุ จน์ วัฒนะพันธ์ศักดิ์ กรรมการ 13. อาจารย์ น.สพ. ชัยยศ ธารรัตนะ กรรมการ 14. อาจารย์ น.สพ.ดร. ธีรวัฒน์ สว่างจันทร์อุทยั กรรมการ 15. อาจารย์ สพ.ญ.ดร. ณทยา เจริญวศิ าล กรรมการ 16. อาจารย์ น.สพ.ดร. วชริ า หุ่นประสทิ ธ์ิ กรรมการ 17. ผ้อู ำนวยการฝา่ ยวชิ าการ กรรมการ 18. นางสาวสุคนธา ทองบรสิ ทุ ธ์ิ กรรมการและเลขานุการ

คณะกรรมการดำเนนิ งานฝา่ ยนวตั กรรม คณะสตั วแพทยศาสตร์ จฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลัย ประจำปีงบประมาณ 2562 1. คณบดี ทป่ี รึกษา 2. ศาสตราจารย์ น.สพ.ดร. มงคล เตชะกำพุ ที่ปรกึ ษา 3. รองคณบดวี ิจยั และนวัตกรรม ทป่ี รกึ ษา 4. รองศาสตราจารย์ น.สพ.ดร. ณวุ ีร์ ประภัสระกูล ทป่ี รกึ ษา 5. ผู้ช่วยคณบดีฝา่ ยนวตั กรรม ประธานกรรมการ 6. ผู้ชว่ ยคณบดฝี า่ ยประชาสัมพันธ์ กรรมการ 7. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ น.สพ.ดร. ประพฤตดิ ี ปิยะวริ ิยะกุล กรรมการ 8. ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ น.สพ.ดร. ชาญณรงค์ รอดคำ กรรมการ 9. ผ้ชู ่วยศาสตราจารย์ น.สพ.ดร. ศุภววิ ัธน์ พงศ์เลาหพันธ์ุ กรรมการ 10. ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ สพ.ญ.ดร. สุกลั ยา ฤทธกิ ลุ ประเสริฐ กรรมการ 11. ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ น.สพ. ธนศกั ด์ิ บญุ เสรมิ กรรมการ 12. อาจารย์ สพ.ญ.ดร. กฤชพร กระดงั งา กรรมการ 13. อาจารย์ ดร. ธีรพงศ์ ยะทา กรรมการ 14. สพ.ญ.ดร. นธิ ริ า อนคั กุล กรรมการ 15. สพ.ญ. สุนทรี ศรวี านชิ ภมู ิ กรรมการ 16. ผอู้ ำนวยการฝา่ ยวชิ าการ กรรมการ 17. นางสาวสุคนธา ทองบรสิ ทุ ธ์ิ กรรมการและเลขานุการ

คณะกรรมการดำเนนิ งานฝ่ายนวตั กรรม คณะสัตวแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลยั ประจำปงี บประมาณ 2563 1. คณบดี ทปี่ รึกษา 2. ศาสตราจารย์ น.สพ.ดร. มงคล เตชะกำพุ ที่ปรึกษา 3. รองคณบดวี จิ ยั และนวัตกรรม ท่ีปรึกษา 4. รองศาสตราจารย์ น.สพ.ดร. ณวุ รี ์ ประภสั ระกลู ทีป่ รึกษา 5. ผู้ช่วยคณบดีฝา่ ยนวตั กรรม ประธานกรรมการ 6. ผชู้ ่วยคณบดีฝา่ ยประชาสัมพันธ์ กรรมการ 7. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ น.สพ.ดร. ประพฤติดี ปยิ ะวิรยิ ะกุล กรรมการ 8. ผ้ชู ่วยศาสตราจารย์ น.สพ.ดร. ชาญณรงค์ รอดคำ กรรมการ 9. ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ น.สพ.ดร. ศภุ วิวัธน์ พงศ์เลาหพันธุ์ กรรมการ 10. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ สพ.ญ.ดร. สกุ ัลยา ฤทธิกลุ ประเสริฐ กรรมการ 11. ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ น.สพ. ธนศักด์ิ บญุ เสรมิ กรรมการ 12. อาจารย์ สพ.ญ.ดร. กฤชพร กระดังงา กรรมการ 13. อาจารย์ ดร. ธรี พงศ์ ยะทา กรรมการ 14. สพ.ญ.ดร. นธิ ิรา อนัคกลุ กรรมการ 15. อาจารย์ น.สพ.ดร. ภัทรพล เปย่ี มสมบูรณ์ กรรมการ 16. อาจารย์ สพ.ญ.ดร. อารยา รัตนกถกิ านนท์ กรรมการ 17. อาจารย์ น.สพ.ดร. ธรี วฒุ ิ เนตรอำพนั ธ์ กรรมการ 18. ผ้อู ำนวยการฝ่ายวิชาการ กรรมการ 19. นางสาวสคุ นธา ทองบรสิ ุทธ์ิ กรรมการและเลขานุการ 20. นางสาวสทุ นิ า ศิรประภาพงศ์ ผ้ชู ่วยเลขานุการ

คณะกรรมการดำเนนิ งานฝ่ายนวตั กรรม คณะสตั วแพทยศาสตร์ จฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลยั ประจำปีงบประมาณ 2564 1. คณบดี ทป่ี รกึ ษา 2. ศาสตราจารย์ น.สพ.ดร. มงคล เตชะกำพุ ท่ปี รกึ ษา 3. รองคณบดวี จิ ยั และนวตั กรรม ทปี่ รึกษา 4. ผชู้ ่วยคณบดีฝ่ายนวัตกรรม ประธานกรรมการ 5. ผู้ชว่ ยคณบดฝี ่ายประชาสมั พันธ์ กรรมการ 6. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ น.สพ.ดร. ประพฤติดี ปิยะวริ ยิ ะกุล กรรมการ 7. ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ น.สพ.ดร. ชาญณรงค์ รอดคำ กรรมการ 8. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ น.สพ.ดร. ศุภววิ ธั น์ พงศ์เลาหพันธุ์ กรรมการ 9. ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ สพ.ญ.ดร. สกุ ัลยา ฤทธิกลุ ประเสรฐิ กรรมการ 10. ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ น.สพ. ธนศกั ดิ์ บญุ เสรมิ กรรมการ 11. อาจารย์ สพ.ญ.ดร. กฤชพร กระดังงา กรรมการ 12. อาจารย์ ดร. ธีรพงศ์ ยะทา กรรมการ 13. สพ.ญ.ดร. นธิ ิรา อนัคกุล กรรมการ 14. อาจารย์ น.สพ.ดร. ภทั รพล เปย่ี มสมบูรณ์ กรรมการ 15. อาจารย์ สพ.ญ.ดร. อารยา รัตนกถกิ านนท์ กรรมการ 16. อาจารย์ น.สพ.ดร. ธีรวฒุ ิ เนตรอำพนั ธ์ กรรมการ 17. ผู้อำนวยการฝ่ายวชิ าการ กรรมการ 18. นางสาวสคุ นธา ทองบริสุทธ์ิ กรรมการและเลขานุการ 19. นางสาวสทุ ินา ศริ ประภาพงศ์ ผชู้ ่วยเลขานกุ าร

การดำเนนิ งานของฝา่ ยนวัตกรรม คณะสตั วแพทยศาสตร์ จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลยั คณะสัตวแพทยศาสตร์ จุฬาฯ ในบทบาทของสถาบันการศึกษาด้านสัตวแพทย์ชั้นนำในประเทศไทย ได้ เล็งเห็นถึงความสำคัญและมียุทธศาสตร์ที่มีความสอดคล้องประเทศไทยและจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในการสร้าง นวัตกรรมสำหรับแก้ไขปัญหาของสังคม (Innovations for Society) โดยมีรากฐานมาจากงานวิจัยและองค์ความรู้ ของนักวิจัยและคณาจารย์ของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย คณะฯ ได้มีผลงานวจิ ยั และสรา้ งองค์ความรู้ที่สามารถนำมา สร้างคุณค่าให้เกิดประโยชน์และสนับสนุนให้มีการต่อยอดเป็นสิ่งประดิษฐ์และนวัตกรรม อีกทั้งมีการสร้างระบบ นิเวศนวัตกรรมในองค์กรเพื่อให้เกิดการพัฒนางานของบุคลากรและนิสิตด้วยการจัดกิจกรรมและส่งเสริ มให้นำ วิทยากร องค์ความรู้ แนวคิด งานวิจัย และอุปกรณ์ต่าง ๆ มาต่อยอดเพื่อสร้างคุณค่า สร้างเป็นสิ่งประดิษฐ์และ ทรัพย์สินทางปัญญา นำไปใช้ไดจ้ ริงในเชิงปฏิบตั ิ พัฒนาเป็นนวัตกรรมเพือ่ ตอบโจทยค์ วามต้องการของสังคมในทาง สัตวแพทย์ รวมถงึ เลง็ เห็นถึงความจำเป็นในการนำไปขยายผลในเชิงพาณิชย์ การกอ่ ตั้งหน่วยงานที่มีการดำเนินงาน ในรูปแบบสถานประกอบการ คือ บริษัท ซียู เว็ท เอ็นเทอร์ไพรส์ จำกัด เพื่อเป็นหน่วยบ่มเพาะทำหน้าที่ให้การ สนับสนุน การร่วมทุนและลงทุน ให้เกิดการ spin-off ของนักวิจัย และความร่วมมือกับภาคเอกชนในการนำ นวตั กรรมไปขยายผลและใช้ประโยชนไ์ ด้จรงิ ตอ่ สงั คม Faculty staffs Student s INNOVATION VALUE Resources Service Research,

โดยในปี 2561-2564 คณะสัตวแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้มีการดำเนินงานด้านนวัตกรรมใน หลากหลายด้านเพอื่ ให้เกิดระบบนิเวศนวตั กรรมในองค์กร ประกอบดว้ ย 1. กจิ กรรมส่งเสริมแนวคดิ การสรา้ งนวตั กรรมและทรพั ย์สินทางปญั ญาแกน่ สิ ติ และบุคลากร 1.1. โครงการอบรมเชิงปฏบิ ัตกิ ารการเขียนขอจดสิทธบิ ตั ร 1.2. โครงการ Young Innovator Bootcamp 1.3. กจิ กรรมสรา้ งความร่วมมือการตอ่ ยอดงานวิจัยสนู่ วัตกรรมกบั หน่วยงานอ่นื ๆ 2. การกอ่ ต้ังหน่วยงานประกอบการ บรษิ ทั ซยี ู เว็ท เอน็ เทอรไ์ พรส์ จำกัด 3. กิจกรรมประชาสัมพนั ธง์ านนวัตกรรมของคณะฯ 3.1. การจัดแสดงผลงานสิ่งประดิษฐ์และนวตั กรรมทางด้านสัตวแพทย์ (CU VET Innovation Exhibition) ใน Chulalongkorn University Veterinary Conference 2019 3.2. การจดั เสวนา CU VET Innovation Forum ในหวั ขอ้ “Empowering collaboration towards vet innovation” ใน Chulalongkorn University Veterinary Conference 2019 3.3. การจดั ทำส่อื ประชาสมั พนั ธ์และความรทู้ างด้านนวตั กรรม CU VET Innovation Digest 3.4. การนำเสนอผลงานนวัตกรรมของคณะสัตวแพทยศาสตร์ จุฬาฯ ใน Chulalongkorn University Veterinary Conference 2021 4. การส่งเสรมิ การเรยี นการสอนดา้ นนวัตกรรมในหลักสูตรสัตวแพทยศาสตรบัณฑิต 4.1. การปฐมนเิ ทศนิสติ ชน้ั ปีท่ี 1 ปกี ารศกึ ษา 2562-2563 4.2. การบรรยายหัวข้อเกย่ี วข้องกับนวตั กรรมในรายวิชาบงั คับ 3100102 Perspectives in Veterinary Professions 4.3. การจัดอบรมเชงิ ปฏิบตั ิการทางด้านกระบวนการเชิงนวตั กรรม Veterinary Innovation Bootcamp ใน รายวิชา 3108513 Perspectives in Veterinary Dairy Industry 5. ทนุ ส่งเสรมิ โครงการนวตั กรรม 5.1. โครงการสรา้ งคุณคา่ งานประจำสูก่ ารวิจยั และนวตั กรรม 5.2. โครงการสนับสนนุ การวจิ ยั ระดับปรญิ ญาบัณฑติ ด้านสง่ิ ประดษิ ฐ์และนวัตกรรม 6. ผลงานรางวลั นวตั กรรม สิทธบิ ัตร และอนุสิทธบิ ัตร 6.1. ผลงานรางวัลนวัตกรรมบคุ ลากรและนิสิต 6.2. สิทธบิ ตั รและอนสุ ทิ ธิบัตร 7. รางวัลส่งเสริมบุคลากรที่มผี ลงานด้านนวัตกรรมของคณะสตั วแพทยศาสตร์ จุฬาฯ 7.1. รางวัล Boehringer Ingelheim Best Innovation for Society Award for CU VET 2020

1. กิจกรรมสง่ เสริมแนวคิดการสรา้ งนวตั กรรมและทรพั ยส์ นิ ทางปญั ญาแก่นสิ ิตและบคุ ลากร 1.1. โครงการอบรมเชิงปฏบิ ัตกิ ารการเขียนขอจดสิทธิบัตร ตามที่คณะสัตวแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้เห็นถึงความสำคัญในการพัฒนาศักยภาพของ บุคลากรในการวิจัย การสร้างสิ่งประดิษฐ์ และสร้างสรรค์นวัตกรรม จึงเห็นถึงความจำเป็นของการเป็นเจ้าของ ผลงานและทรัพย์สินทางปัญญา ดังนั้นบุคลากรจึงต้องมีความเข้าใจและตระหนักถึงความสำคัญของทรัพย์สินทาง ปัญญา และให้บุคลากรได้มีความเป็นเจ้าของผลงาน ได้รับประโยชน์จากการสร้างสรรค์ผลงานของตนเองอย่าง ถูกต้อง ตลอดไปจนการพัฒนาต่อยอดทรัพย์สินทางปัญญาเพื่อใช้ประโยชน์ในเชิงพาณิชย์ การเพิ่มมูลค่า การสร้าง ความร่วมมือระหว่างองค์กรและภาคเอกชน ทั้งนี้ทางจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยได้มีการสนับสนุนให้บุคลากรของ มหาวทิ ยาลยั ท่ีสร้างสรรคผ์ ลงาน ได้เปน็ เจา้ ของทรัพยส์ ินทางปัญญาด้วยการขอจดสิทธิบตั ร และมีหน่วยงานในการ สนับสนุนและดำเนินการ คือ สถาบันทรัพย์สินทางปัญญาแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (Chulalongkorn University Intellectual Property Institute) ซึ่งมีบทบาทและหน้าท่ีช่วยในการส่งเสริม คุ้มครอง และดูแลรักษา ทรัพยส์ ินทางปญั ญาของบุคลากรและมหาวทิ ยาลัย รวมถงึ การใหค้ ำปรึกษาแนะนำด้านทรัพย์สนิ ทางปัญญาและการ จดสิทธิบัตรแก่บุคลากร เพื่อเป็นประโยชน์แก่บุคลากรในคณะฯ ตั้งแต่เริ่มโครงการวิจัยเพื่อสร้างสรรค์ผลงาน จึงมี ความจำเป็นที่บุคลากรต้องมีการวางแผนการเป็นเจ้าของทรัพย์สินทางปัญญา การเผยแพร่ผลงาน การจดสิทธิบัตร สทิ ธปิ ระโยชนข์ องผูว้ ิจัยและจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลยั เพ่ือให้เกดิ วิถกี ารปฏิบัตใิ นการสร้างสรรค์ผลงานของบุคลากร อยา่ งมปี ระสิทธิภาพในอนาคต โดยกจิ กรรมน้ไี ดจ้ ดั ขนึ้ ในวนั ท่ี 18 ธันวาคม 2562 ณ ห้องประชมุ ชนั้ 10 อาคารสัตว วิทยวจิ กั ษ์ คณะสัตวแพทยศาสตร์ จฬุ าฯ มนี สิ ิตช้ันปีท่ี 1-4 เข้าร่วมโครงการจำนวน 40 คน วตั ถปุ ระสงค์ 1. เพื่อให้บุคลากรของคณะสตั วแพทยศาสตร์ จุฬาฯ ได้มีความรู้ ความเขา้ ใจถึงการเป็นเจ้าของผลงาน และ ทรัพย์สินทางปัญญา 2. เพือ่ ใหบ้ ุคลากรของคณะสตั วแพทยศาสตร์ จฬุ าฯ ได้เข้าใจเกี่ยวกบั สทิ ธิประโยชน์จากทรัพย์สนิ ทางปัญญา ในบทบาทของบุคลากรของจุฬาฯ 3. เพ่ือให้บคุ ลากรของคณะสตั วแพทยศาสตร์ จฬุ าฯ รู้ข้นั ตอนและแนวทางการย่นื ขอจดสิทธบิ ตั ร โดยเจา้ หนา้ ที่จากสำนักทรัพย์สนิ ทางปัญญาแห่งจฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย (Chulalongkorn University Intellectual property หรอื CUIP) ในการบรรยายประกอบเนื้อหาทั้ง ความรู้เบื้องตน้ เก่ยี วกับทรัพยส์ นิ ทางปัญญา ข้อควรรเู้ ก่ยี วกบั สทิ ธิบตั ร การเตรียมคำขอรบั สิทธบิ ัตร และการปฏิบัติการร่างคำขอสิทธิบตั ร ผูเ้ ขา้ รว่ มโครงการได้มี การเตรยี มรา่ งคำขอและประสงคข์ อยืน่ จดสิทธบิ ัตรหรอื อนุสทิ ธิบัตร จำนวน 8 รายการ ประกอบด้วย 1. สตู รอาหารจากผักหนามสำหรับโค-กระบอื เพศผู้และขบวนการผลติ

2. กรรมวิธกี ารผลติ ฝักจามจุรเี ป็นอาหารสัตว์เคย้ี วเอ้ือง 3. หุน่ จำลองกายวิภาคกบโดยโฟมนม่ิ และยางพารา 4. แผน่ ตรวจโซมาตกิ เซลล์ในน้ํานมถังรวม 5. รยางค์เทยี มเต่าทะเล 6. เครื่องช่ังนาํ้ นมโคสำหรบั เคร่อื งรีดนมชนิด bucket type 7. สูตรเจอื จางนา้ํ เชอ้ื แช่เย็นสำหรบั สนุ ัข 8. องค์ประกอบอนภุ าคนาโนกกั เกบ็ ยาฟีแนสเทอร์ไรด์ (Finasteride) กจิ กรรมโครงการอบรมเชงิ ปฏิบัตกิ ารการเขียนขอจดสทิ ธิบตั ร จดั เมื่อวันที่ 18 ธนั วามคม 2562 ณ ห้องประชมุ ชัน้ 10 อาคารสัตววทิ ยวิจักษ์ คณะสัตวแพทยศาสตร์ จฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลยั

1.2. โครงการ Young Innovator Bootcamp ด้วยปัจจุบันการเปลี่ยนแปลงของสังคมยุคใหม่มีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วและถูกขับเคลื่อนด้วย เทคโนโลยีและกระบวนการสมัยใหม่ที่ก่อให้เกิดนวัตกรรม การเรียนรู้และความเท่าทันโลกในยุคปัจจุบันทั้งในแง่ แนวคิด กระบวนการคิด และเครื่องมือที่นำไปสูแนวทางสร้างสรรค์จึงเป็นสิ่งจำเป็นต่อนิสิต ที่จะนำไปประกอบกับ องค์ความรู้ที่เก่ียวข้องกับวิชาชีพสัตวแพทย์ ทำให้เกิดการสร้างสรรค์ผลผลิต กระบวนการ หรือความร่วมมือใน รูปแบบใหม่ นำมาซึ่งนวัตกรรมทางสัตวแพทย์ เทคโนโลยีและการสื่อสารในปัจจุบันสามารถเอื้อให้ทุกคนที่มี ความสามารถสร้างผลิตภัณฑ์และเป็นผู้ประกอบการได้ แนวคิดในการสร้างนวัตกรรมทำให้สามารถเพิ่มคุณค่าของ ผลิตภัณฑ์ กระบวนการหรือการบริการ ทั้งในแง่ของมูลค่าและประสบการณ์ อีกทั้งเป็นแนวทางที่ทำให้นิสิตได้วาง แผนการเป็นผู้ประกอบการในอนาคต การบ่มเพาะนิสิตโดยให้มีความรู้ ทักษะ และความสามารถในการพัฒนา เครื่องมอื หรือวิธีการท่ีให้ความสำคัญในการสร้างนวัตกรรมท่ีตอบสนองต่อกลุ่มเป้าหมายบนพ้ืนฐานความรู้ด้านสัตว แพทย์เป็นแนวทางหนึ่งที่จะทำให้นิสิตสามารถนำความรู้ที่ได้ไปพัฒนาตนเองทั้งในด้านการเรียน การทำกิจกรรม และการประกอบวิชาชีพในอนาคต การอบรมนี้จึงเป็นการให้ความรู้ ให้โอกาสให้นิสิตได้ใช้ความคิดสร้างสรรค์ และระดมความคิดร่วมกัน ใน การคิดผลงานใหม่ ๆ ที่ช่วยแก้ปัญหาหรือตอบโจทย์ความต้องการทางสัตวแพทย์ บนพื้นฐานขององค์ความรู้ ทรัพยากร และเทคโนโลยีที่มีอยู่ รวมไปถึงแนวคิดทางธุรกิจและการเป็นผู้ประกอบการเบื้องต้น ด้วยแนวคิดเชิง นวตั กรรม (innovation mindset) ทำใหน้ สิ ติ ได้แสดงออกทางความคดิ อย่างสรา้ งสรรค์ มีหลกั การและเหตผุ ล การ พัฒนาตนเองเชิงรกุ (proactive) โดยเน้นกลุ่มนิสิตท่ีมีความสนใจด้านนวัตกรรม เพื่อนำไปใช้ในการเป็นผู้นำในการ จัดกิจกรรม อันนำมาสู่การก่อให้เกิดรายได้เพื่อส่วนรวมในการจัดกิจกรรมที่เป็นประโยชน์ อี กทั้งเป็นการริเริ่ม การสรางระบบนิเวศนวัตกรรมให้เกิดขึ้นในคณะสัตวแพทยศาสตร์ จุฬาฯ นิสิตที่สนใจที่จะนำไปประกอบกับการ สร้างผลงานหวั ข้อท่สี นใจพิเศษทางด้านสัตวแพทย์ หรอื การศึกษาต่อที่เก่ียวกับการสรา้ งนวัตกรรม โดยมีรูปแบบใน การจัดกิจกรรมประกอบด้วย บรรยายและปฏิบัติการ ให้นิสิตได้ระดมความคิดโครงการสร้างนวัตกรรมที่เป็น ผลิตภัณฑ์ กระบวนการ หรือการบริการที่เกี่ยวข้องกับทางสัตวแพทย์ การประกวด idea pitching มีการติดตาม โครงการต่อเนื่อง ให้เกิดการสร้าง prototype โดยมีวิทยากรผู้มีประสบการณ์จากศูนย์นวัตกรรมกลางแห่ง จุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลยั (CU Innovation Hub) กจิ กรรมน้ีจดั ข้นึ ระหว่างวนั ที่ 10-12 สิงหาคม 2562 ห้อง smart classroom ช้นั 8 อาคาร 60 ปี คณะสตั วแพทยศาสตร์ จฬุ าฯ วตั ถปุ ระสงค์ 1. เพอ่ื ใหน้ สิ ติ ไดม้ ีความร้แู ละความเขา้ ในเกย่ี วกับกระบวนการสรา้ งนวตั กรรม 2. เพอ่ื ให้นิสิตได้ระดมความคดิ ฝึกปฏิบัตกิ ารสร้างนวัตกรรมทางดา้ นสตั วแพทย์

โดยคณะฯ ไดร้ ับการสนับสนนุ จาก บรษิ ทั ฮเู วฟาร์มา จำกดั โดยมีวิทยากรจากศูนย์นวัตกรรมกลางแห่ง จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั (CU Innovation Hub) และบรษิ ทั ออลเทค ไบโอเทคโนโลยี คอรป์ อเรชัน่ จำกัด เม่อื วนั ท่ี 10-12 สงิ หาคม 2562 เพ่ือเปิดใหโ้ อกาสให้นิสติ ไดใ้ ชค้ วามคิดสรา้ งสรรค์ และระดมความคิดร่วมกัน ในการคิดผลงาน ใหม่ ๆ ทชี่ ่วยแกป้ ัญหาหรอื ตอบโจทย์ความต้องการทางสัตวแพทย์ บนพ้ืนฐานขององคค์ วามรู้ ทรัพยากร และ เทคโนโลยที มี่ ีอยู่ รวมไปถึงแนวคดิ ทางธุรกจิ และการเปน็ ผู้ประกอบการเบ้ืองตน้ ด้วยแนวคดิ เชิงนวตั กรรม (innovation mindset) ทำใหน้ ิสิตไดแ้ สดงออกทางความคิดอย่างสรา้ งสรรค์ มีหลกั การและเหตุผล การพฒั นา ตนเองเชงิ รกุ (proactive) โดยเน้นกลมุ่ นสิ ติ ทม่ี ีความสนใจดา้ นนวตั กรรม เพ่อื นำไปใช้ในการเป็นผู้นำในการจัด กจิ กรรม อันนำมาสู่การก่อให้เกดิ รายไดเ้ พ่ือส่วนรวมในการจัดกิจกรรมที่เป็นประโยชน์ อกี ท้ังเปน็ การริเริ่มการสราง ระบบนเิ วศนวัตกรรมใหเ้ กดิ ขึ้นในคณะสัตวแพทยศาสตร์ จุฬาฯ นสิ ิตทีส่ นใจทจ่ี ะนำไปประกอบกบั การสร้างผลงาน หวั ข้อท่ีสนใจพิเศษทางด้านสัตวแพทย์ หรือการศึกษาต่อที่เกี่ยวกับการสร้างนวตั กรรม

โครงการ Young Vet Innovator Bootcamp 2019 ณ Smart Classroom คณะสตั วแพทยศาสตร์ จฬุ าฯ เมอ่ื วนั ท่ี 10-12 สิงหาคม 2562



2. กิจกรรมสรา้ งความร่วมมือการตอ่ ยอดงานวิจยั สนู่ วัตกรรมกับหน่วยงานดำเนินงานดา้ นนวตั กรรมของ จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยได้ผลักดันงานด้านนวัตกรรมให้เป็นได้ตามแผนยุทธศาสตร์จึงได้มีการจัดตั้ง หน่วยงานภายในใหม่ของาวิทยาลัยในการสนับสนุนระบบนิเวศนวัตกรรมให้เกิดขึ้น ฝ่ายนวัตกรรมของคณะสัตว แพทยศาสตร์ ได้มีการประสานงานและสร้างความร่วมมือในการดำเนินงานเพื่อรับการสนับสนุนจากหน่วยงานของ มหาวิทยาลัย และเพื่อสร้างเครือข่ายในการสนับสนุนนักวิจัยสำหรับต่อยอดงานนวัตกรรมสำหรับใช้ประโยชน์ การ แกไ้ ขปัญหา และขยายผลในเชิงพาณชิ ย์ 1. การประชุมและการนำเสนอผลงานสิ่งประดิษฐ์และนวัตกรรมของนักวิจัย คณะสัตวแพทยศาสตร์ กับทาง Chulalongkorn University Technology Center สำนักบริหารวิจัย จุฬาฯ ณ ห้องประชุม 4 อาคารชัย อัศวรกั ษ์ เม่อื วันที่ 28 มกราคม 2563

Chulalongkorn University Technology Center โดยมี ศ.นพ.ดร. ยิ่งยศ อวิหิงสานนท์ ผู้อำนวยการ ได้มาบรรยายและรับฟังการนำเสนอผลงานวิจัยต่อยอดเป็นนวัตกรรมของคณาจารย์คณะสัตวแพทยศาสตร์ และ สรา้ งเครือขา่ ยความร่วมมือในการขับเคล่ือนนวตั กรรมจากเทคโนโลยเี ชิงลึก 2. การประชุมหารือกำหนดแนวทางและความร่วมมือในการดำเนินงานบริษัท ซียู เว็ท เอ็นเทอร์ไพรส์ จำกัด ของคณะฯ ร่วมกับบริษัท ซียู เอ็นเทอร์ไพรส์ จำกัด บริษัท ซียู เด็นท์ เอ็นเทอร์ไพรส์ จำกัด และบริษัท ซียู ฟารม์ เอน็ เทอร์ไพรส์ จำกดั ณ ศูนย์นวัตกรรม คณะทันตแพทยศาสตร์ จฬุ าฯ เมอื่ วัน 14 ตุลาคม 2563

3. การก่อต้งั หน่วยงานประกอบการเชิงพาณิชย์ บริษัท ซียู เว็ท เอน็ เทอร์ไพรส์ จำกัด ด้วยจุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลัยไดม้ ีนโยบายในการสนับสนุนการสร้างนวตั กรรมจากส่ิงประดษิ ฐแ์ ละงานวจิ ยั ของบุคลกรให้นำไปใชป้ ระโยชน์ได้จริง และออกสู่ตลาดในเชิงพาณิชย์ ผ่านผู้ประกอบการและหนว่ ยงานเอกชน จึง ได้มีการจัดตั้งบริษัท ซียูเอ็นเทอร์ไพรส์ จำกัด (CU enterprise Co., Ltd) โดยผ่านความเห็นชอบจากสภา มหาวทิ ยาลัย ในการประชุมครัง้ ท่ี 818 วนั พฤหัสบดที ี่ 30 สงิ หาคม 2561 โดยมวี ตั ถุประสงค์เพอื่ สนับสนุนการสร้าง นวัตกร นวัตกรรม ผู้ประกอบการและธุรกิจ โดยสร้างระบบนิเวศนวัตกรรมให้มีความสมบูรณ์ ทำหน้าที่เชื่อมโยง อย่างใกลช้ ดิ ระหว่างจุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลบั กับภาคธุรกิจและอุตสาหกรรม และสามารถผลกั ดันใหน้ ักวจิ ยั นวัตกร และนวัตกรรมที่มีศักยภาพได้เจริญเติบโตต่อยอดและสร้างประโยชน์แก่สังคม อีกทั้งยังมีบทบาทในการลงทุนใน วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมตามเกณฑ์ที่ได้รบั อนุมัติจากกรรมการบริษัท จัดตั้งหรือร่วมกับหน่วยงานในการ จัดตั้งหน่วยธุรกิจ (business unit) เพื่อการลงทุนหรือประกอบการในเชิงพาณิชย์ เพื่อผลักดันให้งานนวัตกรรมที่ เกิดจากหน่วยงานในจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยออกสู่สังคม อีกทัง้ สร้างผ้ปู ระกอบการใหม่ทีเ่ ชื่อมโยงกับหน่วยงานอื่น ๆ โดยมีข้อบังคับเป็นไปตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ ทั้งนี้คณะสัตวแพทยศาสตร์ เป็นหน่วยงาน ที่มีการ ดำเนินการตามระเบียบของจฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย อันมขี ้อจำกดั ที่เกี่ยวข้องกบั การบริหารงานบุคคล การเงนิ การ จัดซื้อจัดจ้าง ที่ขัดการขับเคลือ่ นนโยบายการนำงานวิจัยองคค์ วามรู้ไปใช้ประโยชน์ในเชิงพาณิชย์ อาทิเช่น การจ้าง บุคลากรในกรอบตำแหน่งที่มีจำกัด การจัดซื้อจัดจ้างพัสดุที่มีระเบียบขั้นตอนทางราชการที่เข้มงวด และไม่จูงใจ บุคลากรที่มีคุณภาพสูงในการเขา้ มารว่ มพฒั นางานได้ ดว้ ยบริบทของสังคมทเ่ี ปลย่ี นแปลงไปอย่างรวดเร็ว คณะสัตว แพทยศาสตร์ จุฬาฯ จำเป็นต้องก้าวไปข้างหน้าและคงเป็นผู้นำทางด้านสัตวแพทยศาสตร์ในประเทศไทย จึงต้องมี การปรบั ตวั และการจัดการภายใต้ระเบียบและแนวทางใหม่ของมหาวิทยาลัย เพอ่ื ให้สามารถนำงานวจิ ัย องค์ความรู้ สิ่งประดิษฐ์ที่สร้างสรรค์โดยบุคลากรในคณะฯ ออกสู่สังคม เป็นที่ต้องการของตลาด ทำให้เกิดประโย ชน์ต่อทั้ง ผู้ใช้งาน นักวิจัย คณะฯ มหาวิทยาลัย และหน่วยงานเอกชนที่มีความสนใจมีส่วนร่วมได้อย่างคล่องตัว รวมถึง ส่งเสริมและจูงใจให้เกิดการแรงกระตุ้นในการพัฒนานวัตกรรมใหม่ ๆ ที่สร้างคุณค่าและมูลค่าตามนโยบายของ คณะฯ ได้ และการผลักดันให้เกดิ spin-off ของนักวิจัย จึงได้มีการจดทะเบยี นจดั ตัง้ บริษทั ซียู เวท เอ็นเทอร์ไพรส์ จำกัด (CU VET Enterprise Co., Ltd) ทะเบียนเลขที่ 0105563050971 กับกรมพัฒนาธุรกิจการค้าสำเร็จเมื่อวัน 20 มีนาคม 2563

หนังสือรับรองการจดทะเบยี นบริษทั ซยี ู เว็ท เอ็นเทอร์ไพรส์ จำกัด กับกรมพัฒนาธรุ กิจการค้า เมือ่ วันที่ 20 มนี าคม 2563 วัตถปุ ระสงค์ 1. เพอื่ สนับสนุนให้เกดิ ชอ่ งทางการนำองค์ความรู้จากการวิจยั ไปขยายผลในเชิงพาณชิ ย์ สร้างมลู ค่าและ ประโยชน์ได้จริงในสงั คม ดว้ ยการบริหารจัดการท่ีมีความคล่องตวั และทำหน้าทีเ่ ชอื่ มโยงคณะสตั ว แพทยศาสตรก์ บั ภาคธุรกจิ และอตุ สาหกรรม 2. เพื่อสง่ เสรมิ ให้คณะสัตวแพทยศาสตร์ จฬุ าฯ สรา้ งนวตั กรรม นวตั กร ผู้และประกอบการ ให้มกี าร เจรญิ เติบโตอย่างยงั่ ยนื เป็นประโยชนต์ ่อสังคม 3. รบั ผิดชอบการอน่ื ๆ ที่เก่ยี วข้อง ดงั กรณตี อ่ ไปนี้ - ลงทุนในวสิ าหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมตามเกณฑท์ ี่ไดร้ ับอนุมตั ิจากรรมการบริษทั - จดั ตงั้ หรอื รว่ มกับหนว่ ยงานอ่ืนจดั ตงั้ บรษิ ัทหรือหน่วยธรุ กิจ เพอ่ื การลงทนุ หรือประกอบการเชิงพาณิชย์ - จดั อบรมและใหค้ ำปรกึ ษาเกี่ยวกบั นวตั กรรมและผูป้ ระกอบการ - ดำเนินการอ่นื ๆ ตามวัตถปุ ระสงคข์ องบริษัท

ปัจจบุ นั การดำเนนิ การของบริษทั ซียู เว็ท เอ็นเทอร์ไพรส์ จำกดั อยู่ภายใต้การดำเนนิ การของคณะกรรมการบริษัท ท้งั หมด 9 คน จากทมี ผูบ้ ริหารคณะฯ และศิษยเ์ ก่า ประกอบด้วย 1. ศ.น.สพ.ดร. รุ่งโรจน์ ธนาวงษน์ เุ วช (คณบด)ี ประธานกรรรมการบริษัท กรรมการ 2. ศ.สพ.ญ.ดร. เกวลี ฉัตรดรงค์ กรรมการและประธานบริหาร (รองคณบดวี จิ ัยและนวตั กรรม) กรรมการ กรรมการ 3. รศ.น.สพ. เกรยี งศกั ดิ์ พนู สขุ กรรมการ กรรมการ 4. น.สพ. กติ ติ ทรัพย์ชกู ลุ กรรมการ กรรมการและเลขานุการ 5. น.สพ. วศิ ทุ ธิ์ สุภทั ราพิรมย์ 6. นายเจษฎน์ อิศรางกรู ณ อยธุ ยา 7. น.สพ. บญุ เลศิ ปรีชาตัง้ กจิ 8. ภก. นคั นนั ท์ ชติ อรุณ 9. ผศ.น.สพ.ดร. ภทั รรฐั จนั ทรฉ์ ายทอง (ผูช้ ว่ ยคณบดฝี ่ายนวัตกรรม)

อำนาจหนา้ ท่ีของคณะกรรมการบรษิ ทั มีดังน้ี 1. กำหนดเปา้ หมายและนโยบายเกี่ยวกบั การบริหารงานของบริษทั ใหเ้ ปน็ ไปตามวตั ถุประสงค์ของบริษทั 2. ควบคุมดแู ลการดำเนนิ งานของบริษัทให้เปน็ ไปตามนโยบายและวัตถุประสงค์อยา่ งมปี ระสิทธิภาพ 3. พิจารณาให้ความเห็นชอบและแผนการดำเนินงานของกรรมการผจู้ ดั การ 4. พจิ ารณางบประมาณ รายงานการเงิน และรายงานประจำปีเพ่อื เสนอต่อท่ปี ระชุมผู้ถอื หุ้น 5. พจิ ารณาเสนอตอ่ ประธานกรรมการเพ่ือแต่งตัง้ หรือถอดถอนกรรมการผูจ้ ัดการ 6. เสนอต่อท่ปี ระชุมผถู้ ือห้นุ เพือ่ จดั ต้ังหรือลงทุนในบรษิ ทั หรือพัฒนาหนว่ ยธุรกจิ เพื่อการลงทนุ หรือ ประกอบการเชิงพาณิชย์ 7. กำหนดนโยบายการดำเนินงานของบริษทั ในเครือข่ายหรือหนว่ ยธุรกจิ ท่บี รษิ ัทถือหุ้นหรือลงทุน 8. แตง่ ตัง้ คณะกรรมการและกรรมการผู้จดั การของบรษิ ัทในเครอื หรอื หน่วยธุรกิจทีบ่ ริษัทถือหนุ้ หรอื ลงทุน 9. อำนาจหนา้ ที่อ่นื ๆ ตามท่ปี ระชุมผถู้ ือห้นุ มอบหมาย เงื่อนไขการลงนามเอกสาร ดังนี้ จำนวนหรือชื่อกรรมการซึ่งลงชื่อผูกพันบริษัทไว้ได้ คือ นายรุ่งโรจน์ ธนาวงษ์นุเวช นางเกวลี ฉัตรดรงค์ นายภัทรรัฐ จันทร์ฉายทอง กรรมการจำนวนสองในสามลงลายมือชื่อร่วมกัน บริษัท ซยี ู เว็ท เอ็นเทอรไ์ พรส์ จำกัด มีทุนจดทะเบียนเป็นห้นุ สามัญจำนวน 10,000 หุน้ หนุ้ ละ 10 บาท เป็นจำนวน เงิน 100,000 บาท และได้เปิดบญั ชีบริษัทกับทางธนาคารกสิกรไทย ชื่อบัญชี บริษัท ซียู เว็ท เอ็นเทอร์ไพรส์ จำกัด เลขทบ่ี ัญชี 071-1-74787-7 จากที่ประชุมกรรมการบรษิ ัทฯ ได้มกี ารวางแผนการดำเนนิ งานของบริษัท ดังนี้ โครงสรา้ งบรษิ ทั ซียู เวท็ เอ็นเทอร์ไพรส์ จำกดั - บรษิ ัท ซียู เวท็ เอ็นเทอร์ไพรส์ จำกดั ถอื หนุ้ หลกั โดย บรษิ ัท ซียู เอ็นเทอรไ์ พรส์ จำกดั 99.7% - บรษิ ัทฯ จะดำเนนิ งานตามโครงสร้างและนโยบายนวัตกรรมของมหาวทิ ยาลัย - บรษิ ทั ฯ จะทำหนา้ ที่ประสานให้เกดิ ธรุ กจิ นวัตกรรมในคณะสตั วแพทยศาสตร์ จฬุ าฯ - บริษัทฯ จะประสานการระดมทุนจากศิษย์เก่าฯและแหล่งทนุ ภายนอก เพื่อสร้างมูลค่าของธุรกิจนวตั กรรม จากคณะสัตวแพทยศาสตร์ จฬุ าฯ

หน้าที่หลกั ของบริษัท 1. สรา้ งระบบนิเวศทางนวตั กรรม (ecosystem) ใหเ้ กิดในคณะสัตวแพทยศาสตร์ จุฬาฯ 2. ชว่ ยผลักดนั ผลติ ภณั ฑ์นวตั กรรมของคณาจารย์และบคุ ลากรของคณะฯ ออกสู่ตลาดอย่างมีประสทิ ธภิ าพ 3. ผลักดันบริษัทนวตั กรรมของคณาจารย์และบุคลากรของคณะฯ ใหป้ ระสบความสำเรจ็ ดา้ นการเป็น startup ผลประกอบการ และผลกระทบทดี่ ีต่อสังคม 4. โครงสร้างบริษัทฯ จะไมใ่ ช่ผูล้ งทุนหลักของบรษิ ัท แตจ่ ะเป็นผสู้ ่งเสริมใหม้ ีการลงทุน เปา้ หมาย 1. นำเสนอระบบนิเวศทางนวัตกรรมของคณะฯ สูค่ ณาจารย์ นิสิต นสิ ติ เก่า และบุคลากรคณะฯ 2. เปิดตวั บรษิ ทั ฯ และกจิ กรรมการระดมทนุ ในวนั เกิดคณะฯ กำหนดการเดอื น เมษายน 2564 3. สรา้ งตน้ แบบการทำงานใหเ้ กิดในคณะฯ กิจกรรมการดำเนนิ การ 1. นำเสนอรูปแบบการดำเนินการของบริษัทฯ และการสร้างระบบนิเวศทางนวัตกรรมของคณะฯ แก่ คณาจารย์ นิสติ นิสิตเก่า และบุคลากร 2. ส่งเสริมให้เกิดการสร้างธุรกิจนวัตกรรมในคณะสัตวแพทยศาสตร์ จุฬาฯ และคัดเลือกบริษัทขั้นต้น ส่งให้ ทางบริษัท ซยี ู เอ็นเทอร์ไพรส์ จำกดั ช่วยวิเคราะหแ์ ละระดมทุนต่อไป 3. นำผลิตภัณฑ์นวัตกรรมของคณาจารย์มาจัดจำหน่าย โดยมีการปรับปรุง พัฒนาเชิงบรรจุภัณฑ์ การจด ทะเบยี นสนิ คา้ สู่สาธารณะ 4. สนับสนุนให้เกิด CU VET Innovation Center เพื่อสนับสนุนการสร้างนวัตกรรมในเชิงการเรียนการสอน และการบริการออกสสู่ าธารณะ 5. รบั สมคั ร mentor จากศิษยเ์ กา่ และผู้เชี่ยวชาญ เพอื่ สนับสนุนการดำเนินการของบรษิ ทั โดยทำงานเสรมิ กับ บรษิ ทั ซียู เอน็ เทอร์ไพรส์ จำกัด หลกั คดิ ในการดำเนนิ การตง้ั บริษทั และการระดมทุน บริษัทตอ้ งประกอบด้วยบุคลากรสำคญั อย่างน้อย 2 คน คอื CEO (Chief Executive Officer) เปน็ ผบู้ ริหาร บริษัทและผลักดันให้บริษัทประสบความสำเร็จ มีหน้าที่ประสานงานทุกภาคส่วน CEO ควรทำงานเต็มเวลา หรือมี เวลาเต็มที่ให้กับบริษัท และ CTO (Chief Technology Officer) ส่วนใหญ่จะเป็นคณาจารย์ นักวิจัยที่เป็นเจ้าของ เทคโนโลยี และนำงานวิจัยออกสู่ตลาด และกำหนดแนวทางดำเนินการจัดตั้งบริษัทของคณาจารย์นักวิจัย ตาม ขัน้ ตอนดงั นี้

1. อาจารย์ดำเนนิ การจดทะเบยี นบริษัทกับกรมพัฒนาธุรกจิ การคา้ 2. บรษิ ทั ของอาจารย์เข้าบ่มเพาะกบั บริษัท ซียู เอ็นเทอร์ไพรส์ จำกัดและบริษัท ซียู เว็ท เอ็นเทอร์ไพรส์ จำกดั โดยมีบรษิ ัท ซียู เอน็ เทอร์ไพรส์ จำกดั ถือหุน้ 5% และบริษัท ซียู เวท็ เอน็ เทอร์ไพรส์ จำกดั ถือห้นุ 5- 30% มีบทบาทเปน็ ผรู้ ่วมทุนและผู้ร่วมผลักดนั 3. เมื่อจดทะเบียนเปน็ ผู้ถอื หุ้นบริษัท ซียู เวท็ เอน็ เทอร์ไพรส์ จำกัดจะสนับสนนุ การดำเนนิ การ - การอบรมผ้ปู ระกอบการ - การดำเนนิ งานด้านทนุ โดยเงินทนุ สามารถมีแหล่งทีม่ าได้จาก o เงินยืมกรรมการ/ผถู้ ือหุ้น o บรษิ ทั ซยี ู เอน็ เทอร์ไพรส์ จำกัด o การเจรจากบั สถาบนั การเงนิ o การเพ่ิมทนุ ในระหวา่ งปงี บประมาณ 2563-2564 บริษัทฯ ได้ประสานงานกับนักวิจยั และสนบั สนุนให้เกดิ การ spin-off ของนักวิจัยออกมาจดทะเบยี นบริษทั เพ่ือดำเนนิ การในรปู แบบ startup หรอื ขอสิทธกิ ารใช้ผลงานวิจัยหรือทรัพยส์ ิน ทางปญั ญากบั มามหาวิทยาลัยนำมาขยายผลให้เกดิ ประโยชนแ์ ละสรา้ งความรว่ มมือกับภาคเอกชน ทั้งหมด 3 บริษทั ได้แก่ 1. บรษิ ทั นาอีฟ อนิ โนวา จำกัด โดย อ.ดร. ธรี พงศ์ ยะทา 2. บริษัท อะควา อินโนแวค จำกดั โดย รศ.น.สพ.ดร. ชาญณรงค์ รอดคำ 3. บรษิ ทั ไบโอ อิงค์ จำกดั โดย ผศ.น.สพ.ดร. เจนภพ สวา่ งเมฆ CU researcher startup company 5% 5% 10% Co-founder 80% Co-founder Researcher CU Enterprise CU VET Enterprise สัดสว่ นการแบง่ ผลประโยชนใ์ นรปู แบบการถอื ห้นุ ของ spin-off หรือ startup ของนกั วจิ ัย

4. กิจกรรมประชาสมั พนั ธง์ านนวัตกรรมของคณะฯ 4.1. การจดั แสดงผลงานสง่ิ ประดิษฐ์และนวตั กรรมทางด้านสัตวแพทย์ (CU VET Innovation Exhibition) ใน Chulalongkorn University Veterinary Conference 2019 ฝ่ายนวัตกรรมไดม้ กี ารรวบรวมผลงานสิ่งประดิษฐแ์ ละนวัตกรรมเพ่ือจัดแสดงในงานประชุมวิชาการนานาชาติ คณะสัตวแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (The 17th Chulalongkorn University Veterinary Conference) ณ อมิ แพค ฟอร่มั เมืองทองธานี ระหวา่ งวันที่ 24-26 เมษายน 2562 โดยรวบรวมผลงานสงิ่ ประดิษฐ์ และนวัตกรรมที่คิดค้นโดยบุคลากรคณะฯ ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน ที่พัฒนามาจากองค์ความรู้และงานวิจัย แล้ว สามารถนำไปต่อยอด เพื่อแก้ปัญหาสังคมและตอบโจทย์ความต้องการของผู้ใช้งาน มีขยายผลในรูปแบบผลิตภัณฑ์ เพื่อนำออกสู่ตลาดในเชิงพาณิชย์ รวมถึงสิ่งประดิษฐ์ที่ได้รับรางวัลจากการประกวดในงานแสดงสิ่งประดิษฐ์และ นวัตกรรมระดับนานาชาติ อีกทั้งเป็นการแสดงศักยภาพของทางคณะฯ ทางด้านนวัตกรรมทางสัตวแพทย์ เพื่อการ ต่อยอดกบั ภาคเอกชน ส่วนจดั แสดงนวัตกรรมแลผลงานนวัตกรรมใน The 17th Chulalongkorn University Veterinary Conference 2019











4.2. การจดั เสวนา CU VET Innovation Forum ในหัวข้อ “Empowering collaboration towards vet innovation” ใน Chulalongkorn University Veterinary Conference 2019 ในงาน CUVC 2019 ซ่ึงเปน็ การเสวนาถงึ แนวทางความร่วมมือเพื่อนวัตกรรมทางสัตวแพทย์ ทงั้ ในสว่ นภาค การศึกษา นักวิจัย และภาคเอกชน โดยมีวิทยากรจากภาคส่วนข้างต้น ได้แก่ ศาสตราจารย์ น.สพ.ดร. รุ่งโรจน์ ธนาวงษ์นุเวช คณบดี คณะสัตวแพทยศาสตร์ จุฬาฯ น.สพ. ธานินทร์ ชีวะผลาบูรณ์ กรรมการผู้จัดการเครือเวทโปร ดักส์ และ ดร. ธรี พงศ์ ยะทา นักวจิ ัยรนุ่ ใหม่จาก Nanotech ดำเนินรายการโดย สพ.ญ.สุนทรี ศรวี านชิ ภมู ิ ประธาน กรรมการบริหาร บริษทั ไข่สกุ จำกดั ซึ่งเปิดกว้างใหส้ ตั วแพทยจ์ ากหนว่ ยงานต่าง ๆ ท้ังภาครฐั และเอกชนเข้าร่วมฟัง แลกเปลี่ยนความคิดเห็น และแบ่งปันประสบการณ์ อีกทั้งเป็นแลกเปลี่ยนแนวคิดและการสร้างเครือข่ายความ รว่ มมอื ระหว่างมหาวิทยาลยั กับภาคเอกชนเกยี่ วกับการนำองค์ความรู้ไปใชป้ ระโยชน์ไดจ้ รงิ ในภาคปฏิบัติ รวมถงึ การ สร้างคณุ ค่าและนวัตกรรมจากงานวจิ ัยท่ตี อบโจทยค์ วามต้องการในทางธุรกิจ งานเสวนา CU VET Innovation Forum ในหวั ขอ้ Empowering collaboration towards vet innovation