Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Educational Management 2563

Educational Management 2563

Published by Education Management, 2022-05-10 11:08:42

Description: หนังสือที่ระลึก ดุษฎีบัณฑิต เเละมหาบัณฑิต สาขาวิชาบริหารการศึกษา คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เนื่องในโอกาสรับพระราชทานปริญญาบัตร ประจำปีการศึกษา 2563

Keywords: Educational Management,Chulalongkorn University,CUMGT2563

Search

Read the Text Version

เจา้ นายราชตระกูล ตงั้ แต่ลกู ฉนั เปนต้นลงไป “ ตลอดจนถึงราษฎรท่ีต่�ำทีส่ ุด “ จะใหไ้ ดม้ โี อกาศเล่าเรียนไดเ้ สมอกนั ไมว่ ่าเจา้ วา่ ขุนนาง ว่าไพร่ เพราะฉนน้ั จงึ ขอบอกไดว้ ่าการเลา่ เรยี น ในบา้ นเมอื งเราน้ีจะเปนขอ้ ส�ำคัญที่หน่ึง ซึ่งฉนั จะอุตสาหจ์ ัดใหเ้ จริญขึน้ จงได้ พระราชดำ� รสั ตอบในการพระราชทานรางวัลนักเรยี นที่โรงเรียนพระต�ำหนักสวนกุหลาบ เมื่อวนั ศุกร์เดอื น 5 ข้นึ 12 คำ่� ปรี ะกายงั เปน็ ฉศก จลุ ศกั ราช 1246 (พ.ศ. 2427) หน้า 39. จาก พระราชดำ� รัสในพระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกลา้ เจ้าอยหู่ วั พ.ศ. 2417 ถึง พ.ศ. 2453

2 หนงั สอื ท่รี ะลึกในโอกาสสำ� เรจ็ การศกึ ษา ปกี ารศึกษา ๒๕๖๓

สารบญั ๒๕ ๕๑ สารแสดงความยนิ ดีแกบ่ ัณฑติ ๘๐ ๑๑๖ รายนามดุษฎีบัณฑิตและมหาบณั ฑิต ปีการศึกษา ๒๕๖๓ ภาพกิจกรรมดษุ ฎีบัณฑติ และมหาบัณฑติ ผสู้ นับสนุนการจัดพมิ พ์หนังสอื ทร่ี ะลึกบัณฑติ สาขาวชิ าบรหิ ารการศกึ ษา ภาควชิ านโยบาย การจัดการและความเป็นผนู้ �ำทางการศกึ ษา 3 คณะครศุ าสตร์ จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั

มหจา ุฬลา งกรณ์ ท�ำนอง  พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ค�ำรอ้ ง ท่านผู้หญิงสมโรจน์ สวสั ดิกุล ณ อยุธยา และนายสุภร ผลชีวนิ น้�ำใจน้องพ่ีสีชมพู ทุกคนไม่รูล้ ืมบูชา พระคุณของแหล่งเรยี นมา จุฬาลงกรณ์ ขอทูนขอเทิดพระนามไท พระคุณแนบไวน้ ิรนั ดร ขอองค์พระเอ้ืออาทร หล่ังพรคุ้มครอง นิสิตพรอ้ มหน้า สัญญาประคอง ความดีทุกอย่างต่างปอง ผยองพระเกียรติเกรกิ ไกร ขอตราพระเก้ียวย้ังยืนยง นิสิตประสงค์เป็นธงชยั ถาวรยศอยู่คู่ไทย เชดิ ชยั ชโย 4 หนังสอื ที่ระลกึ ในโอกาสสำ� เร็จการศกึ ษา ปีการศึกษา ๒๕๖๓

บทอศา ริ วทา พระบาทสมเด็จพระจลุ จอมเกล้าเจ้าอยหู่ วั ปิยะมหาราชาธริ าช ธ เปรือ่ งปราชญพ์ ระภมู ินทร์ สดุดีพระนามนฤบดนิ ทร์ วฒั นศลิ ป์ ธ เกรยี งไกร ศิรวาทกษัตริยะประเสริฐ คณุ เลศิ ธำ� รงไชย บณั ฑติ จฬุ าฯ สฤษดพ์ิ สิ ษิ ฐ์สมัย ผคมชนกไทย นริ ันดร์ ด้วยเกลา้ ดว้ ยกระหมอ่ ม ขอเดชะ ข้าพระพทุ ธเจา้ คณาจารย์ นสิ ติ และบคุ ลากร สาขาวิชาบรหิ ารการศึกษา คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั พิมพช์ นก หงษาวดี ประพันธ์ สาขาวชิ าบรหิ ารการศึกษา ภาควชิ านโยบาย การจดั การและความเป็นผนู้ ำ� ทางการศกึ ษา 5 คณะครุศาสตร์ จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลยั

พระบรมราชโองกรา พระบาทสมเดจ็ พระมงกฎุ เกลา้ เจา้ อยู่หัว พระผสู้ ถาปนาจุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลยั มีพระบรมราชโองการในพระบาทสมเด็จพระรามาธิบดีศรีสินทรมหาวชิราวุธ พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวให้ประกาศให้ทราบท่ัวกันว่า โรงเรียนข้าราชการพลเรือน ของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ซ่ึงได้ทรงพระราชด�ำริให้ทรงจัดข้ึน และได้โปรดเกลา้ ฯ พระราชทานเงินทเี่ หลือจากการเร่ียไรสร้างอนสุ าวรยี ป์ ิยะมหาราช เปน็ เงนิ ทนุ ของโรงเรยี น โดยมพี ระราชประสงคจ์ ะจดั ใหเ้ ปน็ สำ� นกั เรยี นของผทู้ จ่ี ะไดร้ บั ราชการในทางพลเรอื นนน้ั การงานของโรงเรยี นนไ้ี ดด้ ำ� เนนิ มาโดยลำ� ดบั ไดม้ นี กั เรยี น จากโรงเรยี นนี้ออกรบั ราชการเปน็ อันมากแลว้ บดั นที้ รงพระราชดำ� รเิ หน็ สมควรจะขยายการศกึ ษาในโรงเรยี นนใ้ี หก้ วา้ งขวาง ยง่ิ ขน้ึ คอื ไมเ่ ฉพาะสำ� หรบั ผทู้ จี่ ะเลา่ เรยี นเพอื่ รบั ราชการเทา่ นนั้ ผใู้ ดทม่ี คี วามประสงค์ จะศึกษาข้ันสูงก็ให้เข้าเรียนในโรงเรียนนี้ได้ทั่วกัน เหตุฉะนั้นควรประดิษฐานข้ึน เป็นมหาวิทยาลัย ให้เหมาะแก่ความต้องการแห่งสมัยเสียทีเดียว จึงทรงพระกรุณา โปรดเกล้าฯ ให้ประดิษฐานโรงเรียนข้าราชการ นามว่า “จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย” เพ่ือเป็นอนุสาวรีย์สมพระเกียรติแห่งพระบาทสมเด็จพระพุทธเจ้าหลวง และ มหาวิทยาลัยแห่งน้ีให้ขึ้นอยู่ในกระทรวงธรรมการ ให้เสนาบดีกระทรวงนั้น ซึ่งมี หน้าทดี่ ูแลการศึกษาทวั่ ไปอยู่แล้ว เป็นผู้รบั ผิดชอบแต่บดั นไี้ ป ส่วนกรรมการจดั การ โรงเรยี นขา้ ราชการพลเรอื นนน้ั ทรงพระกรณุ าโปรดเกลา้ ฯ ใหเ้ ปน็ กรรมการทปี่ ฤกษา แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย ประกาศมา ณ วันท่ี ๒๖ มนี าคม พระพทุ ธศักราช ๒๔๕๙ เป็นวนั ที่ ๒๓๒๘ ปรตั ยบุ นั น้ี 6 หนังสอื ทรี่ ะลึกในโอกาสสำ� เร็จการศกึ ษา ปีการศึกษา ๒๕๖๓

พระบรมรชา โองกรา พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธเิ บศร มหาภมู พิ ลอดลุ ยเดชมหาราช บรมนาถบพติ ร ...ชอ่ื มหาวทิ ยาลัยของท่านคอื “จุฬาลงกรณ์” จะตดิ ตวั ทา่ นไปด้วยเสมอ ไมว่ า่ จะประพฤติดี หรอื ประพฤติชวั่ ฉะนัน้ ทุก ๆ ครั้งท่ที ่านจะกระทำ� การส่ิงใดลงไป จงคดิ แลว้ คดิ อกี ทบทวนดู ทั้งทางไดท้ างเสยี ใหแ้ นช่ ัดเสยี กอ่ น “จุฬาลงกรณ์” หาได้เป็นเพียงชื่อของมหาวทิ ยาลัยนีเ้ ท่านนั้ ไม่ ยังเปน็ นามของผู้พระราชทานกำ� เนิดของสถานทแ่ี หง่ น้ีดว้ ย ฉะนั้นจึงเปน็ การจ�ำเป็นอย่างยิ่งที่ทา่ นจะต้องปฏบิ ัตติ น ให้เหมาะสมกับเป็นผทู้ ่ีไดร้ บั การอบรมสง่ั สอนไปจาก จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลัยน้ี … สาขาวชิ าบรหิ ารการศกึ ษา ภาควชิ านโยบาย การจัดการและความเปน็ ผู้นำ� ทางการศึกษา 7 คณะครศุ าสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลยั

บทอศา ิรวาท พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรรามาธิบดี ศรีสนิ ทรมหาวชริ าลงกรณ พระวชิรเกล้าเจ้าอยูห่ วั น้อมวันทาพระบารมีจักรกี ษตั รยิ ์ เลศิ จริยวัตรนักพัฒนาราชกิจ พระเมตตาเหล่าประชาทุกถนิ่ ทศิ ด้วยดำ� ริจติ อาสาพระราชทาน ธ เป็นพระม่ิงขวัญชาวสยามราษฎร์ ทกุ ชนชาติอิม่ เอมใจเลศิ ไพศาล ดว้ ยทศพิธราชธรรมนำ� อภบิ าล สรา้ งสมานสามคั คสี ถาพร ขอน้อมถวายพระพรพระวชิรา ปราชญร์ าชาเป่ยี มอาทรสโมสร ด้วยใจภกั ด์พิ ระภมู นิ ทรป์ ิน่ บวร เกียรตขิ จรก้องฟา้ ทวั่ สากล ขออัญเชิญทวยเทพสงิ่ ศกั ดส์ิ ิทธ์ิ ใหบ้ พิตรสิริสวสั ดเิ์ พิ่มพนู ผล ขอพระองค์ทรงพระเจรญิ มิง่ มงคล พระภูวดลพพิ ฒั นพรนริ ันดรเทอญ ดว้ ยเกล้าด้วยกระหม่อม ขอเดชะ ข้าพระพุทธเจา้ คณาจารย์ นสิ ติ และบุคลากร สาขาวิชาบรหิ ารการศึกษา คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั ปฏิญญา มุขสาร ประพันธ์ 8 หนังสือที่ระลึกในโอกาสสำ� เรจ็ การศกึ ษา ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๓

บทอาศริ วาท สมเดจ็ พระกนษิ ฐาธิราชเจา้ กรมสมเด็จพระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ าริี ขัตยิ ามิ่งฟ้า แดนดอน พระเทพสิรินธร เทิดเกล้า พระเกียรตแิ ผ่ขจร ไทยทัว่ กษัตรีนรีเจ้า มงิ่ แก้วขวญั ชน ปวงจุฬาฯท่วั หลา้ ธานี รวมหน่งึ ทง้ั ฤด ี นบนอ้ ม ขอองค์ทา่ นสุขศรี รวยรื่น เราเหลา่ ครุฯพรอ้ ม แซซ่ ้องสดดุ ี ดว้ ยเกล้าดว้ ยกระหมอ่ ม ข้าพระพทุ ธเจา้ คณาจารย์ นสิ ติ และบคุ ลากร สาขาวชิ าบริหารการศกึ ษา คณะครศุ าสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย ศดานนั บุญรอด ประพนั ธ์ สาขาวชิ าบรหิ ารการศกึ ษา ภาควิชานโยบาย การจัดการและความเปน็ ผู้น�ำทางการศึกษา 9 คณะครศุ าสตร์ จุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย

ประวตั ิจฬุ ลา งกรณม์ หวา ทิ ยลา ัย จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั เปน็ สถาบนั อดุ มศกึ ษาแหง่ แรก ของประเทศไทย ถือกำ� เนดิ จากโรงเรียนส�ำหรบั ฝกึ หดั วชิ าขา้ ราชการ ฝ่ายพลเรือน โดยได้รับพระมหากรุณาธิคุณจากพระบาทสมเด็จ พระจลุ จอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั โปรดเกลา้ ฯ ใหต้ งั้ ขนึ้ ณ ตกึ ยาว ขา้ งประตู พิมานชัยศรีในพระบรมมหาราชวังเม่ือ พ.ศ. ๒๔๔๒ [ประเทศไทย เปลี่ยนวันขึน้ ปใี หมต่ ามปฏทิ ินสากลในปี พ.ศ. ๒๔๘๓ (ค.ศ. ๑๙๔๐) ดังนั้น พ.ศ. กับ ค.ศ. ก่อนหน้านี้จึงเหล่ือมกันอยู่ ๑ ปี] และได้รับ พระบรมราชานุญาตให้เปล่ียนชื่อเป็น โรงเรียนมหาดเล็ก เมื่อ ๑ เมษายน พ.ศ. ๒๔๔๕ ท้ังนี้เพ่ือผลิตบุคลากรให้รับราชการซ่ึงมี การขยายตัวอย่างรวดเร็ว อันเป็นผลจากพระบรมราโชบายปฏิรูป ระบบบริหารราชการแผ่นดินเมื่อ พ.ศ. ๒๔๒๕ ต่อมาทงั้ ภาคราชการ และเอกชนต้องการบุคลากรท�ำงานในสาขาวิชาต่างๆ กว้างขวาง มากข้ึน พระบาทสมเด็จพระมงกฎุ เกล้าเจ้าอยหู่ วั ได้ทรงพระอนสุ รณ์ ค�ำนึงถึงพระบรมราโชบายในสมเด็จพระบรมชนกาธิราชที่จะ “ให้มีมหาวิทยาลัยขึ้นส�ำหรับเป็นสถาบันอุดมศึกษาของชาวสยาม” พอท่ีจะช่วยให้กิจการปกครองท้องที่ของกระทรวงมหาดไทยด�ำเนิน ไปได้ดีในระดับหน่ึง แล้วสมควรขยายการจัดการศึกษาเพื่อสนอง ความต้องการของกระทรวง ทบวง กรมอื่นๆ จึงทรงพระกรุณา โปรดเกล้าฯ ให้สถาปนาโรงเรียนมหาดเล็กเป็นสถาบันอุดมศึกษา พระราชทานนามวา่ “โรงเรยี นขา้ ราชการพลเรอื นของพระบาทสมเดจ็ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยูห่ ัว” เม่อื ๑ มกราคม พ.ศ. ๒๔๕๓ 10 หนังสอื ที่ระลกึ ในโอกาสสำ� เรจ็ การศกึ ษา ปีการศกึ ษา ๒๕๖๓

ต่อมาทรงเห็นว่าควรขยายกิจการให้กว้างขวางตาม พระราชประสงคเ์ พอ่ื ใหเ้ ปน็ พระบรมราชานสุ าวรยี อ์ นั ยง่ิ ใหญแ่ ละถาวร ในสมเด็จพระบรมชนกาธิราช พระองค์จึงได้พระราชทานเงินทุน ที่เหลือจากการที่ราษฎรได้เร่ียไรเพื่อสร้างพระบรมราชานุสาวรีย์ พระบรมรปู ทรงมา้ จำ� นวนเกา้ แสนกวา่ บาท ใหใ้ ชเ้ พอ่ื สรา้ งอาคารเรยี น และเปน็ ตกึ บญั ชาการบนที่ดนิ ของพระคลังขา้ งที่ จ�ำนวน ๑,๓๐๙ ไร่ ซ่ึงอยู่ท่ีอ�ำเภอปทุมวันและเงินท่ีเหลือจากการสร้างก็ได้พระราชทาน พระบรมราชานุญาตให้ใช้เพื่อกิจการของโรงเรียนต่อไป ทั้งนี้ได้ พระราชทานพระมหากรุณาธิคุณเสด็จพระราชด�ำเนินและทรงวาง ศลิ าพระฤกษใ์ นการสรา้ งอาคารดงั กลา่ วเมอ่ื ๓ มกราคม พ.ศ. ๒๔๕๘ ในครง้ั นน้ั มกี ารเปิดสอน ๘ แผนกวิชา ได้แก่ การปกครอง กฎหมาย การทูต การคลงั การแพทย์ การช่าง การเกษตร และวิชาครจู ัดการ ศึกษาใน ๕ โรงเรียน (คณะในปัจจุบัน) คือ โรงเรียนรัฏฐประศาสน ศาสตร์ต้ังอยู่ในพระบรมมหาราชวัง โรงเรียนฝึกหัดอาจารย์ ตั้งอยู่ ท่ีบ้านสมเด็จเจ้าพระยา โรงเรียนราชแพทยาลัยตั้งอยู่ท่ีโรงพยาบาล ศิริราช โรงเรียนเนติศึกษาตั้งอยู่ท่ีเชิงสะพานผ่านพิภพลีลา และ โรงเรียนยันตรศึกษาต้ังท่ีวังใหม่หรือวังกลางทุ่งหรือวังวินเซอร์ (เคยเปน็ วงั ของสมเดจ็ พระบรมโอรสาธิราชเจ้าฟา้ มหาวชริ ณุ หศิ ) ต่อมาพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวได้มี พระราชด�ำริท่ีจะขยายการศึกษาในโรงเรียนข้าราชการพลเรือนฯ ใหก้ วา้ งขวางยงิ่ ขนึ้ คอื ไมเ่ ฉพาะสำ� หรบั ผทู้ จ่ี ะเลา่ เรยี นเพอ่ื รบั ราชการ เทา่ นน้ั แตจ่ ะรบั ผซู้ งึ่ ประสงคจ์ ะศกึ ษาขน้ั สงู ใหเ้ ขา้ เรยี นไดท้ ว่ั ถงึ กนั จงึ ทรงพระกรณุ าโปรดเกลา้ ฯ ใหป้ ระดษิ ฐานโรงเรยี นขา้ ราชการพลเรอื นฯ ขนึ้ เปน็ จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั เมอื่ ๒๖ มนี าคม พ.ศ. ๒๔๕๙ เพอื่ เปน็ พระบรมราชานสุ าวรยี เ์ ฉลมิ พระเกยี รตแิ หง่ สมเดจ็ พระพทุ ธเจา้ หลวง ให้เจริญกา้ วหน้ากว้างขวางแผ่ไพศาลและมริ เู้ ส่ือมสญู จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยในช่วงแรกมีการจัดการศึกษา เป็น ๔ คณะ ได้แก่ คณะรัฐประศาสนศาสตร์คณะแพทยศาสตร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ คณะอักษรศาสตร์และวิทยาศาสตร์ โดยใน ระหว่าง พ.ศ. ๒๔๕๙-๒๔๖๕ มีการปรับปรุงมาตรฐานการศึกษา ระดับประกาศนียบัตรและการเตรียมการจัดการเรียนการสอนระดับ ปริญญามีการติดต่อกับมูลนิธิร็อกก้ี เฟลเลอร์ เพ่ือให้ช่วยเหลือ การเรียนการสอนของคณะแพทยศาสตร์ จากนั้นระหว่าง พ.ศ. ๒๔๖๖ – ๒๔๘๐ เริ่มรับผู้ส�ำเร็จหลักสูตรมัธยมบริบูรณ์เข้าเรียนใน คณะแพทยศาสตร์ ขณะเดียวกันก็ได้มีการปรับปรุงหลักสูตรและ รับนักเรียนผู้จบประโยคมัธยมบริบูรณ์เข้าเรียนอีก ๔ คณะ และ ในระหว่างปี พ.ศ. ๒๔๘๑-๒๔๙๐ เร่ิมเน้นการเรียนการสอน อันเป็นพ้ืนฐานของวิชาชีพในระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย โดยมี การจัดเตรียมมหาวิทยาลัย คือ นักเรียนจะต้องเลือกเรียนตาม คณะตา่ ง ๆ ทมี่ หาวทิ ยาลยั เปดิ สอนทำ� ใหม้ โี รงเรยี นเตรยี มอดุ มศกึ ษา แหง่ จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลัยขนึ้ สาขาวชิ าบรหิ ารการศกึ ษา ภาควิชานโยบาย การจดั การและความเป็นผู้น�ำทางการศกึ ษา 11 คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย

สญั ลักษณม์ หาวทิ ยลา ัย “พระเกี้ยว” จุลมงกฎุ สริ ิมงคลสงู สดุ ของชวา จุฬฯา พระเกี้ยวเป็นศิราภรณ์ประดับพระเกศาหรือพระเศียรของพระราชโอรสและพระราชธิดา ของพระมหากษัตริย์ ค�ำว่า เกี้ยว ถ้าเป็นค�ำนาม แปลว่าเคร่ืองประดับศีรษะหรือเครื่อง สวมจุก ถา้ เปน็ คำ� กริยา แปลวา่ ผูกรดั หรือพัน พระเก้ียวเป็นสญั ลักษณท์ ่ีชาวจุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัยภูมิใจ ทั้งนี้สืบเน่ืองจากช่ือของมหาวิทยาลัยได้รับพระราชทานจากพระบาท สมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวเพื่อเป็นพระบรมราชานุสาวรีย์ในสมเด็จพระปิยมหาราช ผพู้ ระราชทานกำ� เนดิ มหาวทิ ยาลยั น้ี จฬุ าลงกรณ์ แปลวา่ เครอื่ งประดบั ศรี ษะหรอื จลุ มงกฎุ จุลมงกุฎมีความหมายส�ำคัญยิ่ง คือ เกี่ยวโยงถึงพระนามาภิไธยเดิมของพระบาทสมเด็จ พระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว คือ สมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอเจ้าฟ้ามงกุฎฯ สมเด็จพระเจ้าลูกยา เธอเจ้าฟา้ จฬุ าลงกรณ์ จึงมคี วามหมายวา่ จุลมงกฎุ หรือพระราชโอรสของสมเดจ็ ฯ เจา้ ฟา้ มงกฎุ ฯ ยง่ิ กวา่ นนั้ ยงั มคี วามเกย่ี วพนั ถงึ พระปรมาภไิ ธยในพระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั ซงึ่ มคี วามหมายวา่ “พระจอมเกลา้ นอ้ ย”พระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั ทรงพระกรุณาโปรดเกลา้ ฯ ก�ำหนดให้พระเกย้ี วเปน็ พจิ ิตรเรขา (สญั ลกั ษณ์) ประจำ� รัชกาล ของพระองค์ เมื่อต้ังโรงเรียนฝึกหัดข้าราชการพลเรือนหรือโรงเรียนมหาดเล็ก จึงโปรดเกล้าฯ พระราชทานพระบรมราชานุญาตให้อัญเชิญพระเกี้ยวเป็นเคร่ืองหมาย หนา้ หมวกของนกั เรยี นมหาดเลก็ ตอ่ มาเมอื่ โรงเรยี นมหาดเลก็ กราบบงั คมทลู ขอพระราชทาน พระบรมราชานุญาตอัญเชิญพระเกี้ยวเป็นเคร่ืองหมายของโรงเรียนก็ได้พระราชทาน พระบรมราชานญุ าตตามทก่ี ราบบงั คมทลู ขอพระราชทาน เมอ่ื โรงเรยี นมหาดเลก็ ไดว้ วิ ฒั นข์ นึ้ เปน็ โรงเรยี นขา้ ราชการพลเรอื นฯ และจฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั ผบู้ รหิ ารกไ็ ดก้ ราบบงั คมทลู ขอพระราชทานพระบรมราชานญุ าตเปลยี่ นขอ้ ความใตพ้ ระเกยี้ วตามชอื่ ซง่ึ ไดร้ บั พระราชทาน ใหม่ตลอดมา พระเกี้ยวองค์ที่ประดิษฐานอยู่ที่หอประวัติจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ตึกจักรพงษ์เป็นพระเก้ียวซ่ึงมหาวิทยาลัยได้รับพระบรมราชานุญาตจากพระบาทสมเด็จ พระบรมชนกาธิเบศรมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร เพื่อสร้างจ�ำลองจาก พระเกย้ี วจรงิ ทป่ี ระดษิ ฐานอยใู่ นพระคลงั มหาสมบตั ใิ นพระบรมมหาราชวงั มหาวทิ ยาลยั สรา้ ง เมอื่ พ.ศ. ๒๕๒๙ และพระบาทสมเดจ็ พระมหาภมู พิ ลอดลุ ยเดชมหาราช บรมนาถบพติ ร ไดท้ รง เจิมและทรงพระสุหรา่ ยทีอ่ งค์พระเกยี้ ว แล้วพระราชทานแก่มหาวทิ ยาลัยต่อหนา้ ประชาคม จฬุ าฯ ในพธิ พี ระราชทานปรญิ ญาบตั รประจำ� ปกี ารศกึ ษา ๒๕๓๑ (๑๓ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๓๒) 12 หนงั สือท่รี ะลึกในโอกาสส�ำเร็จการศกึ ษา ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๓

สีชมพู เนอ่ื งจากจฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั ถอื กำ� เนดิ จากพระมหากรณุ าธคิ ณุ ในพระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั ทรงพระกรณุ าโปรดเกลา้ ฯ ใหต้ ง้ั โรงเรยี นฝกึ หดั ขา้ ราชการพลเรอื นหรอื โรงเรยี นมหาดเลก็ ครง้ั นน้ั ได้พระราชทานพระบรมราชานุญาตให้นักเรียนมหาดเล็กแต่งเครื่อง แบบมหาดเลก็ ซงึ่ มอี นิ ทรธนเู ปน็ สบี านเยน็ อนั เปน็ สขี องกรมมหาดเลก็ สีบานเย็นจึงเป็นสีประจ�ำสถาบัน ต่อมาเมื่อมีการแข่งขันฟุตบอล ประเพณีคร้ังแรก ระหวา่ งจฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลัยและมหาวิทยาลัย วชิ าธรรมศาสตรแ์ ละการเมอื ง คณะกรรมการสโมสรนสิ ติ จฬุ าลงกรณ์ มหาวิทยาลัย จึงพิจารณาสีท่ีจะใช้ในการแข่งขัน ศาสตราจารย์ ม.ร.ว.สุมนชาติ สวสั ดิกุล เมือ่ ครง้ั ยังเป็นนิสติ และนายกสโมสรนสิ ติ ฯ ได้เสนอว่า ช่ือของมหาวิทยาลัยคือ พระปรมาภิไธยเดิมของพระบาท สมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวซึ่งมีพระบรมราชสมภพในวันอังคาร และโปรดเกลา้ ฯ ใหใ้ ชส้ ชี มพเู ปน็ สปี ระจำ� พระองค์ คณะกรรมการสโมสร นิสิตฯ เห็นสมควรอัญเชิญสีประจ�ำพระองค์เป็นสีประจ�ำมหาวิทยาลัย เพื่อเป็นเกียรติ และสิริมงคล มหาวิทยาลัยจึงใช้สีชมพูเป็นสีประจ�ำ มหาวิทยาลัยตลอดมา สาขาวิชาบริหารการศกึ ษา ภาควิชานโยบาย การจดั การและความเป็นผู้น�ำทางการศกึ ษา 13 คณะครศุ าสตร์ จุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย

เสื้อครุยพระรชา ทาน เสื้อครุยของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยในสมัยแรก มีสองประเภท คือ ครุยบัณฑิตส�ำหรับนิสิตผู้สอบไล่ ตามหลักสูตรกับครุยบัณฑิตพิเศษส�ำหรับอาจารย์ และผู้ท่ีทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้เป็นบัณฑิต พเิ ศษ บณั ฑติ พเิ ศษตา่ งจากผไู้ ดป้ รญิ ญากติ ตมิ ศกั ดิ์ เสอ้ื ครุยมี ๔ ชั้น คอื บัณฑิตช้ันตรี (บัณฑติ ) บณั ฑิต ชั้นโท (มหาบัณฑิต) บัณฑิตช้ันเอก (ดุษฎีบัณฑิต) บัณฑิตชั้นพิเศษซ่ึงบัณฑิตชั้นพิเศษนั้นมีพระองค์ เดยี วในแตล่ ะรชั กาล เพราะเปน็ การอนวุ ตั การ ดำ� เนนิ การตามพระบรมราชโองการในพระบาทสมเด็จ พระมงกฎุ เกล้าเจ้าอยหู่ ัวที่ได้โปรดเกล้าฯ ให้สถาปนา โรงเรยี นขา้ ราชการพลเรือนฯ ซ่งึ มีข้อความตอนหนงึ่ ว่า... “…ใหม้ ีกรรมการเป็นสภาอนั หน่ึง มีพระบาทสมเด็จพระเจา้ อยู่หัว เปน็ พระบรมราชปู ถมั ภก แห่งโรงเรยี นนี…้ ” 14 หนังสอื ทรี่ ะลึกในโอกาสสำ� เร็จการศึกษา ปีการศกึ ษา ๒๕๖๓

ลักษณะส�ำคัญของเสื้อครุยจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย คือ ระยะระหว่างแถบหรือ “ช่องไฟ” และขนาดของ แถบบนส�ำรดซ่ึงก�ำหนดเป็น ๒ ขนาด คือ ขนาดเล็กและใหญ่ มีระยะห่างกันอย่างประณีตตามแบบจิตรกรรมไทย ทา่ นอาจารย์ภาวาส บุนนาค ไดว้ ิจารณ์งานศลิ ปะไทยบางช้ินวา่ เจ้าของผลงาน “ไม่รู้ไวยากรณศ์ ลิ ปะไทย” หรือ “เอาใจ ใสไ่ วยากรณศ์ ลิ ปะไทยนอ้ ยไปหนอ่ ย” หากมองในดา้ นนขี้ อใหส้ งั เกตเปรยี บเทยี บระยะระหวา่ งแถบแตล่ ะเสน้ แตล่ ะกลมุ่ คงจะมีความเห็นตรงกันวา่ แถบของสำ� รดของเสอ้ื ครุยจุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั น้ันงามท้ังรปู แบบและองคป์ ระกอบ ของศิลปะไทย อีกเร่ืองที่ส�ำคัญ คือ การจัดสีพื้นกับสีประจ�ำคณะ สีของเส้นที่แสดงระดับของวุฒิ คือ ปริญญาตรี ๑ เส้น ปริญญาโทและเอกใช้ ๒ และ ๓ เส้น ตามลำ� ดับน้ัน การให้สีและจัดองคป์ ระกอบงามสงา่ อีกเช่นกนั สิ่งส�ำคญั ที่ชาวจุฬาฯ ควรทราบ คือ พ้ืนของส�ำรดซึ่งบูรพาจารย์และศิลปินในอดีตได้เลือกสักหลาดเป็นพื้นส�ำรดสีด�ำ ส�ำหรับบัณฑิตและมหาบัณฑิต ระดับดุษฎีบัณฑิตใช้พ้ืนส�ำรดสีแดงชาดและใช้สีเหลืองส�ำหรับฉลองพระองค์ครุย พระบรมราชูปถัมภกท่านผู้รู้ทั้งศิลปะ ขนบธรรมเนียมประเพณี และประวัติศาสตร์ อธิบายว่า การใช้สีด�ำเป็นการ ถวายความเคารพแด่พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวซึ่งมีพระบรมราชสมภพในวันเสาร์จึงโปรดเกล้าฯ ให้ใช้สีด�ำหรือน้�ำเงินเข้มเป็นสีประจ�ำพระองค์ การใช้สีแดงชาดเป็นการถวายความจงรักภักดีต่อพระบาทสมเด็จ พระจลุ จอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั ซงึ่ มพี ระบรมราชสมภพในวนั องั คาร พระองคท์ า่ นโปรดเกลา้ ฯ ใหใ้ ชส้ ชี มพเู ปน็ สปี ระจำ� พระองค์ ใช้สีบานเย็นส�ำหรับกรมมหาดเล็กและโรงเรียนมหาดเล็ก ใช้สีแดงชาดส�ำหรับสีเคร่ืองราชอิสริยาภรณ์ประจ�ำรัชกาล (เครอื่ งราชอสิ รยิ าภรณต์ ระกลู จลุ จอมเกลา้ ) แตใ่ นชนั้ หลงั ตอ่ มาใชส้ ชี มพู สว่ นการใชส้ เี หลอื งเปน็ การเฉลมิ พระเกยี รติ พระบรมราชจกั รีวงศ์และใชก้ บั ฉลองพระองคค์ รุยพระบรมราชปู ถมั ภกเทา่ นัน้ เส้ือครุยต่างกับเสื้อคลุมวิทยฐานะจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้รับพระราชทานพระบรมราชานุญาตจาก พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวให้ใช้เสื้อครุยได้จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยได้ถวายฉลองพระองค์ครุย พระบรมราชูปถัมภกแด่พระมหากษัตริย์ ๒ รัชกาล (พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดลยังไม่ได้ทรงรับ พระราชพิธีบรมราชาภิเษกและทรงมีเวลาอยู่กับชาวไทยน้อยมาก จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยจึงไม่ได้ทูลเกล้าฯ ถวายฉลองพระองค์ครุย) จุฬาฯ เป็นสถาบันเดียวที่ได้รับพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ว่าพระมหากษัตริย์ เป็นพระบรมราชูปถัมภกของสถาบันอันเป็นท่ีรักของเราและได้รับพระบรมราชานุญาตให้ใช้พระเกี้ยวประดับท่ีส�ำรด ของชายครุยระดับอก พระเกี้ยวเป็นศิราภรณ์ประดับพระเศียรเจ้านายชั้นเจ้าฟ้าและพระเกี้ยวเป็นส่วนประดับ บนพระมหาพิชัยมงกุฎชาวจุฬาฯ ควรสวมเสื้อครุยด้วยความส�ำรวมเคารพในพระมหากรุณาธิคุณและภาคภูมิใจ ในเสื้อครุยพระราชทาน การประดับส่ิงใดบนเส้ือครุย นอกจากจะไม่เป็นการถวายความเคารพแล้วยังแสดงอวิชชา แห่งผู้ใชผ้ ิด ๆ อีกดว้ ย สาขาวิชาบรหิ ารการศกึ ษา ภาควิชานโยบาย การจัดการและความเป็นผู้นำ� ทางการศึกษา 15 คณะครศุ าสตร์ จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย

ตน้ จามจรุ ีพระรชา ทาน “จามจรุ ”ี เปน็ ตน้ ไมป้ ระจำ� มหาวทิ ยาลยั ถอื เปน็ สญั ลกั ษณ์ อย่างหนึ่งของจุฬาฯ มีความผูกพันกับชาวจุฬาฯ ต้ังแต่เริ่มก่อตั้ง เป็นมหาวิทยาลัยด้วยวัฏจักรของจามจุรีมีความสอดคล้องกับวิถีชีวิต ของชาวจุฬาฯ กล่าวคือ มีสีเขียวชอุ่ม ให้ความสดชื่น ในช่วงเวลา ภาคต้นของการศึกษาเสมือนนิสิตปีท่ี ๑ ท่ียังคงเริงร่า สนุกสนาน กับการเป็นน้องใหม่ และเมื่อเวลาผ่านไปในภาคปลายของการศึกษา ท้ังใบและฝักยำ้� เตอื นใหน้ ิสิตเตรียมตวั สอบปลายปี มิฉะน้นั อาจจะตอ้ ง เรยี นซ้�ำช้ันหรือถูกไลอ่ อก ดว้ ยจามจรุ เี ปน็ ตน้ ไมท้ ส่ี ลดั ใบและฝกั ในชว่ งเวลาปลายปที ำ� ให้ ถนนและคูข้างถนนในจุฬาฯ สกปรก ปัญหาของต้นจามจุรี คือ ปลูก ขึ้นยาก ดูแลรักษายาก มีโรคพืช ท�ำให้ก่ิงก้านหักหล่น ประมาณปี พ.ศ. ๒๔๘๐-๒๕๐๐ จ�ำนวนต้นจามจุรีในมหาวิทยาลัยเริ่มลด นอ้ ยลงอยา่ งมาก มคี ณะตา่ ง ๆ เกดิ ขนึ้ เปน็ เหตใุ หต้ น้ จามจรุ ถี กู โคน่ ลง เพ่อื สร้างตึกใหมแ่ ละไมม่ ีนโยบายปลูกทดแทน ในวันท่ี ๑๕ มกราคม พ.ศ. ๒๕๐๕ พระบาทสมเด็จพระบรม ชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ได้เสด็จ พระราชด�ำเนิน ณ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พระราชทานต้นจามจุรี แก่มหาวิทยาลัย จ�ำนวน ๕ ต้น และยังได้พระราชทานพระราชด�ำรัส ถึงความผูกพันระหว่างชาวจุฬาฯ กับจามจุรีว่า มีมานานต้ังแต่สร้าง มหาวิทยาลัย ทรงเน้นว่า ดอกสีชมพูเป็นสัญลักษณ์สูงสุดอย่างหน่ึง ของจฬุ าฯ พระองคท์ รงเหน็ วา่ จามจรุ ที น่ี ำ� มานน้ั โตขน้ึ พอสมควรจะเขา้ มหาวทิ ยาลยั เสยี ทแี ละสถานทีน่ เ้ี หมาะสมท่ีสดุ “จึงขอฝากตน้ ไมไ้ วห้ า้ ตน้ ให้เป็นเครื่องเตอื นใจตลอดกาล” 16 หนังสอื ที่ระลกึ ในโอกาสสำ� เรจ็ การศึกษา ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๓

ต้นจามจุรีพระราชทานท้ัง ๕ ต้นนี้ จึงยืนอยู่ สมเดจ็ พระบรมชนกาธเิ บศร มหาภมู พิ ลอดลุ ยเดชมหาราช แข็งแรง เป็นศรีสง่า และสิริมงคลแก่ชาวจุฬาฯ บรมนาถบพิตร และเชื่อม่ันว่า ลานจามจุรีพระราชทาน มาจนถึงปัจจุบันและในอนาคตสืบไป และเนื่องใน จะเปน็ อนสุ รณส์ ถานของมหาวทิ ยาลยั ทร่ี อ้ ยรดั ความสามคั คี มหามงคลวโรกาสทพ่ี ระบาทสมเดจ็ พระบรมชนกาธเิ บศร ของชาวจฬุ าฯ ตลอดไป มหาภมู พิ ลอดลุ ยเดชมหาราช บรมนาถบพติ ร เสดจ็ เถลงิ ชาวจุฬาฯ ยึดถือจามจุรีนี้เป็นสัญลักษณ์อย่าง ถวลั ยสริ ริ าชสมบตั คิ รบ ๕๐ ปี จฬุ าฯ จงึ ตกแตง่ ลานจามจรุ ี หนง่ึ ของจฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั มกั เรยี กกนั วา่ จามจรุ ี พระราชทานเพอ่ื เปน็ สว่ นหนงึ่ ของโครงการเฉลมิ พระเกยี รติ สชี มพหู รอื จามจรุ ศี รจี ฬุ าฯ เมอื่ ถงึ วนั งานประเพณตี อ้ นรบั กาญจนาภเิ ษกและสมเดจ็ พระกนษิ ฐาธริ าชเจา้ กรมสมเดจ็ นอ้ งใหม่ทุก ๆ ปี นิสติ รุ่นพ่จี ะน�ำใบหรือกงิ่ จามจุรเี ลก็ ๆ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ได้เสด็จ มาผูกริบบ้ินสีชมพูคล้องคอให้นิสิตใหม่เพื่อเป็นการ พระราชดำ� เนนิ ทรงเปดิ ลานจามจรุ พี ระราชทาน เมอ่ื วนั ท่ี ๒๖ ต้อนรับเข้าสู่จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย อาณาจักร มนี าคม พ.ศ. ๒๕๓๙ เพอื่ ใหล้ านจามจรุ พี ระราชทานนเี้ ปน็ สง่ิ แหง่ จามจรุ สี ชี มพู เตอื นใจใหช้ าวจฬุ าฯ สำ� นกึ ในพระมหากรณุ าธคิ ณุ ในพระบาท สาขาวชิ าบรหิ ารการศึกษา ภาควชิ านโยบาย การจัดการและความเป็นผู้น�ำทางการศกึ ษา 17 คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลยั

จามจุรศี รีจฬุ าฯ คำ�รอ้ ง แกว้ อจั ฉริยะกลุ ทำ�นอง เอือ้ สนุ ทรสนาน เมอื่ ตน้ ปีจามจรุ ีงามลน้ เคร่ืองหมายของสงิ่ มงคล ทกุ คนเรมิ่ ตน้ สนใจ เบิกบานสำ� ราญฤทัย น้องเรามาใหมห่ ลายคน เริม่ เวลารับชาวจุฬาฯ น้องใหม่ ทุกยามช่างงามลำ�้ ล้น เบิกบานกมลเรมิ่ ตน้ ดว้ ยดี เห็นจามจรุ ีสีงาม ร้องเพลงครนื้ เครงเต็มท่ี เปน็ เกยี รติเปน็ ศรีของชาวจุฬาฯ น้องเราเขา้ มาทกุ คน ถงึ เวลาหนา้ ฝนลำ� ต้นกล็ ืน่ หนักหนา ถ้าเดนิ พล้งั พลาดท่าจะลม้ ทันที พร้อมกนั ในวันนเ้ี อง วา่ ยางที่ไหลน้นั คอื ยางอายเรานี้ จำ� ยางจามจรุ ีเตอื นใจ หมายเอาจามจุรี ทง้ิ ใบเกล่ือนถนนเหลือเพยี งลำ� ต้นยนื ไว้ พ่อแม่นอ้ งพ่ีไกลใกลอ้ ยูไ่ หนลืมพลัน เมื่อกลางปีต้นจามจรุ ฝี ักหล่น มีความปรารถนาเหลือเพียงต�ำราเท่านั้น หวังมิใหต้ กช้นั รไี ทร์ ฝักหล่นไปทงั้ ยางกไ็ หลลงมา ฉันใดก็ดี ยางจามจุรเี ตอื นใจ พลาดการศึกษาแสนอายหนกั หนาทั้งตาปี เมื่อปลายปดี อกจามจรุ ีร่วงหล่น เหลา่ จฬุ าฯ ทิง้ ความสุขาทนั ใด ท่กี ินถิน่ นอน มิไดอ้ าวรณ์น�ำพา เพือ่ นเชอื นชักทง้ิ จนคนรักสารพนั 18 หนังสอื ทีร่ ะลกึ ในโอกาสสำ� เรจ็ การศกึ ษา ปีการศกึ ษา ๒๕๖๓

“ร่มจามจุรนี ้คี อื รม่ ใจ...พี่น้องและเพอื่ น ฝั งใจเตอื น เปรยี บเหมือนแหลง่ ความรักซ่ื อตรง” สาขาวชิ าบริหารการศกึ ษา ภาควิชานโยบาย การจัดการและความเป็นผ้นู ำ� ทางการศึกษา 19 คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย

ประวัตคิ ณะครศุ สา ตร์ จุฬลา งกรณม์ หาวิทยลา ัย ยอ้ นไปในปี พ.ศ. ๒๔๓๕ เรมิ่ จากสมเดจ็ แ ผ น ก ค รุ ศึ ก ษ า ร ว ม อ ยู ่ ใ น ค ณ ะ อั ก ษ ร ศ า ส ต ร ์ แ ล ะ กรมพระยาดำ� รงราชานภุ าพ เสนาบดกี ระทรวงธรรมการ วิทยาศาสตร์ ใช้ชื่อว่า แผนกฝึกหัดครู เมื่อคณะอักษร ศาสตร์และวิทยาศาสตร์แยกจากกัน แผนกฝึกหัดครู ทรงไดร้ บั พระบรมราชานญุ าตจดั ตง้ั โรงเรยี นฝกึ อาจารย์ เปลี่ยนชื่อเป็น “แผนกครุศาสตร์” สังกัดคณะอักษร ศาสตรแ์ ละครุศาสตร์ ภายหลังเปล่ียนช่ือเป็น “โรงเรียนฝึกหัดครู” ต่อมาวันที่ วนั ที่ ๑๐ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๐๐ มกี ารแยกแผนก ครศุ าสตร์ ออกเป็นคณะครุศาสตร์ ไดร้ บั การสถาปนาข้นึ ๑ มกราคม พ.ศ. ๒๔๕๓ พระบาทสมเด็จพระมงกฎุ เกลา้ เปน็ คณะท่ี ๗ ในจฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั โดยมอี าจารย์ พูนทรัพย์ ไกรยง (ศาสตราจารย์ท่านผู้หญิงพูนทรัพย์ เจ้าอยู่หัว มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้สถาปนา นพวงศ์ ณ อยุธยา) หัวหน้าแผนกวิชาครุศาสตร์ ในขณะนั้นเป็นคณบดีท่านแรก ประกอบด้วย ๔ แผนก โรงเรยี นมหาดเลก็ เปน็ สถาบนั อดุ มศกึ ษา ทรงพระราชทาน วิชา คอื ๑. แผนกวิชาสารตั ถศึกษา นามวา่ “โรงเรยี นขา้ ราชการพลเรอื นของพระบาทสมเดจ็ ๒. แผนกวิชาวิจยั การศึกษา ๓. แผนกวชิ าประถมศกึ ษา พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว” กับทั้งได้พระราชทานเงิน ๔. แผนกวชิ ามัธยมศึกษา ที่คงเหลือจากการที่ราษฎรเข้าเรี่ยไรกันเพ่ือสร้าง พระราชานสุ าวรยี พ์ ระบรมรปู ทรงมา้ ๙๘๒,๖๗๒.๔๗ บาท เป็นทุนก่อสร้างโรงเรียน และพระราชทานท่ีดิน จ�ำนวน ๑,๓๐๙ ไร่ ให้เป็นท่ีตั้งของโรงเรียนข้าราชการพลเรือน ของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โดยโอน เอาโรงเรียนต่าง ๆ มารวมกันเข้า ส่วนสถานศึกษาและ การดำ� เนนิ งานยงั คงแยกย้ายอยูท่ ่เี ดมิ ในปี พ.ศ. ๒๔๕๘ จึงได้ย้ายสถานศึกษามารวมกันในท่ีของจุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย ต่อมาวันที่ ๒๖ มีนาคม พ.ศ. ๒๔๕๙ ไ ด ้ รั บ ก า ร ส ถ า ป น า เ ป ็ น จุ ฬ า ล ง ก ร ณ ์ ม ห า วิ ท ย า ลั ย 20 หนังสอื ท่รี ะลึกในโอกาสส�ำเรจ็ การศกึ ษา ปีการศกึ ษา ๒๕๖๓

วันที่ ๒๐ มถิ ุนายน พ.ศ. ๒๕๐๑ คณะครศุ าสตร์ ภาควิชาและสาขาวชิ า ได้จัดต้ังโรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยขึ้นเพ่ือ ๑. ภาควิชาสารตั ถศกึ ษา เป็นแหล่งปฏิบัติการวิจัยในการทดลองสอนของนิสิต ๒. ภาควชิ าวจิ ัยการศึกษา คณะครุศาสตร์ในการฝึกประสบการณ์วิชาชีพ ต่อมา ๓. ภาควิชาประถมศกึ ษา ในปี พ.ศ. ๒๕๒๒ “แผนกวิชา” ไดเ้ ปลี่ยนเปน็ “ภาควิชา” ๔. ภาควิชามัธยมศกึ ษา ตามพระราชบญั ญัตจิ ฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั ประกอบ ๕. ภาควิชาพลศกึ ษา ดว้ ย ๑๑ ภาควชิ า ๑ สาขาวชิ า และศนู ยต์ า่ ง ๆ ๖ ศนู ย์ ดงั นี้ ๖. ภาควชิ าบรหิ ารการศกึ ษา ศนู ยต์ ่างๆ ๗. ภาควชิ าโสตทัศนศกึ ษา ๘. ภาควชิ าศิลปศกึ ษา ๑. ศูนย์ต�ำรา และเอกสารทางวิชาการ ๙. ภาควิชาอดุ มศึกษา ๒. ศนู ยเ์ ทคโนโลยีการศกึ ษา ๑๐. ภาควิชาดนตรศี กึ ษา ๓. ศนู ยบ์ รรณสารสนเทศทางการศึกษา ๑๑. ภาควชิ าการศึกษานอกโรงเรียน ๔. ศูนย์ทดสอบทางการศึกษา ๑๒. สาขาวิชาหลักสตู ร และการสอน ๕. ศูนยป์ ระสบการณว์ ิชาชีพ ๖. โครงการสอนภาษาไทย และวัฒนธรรมไทย ในต่างประเทศ ปจั จุบันคณะครศุ าสตร์ประกอบด้วย ๖ ภาควชิ า ไดแ้ ก่ ๑. หลักสตู ร และการสอน (Curriculum and Instruction) ๒. เทคโนโลยี และการสอ่ื สารการศึกษา (Educational Communication and Technology) ๓. ศลิ ปะ ดนตรี และนาฏศิลปศ์ ึกษา (Art, Music and Dance Education) ๔. นโยบาย การจดั การ และความเปน็ ผนู้ ำ� ทางการศกึ ษา (Educational Policy, Management, and Leadership) ๕. การศึกษาตลอดชวี ติ (Lifelong Education) ๖. วจิ ัยและจติ วทิ ยาการศึกษา (Education Research and Psychology) สาขาวิชาบริหารการศกึ ษา ภาควิชานโยบาย การจัดการและความเปน็ ผู้นำ� ทางการศึกษา 21 คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

เพลงสีเพลิง เพลงประจำ� คณะครศุ าสตร์ เนอ้ื ร้อง ศาสตราจารย์ สุมน อมรวิวฒั น์ ท�ำนอง ดร.สายสรุ ี จุตกิ ุล สเี พลิงเถกงิ งามเฉดิ ธวชั ปลิวเด่นเห็นชดั พระพฤหัสสีสดใส เปน็ เครอ่ื งหมายสวยสง่าน่าภูมใิ จ เกียรติก้องเกริกไกรคณะครศุ าสตร์ปราชญ์จฬุ า พวกเราครุศาสตร์พรอ้ มหน้า ร่วมสามคั คีพลชี วี นั ขอจงรกั ษาความดชี ั่วนิรันดร์ เพือ่ เปน็ มิง่ ขวญั จุฬา เรยี นเดน่ อีกเล่นดไี ม่มีสอง ดุจดั่งเทยี นทองสองกมลชนทั่วหลา้ ชอ่ื จะยงคงอยู่คู่ดินฟา้ เพราะการศกึ ษานนั้ เปน็ หลกั ประจกั ษจ์ รงิ 22 หนังสอื ทรี่ ะลึกในโอกาสสำ� เร็จการศึกษา ปีการศกึ ษา ๒๕๖๓

ประวัติสาขาวชิ าบรหิ ารการศึกษา ในระยะแรกเริ่มเป็นแผนกวิชาบริหารการศึกษา ในปกี ารศกึ ษา ๒๕๓๑ ไดเ้ ปดิ สอนหลกั สตู รปรญิ ญา ในปี พ.ศ. ๒๕๐๓ มศี าสตราจารย์ ดร.ประชมุ สขุ อาชวอำ� รงุ เอก สาขาวชิ าบรหิ ารการศกึ ษา ตอ่ มาในปกี ารศกึ ษา ๒๕๓๔ รักษาการคณบดีคณะครุศาสตร์ เป็นผู้รักษาการหัวหน้า ได้เปดิ สอนหลักสตู รปริญญาโทนอกเวลาราชการ ในปีการ แผนกวิชา ต่อมาในปีการศึกษา ๒๕๐๕ เร่ิมเปิดสอน ศึกษา ๒๕๔๗ ได้เปล่ยี นช่อื เป็นสาขาวิชาบริหารการศกึ ษา หลักสูตรปริญญาโท สาขาวิชาบริหารการศึกษา โดยมี ตามประกาศการเปล่ียนแปลงการแบ่งส่วนราชการในคณะ ศาสตราจารย์ ท่านผู้หญิงพูนทรัพย์ นพวงศ์ ณ อยุธยา ครุศาสตร์ จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั เมอ่ื วันท่ี ๒ กนั ยายน เป็นหัวหน้าแผนกวิชา ต่อมาเปิดสอนหลักสูตรปริญญาโท พ.ศ. ๒๕๔๗ และในปกี ารศกึ ษา ๒๕๔๘ ไดเ้ ปดิ สอนหลกั สตู ร สาขาวิชานิเทศการศึกษาและพัฒนาหลักสูตร ในปี พ.ศ. ปรญิ ญาเอกนอกเวลาราชการ ๒๕๑๓ และไดเ้ ปล่ียนช่ือเปน็ ภาควชิ าบริหารการศกึ ษาตาม พระราชบัญญตั ิจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พ.ศ. ๒๕๒๒ รายนามหัวหน้าแผนกวิชา/หัวหนา้ ภาควิชา/ประธานสาขาวชิ าบรหิ ารการศกึ ษา ๑. ศาสตราจารย์ ทา่ นผู้หญิงพนู ทรัพย์ นพวงศ์ ณ อยธุ ยา พ.ศ. ๒๕๐๕ – ๒๕๑๓ หัวหน้าแผนกวิชา ๒. ศาสตราจารย์ ดร.ภิญโญ สาธร พ.ศ. ๒๕๑๔ – ๒๕๑๘ ” ๓. ผ้ชู ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.อมรชยั ตนั ตเิ มธ พ.ศ. ๒๕๑๙ – ๒๕๒๐ ” ๔. ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ นพพงษ์ บุญจิตราดุลย์ พ.ศ. ๒๕๒๐ – ๒๕๒๓ หวั หนา้ แผนกวชิ า/หัวหน้าภาควิชา ๕. ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร.อมรชัย ตนั ติเมธ พ.ศ. ๒๕๒๔ – ๒๕๒๗ หวั หน้าภาควิชา ๖. ผ้ชู ่วยศาสตราจารย์ ดร.ณฐั นภิ า คปุ รตั น์ พ.ศ. ๒๕๒๘ – ๒๕๓๑ ” ๗. รองศาสตราจารย์ ดร.อทุ ัย บุญประเสริฐ พ.ศ. ๒๕๓๑ – ๒๕๓๒ ” ๘. รองศาสตราจารย์ ดร.อมรชัย ตันตเิ มธ พ.ศ. ๒๕๓๒ – ๒๕๓๖ ” ๙. ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร.วรี ะวฒั น์ อุทยั รัตน์ พ.ศ. ๒๕๓๖ – ๒๕๔๐ ” ๑๐. รองศาสตราจารย์ ดร.บญุ มี เณรยอด พ.ศ. ๒๕๔๐ – ๒๕๔๔ ” ๑๑. รองศาสตราจารย์ ดร.วีระวฒั น์ อทุ ัยรัตน์ พ.ศ. ๒๕๔๔ – ๒๕๔๖ ” ๑๒. ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.ณัฐนภิ า คุปรตั น์ พ.ศ. ๒๕๔๗ – ๒๕๔๙ หวั หนา้ ภาควชิ า/ประธานสาขาวิชา ๑๓. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ปองสนิ วเิ ศษศริ ิ พ.ศ. ๒๕๔๙ – ๒๕๕๓ ประธานสาขาวชิ า ๑๔. ศาสตราจารย์ ดร.พฤทธิ์ ศิรบิ รรณพทิ ักษ์ พ.ศ. ๒๕๕๓ – ๒๕๕๘ ” ๑๕. ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.ชญาพมิ พ์ อุสาโห พ.ศ. ๒๕๕๘ – ๒๕๖๒ ” ๑๖. ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.นนั ทรตั น์ เจริญกุล พ.ศ. ๒๕๖๒ – ปัจจบุ ัน ” สาขาวชิ าบรหิ ารการศกึ ษา ภาควิชานโยบาย การจัดการและความเปน็ ผู้นำ� ทางการศึกษา 23 คณะครศุ าสตร์ จฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลยั

24 หนังสือทีร่ ะลกึ ในโอกาสส�ำเร็จการศกึ ษา ปกี ารศึกษา ๒๕๖๓

สารแสดงความยินดแี กบ่ ณั ฑติ ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๓ สาขาวชิ าบริหารการศกึ ษา ภาควิชานโยบาย การจัดการและความเปน็ ผู้นำ�ทางการศึกษา คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั จากผู้บริหารและคณาจารย์ จฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลยั สาขาวชิ าบรหิ ารการศกึ ษา ภาควิชานโยบาย การจดั การและความเปน็ ผู้นำ� ทางการศึกษา 25 คณะครศุ าสตร์ จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลัย

สารจากนายกสภา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ผมขอแสดงความยินดีเป็นอย่างยิ่งกับมหาบัณฑิต และดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาบริหารการศึกษา ปีการศึกษา ๒๕๖๓ ทุกท่าน ท่ีส�ำเร็จเป็น “บัณฑิตอันทรงคุณค่า แห่งจุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย” และผมยิ่งเกิดความ “ปิติ” ยิ่งกว่าน้ีอีกหลายเท่า ถ้าได้ทราบว่า “ศิษย์ที่จบจากจุฬาฯ” เป็นคนเก่งและคนดี มคี ุณธรรม มคี วามกตัญญูกตเวที ไปทำ� งานทไ่ี หน หรอื ไปทำ� อะไร มแี ตค่ นรกั ใครแ่ ละศรทั ธา เรยี นรกู้ ารใชค้ วามดี ความซอื่ สตั ยส์ จุ รติ ความอ่อนน้อมถ่อมตน ความเสยี สละเพือ่ สามารถเขา้ ไปนั่งอยู่ในหวั ใจของคนรอบข้างได้ ผมอยากใหท้ กุ คนไดต้ ระหนกั วา่ นบั ตง้ั แตว่ นั นเ้ี ปน็ ตน้ ไป ทกุ คนตา่ งกเ็ ปน็ บณั ฑติ และเปน็ นสิ ติ เกา่ แหง่ จฬุ าลงกรณ์ มหาวิทยาลัย (ไม่ว่าจะจบปริญญาตรีมาจากไหนก็ตาม) ดังนั้น ขอให้บัณฑิตระลึกไว้ตลอดเวลาว่า ไม่ว่าเราจะอยู่ที่ไหน จะคดิ จะพดู หรอื จะทำ� อะไรกต็ าม เราไมไ่ ดท้ ำ� คนเดยี ว แตเ่ ราไดน้ ำ� พระนาม “จฬุ าลงกรณ”์ อนั สงู สง่ ตดิ ตวั ไปดว้ ยเสมอ สมดงั พระบรมราโชวาทของพระบาทสมเดจ็ พระมหาภมู พิ ลอดลุ ยเดชตอนหนงึ่ วา่ “...ชอ่ื ของมหาวทิ ยาลยั ของทา่ น คอื จฬุ าลงกรณ์ จะตดิ ตวั ทา่ นไปดว้ ยเสมอ ไมว่ า่ จะประพฤตดิ หี รอื ประพฤตชิ ว่ั ฉะนนั้ ทกุ ๆ ครง้ั ทที่ า่ นจะกระทำ� การสงิ่ ใดลงไป จงคดิ แลว้ คดิ อกี ทบทวนดทู ง้ั ทางได้ ทางเสยี ใหแ้ นช่ ดั เสยี กอ่ น “จฬุ าลงกรณ”์ หาไดเ้ ปน็ เพยี งชอ่ื ของมหาวทิ ยาลยั เทา่ นน้ั ไม่ แตย่ งั เปน็ พระนาม ของผู้พระราชทานก�ำเนิดของสถานท่ีแห่งนี้ด้วย ฉะน้ัน จึงเป็นการจ�ำเป็นอย่างย่ิงท่ีท่านต้องปฏิบัติตนให้เหมาะสมกับเป็น ผูท้ ่ีได้รับการอบรมสัง่ สอนไปจากจฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลัยน”้ี ผลจากการแพรร่ ะบาดของโรคโควดิ กอ่ ให้เกิดการเปลีย่ นแปลงอยา่ งรุนแรงในแทบทกุ ดา้ น เราจงึ จ�ำเป็นตอ้ งปรับ ตวั ใหส้ ามารถรองรบั ตอ่ การเปลยี่ นแปลงดงั กลา่ วได้ โดบปรบั ตวั ทง้ั การประกอบวชิ าชพี และการดำ� เนนิ ชวี ติ นอ้ มนำ� “ปรชั ญา เศรษฐกิจพอเพียง” มาประยุกต์ใช้ด้วยการใช้สัมมาทิฏฐิและมัชฌิมาปฏิปทาที่สร้างความพอดีพอสม ความมีเหตุมีผลและ ความรอบคอบ ไม่ประมาท ชว่ ยกัน จุดเพลงิ ชมพู ใหส้ ว่างไสวไปทว่ั แหลง่ หล้า เพื่อขจดั ความมืดแห่งปัญญาในทุกหนทกุ แหง่ ของแผน่ ดนิ ไทย ชว่ ยกนั ปกั “ธงสชี มพ”ู ใหส้ งา่ งาม และชว่ ยกนั ปลกู ตน้ “จามจรุ ”ี ใหค้ วามรม่ เยน็ ไปทว่ั ประเทศไทย สมกบั เปน็ เพชรชมพูอนั ลำ้� คา่ ทช่ี าวจุฬาฯ แสนจะภาคภูมิใจ ศาสตราจารยก์ ติ ติคุณ นายแพทยภ์ ริ มย์ กมลรตั นกุล นายกสภามหาวทิ ยาลัย 26 หนงั สอื ที่ระลึกในโอกาสสำ� เรจ็ การศึกษา ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๓

สารจากอธกิ ารบดี จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย ขอแสดงความยินดีอย่างย่ิงกับบัณฑิต ทุกท่าน ที่ส�ำเร็จการศึกษาสาขาวิชาบริหาร การศึกษาของ คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์ มหาวทิ ยาลยั ประจำ� ปกี ารศกึ ษา 2563 น้ี นบั เปน็ เรอื่ งทที่ กุ ทา่ นควรภาคภมู ใิ จ ทส่ี ามารถเอาชนะ ความทา้ ทายตา่ ง ๆ ทต่ี อ้ งประสบในการเรยี นการสอน ในชว่ งการแพรร่ ะบาดชองเชอ้ื โรค โควิด -19 และสำ� เร็จการศกึ ษาตามหลกั สตู รไดด้ ว้ ยดี วิชาการบริหารการศกึ ษาเปน็ สาขาหน่ึงดา้ นมนุษยศ์ าสตร์ ท่ีมีความสำ� คัญต่อการ พฒั นาประเทศ เปน็ อยา่ งย่งิ โดยเฉพาะในสถานการณป์ จั จบุ ันที่ทกุ อย่าง ทกุ มติ ิมีความ เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว บัณฑิต จึงควรเป็นผู้ท่ีสามารถประยุกต์ใช้ความรู้และทักษะ ทรี่ ำ�่ เรยี นมา ประกอบกบั การหมน่ั พฒั นาตนเองและเรยี นรสู้ งิ่ ใหมๆ่ อยเู่ สมอ เพอ่ื ตอบสนอง และกอ่ เกิดประโยชนส์ งู สุดท้งั ต่อชาติบา้ นเมืองและสงั คมโลกตอ่ ไป ผมขอเปน็ ตวั แทนผบู้ รหิ าร คณาจารย์ และรนุ่ พช่ี าวจฬุ าฯ สง่ กำ� ลงั ใจและอวยพรให้ บัณฑติ ใหม่สาขาบริหารการศึกษาประจำ� ปี 2563 มีสติและปญั ญา กำ� กับความรขู้ องตน เพอื่ นำ� ไปสู่ความส�ำเรจ็ ความสุขและความเจริญในชวี ิตตลอดไป ศาสตราจารย์ ดร. บณั ฑติ เอ้ืออาภรณ์ อธกิ ารบดจี ฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลยั สาขาวิชาบริหารการศกึ ษา ภาควิชานโยบาย การจัดการและความเป็นผู้น�ำทางการศึกษา 27 คณะครศุ าสตร์ จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลยั

คติพจน์จากปฐมปูชนยี าจารย์ แหง่ จฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลัย “ความรทู้ ่ขี าดคุณธรรม ความสามารถทขี่ าดสติ การประกอบกจิ การทข่ี าดศรทั ธาและอุดมการณ์ การเปน็ ผนู้ �ำท่ขี าดความกล้าอนั ชอบดว้ ยหลักการ ยอ่ มเป็นอุปสรรคต่อความสำ� เร็จ และการยกยอ่ งจากสังคม” ศาสตราจารย์ ทา่ นผหู้ ญงิ พูนทรัพย์ นพวงศ์ ณ อยุธยา ปฐมปชู นียาจารย์ คณะครศุ าสตร์ จุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลัย 28 หนังสือทร่ี ะลกึ ในโอกาสสำ� เร็จการศึกษา ปีการศึกษา ๒๕๖๓

สารจากปชู นียาจารย์ “ความส�ำเรจ็ ไดเ้ ปน็ “ดษุ ฎบี ัณฑติ ” และ “มหาบัณฑติ ” เป็นเรอื่ งทนี่ า่ ภาคภมู ิใจและควรแก่การไดร้ บั ความยินดีเปน็ การสว่ นตวั หากแปลงให้เปน็ ความส�ำเรจ็ ท่ยี ังผลใหเ้ กดิ แก่การบริหารการศกึ ษา ของประเทศชาตแิ ละประชาชนโดยสว่ นรวมดว้ ย ก็จะเป็น “ดุษฎีและมหาบัณฑิต” โดยสมบูรณ์” ศาสตราจารย์ ดร.วิจิตร ศรสี อา้ น นกั บรหิ ารวชิ าการอสิ ระและรฐั มนตรีวา่ การกระทรวงศกึ ษาธกิ ารคนท่ี ๗๒ สาขาวชิ าบริหารการศกึ ษา ภาควชิ านโยบาย การจดั การและความเป็นผู้น�ำทางการศกึ ษา 29 คณะครุศาสตร์ จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั

สารจากปชู นยี าจารย์ ขอแสดงความยินดีกับมหาบัณฑิต และดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาบริหารการศึกษา ทกุ ทา่ นทสี่ ำ� เรจ็ การศกึ ษาในปนี ้ี หลงั จากการรบั ปริญญาแล้วท่านจะเห็นว่า โลกของท่านจะเปิด ชีวติ จะเปล่ียน ทา่ นจะตอ้ งปรับ รับกับยุคดจิ ทิ ัล ปัญหาใหม่ ๆ กจ็ ะเขา้ มาทา้ ทายกบั ชวี ิตของท่าน โดยไม่ทนั คดิ ว่า จะเปน็ อย่างไร แต่จงคิด ไว้เสมอ ๆ วา่ ... ปญั หา ทำ� ให้คนเข้มแข็ง เวลา ทำ� ให้คนเช่ยี วชาญ สถานการณ์ ทำ� ใหค้ นร้จู ักแกไ้ ข การตดั สนิ ใจ ทำ� ใหค้ นร้วู า่ ถกู หรือผดิ ความคดิ ทำ� ใหค้ นเลศิ ทางปัญญา และการพฒั นา ท�ำใหค้ นมีคุณภาพ ดังนัน้ ต้องรจู้ ักอจั ฉรยิ ะพัฒนา โอกาสนี้ก็ขออาราธนาคุณพระศรีรัตนตรัยและสิ่งศักดิ์สิทธ์ิทั้งหลายที่ท่านเคารพ นับถือ จงดลบันดาลประทานพรให้ทุกท่านประสบแต่ความสุข ความเจริญก้าวหน้าใน ภารกจิ และชีวติ ครอบครัวทกุ ประการ รองศาสตราจารย์ นพพงษ์ บุญจติ ราดลุ ย์ 30 หนังสอื ทรี่ ะลึกในโอกาสสำ� เรจ็ การศกึ ษา ปีการศกึ ษา ๒๕๖๓

สารจากปชู นยี าจารย์ It’s Never Too Late to Make a Change, and A Positive Attitude Is the Key to Success. ศาสตราจารย์ ดร.พฤทธ์ิ ศริ ิบรรณพทิ กั ษ์ ประธานกรรมการบรหิ ารหลกั สูตรครุศาสตรดษุ ฎีบณั ฑติ สาขาวิชาภาวะผู้น�ำการบรหิ ารระบบการศึกษา (หลักสูตรนานาชาติ) คณะครุศาสตร์ จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั สาขาวิชาบรหิ ารการศกึ ษา ภาควชิ านโยบาย การจัดการและความเปน็ ผู้น�ำทางการศึกษา 31 คณะครุศาสตร์ จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั

สารจากคณาจารย์อาวโุ ส ขอแสดงความยนิ ดกี บั ดษุ ฎบี ณั ฑติ และมหาบณั ฑติ ของสาขาวชิ าบรหิ ารการศกึ ษา คณะครศุ าสตร์ จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั ทกุ ทา่ น นบั จากนไ้ี ป ทกุ ทา่ นยอ่ มมบี ทบาทสำ� คญั ตอ่ การพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษาของเยาวชนไทย จะทำ� การสงิ่ ใด ขอใหค้ ำ� นงึ ถงึ ประโยชน์ ของผเู้ รยี นเปน็ สำ� คญั อยา่ แสวงหาผลประโยชนใ์ ด ๆ จากตำ� แหนง่ หนา้ ทก่ี ารงาน ไมว่ า่ ทาง ตรงหรอื ทางออ้ ม ขอใหร้ กั ษาเกยี รติ ศกั ดศิ์ รี และจรรยาบรรณวชิ าชพี อยเู่ สมอ การปฏบิ ตั ิ ดี ปฏบิ ัติชอบยอ่ มสง่ ผลใหเ้ กดิ ความเจรญิ งอกงามในวชิ าชพี ของทา่ นได้อยา่ งยัง่ ยนื รองศาสตราจารย์ เอกชยั กสี่ ขุ พนั ธ์ 32 หนงั สอื ทีร่ ะลึกในโอกาสสำ� เรจ็ การศึกษา ปีการศึกษา ๒๕๖๓

สารจากคณาจารย์อาวโุ ส Congratulations to the Master’s and the Doctoral in Educational Administration, Faculty of Education, Chulalongkorn University, who graduated and received a degree in the year 2020. Graduation is one of the great pride for yourself and your family. It is a sign of perseverance and effort that brings success. We ask that you continue to use these qualities in your pursuit of other tasks to lead to tremendous success. Wishing you all success in the family and jobs; be healthy while continuing to do good deeds for the benefit of the nation. Sincerely yours, Assistant Professor Dr. Pongsin Viseshsiri สาขาวิชาบรหิ ารการศึกษา ภาควชิ านโยบาย การจัดการและความเปน็ ผู้นำ� ทางการศกึ ษา 33 คณะครศุ าสตร์ จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั

สารจากคณบดีบัณฑติ วทิ ยาลยั ขอแสดงความยินดีกับมหาบัณฑิต และดุษฎีบัณฑิต สาขาบริหารการศึกษา คณะ ครศุ าสตร์ ท่สี �ำเร็จการศกึ ษาขนั้ สูง ดว้ ยความ พากเพยี ร วริ ิยะและอตุ สาหะ ซง่ึ นับว่าเปน็ ความ ภาคภมู ใิ จในตนเองและเปน็ เกยี รตแิ กว่ งศต์ ระกลู ขอใหบ้ ณั ฑติ ใชท้ กั ษะ ความรแู้ ละความสามารถในการพฒั นาตนเองใหท้ นั ตอ่ สงั คม แห่งการเรียนรู้และการเปลี่ยนแปลง ส�ำหรับการบริหารการศึกษาหรือประยุกต์ในการ บรหิ ารการทำ� งาน เพอื่ ประโยชนต์ อ่ องคก์ ร สงั คมและประเทศชาติ โดยคำ� นงึ ถงึ คณุ ธรรม จริยธรรมและเกียรติภูมิของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และขออ�ำนาจสิ่งศักด์ิทั้งหลาย ในสากลโลก จงดลบันดาลให้บัณฑิตประสบความส�ำเร็จในหน้าที่การงาน มีความเจริญ รุง่ เรอื ง และดำ� รงชีวติ ด้วยความสขุ ตลอดไป รองศาสตราจารย์ ดร.ธรรมนูญ หนูจกั ร คณบดีบณั ฑิตวิทยาลยั 34 หนังสอื ทร่ี ะลกึ ในโอกาสสำ� เร็จการศกึ ษา ปีการศึกษา ๒๕๖๓

สารจากคณบดี คณะครุศาสตร์ ขอแสดงความยินดีกับมหาบัณฑิตและ ดษุ ฎบี ณั ฑติ สาขาวชิ าบรหิ ารการศกึ ษาทกุ ทา่ น ผมม่ันใจว่า สาขาวิชาบริหารการศึกษาได้ หล่อหลอมท่านให้เป็นผู้ท่ีมีหลักวิชา มีหลัก ปฏิบตั ิ และมีทศั นคตทิ ถี่ กู ตอ้ งตอ่ การศึกษาและ ตอ่ สังคมไทย การส�ำเร็จการศึกษาจากจฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย ไม่ได้หมายความเพยี ง ศกั ดแิ์ ละสทิ ธแิ หง่ ปรญิ ญาบตั รเทา่ นนั้ แตห่ มายรวมถงึ ความพรอ้ มในการเปน็ ตน้ แบบและ เป็นแรงบันดาลใจให้กับคนในสังคม ขอให้มหาบัณฑิตและดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาบริหาร การศึกษาทุกท่านด�ำรงตนให้สมกับความคาดหวังของประเทศชาติและได้รับความเจริญ กา้ วหน้า ทั้งในชีวติ และหน้าทก่ี ารงานตลอดไป รองศาสตราจารย์ ดร.ศิริเดช สุชวี ะ คณบดีคณะครศุ าสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สาขาวิชาบรหิ ารการศึกษา ภาควชิ านโยบาย การจัดการและความเปน็ ผนู้ �ำทางการศึกษา 35 คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลัย

สารจากหวั หนา้ ภาควิชา นโยบาย การจัดการเเละความเปน็ ผนู้ ำ�ทางการศึกษา ขอแสดงความยินดีกับบัณฑิตใหม่ท่ีประสบ ความส�ำเร็จในการศึกษาทั้งระดับมหาบัณฑิตและดุษฎี บณั ฑติ สาขาวชิ าบรหิ ารการศกึ ษา ซง่ึ เปน็ ผลจากความ พากเพยี รอดทน ทมุ่ เททง้ั พลงั กาย พลงั ใจในการศกึ ษา สงิ่ ทจี่ ะฝากใหก้ บั บณั ฑติ ใหมก่ ค็ อื เรอื่ งของหนา้ ทใี่ นการ บริหารจดั การของผ้บู ริหารก็คือ การจดั การทรัพยากร (4M) ทม่ี อี ยอู่ ยา่ งจำ� กดั ใหเ้ กดิ ประโยชนส์ งู สดุ ซงึ่ นอกจากนี้ การทำ� งานใหเ้ กดิ ความสำ� เรจ็ จำ� เปน็ ตอ้ งนำ� ความรู้ที่เป็นศาสตร์ด้านบริหารที่ได้เล่าเรียนมาผนวกกับศิลปะในการน�ำไปใช้อย่างกลมกลืนจึงจะท�ำให้ การท�ำงานส�ำเร็จลุล่วงไปด้วยดี ปัจจุบันสามารถกล่าวได้ว่า ผู้บริหารที่ดีควรจะมีท้ัง Hard Skills และ Soft Skills ประกอบกับกรอบ 3 ประการ สำ� หรับผู้บรหิ ารกค็ ือ การครองตน ครองคน และครองงาน ผู้บริหารท่ีย่ิงใหญ่ควรทุ่มเทให้กับองค์กรและส่วนรวมเป็นล�ำดับแรกก็คือ การท�ำงานที่มุ่งเน้นประโยชน์ ของนักเรียนเป็นส�ำคัญมากกว่าประโยชน์ส่วนตัว ดังค�ำกล่าวของอดีตผู้น�ำสหรัฐอเมริกา John F. Kennedy ซง่ึ กลา่ วไวว้ า่ “Ask not what your country can do for you, but, please ask what you can do for your country.” รวมทง้ั การประพฤติปฏบิ ตั ิเป็นแบบอย่างทด่ี ี ผู้บรหิ ารถอื เปน็ ตวั แทนของ หน่วยงาน ดงั นัน้ การวางตัวควรตอ้ งแสดงออกอยา่ งเหมาะสมตามกาละและเทศะ ขอใหบ้ ณั ฑติ ทกุ ทา่ นนำ� ความรทู้ ไี่ ดจ้ ากการศกึ ษาไปใชใ้ หเ้ กดิ ประโยชนก์ บั หนว่ ยงานตลอดจนสว่ น รวมและมีความกา้ วหน้าในหนา้ ทกี่ ารงานและประสบความสาํ เร็จในชีวิตตอ่ ไป ผ้ชู ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.พนั ธศ์ ักด์ิ พลสารัมย์ หัวหนา้ ภาควิชานโยบาย การจัดการและความเป็นผนู้ ำ� ทางการศกึ ษา 36 หนงั สือทรี่ ะลึกในโอกาสสำ� เรจ็ การศกึ ษา ปีการศึกษา ๒๕๖๓

สารจากประธานสาขา วชิ าบรหิ ารการศกึ ษา ขอแสดงความยินดีกับดุษฎีบัณฑิตและ มหาบัณฑิตที่ส�ำเร็จการศึกษา ในปีการศึกษา 2563 นี้ปัจจุบันโลกมีการเปลี่ยนแปลงที่พลิก ผันและเหตุการณ์ที่ไม่คาดคิดเกิดขึ้นมากมาย หากบัณฑิตทุกคนมีสติ ใช้ปัญญาประกอบกับ ประสบการณต์ ่าง ๆ และประยกุ ต์ใชค้ วามรู้ ทักษะ และความสามารถทม่ี ีอย่อู ยา่ งเหมาะสม และรอบคอบ ก็จะสามารถแก้ไขปญั หาและกา้ วผ่านพน้ อุปสรรคต่าง ๆ ไปไดด้ ้วยด ี ขอทุกคนมีสุขภาพกายที่แข็งแรง และสุขภาพใจที่เข้มแข็ง ในการปฏิบัติหน้าที่การ งานตา่ ง ๆ อยา่ งเตม็ ความสามารถ และใชช้ วี ติ ดว้ ยความไมป่ ระมาท ขอสง่ ความปรารถนา ดจี ากใจจรงิ และขออวยพรใหบ้ ณั ฑติ ทกุ คนประสบความสขุ ความสำ� เรจ็ และความสมหวงั ในส่ิงทตี่ ั้งใจไวท้ ุกประการ ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร.นนั ทรัตน์ เจริญกลุ ประธานสาขาวิชาบรหิ ารการศึกษา คณะครุศาสตร์ จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลยั สาขาวชิ าบรหิ ารการศึกษา ภาควิชานโยบาย การจัดการและความเปน็ ผู้นำ� ทางการศึกษา 37 คณะครุศาสตร์ จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั

สารจากคณาจารย์ ขอแสดงความยินดีกับมหาบัณฑิต และดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาบริหารการศึกษา ในโอกาสท่ีส�ำเร็จการศึกษา ประจ�ำปีการศึกษา ๒๕๖๓ วนั นเ้ี ปน็ วนั ทแี่ สดงถงึ ความวริ ยิ ะ อตุ สาหะ และความทุ่มเท ท้ังก�ำลังกาย และก�ำลังใจ จนกระท่ังส�ำเร็จการศึกษาซึ่งได้พิสูจน์ให้เป็น ท่ีประจักษ์แล้วว่า ท่านคือ “เพชร” แห่งความภาคภูมิใจของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ท่ีส่องประกาย อยู่ท่ัวทุกแหล่งแห่งถิ่นไทย ความเป็นบัณฑิตจากจุฬาลงกรณ์ เปย่ี มศกั ดศ์ิ รสี มดงั ไขกต็ อ่ เมอื่ ...มอบใคร ๆ ดว้ ยหวั ใจสชี มพ.ู ..ยามใดทเ่ี กดิ ความเหนอ่ื ยลา้ ...ก็ให้คิดถึงพระมหากรุณาธิคุณของในหลวงรัชกาลท่ี ๕ และในหลวงรัชกาลที่ ๖ องค์พระผู้พระราชทานก�ำเนิดและองค์พระผู้สถาปนาจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ที่จะเป็น พลังให้บัณฑิตท�ำงานในการยกระดับคุณภาพผู้เรียนอย่างแท้จริงเป็นส่วนส�ำคัญในการ ลดความเหล่อื มล�ำ้ ทั้งเชงิ เศรษฐกจิ และสงั คม ขออวยพรให้มหาบัณฑิตและดุษฎีบัณฑิตประสบความส�ำเร็จในการน�ำความรู้ ที่ได้ส่ังสมมาในการพัฒนาประเทศชาติ ใช้ความคิดและการมีวิจารณญาณที่มั่นคง ปฏบิ ตั งิ านในหนา้ ทโ่ี ดยชอบ ยดึ ความถกู ตอ้ งและมเี หตผุ ลอนั ควร ใหเ้ กดิ ความเจรญิ รงุ่ เรอื ง สมภาคภมู ใิ นการเปน็ บัณฑิตจากจฬุ าลงกรณ์ ด้วยความปรารถนาดี รองศาสตราจารย์ ดร.ชญาพิมพ์ อสุ าโห 38 หนังสือทร่ี ะลกึ ในโอกาสส�ำเร็จการศึกษา ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๓

สารจากคณาจารย์ ขอแสดงความยินดีกับดุษฎีบัณฑิตและ มหาบัณฑิตทุกท่านในท่ีสุด วันแห่งความส�ำเร็จ ที่ทุกท่านพากเพียรได้มาถึงนับเป็นก้าวส�ำคัญ ในชีวิตที่ประกาศว่า ต่อแต่นี้ไป เราเป็นดุษฎี บัณฑิตและมหาบัณฑิตอย่างสมบูรณ์ ขอแต่ละ ทา่ นพงึ ระลึกและจดจำ� ว่าเราไดป้ ฏญิ าณตนไวอ้ ย่างไร ไดต้ ้งั ใจจะทำ� ประโยชน์ใดบา้ งให้กบั แผน่ ดนิ ขอจงทำ� ส่งิ น้ันใหบ้ รรลผุ ล ขอฝากบัณฑิตทุกท่านเป็นพลังให้กับการศึกษาไทย ปลุกปั้นนักเรียน เยาวชน ผเู้ ปน็ อนาคตของชาตใิ หป้ ระเทศของเราเจรญิ รงุ่ เรอื ง มคี วามสมคั รสมาน สามคั คี อยรู่ ว่ ม กันอย่างมีความสุข ค�ำนึงถึงประโยชน์ส่วนรวมเป็นส�ำคัญ หวังเป็นอย่างยิ่งว่า บัณฑิต ทกุ ท่านจะไดน้ �ำความรแู้ ละประสบการณ์ ทไ่ี ดร้ ับจากสถาบนั แห่งนไ้ี ปถา่ ยทอดใหก้ บั บุคคล อื่น ๆ และเป็นแบบอย่างท่ีดใี นการพฒั นาวิชาชพี ครูและวิชาชีพผู้บรหิ ารตอ่ ไป อาจารย์ ดร.แอนจิรา ศริ ภิ ิรมย์ สาขาวชิ าบรหิ ารการศึกษา ภาควิชานโยบาย การจัดการและความเปน็ ผู้นำ� ทางการศึกษา 39 คณะครศุ าสตร์ จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั

สารจากคณาจารย์ แสดงความยินดีกับบัณฑิตใหม่ประจ�ำปี การศกึ ษา ๒๕๖๓ จะกลา่ วไดว้ า่ เปน็ ดษุ ฎบี ณั ฑติ และมหาบัณฑิต ยุคโควิดเลยก็ว่าได้ การส�ำเร็จ การศึกษาของบัณฑิตใหม่ในปีการศึกษาน้ีเป็น ความท้าทายอย่างมากส�ำหรับนิสิต เนื่องจาก ตอ้ งใชช้ ว่ งเวลาทส่ี ดุ ของการทำ� สารนพิ นธแ์ ละวทิ ยานพิ นธท์ า่ มกลางความปกตใิ หม่ (New Normal) ซ่ึงเป็นสิ่งที่พวกเราไม่คุ้นเคยจึงนับได้ว่า เป็นจุดเริ่มต้นของรูปแบบการเรียนรู้ ท่ีมีการน�ำเทคโนโลยีมาผสมผสานการท�ำงานหรือการเรียนรู้อย่างแท้จริง โดยส่ิงเหล่านี้ ได้กลายมาเป็นส่วนหน่ึงในชีวิตประจ�ำวันและเป็นเคร่ืองมือในการเรียนรู้ที่ส�ำคัญท�ำให้เกิด การเรียนรู้ส่ิงใหม่อย่างต่อเน่ืองเพ่ือให้เป็นผู้เช่ียวชาญการเรียนรู้ตลอดชีวิต (lifelong expert learner) ตลอดจนน�ำไปพัฒนาผู้เรียนหรือผู้ที่อยู่รอบ ๆ เราให้กลายเป็น ผ้เู ชี่ยวชาญการเรียนรู้ในยคุ ความปกตใิ หม่นใี้ ห้ได้ด้วยเชน่ กนั สดุ ทา้ ยน้ี ขอใหด้ ษุ ฎบี ณั ฑติ และมหาบณั ฑติ ทกุ คนมสี ขุ ภาพกายและสขุ ภาวะทางจติ ที่ดีเพ่ือน�ำตนเอง น�ำครอบครัวและนำ� สถานศกึ ษาหรือหนว่ ยงาน และประเทศไทยของเรา ฝา่ วกิ ฤติการแพรร่ ะบาดของเชือ้ ไวรัสครงั้ นี้ไปได้อยา่ งปลอดภัยทุกคน รองศาสตราจารย์ ดร.สกุ ัญญา แช่มช้อย 40 หนงั สอื ท่รี ะลึกในโอกาสสำ� เรจ็ การศกึ ษา ปีการศกึ ษา ๒๕๖๓

สารจากคณาจารย์ หลายปที ี่มุ่งมัน่ เรียนหนักหนา หลายเพลาที่ส้สู ดุ ทงั้ กายใจ หลายอุปสรรคเสมือนไรท้ างไป หลายถอนใจจนวนั นรี้ ับปริญญา ขอช่ืนชมความส�ำเร็จของบณั ฑิต จงภมู ิจติ ความเปน็ ศิษย์ศรีจุฬา นำ� วชิ าบริหารการศึกษา มงุ่ พัฒนาสงั คมไทยให้ยัง่ ยนื ขอแสดงความยนิ ดีกับความส�ำเร็จของดษุ ฎบี ัณฑติ และมหาบณั ฑิต ปกี ารศึกษา ๒๕๖๓ สาขาวชิ าบริหารการศึกษา ทุกท่านครับ รองศาสตราจารย์ ดร.ธรี ภัทร กโุ ลภาส สาขาวิชาบริหารการศกึ ษา ภาควชิ านโยบาย การจัดการและความเปน็ ผนู้ ำ� ทางการศกึ ษา 41 คณะครุศาสตร์ จฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลยั

สารจากคณาจารย์ ในโอกาสการส�ำเร็จการศึกษาของบัณฑิตใหม่สาขาวิชาบริหารการศึกษา ปีการศึกษา 2563 นี้ ผมขอแสดงความยินดีกับบัณฑิตทุกคนที่ประสบความส�ำเร็จ ใ น วั น นี้ ค ว า ม รู ้ แ ล ะ ป ร ะ ส บ ก า ร ณ ์ ท่ี ไ ด ้ จ า ก ก า ร เ รี ย น เ ป ็ น พื้ น ฐ า น ท่ี ผู ้ บ ริ ห า ร ก า ร ศึ ก ษ า จ� ำ เ ป ็ น ต ้ อ ง มี เ พ่ื อ พั ฒ น า ต ่ อ ย อ ด ค ว า ม คิ ด แ ล ะ ป ร ะ ส บ ก า ร ณ ์ ต ่ อ ไ ป ในอนาคต ผมขอเป็นก�ำลังใจให้บัณฑิตสาขาวิชาบริหารการศึกษาทุกคนในการมุ่งม่ัน ท�ำสงิ่ ท่ีดีตอ่ ผเู้ รียนซ่งึ เปรยี บเสมอื นไขแ่ ดง และนำ� ความภาคภมู ใิ จมาสู่ตนเอง ครอบครัว สถาบนั และประเทศชาติต่อไป ผ้ชู ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.สบื สกลุ นรินทรางกรู ณ อยุธยา 42 หนังสอื ทร่ี ะลึกในโอกาสส�ำเร็จการศกึ ษา ปกี ารศึกษา ๒๕๖๓

สารจากคณาจารย์ ขอแสดงความยินดีกับบัณฑิตทุกคนในโอกาสที่ส�ำเร็จการศึกษาในคร้ังน้ี จากน้ี ขอให้พวกเราน�ำความรู้และประสบการณ์ท่ีได้จากร้ัวจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยไปต่อยอด ประกอบคณุ งามความดที เี่ หมาะสมสำ� หรบั การเปน็ ผบู้ รหิ ารทางการศกึ ษาในยคุ ศตวรรษ ท่ี 21 ให้เหมาะสมกับความเป็นครู ให้เหมาะสมกับการเป็นบัณฑิตของสาขาวิชาบริหาร การศึกษา สร้างสรรค์การศึกษาไทยให้เป็นรากฐานที่ดีของประเทศ เพื่อสร้างสังคม ทน่ี ่าอยู่ให้กับคนร่นุ หลงั ตอ่ ไป ดว้ ยความเคารพ อาจารย์ ดร.เพ็ญวรา ชูประวัติ สาขาวิชาบรหิ ารการศกึ ษา ภาควิชานโยบาย การจดั การและความเป็นผนู้ �ำทางการศึกษา 43 คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั

สารจากคณาจารย์ การสำ� เรจ็ การศกึ ษาของดษุ ฎบี ณั ฑติ และ มหาบัณฑติ ในครงั้ น้ี นบั เปน็ ชัยชนะครง้ั ยงิ่ ใหญ่ ท่ีเกิดจากความขยันหมั่นเพียรศึกษาเรียนรู้ ด้วยความวริ ยิ ะ อุตสาหะของบณั ฑติ โดยเฉพาะ อย่างย่งิ ในภาวะวกิ ฤติ COVID-19 ท่ีเกดิ ข้ึนนัน้ เป็นสถานการณ์ที่ไม่เอ้ืออ�ำนวยต่อการศึกษาเรียนรู้ ตลอดจนการท�ำสารนิพนธ์และ วิทยานิพนธ์ ส่งผลท�ำให้ท่ีผ่านมาบัณฑิตทุกท่านต่างต้องฝ่าฟันกับปัญหาและอุปสรรค ปัญหาต่างๆ ท่ีเกิดขึ้นมากกว่าปกติ แต่ด้วยความมุมานะ ทุ่มเทแรงกายและแรงใจ ไมย่ อ่ หยอ่ นเสอ่ื มคลายดว้ ยอปุ สรรคใด ๆ จงึ ไดน้ ำ� มาซงึ่ ความสำ� เรจ็ อนั ยงิ่ ใหญข่ องบณั ฑติ นับเปน็ ความภาคภมู ิใจทน่ี ่าจดจำ� อย่างยงิ่ ในอนาคตข้างหน้ายังมีชัยชนะอีกมากมายท่ีรอให้บัณฑิตทุกท่านเดินทางไป ไขว่ขว้า ซึ่งเช่ือว่าความรู้และประสบการณ์ต่าง ๆ ที่บัณฑิตได้รับจากการศึกษาในสาขา บริหารการศึกษา คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จะเป็นเคร่ืองมือส�ำคัญ ที่จะชว่ ยให้บณั ฑติ สามารถเดนิ ทางไปพชิ ิตชยั ชนะอ่นื ๆ ต่อไปไดส้ �ำเร็จอยา่ งแนน่ อน ในโอกาสส�ำคัญน้ี ขอแสดงความช่ืนชมยินดีกับดุษฎีบัณฑิตและมหาบัณฑิตใหม่ ทกุ ทา่ นทส่ี ำ� เรจ็ การศกึ ษา และขออำ� นวยพรใหท้ กุ ทา่ นประสบความสำ� เรจ็ ในชวี ติ กา้ วตอ่ ไป อาจารย์ ดร.พงษล์ ิขติ เพชรผล 44 หนงั สือทร่ี ะลกึ ในโอกาสส�ำเรจ็ การศึกษา ปกี ารศึกษา ๒๕๖๓

สารจากคณาจารย์ ขอแสดงความยนิ ดกี บั บณั ฑติ ประจำ� ปกี ารศกึ ษา 2563 ทกุ ทา่ น เชอื่ วา่ การไดเ้ ปน็ บัณฑิตจากร้ัวจามจุรีย่อมเป็นความส�ำเร็จครั้งใหญ่ครั้งหนึ่งในชีวิตของบัณฑิตทุกท่าน ขอให้ความส�ำเร็จคร้ังนี้ เป็นเพียงก้าวแรก ๆ ของความส�ำเร็จ ท่ีจะน�ำไปสู่ความส�ำเร็จ ทย่ี ิง่ ใหญก่ ว่าเดิมในกา้ วต่อ ๆ ไป ขอใหบ้ ัณฑิตทุกทา่ นประสบความส�ำเรจ็ ตามทต่ี ้ังใจ และ เปน็ ก�ำลงั สำ� คัญของประเทศชาตติ ่อไปค่ะ อาจารย์ ดร.นพิ ชั ชา โรจนร์ ัตนวาณชิ ย์ สาขาวชิ าบริหารการศึกษา ภาควิชานโยบาย การจัดการและความเปน็ ผู้นำ� ทางการศึกษา 45 คณะครศุ าสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลยั

สารจากคณาจารย์ ขอน�ำส่งสาส์นแสดงความยินดี แก่ บัณฑติ ใหม่ 2563 ทกุ คนคะ่ อ า จ า ร ย ์ ข อ ร ่ ว ม แ ส ด ง ค ว า ม ยิ น ดี กั บ บั ณ ฑิ ต ใ ห ม ่ ที่ ส� ำ เ ร็ จ ก า ร ศึ ก ษ า ท้ั ง ร ะ ดั บ มหาบณั ฑติ และดษุ ฎบี ณั ฑติ ทกุ คน ความสำ� เรจ็ นี้ เปน็ เครอ่ื งมอื หนง่ึ ทพี่ สิ จู นถ์ งึ ความพากเพยี รและความมงุ่ มนั่ ของบณั ฑติ ทกุ คน และยงั เปน็ ประตบู านท่สี ำ� คญั ทเ่ี ปิด โอกาสให้กบั บณั ฑติ ได้ออก ไปใชค้ วามรูแ้ ละประสบการณ์ที่ผา่ น มาให้เกิดประโยชนก์ ับระบบการศึกษาของประเทศชาตทิ ีแ่ ท้จริง การกระท�ำได้ ใดตอ่ จากน้ี ขอให้บัณฑิตทุกคนระลึกเสมอว่าเราคือบัณฑิตจากคณะครูศาสตร์ จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลยั ดังนั้นจงใช้ความต้ังใจดีในการพัฒนาการศึกษาพัฒนาการเรียนรู้ให้เกิดข้ึน กับนักเรียนในประเทศไทยอย่างแท้จริง อาจารย์ขอให้บัณฑิตเก็บความภาคฏมิใจในวันนี้ เป็นแรงบันดาล ใจของตัวเองตอ่ ๆ ไปในวนั ข้างหนา้ ขอใหท้ กุ คนมีความสขุ ประสบความ ส�ำเร็จ และมีความกา้ วหนา้ ต่อ ๆ ไปในชวี ิตนะคะ อาจารย์ ดร. อภิรดี จริยารงั ษี โรจน์ 46 หนงั สอื ท่รี ะลกึ ในโอกาสส�ำเร็จการศกึ ษา ปีการศกึ ษา ๒๕๖๓

สารจากนายกสมาคมนสิ ิตเกา่ สาขาวิชาบรหิ ารการศึกษา คณะครศุ าสตร์ ขอแสดงความยินดีกับมหาบัณฑิตและดุษฎี บณั ฑติ ของสาขาวชิ าบรหิ ารการศกึ ษา ภาควชิ านโยบาย การจัดการและความเป็นผู้น�ำทางการศึกษา คณะ ครศุ าสตร์ จฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลัย ทุกท่านทจี่ บการ ศกึ ษาและเขา้ รบั พระราชทานปรญิ ญาบตั รในปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๓ น้ี เม่ือปีการศึกษาท่ีผ่านมา ผมได้เขียนข้อคิดให้ผู้จบการศึกษาในปีที่ผ่านมาว่าสถานะจากนิสิต ปจั จบุ นั เมอ่ื ไมก่ วี่ นั ทผ่ี า่ นมาเปลย่ี นสถานะมาเปน็ “นสิ ติ เกา่ ” อยา่ งรวดเรว็ แบบตง้ั ตวั ไมท่ นั ทเี ดยี ว บทบาท ของนิสิตปัจจุบันกับนิสิตเก่า ผมคิดว่า ต่างกันอยู่ที่บทบาท “การเป็นผู้รับ” กับบทบาท “การเป็นผู้ให้” ชว่ งเปน็ นสิ ติ เราไดร้ บั ความรู้ รบั ประสบการณ์ ไดม้ ติ รภาพ มติ รไมตรี รบั ทกั ษะชวี ติ จากเพอ่ื นนสิ ติ ทกั ษะ วชิ าการจากคณาจารยแ์ ละบริการตา่ ง ๆ ของคณะครุศาสตร์ของเรา ส่ิงสดุ ทา้ ยที่เราไดร้ ับในฐานะนิสติ คอื “ปรญิ ญาบตั ร” หลงั จากนไี้ ป คอื บทบาทของผใู้ หใ้ นสถานะนสิ ติ เกา่ คอื ใหค้ วามกตญั ญรู คู้ ณุ สถาบนั กลบั มาชว่ ยเหลอื เกอ้ื กลู สถาบนั ในรปู แบบตา่ ง ๆ ตามฐานานรุ ปู หนา้ ทสี่ ำ� คญั คอื การนั ตสี ถาบนั เราดว้ ย การเป็นบุคคลที่มี “ภมู ริ ู้ ภมู ธิ รรม ภูมฐิ าน” เปน็ การการนั ตี และกตญั ญูสถาบนั แบบง่ายท่ีสุด ขอ้ ความ ทงั้ หมดยังยนื ยนั ส�ำหรบั ผจู้ บการศกึ ษาในปกี ารศึกษาน้เี ช่นเดมิ ท่ามกลางวิกฤติต่าง ๆ ของโลกและประเทศไทย ขอให้นิสิตที่จบการศึกษาทุกระดับอยู่รอด ปลอดภยั มแี ตค่ วามเจรญิ รงุ่ เรอื ง โดดเดน่ ในวชิ าชพี ของแตล่ ะคน เปน็ นสิ ติ เกา่ ทม่ี คี ณุ ประโยชนต์ อ่ สาขา วชิ าบรหิ ารการศกึ ษา คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลัยและประเทศชาตสิ ืบไป นายพิศณุ ศรีพล นายกสมาคมนสิ ติ เกา่ สาขาวชิ าบรหิ ารการศกึ ษา คณะครุศาสตร์ จฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลยั สาขาวชิ าบรหิ ารการศึกษา ภาควชิ านโยบาย การจดั การและความเปน็ ผู้น�ำทางการศกึ ษา 47 คณะครุศาสตร์ จฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลยั

48 หนังสือทีร่ ะลกึ ในโอกาสส�ำเร็จการศกึ ษา ปกี ารศึกษา ๒๕๖๓


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook