Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore เอกสารประกอบการเรียน งานประดิษฐ์ดอกไม้สด-ใบตอง

เอกสารประกอบการเรียน งานประดิษฐ์ดอกไม้สด-ใบตอง

Published by sopabutjohn33, 2021-09-07 14:51:28

Description: เอกสารประกอบการเรียนการสอนฉบับนี้ใช้ประกอบการเรียนรายวิชางานประดิษฐ์ดอกไม้สด - ใบตอง ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4

Search

Read the Text Version

1

ก คำนำ เอกสารประกอบการเรียนการสอน เร่ืองงานประดิษฐ์ดอกไม้สด-ใบตอง ฉบับน้ีจัดทาข้ึน เพ่ือเป็นคู่มือสาหรับครูผ้สู อน ในกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโนโลยีและนกั เรียน ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 กลุ่มเรียนคหกรรม หรือนักเรียนทั่วไปท่ีมีความสนใจ โดยมีเนื้อหาใน ด้านของ ประวัติ ท่ีมา ความสาคัญ ดอกไม้สด ใบไม้ ใบตอง วัสดุ อุปกรณ์ การเก็บรักษา และ เทคนคิ วธิ กี ารประดิษฐ์ดอกไมส้ ดในแบบตา่ งๆ เอกสารประกอบการเรียนการสอน เร่ืองงานประดิษฐ์ดอกไม้สด-ใบตอง ฉบับน้ีจัดขึ้นเป็น ฉบับท่ี 1 โดยมุ่งเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญได้ศึกษาและทดลองปฏิบัติเพ่ิมเตมิ ได้ด้วยตนเอง ส่งเสริมให้ ผู้เรียนมีความสามารถในการคิด การสื่อสาร การแก้ไขปัญหา และการใช้ทักษะชีวิต ซ่ึงเป็น สมรรถนะท่ีสาคัญของผู้เรียนตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 อันจะทาให้การเรียนรู้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ เอกสารประกอบการเรียนการสอน เรื่องงาน ประดิษฐ์ดอกไม้สด-ใบตอง ฉบับน้ีมุ่งปลูกฝังให้ให้ผู้เรียนมีวินัย มุ่งม่ันในการทางาน ซ่ือสัตย์สุจริต มีจิตสาธารณะ ตามคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พทุ ธศักราช 2551 ผู้จัดทาหวังเป็นอย่างย่ิงว่า เอกสารประกอบการเรียนการสอน เร่ืองงานประดิษฐ์ดอกไม้ สด-ใบตอง ฉบบั น้จี ะเป็นประโยชน์อย่างยิ่งต่อผู้เรียน ผูท้ ส่ี นใจ ตลอดจนครูผู้สอนในกลุ่มสาระการ เรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี หากมีข้อบกพร่องหรือผิดพลาดประการใดผู้จัดทาต้องกราบ ขออภัยมา ณ โอกาสน้ี พรชยั โสภาบตุ ร

ข เล่ำขำน โดยธรรมชาติดอกไม้สด ใบตอง มีความสวยงามและส่วนใหญ่ดอกไม้สดจะมีกล่ินหอม ทาให้ผู้ท่ีได้พบเห็นรู้สึกสดชื่นเบิกบาน และสบายใจ ยิ่งนามาจัดเป็นรูปทรงต่าง ๆ นามาประดิษฐ์ เปน็ ของตดแตง่ บา้ น ใส่ลงในภาชนะ มัดเป็นชอ่ ร้อยเป็นมาลยั การนาใบตองมาใช้ประโยชน์ในการ หอ่ อาหาร ขนมหวาน พับกลีบ ประดิษฐก์ ระทง บายศรีต่าง ๆ กย็ ิง่ มคี วามงดงามมากยงิ่ ขน้ึ ดอกไม้ สด ใบตอง มบี ทบาทท่ีสาคัญมาตัง้ แต่อดตี สมัยกรุงสโุ ขทัยและได้มีการสืบสาน มาจนถึงในปัจจุบัน นี้ เพราะนอกจากจะใช้ประดับตบแต่งสถานท่ี ยังมีประโยชน์ในการนามาใช้ในงานพิธีต่างๆ ตงั้ แต่ การเกนิ จนถงึ วาระสดุท้ายของชีวิต ล่วนมงี านดอกไมส้ ดเข้ามามีสว่ นร่วมเสมอ เช่น ดอกไม้อวยพร วันเกิด ดอกไม้แสดงความยินดี ดอกไม้ให้กาลังใจ ดอกไม้ในงานศพ งานลอยกระทง การขอขมา ผู้ใหญ่ เป็นต้น ในลักษณะนี้ดอกไม้สด ใบตอง จึงเป็นเสมือนส่ือท่ีใช้แทนคาพูดจากผู้ให้ถึงผู้รับเกดิ ความพอใจ หรือเป็นส่ิงท่ีสาคัญในงานพิธีต่างๆ โดยเหตุน้ีจึงทาให้เราเห็นร้านดอกไม้สด ใบตอง และอาชีพจัดดอกไม้เกดิ ขนึ้ มากมาย การประดิษฐ์ดอกไม้สด ใบตอง การจัดดอกไม้สดรูปแบบต่าง ๆ ได้เองย่อมเสียค่าใช้จ่าย น้อยกว่าไปซ้ือ นอกจากน้ีผู้จัดหรือผู้ประดิษฐ์ดอกไม้สด ใบตอง ยังได้ความเพลิดเพลินและความ ภูมิใจในผลงานของตนเอง ผู้ประดิษฐ์ดอกไมส้ ด ใบตอง หรือผู้จัดดอกไม้เป็นนอกจากจะจัดเพือ่ ใช้ เองในครอบครวั แลว้ ยงั เปน็ การประหยัดค่าใช้จา่ ยและยงั สามารถประกอบเป็นอาชพี ไดด้ ว้ ย อยา่ งไรกต็ ามก่อนทผี่ ้ทู ่สี นใจจะเรยี นรเู้ รื่องงานประดษิ ฐด์ อกไม้สด ใบตอง หรืองานจัดดอก ไม่ให้สวยงามน้ัน ผู้สนใจจะต้องทราบทฤษฎีพ้ืนฐานของการจัดดอกไม้เสียก่อนว่ามีอะไรบ้าง ผู้จดั ทาจึงได้จดั ทาเอกสารฉบนั นขี้ ้นึ เพ่ือจะไดน้ าความรู้นไ้ี ปฝึกหดั จนเกิดความชานาญช้ันต่อไป (นายพรชยั โสภาบตุ ร) ครู กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชพี และเทคโนโลยี โรงเรยี นไชยฉิมพลีวิทยาคม ผู้จัดทา

ผจู้ ดั ทา ค สำรบัญ หน้ำ เร่อื ง ก ข คานา ค เล่าขาน 1 สารบญั 2 ประวตั ิ ทมี่ า งานดอกไม้สด – ใบตอง 4 งานดอกไมส้ ด-ใบตอง สมัยสุโขทยั สมัยอยธุ ยา และสมยั กรุงรัตนโกสินทร์ 5 วสั ดแุ ละอปุ กรณ์ท่ใี ช้ในงานดอกไม้สด – ใบตอง 12 ดอกไมแ้ ละใบไม้ท่ีใช้ในงานดอกไมส้ ด-ใบตอง 14 การเลอื กเเละการดูแลรักษาดอกไม้ ใบไม้ 16 ความสาคัญของงานดอกไมส้ ด 19 งานอบุ ะดอกไมส้ ด 21 ความสาคญั ของงานใบตอง 23 ส่วนประกอบของบายศรีปากชาม 25 การเตรียมและการเก็บรักษาวัสดุและอปุ กรณ์งานใบตอง 27 องคป์ ระกอบศิลป์ กับงานประดิษฐ์ดอกไม้สด-ใบตอง 30 หลักการใช้สี ในงานประดษิ ฐ์ดอกไม้สด-ใบตอง 32 การคิดคานวณต้นทุน กาหนดราคาขาย และจัดจาหนา่ ยงานประดิษฐด์ อกไม้สด – ใตอง 32 ขน้ั ตอน วิธีการประดษิ ฐด์ อกไม้สด – ใบตอง 34 36 วธิ ีการมดั ดอกขา่ 38 วธิ กี ารรอ้ ยมาลยั ต้มุ 40 วธิ กี ารร้อยมาลยั ซกี 42 วธิ กี ารเย็บแบบกลบี ดอกบวั 43 วธิ ีการการประดิษฐ์พานพุ่มสักการะ (ดอกไมส้ ด) 44 วธิ ีการห่อทรงสูง 45 วธิ ีการหอ่ ขนมเทียน 46 วธิ ีการห่อขา้ วต้มมัด 47 วธิ ีการประดิษฐ์กระทงสองมุมท้องแบน 48 วธิ ีการประดษิ ฐ์กระทงส่มี ุม 49 วธิ ีการพับกลีบผกา 50 วธิ ีการพับกลบี กหุ ลาบ วธิ ีการพับกลบี บานบรุ ี วธิ ีการพบั กลบี เล็บมือนางซอ้ น

วธิ ีการพับกลีบโพธิแ์ กว้ ง วธิ ีการประดิษฐบ์ ายศรปี ากชาม แหลง่ ขอ้ มลู 51 ประวตั ผิ ู้จดั ทา 52 59 60

1 ประวัติ ทีม่ ำ งำนดอกไม้สด – ใบตอง บรรพบุรุษของเราแต่โบราณได้คิดนาใบตองใบไม้มาห่อขนมทาอาหารต่างๆ ใช้ในชีวิตประจาวัน ตลอดจนคดิ ประดดิ ประดอยให้มีรปู ร่างรปู ทรงสวยงามข้ึน ยิ่งในงานพธิ ตี ามประเพณีไทย เช่น การทาบญุ ต่างๆ แล้วยงิ่ ทาพถิ ีพถิ นั แสดงฝีมืออวดกันให้นา่ ช่ืนชมยินดเี ป็นการยากที่จะตอบคาถามที่วา่ งานใบตองมีมาแต่สมัยใด ใครเป็นผู้ริเร่ิม และสืบทอดมรดกทางวัฒนธรรมแขนงนี้แม้แต่ศาสตราจารย์พระยาอนุมานราชธนผู้รอบรู้ ทางด้านศิลปะประเพณไี ทยและสากล ทา่ นยังมิอาจจะบอกแน่ชัดลงไปว่าเกดิ ขน้ึ เม่ือใด ใครคดิ ใครสอนต่อๆมา เพยี งแตอ่ ้างหลักฐานที่ปรากฏในพระราชนิพนธเ์ ร่ือง พระราชพิธี 12 เดือน ตอนที่วา่ ด้วย ลอยประทีปกล่าวว่า “การลอยพระประทีป ลอยกระทงนี้เป็นงานนกั ขตั ฤกษท์ รี่ ื่นเรงิ ของชนทวั่ ไปทงั้ ปวง ไม่เฉพาะเปน็ การหลวง แต่ จะนับเป้นพระราชพิธีอย่างใดก็ไม่ได้ด้วย ไม่ได้มีพิธีสงฆ์พิธีพราหมณ์อันใดเก่ียวข้องกัน เน่ืองในการลอยพระ ประทีปน้ันเว้นแต่จะเข้าใจตรงกันว่าตรงกับคาว่าลอยโคมลงํน้า แต่ควรนับว่าเป็นประเพณีซึ่งมีมาในแผ่นดิน สยาม งานดอกไม้ใบตองได้มีกาเนิดขึ้นภายในพระบรมมหาราชวังต่อมาจึงได้ถูกนาออกมาเผยแพร่ในหมู่ ประชาชนโดยเสนาบดีผู้ใหญ่ท่ีประสงค์จะให้ลูกหลานมีศิลปวิทยาจรยามารยาท จึงนาตัวลูกหลานเข้าไปมอบ ให้เจ้านายฝ่ายในฝกึ อบรม สุดแต่จะคุ้นเคยกับพระองค์ใด เมื่อมีความรู้ความชานาญก็ขอทูลลานาตัวลูกหลาน ออกมาอยู่บ้าน มีเหย้ามีเรือน เมื่อบ้านใดมีงานใด เช่นงานมงคลสมรส งานอุปสมบทโกนจุก ทาบุญอายุหรือ งานศพต่างๆ ก็ได้โอกาสแสดงฝีมืออวดกัน วัฒนธรรมต่างๆ จึงได้เผยแพร่ออกมาสู่ประชาชนอีกต่อหนึ่ง ปัจจุบันนี้คณะรัฐบาลและสานักวัฒนธรรมแห่งชาติได้ตระหนักถึงความสาคัญของวัฒนธรรมไทยทุ กแขนง ไ ด้ ก า ห น ด เ ป็ น แ น วน โ ย บ าย แ ละ อ ยู่ ใ น แผ น ก าร ศึ ก ษ า แ ห่ง ช า ติ ที่ จะ มุ่ ง ห วัง ใ ห้เ ยา ว ช นไ ด้ ภ าค ภู มิ ใจใน ศิลปวัฒนธรรมของชาติ ซ่งึ งานใบตองก็เป็นเอกลกั ษณ์อนั นา่ ภาคภูมยิ ่ิง ในอดีต ท่ีผ่านมา มนุษย์เราพยายามที่จะเรียนรู้ท่ีจะดารงชีวิตอยู่ท่ามกลางธรรมชาติ โดยเน้นความ กลมกลืนในรูปแบบของการพึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกัน รู้จักการหาวัสดุธรรมชาติมาปรุงแต่งชีวิต ความเป็นอยู่ ภายใตก้ รอบของการรับและ การให้อยา่ งเหมาะสม สง่ิ ของเครอื่ งใช้ตา่ งๆ ซึ่งมนษุ ย์ได้ดัดแปลงมาจากธรรมชาติ ล้วน แล้วแต่จะมีการนาไปใช้ให้เหมาะสม และมีความสมดุลกับธรรมชาติ เม่ือมนุษย์เราได้คิด นาใบตอง ใบไม้ ต่างๆมาใช้ห่อขนมและอาหารต่างๆเพื่อใช้ในชีวิตประจาวัน ตลอดจนการคิดประดิษฐ์ช้ินงานให้มีรูปร่าง รปู ทรงสวยงามและประณีตย่ิงขน้ึ ศลิ ปะงานใบตองเร่ิมมมี าตงั้ แต่สมยั ใดไมป่ รากฏหลักฐานที่แนช่ ัด มีใชเ้ ฉพาะ เป็นส่วนประกอบของงานดอกไม้ และใช้เป็นภาชนะ ใส่ขนม และใส่อาหารเท่าน้ัน ในส่วนของวัฒนธรรม งานฝีมือต่างๆ ท่ีบ่งบอกถึงความเป็นเอกลักษณ์ไทย ต้องยอมรับว่าบรรพบุรุษของเราช่างคิดช่างประดิษฐ์ ผลงานอันสวยงามและ ทรงคุณค่าเอาไว้ให้เยาวชนรุ่นหลังได้เห็นและเรียนรู้กันผลงานเหล่าน้ัน เพ่ือช่ว ยกัน พัฒนาฝีมือให้คงอยู่สบื ไปการนาวสั ดุในธรรมชาติมาใช้ เช่น งานการแกะสลักจากไม้ ผักและผลไม้ งานจักสาน หรืองานประดิษฐ์ดอกไม้ ใบตองท่ีมีอยู่อย่างเพียงพอมาแปรเปลี่ยนเป็นงานศิลป์ อันสุนทรีย์ คงช่วยให้วัสดุ เหล่าน้นั ไมส่ ูญสลายหายไป

2 งำนดอกไม้สด-ใบตอง สมยั สโุ ขทัย สมัยอยธุ ยำ และสมัยกรงุ รตั นโกสินทร์ สมยั สุโขทัย ในสมัยสุโขทัย คนไทยรู้จักนาใบตองหรือใบไม้มาห่ออาหารหรือส่ิงของต่างๆ ใช้ใน ชีวิตประจาวัน ตลอดจนคิดประดิษฐ์ให้มีรูปร่างหรือรูปทรงสวยงาม มาต้ังแต่สมัยโบราณ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ในงานพิธีตามประเพณีไทยต่างๆ เช่น การทาบุญในวันสาคัญ ย่ิงมีวิธีการทาที่พิถีพิถันและสวยงามมากท่ีสุด เทา่ ที่จะทาได้อนั เปน็ การแสดงฝมี ืออวดกันใหน้ ่าชื่นชมยินดเี ป็นการหายากท่จี ะบอกวา่ งานประดษิ ฐ์ใบตองมีมา ตั้งแต่สมัยใด ใครเป็นผู้ริเร่ิม และสืบทอดมรดกทางวัฒนธรรมแขนงนี้แต่ปรากฏเป็นหลักฐานในสมัย สโุ ขทยั จากหนังสือเร่ืองตารบั ท้าวศรีจุฬาลักษณ์หรือนางนพมาศว่า ได้มกี ารจัดตกแตง่ ดอกไมเ้ ป็นที่แพร่หลาย ในสมัยน้นั ครง้ั นางนพมาศได้ถวายตัวเข้าเป็นสนมของสมเด็จพระรว่ งเจ้าเมื่อวนั ท่ี 4 พฤศจกิ ายน พุทธศักราช 1907 และได้ประดิษฐ์โคมลอยน้าเป็นรูปดอกบัวตกแต่งด้วยดอกไม้ประดิษฐ์ ผลไม้แกะสลัก ธูปเทียนและ โคมไฟ เม่ือสมเด็จพระร่วงเจ้าทอดพระเนตรเห็นก็ทรงชมว่างามประหลาด เม่ือสอบสวนว่าเป็นฝีมือใครจึงได้ บัญญัติแบบฉบับการทาโคมรูปดอกบัวในวันเพ็ญเดือน 12 ขึ้น ต่อมาได้มีการประดิษฐ์คิดค้น ดัดแปลง แก้ไข กระทงลอย ซ่ึงเย็บด้วยใบตองขึ้นมาในรูปที่แตกต่างกันมากมายหลายชนิด ดังที่ปรากฏให้เห็นในปัจจุบันด้วย หลักฐานนี้ แสดงใหเ้ ห็นชัดวา่ บรรพบุรุษของเรามศี ลิ ปะในการประดษิ ฐ์ดอกไม้ ใบไม้ ผลไม้ และวสั ดุตา่ งๆ มา ก่อนกรุงสุโขทัยเป็นราชธานี แต่ไม่มีผู้ใดเขียนไว้เป็นหลักฐานให้อนุชนรุ่นหลังได้ค้นคว้า งานใบตองเป็นงานท่ี แสดงให้เห็นถึงความคิดสร้างสรรค์ทางดา้ นศลิ ปะอันน่าภาคภูมิใจของบรรพบุรุษ ศิลปะในการประดิษฐด์ อกไม้ ใบไม้ ผลไม้ และวัสดตุ า่ งๆ มากอ่ นกรุงสโุ ขทยั เป็นราชธานี แต่ไมม่ ีผู้ใดเขยี นไวเ้ ปน็ หลักฐานให้อนชุ นรุน่ หลังได้ คน้ คว้า งานใบตองเปน็ งานท่ีแสดงให้เห็นถึงความคิดสร้างสรรค์ทางดา้ นศิลปะอันน่าภาคภูมิใจของบรรพบุรุษ แตโ่ บราณสะทอ้ นใหเ้ หน็ วัฒนธรรมทางดา้ นจิตใจ สมยั อยุธยา ในสมยั อยุธยา ตามหลกั ฐานที่ไดศ้ ึกษาคน้ คว้า ในหนังสอื พระราชพธิ ีสิบสองเดือนพระบาทสมเด็จพระ จุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงพระนิพนธ์ไว้ เมื่อปีชวด พ.ศ.2431 ได้ทรงบันทึกเหตุการณ์ที่เกิดข้ึนในสมัยกรุง สุโขทัย ได้กล่าว ถึงนางนพมาศ หรือท้าวศรีจุฬาลักษณ์ ได้ตกแต่งโคมลอย เพ่ือใช้ในพิธีสิบสองเดือนและพระ ราชพธิ กี ารลอยพระประทปี ซึง่ ได้ ประดบั ตกแต่งดว้ ยดอกไมส้ ด ผลไมแ้ กะสลัก มาประดบั ตกแต่งโคมลอยให้มี ความสวยงามย่งิ และได้ทรงกล่าวไวว้ ่า ท้าวศรจี ุฬาลกั ษณ์ ซ่งึ เปน็ พระสนมเอกแต่ครั้งพระเจ้าอรุณมหาราช คือ พระร่วงเจ้าเป็นพระเจ้าแผ่นดินสยามต้ังแต่อยู่ ณ เมืองสุโขทัย ในพระราชนิพนธ์ได้กล่าววา่ นางนพมาศได้เข้า รับราชการได้คิดอ่านทากระทงดอกไม้พระเจ้าแผ่นดิน ประดิษฐ์เป็นรูปดอกบัวจากหลักฐานอ้างอิงได้กล่าวมา น่าจะเป็นหลักฐานที่เช่ือถือได้ว่า นางนพมาศหรือท้าวศรีจุฬาลักษณ์ เป็นสตรีไทยท่านแรกที่เป็นผู้ริเร่ิมนาเอา ดอกไม้สดมาใช้ในพิธีการตัง้ แต่กรงุ สโุ ขทัยเป็นครั้งแรก และได้สืบทอดกันมาจนถึงปัจจบุ ันน้ีข้อความในประวัติ การร้อยลัย (จันทนา สุวรรณมาลี, 2529) ได้เขียนไว้ในหนังสอื ตอนหนึ่งว่า “บรรพบุรุษของไทยเรามีช่อื สียงใน

3 งานด้านศิลป์อย่างมากมาย โดยเฉพาะการนาดอกไม้สดมาประดิษฐ์เป็นพวงดอกไม้และนามาประดิษฐ์ตกแต่ง โคมลอย ได้สวยงามของนางนพมาศแล้ว” ยงั มีหลกั ฐานได้กล่าวไว้ตอนหนงึ่ ว่า“ในเดือนเมษายน มีพระราชพิธี สนามใหญ่ บรรดาเจ้าเมือง เศรษฐี คหบดี เข้าเฝา้ บังคมพระรว่ งเจ้า เพ่อื ถวายเปน็ เครื่องบรรณาการ พระสนม กานัลต่างๆ ก็ร้อยกรองดอกไม้เป็นรูปสัตว์ต่างๆ และในคร้ังนั้นนางนพมาศก็ร้อยดอกไม้สีเหลืองเป็นรูปพาน ทองสองชนั้ เป็นระย้าสองช้นั งดงามใสล่ งในพานขันหมากเมี่ยงแลว้ ร้อยดอกไม้เป็นตาข่ายคลมุ ขันอีกชน้ั หนึ่ง ดู เป็นที่เจริญตาและถูกฤดูกาลเทศะอีก สมเด็จพระร่วงเจ้าทรงบัญญัติว่า ถ้าชาวไทยทาการรับสนามใหญ่ มี อาหารหรือสิง่ มงคล เป็นตน้ ในการกรองดอกไม้เป็นรูปพานขันหมาก ดังนเ้ี รียกวา่ พานขันหมาก” สมัยกรุงรัตนโกสินทร์ ในสมัยรัตนโกสินทร์เร่ิมต้นรัชกาลสืบมา งานฝีมือด้านประดิษฐ์ดอกไม้สดเป็นท่ียอมรับในฝีมือและมี ช่ือเสียงมาก เป็นที่นิยมประดิษฐ์ จัดดอกไม้สดในงานต่างๆ ทั่วไป โดยเฉพาะในพระราชพิธีต่างๆ ในสมัย รัชกาลท่ี 5 ทรงมีพระราชนิยมการทาดอกไม้มากมาย จัดดอกไม้มากมาย จัดถวายให้ทรงใช้ในงานนั้นๆ เสมอ พระมเหสีเทวีทุกตาหนัก ใฝ่พระทัยในการจัดดอกไม้ไปตามๆกัน แต่ละพระองค์ต่างก็มีชื่อเสียงในด้านต่างๆ ตามๆกัน สมเด็จพระศรีพัชรินทรา พระบรมราชินีนาถ (พระพันปีหลวง) คร้ังดารงพระอิสริยยศเป็น พระบรมราชินีนาถ ได้โปรดเกล้าฯให้ฝึกอบรมข้าหลวงและครูโรงเรียนราชินีให้รู้จกั ทาดอกไม้แห้งแทนดอกไม้ สดด้วย ทรงส่งเสริมฟ้ืนฟูการทาดอกไม้เป็นอันมาก พระองค์เองก็ใช้เวลาว่างประดิษฐ์ดัดแปลงการทาดอกไม้ แบบเก่าๆ ให้แปลกพิสดารไปอีกมีพระนามเล่ืองลือในการร้อยมาลัยมะลิเป็นมาลัยสีขาวกลม ซึ่งเป็นมาลัย ธรรมดาไม่มีลวดลายและต่อมาได้พลิกแพลงมาเป็นมาลัยสลับสีเป็นมาลัยเกลียว ซ่ึงมีความสวยงามและเป็น ลวดลายสีสันขึ้น หนังสือชุดมรดกไทย “สัญลักษณ์วันแม่ ชื่อมะลิ” (มณีรัตน์ จันทนะผะลิน, 2526)ได้เขียน ประวัติและทม่ี าได้นามาเป็นข้ออ้างอิงโดยได้กลา่ วถงึ ประวตั ิเริม่ ตน้ ของคนไทย ทรี่ ้จู กั การนาดอกไมม้ าร้อยเป็น พวงมาลัยไว้ตอนหนึง่ ในหนังสือ พระราชพธิ ีสบิ สองเดือน ดงั นี้ “แต่โบราณสมยั กอ่ นกรงุ สโุ ขทยั บรรพบรุ ุษของ ไทยได้คิดประดิษฐ์ ใบไม้ เป็นแบบต่างๆ มากมายแต่ไม่ผู้ใดจดบันทึกไว้ในอนุชนรุ่นหลังได้ค้นคว้า จนถึงสมัย สมเด็จพระร่วงเจ้ามีนางนพมาศซึ่งเป็นพระสนมเอกในสมัยน้ัน ได้จดบันทึกเรื่องราวของตนเองไว้ นางเองเป็น หญิงนักปราชญ์ มีความรอบรู้ในพิธีการต่างๆ งานประดิษฐ์ งานฝีมือและอ่ืนๆ ตลอดจนมีความรู้ทางหนังสือ ด้วยความปรีชาสามารถของนางนพมาศ เราจึงได้มีโอกาสทราบว่า การจัดดอกไม้ของไทยมีจุดเร่ิมต้นแต่สมัย นั้นเป็นต้นมา”

4 วัสดแุ ละอปุ กรณท์ ่ีใช้ในงำนดอกไม้สด - ใบตอง งานประดษิ ฐ์ดอกไมส้ ด - ใบตอง เป็นงานประณีตใช้ฝีมือและทักษะความชานาญของ ผูท้ า สงิ่ หน่งึ ทมี่ ีสว่ นช่วย ให้งานออกมาดีคือ ดอกไม้ ใบตอง ซึ่งเป็นวัสดุหลัก ดอกไม้ ใบตองมีหลายชนิดแต่ที่มีคุณสมบัติเหมาะสมใน การประดิษฐ์ท่ีสุดคือ ใบตองจากกล้วยตานี สาหรับอุปกรณ์ในการเย็บ ใบตองแต่ละคร้ังต้องเตรียมไว้ให้พรอ้ ม จะทาให้การทางานเร็วและราบร่ืน ฉะน้ันในการเลือกวัสดุอุปกรณ์ที่เหมาะสมย่อมช่วยให้การทางานสะดวก และมปี ระสทิ ธิภาพ ดังนี้ 1. กรรไกร ขนาดและรปู ร่างเหมาะมือ นา้ หนักเบาและคมตลอดปลาย เวลาจับน้วิ ทง้ั หมดเขา้ ช่องได้ พอดี ตัดใบตองใชข้ นาดใหญ่ ถ้าตดั ด้ายใชข้ นาดเล็ก 2. เขม็ มอื ถ้างานละเอียดชน้ิ เลก็ มากใชเ้ บอร์ 9 ถ้างานปกติใชเ้ บอร์ 8 เลือกที่แข็งแรง รกู วา้ งและตวั ยาว 3. เขม็ หมุด ชนิดหวั มุกใช้เล็กน้อยในบางครั้ง ใชก้ ลัด หรือตรงึ ใหอ้ ยู่กบั ท่ชี ่วั คราว ชนดิ หัวเล็กใชบ้ ่อย ตอ้ งเลอื กตวั ยาวและปลายแหลม ซ้อื กล่องใหญ่ราคาถูกดีกว่ากล่องเล็ก 4. ไมก้ ลดั ขนาดเล็กแหลมแขง็ แรง ใช้ไมต้ ดิ ผวิ หรอื ใกล้ผวิ 5. ด้าย สเี ขียวเข้มหรือสดี าเบอร์ 60 ใชส้ องเส้นดีกวา่ เส้นเดียว เพราะใช้เส้นเดยี วจะมีความคมตดั ใบตองใหข้ าดงา่ ยกว่าเส้นคู่ 6. ผ้าขาวบาง สาหรบั หอ่ ใบตองท่ีฉีกแลว้ หรอื ห่อผลงานท่ีแชน่ ้าพอแลว้ ใชผ้ า้ สาลูทบ 2 ช้ัน เย็บรมิ คลา้ ยผา้ ออ้ ม 7. ผา้ เช็ดใบตอง ใชผ้ า้ ฝ้ายดีกวา่ ผา้ ผสมใยสังเคราะห์ เพราะนุ่มและดูดซึมไดด้ ีกวา่ 8. ยางลบอย่างแขง็ ยางลบเนือ้ แข็งๆ ใชส้ าหรบั กดเข็มหมุดแทนนิ้วมือ นุ่มและไม่เลื่อนหลดุ เวลากด 9. ไม้บรรทดั เลือกทเ่ี ห็นเส้นและตวั เลขชัดเจน 10. นอกจากนี้ บางคร้งั ยงั ต้องใชค้ มี ปากคบี ลวด กรรไกรตดั ลวด มดี คัทเตอร์ วงเวยี น เขียง ถาด กะละมงั ที่ฉีดนา้ และภาชนะตา่ งๆ ตามแต่ความจาเป็นของแต่ละเรื่อง ควรจะเลือกให้ดีพอเหมาะท้งั ขนาดและ คุณสมบัติท่ีตอ้ งการ

5 ดอกไมแ้ ละใบไม้ที่ใช้ในงำนดอกไม้สด-ใบตอง ดอกไม้ใบไม้ท่ีใช้ในงานประดิษฐ์ดอกไมส้ ด-ใบตอง หมายถึง ดอกไม้ ใบไม้ที่สามารถนามาร้อยกรองดอกข่า ร้อยอุบะ ร้อยมาลัย เย็บแบบ ร้อยตาข่ายได้ ควรเป็นดอกไม้ที่มีอยู่ตามฤดูกาลและมีอยู่ในท้องถิ่น ราคาไม่แพง มีคุณภาพดี เลือกให้เหมาะกับโอกาสใช้งาน การเลือกดอกไม้และใบไม้สาหรับงานประดิษฐ์ที่ใช้ความประณีตใน การพบั การจบี การเรียงอย่างเหมาะสมลงตวั ต้องเลอื กใช้ดอกไม้ใบไมท้ ีใ่ หมส่ ด งานที่ไดจ้ ึงจะมีคณุ ภาพดี ดอกไมท้ ี่ใชใ้ นงานดอกไมส้ ด มีดังน้ี 1. ดอกกุหลาบมอญ เป็นกุหลาบพื้นเมืองของไทยประเภทไม้พุ่มผลัดใบ ลาต้นตรง กิ่งก้าน มีหนาม ควรปลูกในท่ีแจ้ง ใบสีเขียวเข้มเป็นมันขอบใบเป็นจักละเอียด ดอกมีลักษณะกลมกลีบดอกซ้อนกัน หลายชนั้ ขยายพันธ์โุ ดยตอนกิ่ง ดอกใชร้ ้อยมาลัย เย็บแบบ มดั ดอกข่า 2. ดอกรัก เป็นไม้พุ่มขนาดเล็ก สูง 1.5-3 เมตร ทุกส่วนมีน้ายางขาวเหมือนน้านม ตามก่ิง มีขน ใบเป็นใบรูปรีเน้ือใบหนา ใต้ใบมีขนนุ่ม ก้านส้ัน ดอกมีสีขาวและสีม่วงออกเป็นช่อตามซอกใบหรือปลาย กิง่ กลบี เลี้ยง 5 กลีบโคนเชื่อมต่อกนั ขยายพนั ธุ์โดยการปกั ชา ดอกใชร้ อ้ ยอบุ ะ เย็บแบบ ร้อยเฟ่อื ง

6 3. ดอกพุด เป็นไม้พุ่มหรือไม้ขนาดเล็ก สูง 2-6 เมตร ทุกส่วนมีน้ายางสีขาว ใบสีเขียวเป็นมัน ด้านท้องใบสีอ่อนกว่า ดอกสีขาวออกเป็นช่อแยกแขนงเชิงหล่ันตามซอกใบ ใช้ดอกร้อยมาลัย ร้อยเฟ่ือง รอ้ ยอบุ ะ 4. ดอกกล้วยไม้ เป็นพืชท่ีมีรากกึ่งอากาศ 1 ดอกประกอบด้วยกลีบ 6 กลีบ กลีบช้ันนอก 3 กลีบ กลีบ ชั้นใน 2 กลีบ และกระเปาะ 1 กลบี 5. ดอกบานไม่รู้โรย ลาต้นแตกกิ่งก้านเป็นพุ่มสูง 15-16 ซม. ใบออกตรงข้าม รูปใบหอก ปลายแหลม มีใบ 1 คู่รองรับช่อดอก ช่อดอกออกตามซอกใบปลายก่ิง เป็นช่อกระจุกกลม มีหลายสีเช่น สีขาว ชมพู แดง ม่วง สสี ม้ ตรงกลางมีเกสรเพศผ้แู ทรกอยู่ ใช้ดอกรอ้ ยมาลัย ตุม้ อุบะ

7 6. ดอกมะลิ เป็นไม้พุ่มก่ึงเลื้อย เจริญเป็นพุ่มสูง 1-2 เมตร ประเภทใบเดี่ยว ปลายใบแหลม สี เขียว ออกดอกเดี่ยวหรือเป็นกระจุก 1-3 ดอกตามปลายก่ิง มีทั้งดอกช้ันเดียวและดอกซ้อน กลีบดอกสีขาว มีกล่ิน หอม ออกดอกตลอดปี ดอกดกในช่วงฤดูร้อน และมีหลายพันธ์ุ คือ มะลิลา มะลิซ้อน มะลิฉัตร นิยมใช้ในงานดอก ไม้สด คือ มะลิลา โดยใช้รอ้ ยมาลยั เยบ็ แบบ กรองดอกขา่ 7. ดอกดาวเรือง ลกั ษณะดอกมสี เี หลือง เหลอื งทอง และสม้ ออกดอกเปน็ ช่อแบบช่อกระชุก เดยี่ วทปี่ ลายกิ่ง ดอกวงนอกเป็นรูปรางนา้ ซ้อนกันแน่น โคนกลบี ดอกเป็นหลอดเล็ก ปลายแผ่เปน็ รูปไข่ ดอกวง ในกลบี ดอกเป็นหลอดสเี หลอื งปลายจกั เป็นซ่ี ใชด้ อกในการเยบ็ แบบ ต้มุ อุบะ ดอกข่า 8. ดอกบัวหลวง ลาต้นมีทั้งที่เป็นเหง้าใต้ดินและเป็นไหลเหนือดิน ขอบใบเรียบเป็นคลื่น เล็กน้อย ใบสีเขียวมีนวลเคลือบ ก้านใบกลมเรียวแข็ง มีหนามเป็นตุ่มเล็ก ภายในก้านใบมีน้ายางใส ดอกสี ชมพู ขาว มกี ลน่ิ หอม ออกดอกเปน็ ดอกเดีย่ ว กา้ นดอกสีเขียวมที ัง้ กลบี ดอกชนั้ เดียวและกลบี ดอกซ้อน ดอกบัว หลวงมีหลายพันธ์ุและมชี ่ือเรยี กตา่ งกันไปตามขนาด ลักษณะดอก ได้แก่ ดอกสขี าว เรยี ก บณุ ฑริก ดอกสีชมพู เรียก ปทุม ปัทมา ดอกสั้นป้อมสีขาวกลีบซ้อน เรียก สัตตบุษย์ บัวฉัตรขาว ดอกส้ันป้อมสีชมพูกลีบซ้อน เรียก สตั ตบงกช บวั ฉัตรชมพู

8 9. ดอกเขม็ เป็นตน้ ไม้พมุ่ เตี้ย ลาตน้ และกิ่งก้านสีน้าตาลแดงเปน็ ข้อถี่ ใบเดี่ยวรปู รีถึงรูปขอบ ขนานปลายมน ขอบเรียบสีเขียวเข้มเป็นมัน ช่อดอกปลายก่ิงเป็นชอ่ กระจกุ เรียงกันแบบชอ่ เชิงหลั่น โคนกลีบ เป็นหลอดเล็ก ปลายแยกเป็น 4 แฉก มีช่ือเรียกเป็นพันธุ์ต่าง ๆ เช่น เข็มเชียงใหม่ดอกสีแดงถึงอมส้ม เข็ม พิษณุโลกดอกสีชมพูและสีขาว เข็มซีลอนดอกสีเหลือง เป็นต้น ออกดอกตลอดปี ขยายพันธ์ุโดยการปักชา ใช้ ดอกในการทาดอกข่า เย็บแบบ ร้อยอุบะ 10. ดอกผกากรอง เป็นไม้พุ่ม กิ่งเลื้อยสูง 1-2 ม. มีกล่ิน ใบรูปไข่และมีขน ขอบหยักมนหรือ หยักซ่ีฟัน ช่อดอกแบบกระจุกออกท่ีปลายกิ่ง ดอกมีหลายสีแตกต่างกันตามพันธุ์ เช่น สีขาว เหลือง ส้ม ชมพู ม่วงอมชมพู หรือมีสองสีในช่อเดียวกัน ชอบแสงแดดจัด ไม่ทนน้าขังแฉะ ขยายพันธุ์โดยการปักชาหรือตอนก่ิง ดอกตมู ใชเ้ ปน็ ส่วนประกอบในงานร้อยมาลยั 11. ดอกเล็บมือนาง มีถ่นิ กาเนดิ ในเอเชยี เขตร้อน เปน็ ไมเ้ ล้ือยเนอ้ื แขง็ กิ่งแก่มีหนาม ใบ เด่ียวออกดอกตรงข้ามรูปรี ปลายแหลมถึงเรียวแหลม ช่อดอกห้อยลง มีดอกย่อย 10-20 ดอก กลีบเลี้ยงสี เขียวอ่อน โคนกลีบเป็นหลอดเล็กยาว กลีบดอกสีขาวแล้วเปลี่ยนเป็นสีชมพแู ละแดง 5 กลีบ มกี ลิ่นหอม แรง ขยายพนั ธุโ์ ดยการปักชาหรือตอนกิ่ง ใช้ดอกในการรอ้ ยมาลัย

9 12. ดอกบานบุรี เปน็ ไม้พุ่มก่ึงเล้อื ยขนาดกลาง โตเรว็ ใบเดี่ยวออกรอบข้อ 3-4 ใ บ แผ่นใบมี สีเขียวสดเป็นมัน ใต้ใบมีขนนุ่ม ออกดอกเป็นช่อตามซอกใบและปลายก่ิง กลีบเล้ียงมี 5 กลีบ โคนกลีบเช่ือม ตดิ กันเป็นหลอด ปลายแยก 5 กลีบ รูปกลมซ้อนเกยกนั เลก็ น้อย มี 2 สี คือ สเี หลือง สีม่วง ขยายพนั ธุโ์ ดยการปัก ชา ใชด้ อกในการร้อยมาลยั และเย็บแบบ 13. ดอกชบาร่ม ชบาหนู ชบาหลอด เปน็ ไมพ้ ุ่มสูง 2-3 เมตร ไมผ่ ลัดใบ ใบมลี ักษณะรปู ไข่ หยกั เว้าเป็น 3 แฉก ใบไม้มขี นนุ่ม ดอกเดยี่ ว ดอกบานเตม็ ท่ีจะคล่ีกลบี เพียงเล็กนอ้ ยคลา้ ยรม่ กาลงั หุบ แต่ละ กลบี จะซ้อนเกยกนั ไมบ่ านแผ่ออก มีสีแดงหรือสชี มพูออ่ น ยอดเกสรเพศเมียสีแดง แยกเป็น 10 แฉก ออกดอก ดก ดอกใช้ทาตมุ้ อบุ ะ กลบี เล้ียงเป็นหมวกในการร้อยอุบะ

10 ใบไม้ที่ใชใ้ นงานดอกไมส้ ด มดี ังน้ี 1. ต้นแก้ว เป็นต้นไม้ขนาดเล็ก ไม่ผลัดใบ เปลือกต้นสีขาวเทาแตกเป็นร่องตามยาว ใบรปู รีถึงรปู ไข่ กลีบสีเขยี วเป็นมัน ปลายแหลม ออกดอกสีขาว 5 กลีบ ปลายกลีบมน เมอื่ ดอกบานกลีบดอกจะม้วย ออก ร่วงงา่ ย กลน่ิ หอม ผลรปู รหี รือรปู ไข่ เมื่อแก่มสี ีส้มแดง ขยายพนั ธ์ุดว้ ยเมล็ด ถ้าขยายพนั ธ์ุด้วยการตอนก่ิง จะขยายพันธ์เุ ปน็ พุ่ม ใช้ใบในงานรอ้ ยมาลัย เยบ็ แบบ ดอกข่า 2. กระบือ หรอื ลิน้ กระบอื หรอื กาลงั กระบือ หรอื กระบือเจ็ดตัว เป็นไมพ้ ุ่มสงู 1-2 เมตร ทรง พุ่มแน่น ใบรูปรีถึงรูปรียาวปลายแหลม ขอบใบจักละเอียด ด้านบนสีเขียวเข้มเป็นมัน ใต้ใบสีแดง ขยายพนั ธ์ุ ด้วยเมล็ดหรอื ตอนก่ิง ชอบแสงราไร ใช้ใบในงานรอ้ ยมาลัย เย็บแบบ ดอกข่า

11 3. ใบเงิน ใบทอง ใบนาค เป็นไม้พุ่มสูง ใบรูปไข่ถึงรูปรีปลายแหลม ขอบใบหยักแหลมไม่ สม่าเสมอ ด้านบนสีเขียวเข้มปนสีเขียวอ่อน สีเขียวเทาและด่าง สีขาวถึงสีครีมไม่เท่ากันแต่ละใบ ใต้ใบสีจาง เรียกใบเงิน ใบพ้ืนสีเขียวด่างขาว เหลือง ต้นสีด่างขาวเหลืองเรียกใบทอง พ้ืนใบสีเขียวเข้มเหลือบชมพูถึงม่วง แดง ออกดอกเป็นชอ่ ที่ยอดหรือปลายกิ่ง โคนกลบี ดอกเปน็ หลอดปลายแยกเป็น 5 แฉก สขี าว กลางดอกประสี ม่วง เรียกใบนาค ขยายพันธ์ุโดยการปักชา 4. สนฉัตร เป็นไม้ยืนต้นขนาดกลาง ผิวเปลือกลาต้นสีน้าตาล ลาต้นมีตุ่มเล็ก ๆ ขึ้นรอบต้น และมีเกล็ดใบเล็ก ๆ ออกตามต้น ส่วนยอดเจริญแตกกิ่งเป็นชั้น ๆ ออกไปตามแนวนอนใบมีลักษณะเป็นขน ส้ันเล็กมีสีเขียวเรียงตัวกันแน่น เป็นไม้ทรงพุ่มลักษณะคล้ายเคร่ืองสูงท่ีใช้ในพิธีแห่เกียรติยศ เป็นไม้มงคลควร ปลกู ในบา้ นทาใหม้ ีเกียรติ ใช้ใบในการเย็บแบบ

12 กำรเลือกเเละกำรดแู ลรกั ษำดอกไม้ ใบไม้ 1. ดอกกหุ ลาบมอญ 1) การเลือกซื้อ เลือกดอกแรกแย้มจะเก็บได้นานกวา่ ดอกบาน สสี ดใส ไม่มีรอยชา้ เลือกดอกขนาดใหญ่ไว้ รอ้ ยมาลัย ดอกขนาดกลางสาหรบั เยบ็ แบบ ดอกขนาดเล็กสาหรบั ทาตมุ้ อบุ ะ 2) การดแู ลรักษา พรมน้า ใส่ถุงพลาสติกมดั ปากถงุ ใหแ้ นน่ นาเข้าตู้เยน็ หรือเก็บในลังนา้ แข็ง 2. ดอกรกั 1) การเลือกซ้ือ เลอื กดอกรกั ทีต่ ดิ กบั ช่อหรือมีกลีบเลีย้ งหมุ้ 2) การดแู ลรักษาไมต่ ้องพรมนา้ ใสถ่ ุงพลาสติกมดั ถุงให้แน่นนาเขา้ ตเู้ ย็นหรือเก็บในลังน้าแข็ง 3. ดอกพุด 1) การเลอื กซื้อดอกพุด งานดอกไมส้ ดนยิ มใชด้ อกพดุ ตูมที่มีสีเขยี วอ่อน ดอกตูมตึง กา้ นสีเขยี ว ถา้ ดอกเกา่ จะมีสีเหลืองและก้านเห่ยี ว 2) การดูแลรักษา ไม่ต้องพรมนา้ ใส่ถงุ พลาสติกมัดถงุ ใหแ้ น่นนาเข้าตู้เยน็ หรือเกบ็ ในลังน้าแขง็ 4. ดอกกลว้ ยไม้ 1) การเลือกซ้ือ เลอื กดอกท่มี ีสีสด กลบี ดอกและก้านแขง็ แรง ไม่มีสคี ลา้ หมอง 2) การดูแลรักษา ใชใ้ นงานดอกไมส้ ดควรนาดอกแยกขนาดกลบี ใหญ่ เลก็ กระเปราะ ใสถ่ ุงพลาสติก แยกประเภทรัดปากถุงใหแ้ น่นเก็บเขา้ ตเู้ ย็นช่องแช่ผัก ทาให้เกบ็ ไดน้ านกว่าเก็บท้งั ดอก 5. ดอกบานไม่รู้โรย 1) การเลือกซ้ือ เลือกดอกที่ตัดจากต้นใหม่ ใบท่ีโคนมีสเี ขียวสดก้านดอกแข็ง กลีบดอก ไม่หลดุ ร่วงมี เกสรดอกเกือบทกุ กลีบ ไม่มีกล่ินเหมน็ อับ 2) การดูแลรักษา คลุมด้วยผา้ ชน้ื ไม่พรมน้าหรือตดั ก้านยาว 1 นิว้ ใส่ถงุ พลาสติกรัดปากถุงใหแ้ นน่ เกบ็ เข้าตู้เย็นชอ่ งแชผ่ ัก 6. ดอกมะลิ 1) การเลอื กซื้อ เลือกดอกมะลติ ูมสขี าวนวล กา้ นสเี ขียวอ่อน มกี ลบี เลี้ยงหุม้ ก้านดอกติดอยู่ 2) การดูแลรักษา ใสถ่ ุงพลาสตกิ รัดปากถงุ ใหแ้ น่นเกบ็ เขา้ ตู้เยน็ ชอ่ งผัก หรอื ลังน้าแข็ง 7. ดอกดาวเรือง 1) การเลอื ก ใบท่โี คนมีสีเขยี วสดกา้ นดอกแข็ง ไม่มีรอยช้าสีนา้ ตาลทกี่ ลบี ดอก 2) การดูแลรักษา ใส่ถุงพลาสตกิ รัดปากถงุ ใหแ้ น่นเกบ็ เขา้ ตู้เยน็ ช่องแชผ่ ักหรือ แชล่ งั นา้ แขง็ 8. ดอกบวั หลวง 1) การเลือกซ้ือ เลือกดอกที่ไมม่ รี อยชา้ ดา กา้ นอวบแขง็ ไมอ่ ่อนน่ิม 2) การดแู ลรักษา ใชม้ ีดคมตดั ก้านเฉลยี ง นาไปแช่น้า ถา้ ต้องการพบั กลบี ไมค่ วรแชน่ ้าเพราะจะพบั ยาก กลบี เปราะ จุ่มดอกบวั และมอื ในน้าเย็นจดั เพราะในขณะพับกลบี ความร้อนในมือทาให้กลบี ดอกเหีย่ วเฉา

13 9. ดอกเขม็ 1) การเลือกใช้ เลอื กช่อที่มที ั้งดอกตูม แยม้ ดอกเพ่งิ เร่ิมบาน สีสด ไมเ่ หี่ยว 2) การดแู ลรักษา เก็บท้ังชอ่ พรมนา้ ใสถ่ งุ พลาสตกิ รัดปากถุงใหแ้ นน่ นาเข้าตู้เย็นเก็บไว้ ในชอ่ งแช่ 10. ดอกผกากรอง 1) การเลือกใช้ เลอื กดอกตมู ทมี่ ีก้านดอกอวบไม่เห่ยี วช้า กลีบดอกข้างในไมห่ ลุดรว่ ง 2) การดูแลรักษา ตดั ก้านยาว 2 นวิ้ ใสถ่ งุ พลาสตกิ รดั ปากถุงใหแ้ น่น นาเขา้ ต้เู ยน็ เกบ็ ไวใ้ นช่องแชผ่ กั 11. ดอกเลบ็ มือนาง 1) การเลือกใช้ เลือกดอกที่กา้ นดอกแข็ง กลบี ดอกสมบรู ณ์ สสี ดสวย 2) การดแู ลรักษา เก็บทั้งช่อใสถ่ งุ พลาสติก รดั ปากถุงให้แน่น นาเข้าตเู้ ย็นเกบ็ ไวใ้ นช่องแชผ่ ัก 12. ดอกบานบรุ ี 1) การเลือกซื้อ กลบี ดอกสสี ด เพง่ิ บาน ไม่เห่ียว ไมม่ ีจดุ ด่างดา 2) การดูแลรักษา เป็นดอกไม้ท่มี ลี กั ษณะบอบบาง ควรจบั ต้องแต่แผ่วเบา พรมน้าให้ทวั่ และคลุมดว้ ย ผา้ ขาว 13. ดอกชบาร่ม ชบาหนู ชบาหลอด 1) การเลอื กซื้อ เลอื กดอกทม่ี ีสสี ด มีกลบี เลยี้ งสดตดิ แนน่ ข้ัวสเี ขียว 2) การดแู ลรักษา ถา้ ใช้ท้งั ดอกให้ตดั เกสรทยี่ ืน่ ยาวพน้ ดอกออก ใชเ้ ฉพาะกลีบเลีย้ ง ปลดิ ดอกออกทง้ิ แชน่ า้ ใหส้ ดแขง็ ใส่ถงุ พลาสติกรดั ปากถุงให้แนน่ แล้วนาเข้าตู้เย็นเก็บไว้ในช่องแช่ผกั 14. ต้นแก้ว 1) การเลือกใช้ เลอื กทใี่ บอายุปานกลาง ใบออ่ นจะเหยี่ วงา่ ย ใบแก่จะแตกและกรอบ 2) การดูแลรักษา ใส่ถุงพลาสตกิ รดั ปากถุงใหแ้ น่นเกบ็ เขา้ ตู้เย็นชอ่ งแชผ่ ัก หรอื แช่ในลงั น้าแขง็ ก่อนใช้ นาออกวางไว้ข้างนอกให้ความเยน็ ลดลง 15. กระบือ หรือลิน้ กระบอื 1) การเลือกใช้ เลือกใบทีส่ สี ด ไมม่ ีรู ไมเ่ หีย่ ว 2) การดแู ลรักษา ใสถ่ ุงพลาสตกิ รัดปากถุงให้แน่น นาเขา้ ตเู้ ย็นเกบ็ ไว้ในช่องแชผ่ ักหรอื แชใ่ นลังนา้ แขง็ 16. ใบเงิน ใบทอง ใบนาค 1) การเลือกใช้ เลอื กใบท่ีไม่มีรู ไม่เห่ียว 2) การดูแลรักษา พรมน้าใส่ถุงพลาสตกิ รดั ปากถุงใหแ้ นน่ นาเขา้ ต้เู ย็นเก็บไวใ้ นช่องแช่ผัก หรือแชใ่ น ลงั น้าแข็ง 17. สนฉตั ร 1) การเลอื กใช้ เลอื กพนั ธุ์ที่มเี กลด็ ใบแข็งไม่โปร่ง มีเสน้ กวา้ งสมา่ เสมอตลอดเสน้ 2) การดแู ลรักษา ใส่ถุงพลาสติกรัดปากถงุ ใหแ้ นน่ นาเข้าตู้เย็นเกบ็ ไวใ้ นชอ่ งแช่ผัก หรอื แชใ่ นลงั น้าแข็ง หรือหอ่ ด้วยกระดาษฉดี น้าให้เปียกวางไว้ในห้อง

14 ควำมสำคญั ของงำนดอกไม้สด 1. เป็นงานฝีมือที่นาไปใช้ในพิธีกรรมทางศาสนา พิธีกรรมทั่วไป ตกแต่งสถานที่ที่ใช้ประกอบพิธีและใช้เป็น ของชาร่วยเพือ่ แสดงความขอบคุณผู้ท่ีมารว่ มงาน 2. เป็นงานฝีมือที่แสดงถึงเอกลักษณ์ วัฒนธรรมและความเป็นอยู่ของชนชาติไทยซ่ึงออกมาให้เก็นจากความ ประณีต บรรจง 3. เป้นงานฝีมือท่ีสามารถสร้างอาชีพรายได้ให้แก่ผู้ท่ีมีทักษะความชานาญในการทา สามารถรับจ้างร้อยมาลยั ทาเคร่ืองแขวนดอกไม้สด ทาพานพมุ่ เป็นต้น วิธกี ารประดิษฐด์ อกไมส้ ดของไทย การประดิษฐ์ดอกไม้สดของไทยเป็นมาลัย เครื่องแขวน เครื่องประดับตกแต่งสถานท่ีในงานพิธีต่างๆ มักจะใช้วธิ กี ารกรอง การรอ้ ย การเยบ็ การมัด เพอ่ื ใหเ้ กดิ เป็นช้นิ งาน การกรอง คอื การเอาบางส่วนของดอกไม้ท่ีได้จากการเฉือนเป็นแวน่ ๆหรือผ่ากลางช้ิน แลว้ นามาเสยี บหรือร้อยในไม้ไผ่ท่ี เหลาแหลม หรือก้านมะพร้าว ( ทางมะพร้าว ) ซ้อนกัน การกรองมี 2 แบบ ได้แก่ การกรองดอก และการ กรองเส้น

15 การเยบ็ คือ การนาดอกไม้ทั้งดอก หรือกลีบดอกมาเย็บลงบนใบตองที่ตัดเป็นแบบ โดยใบตองทามาจากการนาใบตอง สด มาซอ้ นสับทางตองกันตั้งแต่ 4 ชัน้ ขนึ้ ไป แล้วตัดเป็นรปู ร่างต่างๆ ตามตอ้ งการ การมัด คอื การนาดอกไม้ทง้ั ดอก หรอื กลีบดอกมามดั ตดิ กับแกนใบตองที่มดั เป็นกรวยแข็ง หรือมัดตดิ ก้านดอกรกั ก้าน ผักบุ้ง ก้านมันสาปะหลัง กาบกล้วย โดยใช้ด้ายมัดทั้งดอกหรือกลีบดอกที่จับจีบแล้วมัดติดเป็นแกน ให้มี ลักษณะเหมอื นดอกตุ้ม หรือดอกข่า การรอ้ ย คือ การนาดอกไม้ท้ังดอก หรือกลีบดอกมาร้อยลงในเข็ม ลวดเส้นเล็ก หรือทางมะพร้าวเป็นต้น เพ่ือให้ได้ รูปทรงและลวดลายตามท่ีต้องการ ซ่ึงรูปแบบการร้อยมีหลายแบบ ได้แก่ การร้อยมาลัยตุ้ม มาลัยกลม มาลัย ซกี การรอ้ ยเส้นดอกไม้

16 งำนอบุ ะดอกไม้สด อุบะ หมายถึง การร้อยดอกไม้เป็นสายๆนามาผูกติดกับพวงมาลัยหรือเครื่องเเขวนชนิดต่างๆ ทาให้ เพม่ิ ความสวยงามเเละดอู อ่ นช้อยไดส้ ดั สว่ นย่ิงขึ้น ส่วนประกอบของอุบะ อบุ ะมีสว่ นประกอบ 3 สว่ น ดงั นี้ ดอกสวม คือดอกที่ร้อยอยู่เหนือดอกครอบ จะมีก่ีดอกก็ได้แล้วแต่ความเหมาะสม ควรเรียงแถวจากดอกใหญ่ ขึน้ ไปเลก็ นิยมใชด้ อกรกั ดอกครอบ หรือเรียกว่า หมวก จะร้อยถัดมาจากดอกตุ้ม นิยมใช้ขั้วดอกชบา และ กลบี เล้ยี งดอกรกั ดอกตุ้ม อยูส่ ่วนล่างสุดของอุบะ นยิ มใช้ดอกข่าประดิษฐ์ ชนิดของอบุ ะ อบุ ะ มี 6 ชนดิ 1. อบุ ะขาเดียวหรือตุ้งต้งิ มีลักษณะเป็นเสน้ เดียว หรือขาเดยี ว ใชต้ กเเตง่ ระย้าหรือเฟื่องให้สวยงาม เเละข่วยให้เกดิ ความเคล่ือนไหวน่ามองยิ่งขน้ึ อบุ ะขาเดยี วมสี ว่ นประกอบ คือ 1.ดอกตุ้ม (ดอกขา่ ฯลฯ) 2.ดอก ครอบหรอื หมวก (กลบี เล้ยี งดอกรกั เเละกลบี เล้ียงชบาหรือพูร่ ะหง ฯ) 3.ดอกสวม (ดอกรัก ดอกพุด ฯ)

17 2. อบุ ะเเขกหรอื พวงเตา่ ร้ัง บางทา่ นเรยี กเตา่ รา้ ง การนาตุ้งต้ิงสายท่ีมีขนาดความยาวเท่าๆกนั มาผูกเปน็ พวง ใหญห่ รอื เลก็ ตามต้องการให้ปลายอยู่ในระดับเดยี วกนั นยิ มใชห้ อ้ ยชายมาลัย เเละตกเเต่งดอกไม้คลุมไตรหรือ พานดอกไมส้ ด เปน็ ตน้ 3. อบุ ะพู่ วธิ กี ารทาคลา้ ยอุบะเเขก เเต่เเตกตา่ งกนั ตรงอุบะพจู่ ะจัดระดับของอบุ ะเป็นชั้นๆ ระยะห่างของเเต่ ละชน้ั จะเทา่ กัน จะมีต้ังเเต่ 2 ชน้ั ขึ้นไป เเตล่ ะชน้ั จะมกี ี่ขาก็ได้ ขึ้นอยู่กับใชง้ านหรอื ความสวยงาม ใช้ห้อยชาย มาลัย ตกเเตง่ ดอกไม้คลุมไตร ประกอบเครื่องเเขวนเเละงานดอกไมส้ ดอืน่ ๆ 4. อุบะไทยธรรมดา มีลกั ษณะเป็นเส้นเดย่ี วที่ขัว้ เเล้วเเตกกระจายเป็น 2-2 หรือ 3-3 ท่ีปลายพวงคล้ายจอม แห เม่อื ผูกตุ้งต้งิ เป็นขาเดยี วกันเม่อื ไหร่ ไมต่ ้องมีดอกตุ้ม รอ้ ยเเคด่ อกสวม เเลว้ ผกู รวมกนั ใช้เปน็ ชายมาลัย มมุ เครื่องเเขวนประกอบกับทัดหู

18 5. อุบะไทยทรงเครอ่ื ง รอ้ ยเหมอื นอุบะไทยธรรมดา ตา่ งกันตรงทีเ่ ม่ือผูกตุง้ ติ้งเปน็ ขาเดียวกันเมอ่ื ใด ตอ้ งร้อย ดอกตุ้มเเละดอกครอบก่อนร้อยดอกสวมทุกๆช้นั ไป ใช้เปน็ ชายมาลยั เปยี ประกอบมุมเครอ่ื งเเขวน พู่กลนิ่ วมิ าน ประกอบกบั ทัดหูหรอื เยบ็ เเบบ 6. อุบะสร้อยสนหรืออุบะเเตระ นิยมทาจากดอกจาปาเทา่ นัน้ อบุ ะชนดิ น้ีไมใ่ ชด้ อกตุ้มเเละดอกสวมเลย เวลา ทาต้องใช้นา้ มะนาวเจอื จางพรมเพ่ือกันไม่ใหร้ อยกรีดดา อุบะชนดิ นไี้ ม่คอ่ ยนยิ มใช้เพราะบอบชา้ ไดง้ ่าย ใชเ้ ปน็ ชายมาลัยตมุ้ มาลัยเเขวน ตามทตี่ า่ งๆของหอ้ ง

19 ควำมสำคญั ของงำนใบตอง ในการประดิษฐ์งานใบตองในรูปแบบต่าง ๆ ที่พบเห็นน้ัน ในชิ้นงานมักประกอบไปด้วยหลาย ๆ ส่วน ซง่ึ สามารถแยกได้เป็น 2 สว่ นใหญ่ ๆ ดงั น้ี 1. ส่วนประกอบหลัก ได้แก่ ใบตองท่ีพับเป็นกลีบรูปแบบต่าง ๆ เพื่อนามาใช้ประกอบเป็นรูปทรงต่าง ๆ เช่น ใบตองท่ีพบั เป็นรูปกลีบผกาซอ้ น รูปกลบี เลบ็ ครุฑ หรอื รูปหักคอมา้ เปน็ ตน้ 2. ส่วนประกอบตกแตง่ ได้แก่ ใบตองท่พี ับเป็นรูปต่าง ๆ เพอื่ นามาใชต้ กแตง่ ผลงานให้เรียบร้อยดปู ระณตี และ สวยงามยิง่ ขึน้ เช่น ใบตองทพ่ี ับเป็นลายนมสาว นามาถกั ตะขาบ หรือพับลายกลีบลาดวน เปน็ ตน้ ประเภทของงานใบตอง งานใบตองสามารถแบ่งเปน็ ประเภทตามลกั ษณะการนาไปใชง้ านไดด้ งั นี้ 1. ประเภทใชห้ ่อหรอื บรรจอุ าหาร งานใบตองประเภทน้ี พบเหน็ ไดโ้ ดยทวั่ ไปในชีวิตประจาวนั ในยุคหนึง่ ใบตองไมไ่ ดร้ ับการนิยม เนื่องจากความทันสมัยและความสะดวกของพลาสติก แต่ปัจจุบันได้มีการณรงค์ให้หันกลับมาใช้ชีวิตตาม ธรรมชาติ จึงมีการนาใบตองกลับมาใช้ในชีวิตประจาวันใหม่ งานใบตองประเภทใช้ห่อหรือบรรจุอาหาร ได้แก่ การหอ่ แบบต่าง ๆ กระทง ถาด และกระเช้า - การห่อขนมและอาหาร เช่น การห่อสวม ห่อทรงเตีย้ และห่อทรงสูง ซึ่งสามารถนาไปใช้บรรจอุ าหาร ประเภทอาหารแหง้ เช่น การห่อข้าวเหนียวหนา้ ตา่ ง ๆ ขนมใส่ไส้ ห่อหมก เป็นต้น - กระทงใสข่ นมและอาหาร เชน่ กระทงมมุ เดียว กระทงสองมมุ กระทงส่มี มุ เราสามารถนาไปใช้บรรจุ อาหารประเภทของแหง้ หรือที่มีน้าขลุกขลิก ไดแ้ ก่ ขนมกลว้ ย ขนมตาล ขนมตม้ แดงต้มขาว เปน็ ต้น - ถาดใบตอง ซ่ึงสามารถประดิษฐ์เป็นถาดได้หลายรูปแบบ เช่น ถาดรูปกลม ถาดรูปรี ถาดรูปหัวใจ เป็นต้น โดยเย็บเป็นแบบต่าง ๆ เช่นลายเลบ็ ครุฑ ลายกลีบผกา หรือลายผีเส้ือ เป็นต้น นามาบรรจุอาหารหรอื ผลไม้ในงานเลี้ยงตา่ ง ๆ - กระเช้าใบตอง ส่วนมากมักพบในโอกาสพิเศษ ใช้สาหรับบรรจุขนมไทย เพ่ือนาไปกราบผู้ใหญ่ที่ เคารพ เชน่ กระเชา้ แบบมหี ูใสข่ นมไทยชนิดต่าง ๆ ตกแต่งด้วยดอกไมส้ ด สวยงาม เป็นต้น 2. ประเภทกระทงดอกไม้ กระทงดอกไม้มีหลายรูปแบบ ซ่ึงในแต่ละแบบผู้ประดิษฐ์พยายามพัฒนาและสร้างสรรค์ได้ อยา่ งสวยงาม กระทงทุก ๆ แบบสามารถนาไปใชไ้ ด้หลายโอกาส เช่น - ใชเ้ ปน็ เคร่ืองสักการะบูชาพระรัตนตรยั - ใช้เปน็ เครื่องสกั การะพระมหากษัตรยิ ์และพระราชวงศ์ - นาไปกราบลาอุปสมบท - กราบพ่อแม่ ครอู าจารย์ - ขอขมาลาโทษ - ชดุ ขนั หมาก เป็นต้น

20 3. ประเภทกระทงลอย กระทงลอยคือ ภาชนะสาหรับใสด่ อกไม้ ธปู เทยี น ส่ิงของ ท่ลี อยน้าได้ สว่ นใหญป่ ระดิษฐ์ จากใบตอง ซ่ึงใช้ในเทศกาลวนั ลอยกระทงคือ ในวันเพ็ญเดือน 12 ตามความเช่ือวา่ การลอยกระทงเพอื่ เปน็ การขอขมาแกแ่ ม่คงคา เพราะได้อาศัยน้าเพื่อดื่มกิน และใช้ในชวี ิตประจาวนั 4. ประเภทบายศรี “บายศรี คือ ภาชนะที่ตกแต่งสวยงามเป็นพิเศษ เพื่อเป็นสารับใส่อาหาร คาว หวาน ในพิธี สังเวยบชู าและพิธที าขวญั ต่างๆทง้ั พระราชพิธแี ละพธิ ีของราษฎร์” (มณีรตั น์ จันทนะผะลิน. งานใบตอง : 487) บายศรหี ลวง หรือของพระมหากษตั ริย์ แบง่ เปน็ 3 ชนดิ คือ 1. บายศรีสารับเลก็ 2. บายศรีสารบั ใหญ่ 3. บายศรีตองรองทองขาว บายศรที ่ใี ช้ในพธิ ีของราษฎร์ บายศรีของราษฎรนัน้ มีต้ังแต่ขนาดเล็กไปจนถึงขนาดใหญ่ และแบ่งไดเ้ ป็น 2 ชนิด คือ 1. บายศรใี หญ่ แบ่งเป็น 2 ลกั ษณะ 1.1 บายศรีใหญ่ เป็นบายศรีที่มขี นาดใหญ่กวา่ บายศรีปากชาม โดยจดั ทาใส่ภาชนะ ทีใ่ หญ่ เช่น พาน โตก หรอื ตะลุ่ม ซึ่งอาจมีชนั้ เดียวหรือหลายชั้นก็ได้ เช่น บายศรภี าคอสี าน บายศรภี าคเหนือ เป็นต้น 1.2 บายศรีต้น บายศรีต้ัง หรือบายศรีช้ัน มีลักษณะโครงทาด้วยไม้ มีฐานล่างใหญ่ รูปกลมแบน ตรงกลางฐานใช้ไม้กลมเป็นแกนลาต้นตลอดยอด ท่ีแกนติดแป้นเป็นเถา ห่างเป็นระย ะ มี 5 ช้นั 7 ชน้ั 9 ชน้ั องค์ประกอบบายศรตี น้ - ทาตัวบายศรีดว้ ยใบตอง ตรึงกับไมแ้ ป้นตามลาดับ - ระหว่างแป้นแต่งด้วยดอกไม้ หรอื งานแกะสลัก - พุ่มดอกไม้เป็นยอดหรอื บายศรี (หรอื ใชบ้ ายศรปี ากชาม) - ไมพ้ นั ผ้าขาว 3 อนั ผูกขนาบใหแ้ นน่ ประโยชน์ ใช้เป็นเครื่องบชู าเทพยดา ตามลทั ธพิ ราหมณ์ ไม่ใชบ่ ูชาพระ ใชใ้ นพธิ ีทาขวญั และไหว้ครู 2. บายศรปี ากชาม มีลกั ษณะเลก็ ใสใ่ นชามหรือขัน ประกอบดว้ ย - ตวั บายศรที าดว้ ยใบตองเท่า ๆ กนั 3 ตวั - กรวยใบตองบรรจขุ ้าวสุกปากหม้อเตม็ 1 กรวย - ใบตองทาเป็นแมงดา 3 ตวั - กลว้ ยและแตงกวา แบ่งตามยาวของลกู อย่างละ 3 ชิ้น - ไม้ไผเ่ ล็กยาวเสียบตลอดกรวย เหลือยอดเสยี บไขต่ ม้ ตกแตง่ ดว้ ยดอกไม้ ประโยชน์ ใช้เป็นเคร่อื งสงั เวยเทพยดา ตั้งศาลพระภูมิ ทาขวัญเป็นประเพณขี องพราหมณเ์ ชน่ เดียวกับบายศรีต้น

21 สว่ นประกอบของบำยศรีปำกชำม 1. ไข่ขวัญหรอื ไข่ยอด เป็นไขต่ ม้ สุก อาจเป็นไขเ่ ปด็ หรือไข่ไกก่ ็ได้ ตามความนยิ มของแต่ละท้องที่ ไข่ ขวัญน้จี ะให้ผู้รบั ทาขวญั กิน เชน่ ทาขวัญคนป่วยจะให้คนป่วยกนิ จะอยู่ส่วนบนสดุ ของบายศรี ซง่ึ หมายถึงทา ใหเ้ กดิ มงคลและเปน็ เคร่ืองหมายแห่งการเกดิ วธิ ที า คือ นาไขเ่ ป็ดหรือไขไ่ ก่ เริ่มดว้ ยนาไข่ใส่ในนา้ เยน็ พอน้า เร่ิมร้อนใหใ้ ช้ไมพ้ ายคนไข่ทีต่ ้มตลอดเวลา เพื่อจะทาให้ไข่กลมไม่มีส่วนใดบบุ เม่ือสุกแลว้ ยกลง 2. ตวั แมงดาหรือเตา่ คือสว่ นท่ีวางระหว่างกลางตวั บายศรี บายศรีปากชามหน่ึงทีม่ บี ายศรสี ามตวั และมีตวั แมงดาสามตวั การทาตัวแมงดาใชใ้ บตองกว้างประมาณ ๘-๑๑ ซ.ม. ใหญ่หรือเล็กตามขนาดของ บายศรีตดั ตามรูป เจาะทาให้เป็นลวดลายให้สวยงาม ขอ้ ควรระวงั บางครง้ั จะทาใหใ้ บตองแตกควรใช้มีคม ๆ เจาะลายควรใชใ้ บตองด้านแข็งอย่สู ว่ นบน 3. แตงกวา กล้วยน้า เป็นอาหารทอี่ ยูภ่ ายในบายศรี โดยนาแตงกวา และกล้วยน้าอยา่ งละ ๑ ผล แบ่งเปน็ ๓ ซีกตามยาวของแตงกวาและกลว้ ย โดยไม่ปอกเปลือก เมื่อแบง่ ได้เปน็ ๓ ชนิ้ จึงนาไปพนมเขา้ กับ กรวย

22 4. กรวย คอื ทบ่ี รรจขุ ้าวสกุ ปากหมอ้ ใช้ใบตองตานชี ว่ งยาวไมม่ ีทตี่ าหนิ กวา้ งประมาณ ๑๒ นิว้ ใช้ ใบตอง ๒ ทบ เอาดา้ นมันออกม้วนจากทางขวามือมาทางซ้ายมือใหเ้ ปน็ รปู กรวย โดยกะขนาดปากกรวยลง ระหวา่ งบายศรที ั้งสามพอดี ความสงู ของกรวยจะต้องสงู กว่าบายศรีเล็กน้อยประมาณ ๑-๒ น้ิว เมื่อมว้ นกรวย แลว้ ใบตองที่อยขู่ ้างนอกจะต้องเป็นสนั ตัง้ เม่ือได้ขนาดทตี่ ้องการใหน้ าเขม็ หมุดกลดั ไว้ และตดั ปากกรวยทา ดอกจันมอบปากกรวยใหเ้ รยี บร้อยแลว้ นา ขา้ วสุกปากหม้อใส่ใหแ้ นน่ พยายามกดตรงยอดให้แน่น เพือ่ กันเวลา เสยี บยอดจะไดไ้ มอ่ ่อน เม่ือใส่ข้าวแน่นแล้ว ตดั ใบตองกลมปิดปากกรวย ๒ ใบซ้อนกนั 5. ไมไ้ ผส่ ีสกุ ๓ อัน ใชป้ ระกบบายศรีกนั โงนเงน เปน็ การยึดบายศรี หรืออาจหมายถึงบันไดทจี่ ะไปสู่ เขาไกรลาส 6. ผา้ หม่ บายศรี และยอดตอง ยอดตองสามใบควรเป็นยอดตองอ่อนใชห้ ่มบายศรีหรือหม่ ขวญั โดย จะหม่ ท้ังไม้ไผส่ ามซีกทรี่ ดั ไว้กับบายศรี และใช้ผ้า เชน่ ผา้ ตาดทอง หรือผ้าลูกไม้หม่ อีกชั้นหนึ่ง แตใ่ นปัจจุบนั ตอ้ งการโชว์บายศรแี ละอีกประการหนง่ึ คงไมส่ ะดวกในการจะห่มองค์บายศรี เลยใชม้ ้วนวางไว้ขา้ ง ๆ องค์ บายศรี 7. อาหารในบายศรี ควรจะเยบ็ กระทงใบเลก็ ๆ มอบปากให้เรยี บรอ้ ยใสใ่ นบายศรสี ู่ขวัญ บายศรบี วช นาคจะมีอาหารใส่ อาหารอ่ืน ๆ เช่น กล้วยทัง้ หวี มะพร้าวน้ันโดยมากจะใส่พานไว้ตา่ งหากเพราะไมส่ ามารถจะ ใสไ่ ว้ในบายศรีได้ 8. การครอบครูบายศรี ใหใ้ ช้ดอกไม้ธปู เทยี นเปน็ การประสิทธิ์ประสาทวชิ าของครูใหแ้ ก่ลูกศิษย์ เพอ่ื ใหเ้ กดิ ความมน่ั ใจและกาลงั ใจท่ีศษิ ย์จะปฏิบตั ติ ่อไป การครอบครูบายศรี ครูจะจับมือเข้าองคบ์ ายศรี

23 กำรเตรยี มและกำรเกบ็ รักษำวสั ดแุ ละอุปกรณ์งำนใบตอง หลกั การเตรียมใบตอง ชนิดของใบตอง ควรเลือกใช้ใบตองตานี เพราะมีความนุ่มเหนียว ไม่เปราะไม่ฉีกขาดง่าย มีความ หนา-บางพอเหมาะ ใบตองชนิดอ่ืนๆ หนาไป หรือเปราะเกินไป การห่อของเล็กๆ น้อยๆ ในชีวิตประจาวันอาจ ใช้ใบตองกล้วยน้าว้าได้ แต่ถ้าจะประดิษฐ์ส่ิงของสวยงามประณีต เช่น กระทงดอกไม้ แจกัน ฯลฯ จาเป็นต้อง ใช้เฉพาะใบตองตานเี ท่านนั้ อายุของใบตอง ไม่ควรใชใ้ บตองท่ียังอ่อนอยู่ เพราะไม่แข็งแรงเหี่ยวง่าย ฉกี ขาด และชา้ มือง่าย ไม่คง รูปทรงที่ต้องการ ใบตองท่ีแกเ่ กินไปก็ไม่ควรใช้ เพราะอายุการใชง้ านส้นั เหลืองเร็ว ดงั น้นั จึงควรเลอื กใบตองท่ี มีอายุปานกลางกล่าวคอื เรมิ่ มสี ีเขยี วแก่ ใบโตเต็มที่ เวลาในการตัดใบตองจากต้น ถ้าต้องการตัดใบตองจากต้นแล้วใช้งานได้ทันที ไม่ต้องเสียเวลาผึ่งให้ นมุ่ ควรเลอื กตดั ในตอนเชา้ เวลาสายให้น้าคา้ งทเี่ กาะอยู่บนใบตองเร่ิมแหง้ ในตอนเย็นแดดออ่ นๆ ใบตองที่สลบ แดดในตอนที่แดดจัดนั้นเริ่มฟื้นตัวและแข็งแรงข้ึน แต่อย่ารอให้เย็นย่าค่าใกล้ขมุกขมัว เพราะนอกจากจะ มองเห็นสีไม่ถนัดแล้วอาจจะเกิดมีอันตรายได้ การตัดใบตองไปรอการจาหน่ายหรือรอการใช้งานนานๆ จาเป็นต้องตดั เมื่อรุ่งเชา้ หรอื เช้าตรู่ เพ่ือจะได้ใบตองสดกรอบ ม้วนพบั ไว้ได้นานๆ ไมเ่ หีย่ วงา่ ย วิธีตัดใบตองจากต้น ควรตัดให้เหลือหูใบตอง (ส่วนใบที่โคนก้านทางใบตอง) ติดอยู่กับต้นเล็กน้อย ทั้งนี้เพื่อให้ช่วยทาหน้าท่ีสังเคราะห์แสงเล้ียงส่วนก้านและกาบไม่ให้เน่าและเห่ียวแห้ง รุงรัง ต้นผอม ถ้าตัด ใบตองถกู วิธตี ้นกลว้ ยจะดูเรียบรอ้ ยสวยงาม ตน้ อวบอว้ นสมบูรณด์ ี วิธีเช็ดใบตอง ควรเฉือนใบตองออกจากก้าน และฉีกเป็นแผ่นกว้างพอจับเช็ดถนัดมือ ใช้ผ้าฝ้ายเน้ือ น่มุ แห้งสะอาด เช็ดจากโคนถไู ปหาปลายร้ิวใบตอง ถา้ มรี อยเปือ้ นเล็กน้อยเฉพาะแห่งใช้ผ้าหมาดๆ เชด็ ออก ถ้า เป็นรอยติดแน่นให้ฉีกท้ิง แต่ถ้ามีคราบฝุ่นเกาะหนาเตอะท่ัวท้ังใบให้ล้างน้าให้สะอาด ผ่ึงให้น้าแห้งแล้วเช็ดอีก คร้ังถ้าจาเป็น ส่วนการเย็บใบตองเป็นภาชนะใส่ขนม อาหารรับประทานน้ันเม่ือเย็บเสร็จแล้วควรล้างน้าให้ สะอาดก่อนใช้ การตัด ถ้าต้องการใช้ใบตองรูปกลมหลายๆ แผ่นในการเย็บกระทง 1-3-4-5-6 มุม สาหรับจะใส่ขนม หรืออาหาร ควรฉีกใบตองกว้างเท่าท่ีต้องการหาถ้วยกลมมาทาแบบขีดรอยแล้วใช้กรรไกรตัดหรือใช้มีดคมๆ กรีดตามแบบภาชนะบนเขียง การฉีก ควรใช้ปลายเข็มหมุดจิกแล้วฉีก ถ้ามีเล็บมือจะใช้เล็บหัวแม่มือก็ได้ ควรค่อนไปทางปลายใบ เลยกลางใบไปประมาณ 1–1½ น้ิว ชิ้นท่ีใช้เป็นแบบหันหน้านวลขึ้น และใช้ช้ินเดียวตลอดเพ่ือขนาดจะได้ไม่ คลาดเคล่ือน

24 การเก็บรกั ษางานใบตอง ถ้าต้องการให้ใบตองสดทนนาน เม่ือประดิษฐ์เสร็จแลว้ ต้องแช่น้าอย่างนอ้ ย 3 ช่ัวโมง หรือ 1 คืน แล้ว นามาวางในภาชนะแล้วคลุมด้วยผ้าชุบน้าหมาดๆ จะอยู่ได้หลายวัน (3-5 วัน) แต่ถ้างานชิ้นไม่ใหญ่มาก นาใส่ ถุงพลาสตกิ รดั ปากถงุ ให้แน่น เกบ็ ในตเู้ ยน็ ก็สามารถเกบ็ ได้นานย่งิ ขึ้น (ประมาณ 1 เดอื น) ส่วนอุปกรณ์ที่ควรดูแลเป็นพิเศษคือ กรรไกรและเข็มมือ หลังจากใช้แล้วมียางเหนียวของใบตองเกาะอยู่ ควร ลา้ งดว้ ยผงซักฟอก เช็ดใหแ้ หง้ ก่อนเก็บ ถา้ เกบ็ ไวน้ าน ๆ จึงหยบิ ใช้ ควรทาด้วยน้ามันจกั ร เพือ่ ปอ้ งกันสนิม

25 องคป์ ระกอบศิลป์ กบั งำนประดิษฐ์ดอกไมส้ ด-ใบตอง องค์ประกอบศิลป์ (Composition) คือ การนาส่ิงต่างๆ มาประยุกต์และดัดแปลง ผนวกความ สร้างสรรค์ในแต่ละบุคคล แล้วนามารวมกันตามสัดส่วนและความเหมาะสม จากนั้นสร้างสรรค์เป็นผลงาน ออกมาให้เกิดเป็นความน่าสนใจและมีความเป็นเอกลักษณ์เฉพาะตัวมากที่สุด อีกทั้งความน่าสนใจในแต่ละ ชิ้นงานน้ันอาจจาเป็นต้องตอบโจทย์และตอบสนองต่อความต้องการของผู้รับสารด้วย เพราะความน่าสนใจน้ัน อาจหมายรวมถึงการนาเสนอภาพรวม การสื่อความหมาย และวัตถุประสงค์ในการออกแบบ เป็นต้น ปัจจัยส้าคัญในการออกแบบ • สดั สว่ นของภาพ (Proportion) • ความสมดลุ ของภาพ (Balance) • จังหวะลีลาของภาพ (Rhythm) • การเน้นหรอื จดุ เด่นของภาพ (Emphasis) • เอกภาพ (Unity) • ความขัดแย้ง (Contrast) • ความกลมกลนื (Harmony) และส่ิงต่างๆ ท่ีไดน้ ามาประกอบใหเ้ ข้ากนั นน้ั คือ จดุ เสน้ รปู ร่าง รปู ทรง สี ลกั ษณะผิว สว่ นประกอบตา่ งๆ ของศิลปะนามาจัดประสานสัมพนั ธ์กัน ใหเ้ กดิ คุณค่า ทางความงาม เราเรียกวา่ องค์ประกอบศิลป์ (Composition) ความสา้ คญั ขององค์ประกอบศิลป์ เพราะเปน็ เร่ืองทผ่ี เู้ รียนศิลปะทกุ คนต้องเรยี นร้เู ป็นพนื้ ฐาน เพอื่ ทีจ่ ะนาไปใชใ้ ห้เกดิ ประสิทธิภาพใน การออกแบบโครงสรา้ งหรอื รูปร่างของภาพนัน่ เอง แล้วจากนั้นสามารถนาไปประยกุ ตใ์ ช้ในงานออกแบบต่างๆ ได้ เช่น การตกแต่งบ้าน จัดสวน หรอื กจิ กรรมต่างๆ ทส่ี ามารถนาไปใช้กับการออกแบบอื่นๆ ไดเ้ ป็นอย่างดี ซึง่ เหลา่ นต้ี ้องอาศัยหลกั องค์ประกอบศิลปท์ ง้ั สิน้ สว่ นประกอบขององคป์ ระกอบศลิ ป์ที่สา้ คญั จุด (Point, Dot) สว่ นประกอบทีเ่ ล็กท่สี ดุ ทเ่ี ป็นจดุ เริ่มตน้ เพื่อไปสสู่ ่วนอื่น การนาจดุ มาเรยี งต่อกันตาม ตาแหนง่ ที่เหมาะสมและซา้ กันก็จะทาให้เราสามารถมองเห็นเป็นรูปร่าง รูปทรง ลกั ษณะผิวและการออกแบบ อนื่ ๆ ทมี่ ีความนา่ ตนื่ เต้นและน่าสนใจได้ จากจุดหน่ึงถึงจดุ หนงึ่ มเี สน้ ท่ีมองไม่เห็นดว้ ยตา แตเ่ ห็นได้ดว้ ย จนิ ตนาการ เราเรียกวา่ เส้นโครงสร้าง นอกจากจดุ ท่ีเรานามาจดั วางเพื่อการออกแบบ เราสามารถพบเหน็ ลกั ษณะการจดั วางจุดจากสงิ่ เป็นธรรมชาติ ที่อยรู่ อบๆ ตัวเราได้ เชน่ ขา้ วโพด เปลือกหอย และหลากหลาย

26 เสน้ (Line) เส้นเกิดจาก จุดที่เรยี งต่อกัน แลว้ ลากเส้นไปยงั ทิศทางต่างๆ มีหลายลกั ษณะจนทาใหเ้ กิด ลักษณะเส้นหลายแบบ เช่น ตงั้ นอน เฉยี ง โคง้ ฯลฯ เสน้ มีมิติเดียว คือความยาว ไม่มคี วามกว้าง ทาหน้าที่ เป็นขอบเขตของท่ีวา่ ง รปู ร่าง รปู ทรง สี นา้ หนกั รวมทงั้ เป็นแกนหลกั โครงสรา้ งของรปู ร่างรูปทรงต่างๆ เสน้ ถอื ว่าเปน็ พืน้ ฐานสาคญั ของงานศิลปะทุกชนดิ เสน้ สามารถส่อื ความหมายและสามารถแสดงอารมณ์ความรู้สกึ ไดเ้ ช่นกัน การสร้างเปน็ รูปทรงต่างๆ ขน้ึ เสน้ มี 2 ลักษณะคือ เสน้ ตรง (Straight Line) และ เส้นโคง้ (Curve Line) เสน้ ท้ังสองชนดิ นเ้ี ม่ือนามาจัดวางในลักษณะต่างๆ กันและให้ความหมาย ความรู้สึก ที่แตกตา่ งกนั ออกไปด้วยเช่นกัน รปู รา่ งและรูปทรง (Shape and Form) พืน้ ทท่ี ี่ล้อมรอบไปด้วยเส้นที่แสดงความกวา้ ง ความยาว รปู รา่ งมีสองมิตริ ปู ทรง นน่ั ก็คอื ภาพ สามมิตทิ ่ตี ่อเนอื่ งจากรปู ร่าง โดยมีความหนาหรือความลกึ ที่ทาให้ภาพที่เหน็ นั้นมีความสมบูรณ์และชัดเจน รปู รา่ งและรปู ทรงแบ่งออกเป็น 3 ลกั ษณะใหญ่ รปู ทรงเรขาคณติ (Geometric Form) มีรูปรา่ งรปู ทรงที่แนน่ อน มาตรฐาน สามารถวัดหรอื คานวณได้ มีกฎเกณฑ์ เช่น รูปส่เี หล่ียม รปู วงกลม รูปวงรี เป็นต้น และรูปเรขาคณติ นี้เองทเ่ี ป็น พืน้ ฐานของรปู ทรงต่างๆ รูปทรงธรรมชาติ (Nature Form) การเลียนแบบธรรมชาติ รูปทรงธรรมชาติทมี่ ี อยู่รอบตัวเรา เช่น ดอกไม้ ใบไม้ สัตวต์ า่ งๆ เป็นแมแ่ บบในการออกแบบและสร้างสรรค์ โดยยงั คงให้ความรูส้ ึก และรูปทรงท่ีเปน็ ธรรมชาติและบางรปู ทรงทีม่ ีการล้อเลยี นธรรมชาติ โดยใช้รูปทรง การ์ตูน อวัยวะ เปน็ ต้น และในบางครง้ั ได้มีการนาวัสดทุ ี่มอี ยู่ ตามธรรมชาติ เช่น เปลือกหอย, ก่ิงไม,้ ขนนก ฯลฯ นามาออกแบบ ดัดแปลง สรา้ งสรรคผ์ ลงาน รปู ทรงอิสระ (Free Form) รปู แบบโครงสรา้ งท่ีไม่แน่นอน ใหค้ วามรสู้ ึกเคลื่อนไหว และเป็นอิสระ ได้อารมณ์ รปู อิสระอาจเกิดจากรูปเรขาคณิตหรอื รูปธรรมชาติ ทถ่ี กู กระทาจนมรี ูปลกั ษณะ เปลี่ยนไปจากเดิมจนไม่เหลอื สภาพเดมิ

27 หลักกำรใชส้ ี ในงำนประดิษฐ์ดอกไม้สด-ใบตอง 1. การใช้สีประกอบแบบรวมวรรณะ (Tone) การใช้สีประกอบร่วมวรรณะ จะไม่ใช้วรรณะใดวรรณะหนึ่งโดดเด่ียว โดยจะทาให้แลดูแลว้ เกิดความรู้สกึ กลมกลนื ไปหมด หลกั องคป์ ระกอบนน้ั ไดร้ ะบุถึงเกณฑห์ นึ่งทจ่ี ะต้องมีในภาพ คือ “จุดสนใจ” ถา้ ทง้ั ภาพดกู ลมกลืน ไปหมด ก็อาจนับได้ว่าไม่มีอะไรเป็นจุดสนใจดังนั้นการใช้สีแบบวรรณะนี้มักจะนาสีอีกวรรณะหน่ึงมาประกอ บ เพ่ือให้เกิดความขัดแย้งกัน สีร้อนเม่ือมีสีเย็นเข้ามาประกอบย่อมเกิดความรู้สึกขัดแย้งหรือตัดกันการใช้สีแบบ ประกอบรวมของสีต่างวรรณะ จึงกาหนดไว้ในอัตราท่ีก่อให้เกิดความตัดกันมาก หรือน้อย เพื่อเป็นแนวทางการ นาไปใช้ ดังนัน้ - การใช้สตี า่ งวรรณะ ในอตั รา 50/50 - การใชส้ ตี า่ งวรรณะ ในอัตรา 60/40 - การใช้สีตา่ งวรรณะ ในอัตรา 80/20

28 2. การใชส้ คี ปู่ ระกอบหรือตัดกนั อย่างแทจ้ รงิ (True Contrasts) สที กุ สยี ่อมมีสคี ูข่ องมันเอง และสีคขู่ องมนั เม่อื นามาใช้ค่กู นั หรือเรยี งกัน อานาจของคล่ืนสจี ะทาให้รูส้ กึ ตัด กนั อย่างรุ่นแรง มองดบู าดตา คณุ สมบตั ิของสีคู่ประกอบนจ้ี ะทาให้ความรูส้ กึ ตดั กันอย่างแท้จรงิ สคี หู่ รือสตี ดั กนั ดงั นี้ 1. สเี หลือง ตดั กบั สีมว่ ง 2. สีแดง ตัดกบั สเี ขียว 3. สีเขียวเหลือง ตัดกับ สีมว่ งแดง 4. สนี ้าเงนิ ตดั กับ สสี ม้ 5. สมี ว่ งนา้ เงนิ ตดั กับ สสี ้มเหลอื ง 6. สีเขยี วนา้ เงิน ตัดกับ สสี ม้ แดง 3. การใช้สโี ดยการก้าหนดโครงสี (Colour Scheme) โครงสี คือ การกาหนดสหี รือจัดสลี งในทใี่ ดทหี่ นึ่งเพื่อให้บรรดาสตี ่าง ๆ เหลา่ น้ันรวมเป็นหมู่เดยี วกัน เกิด ความสมั พันธ์ระหว่างสีต่อสขี ้ึน มีความงามน่าดหู รอื เรยี กได้วา่ สีเหลา่ น้นั มีคณุ สมบัติกลมกลนื ประสานกันการ กาหนดโครงสี มลี ักษณะเดียวกับการใชส้ ีประกอบรวมวรรณะ ต่างกนั กแ็ ต่เพยี งการกาหนดโครงสจี ะละเอยี ด ประณตี กวา่ เพราะนอกจากจะแสดงออกมาในวรรณะใดแล้ว ยังต้องแสดงโครงสที ่ีเดน่ ให้ออกมาเพยี งสเี ดยี ว เท่าน้นั เช่นเรากาหนดโครงสีแดง สีท่ีนามาประกอบเปน็ โครงสี สแี ดงไดแ้ ก่ ส้ม แสด ม่วง เหลือง เปน็ ต้น

29 4. การใชส้ ใี นลกั ษณะค่าของสี (Value of Colurs) การใชส้ ีระบายลงในภาพ พื้นทสี่ ถานทีใ่ ด ๆ ก็ตาม ผู้ฝกึ หดั หรอื บุคคลทวั่ ไป มักชอบใชส้ มี ากสี ดว้ ยกลวั ว่า ถ้าใชส้ นี อ้ ยจะทาใหด้ จู ืดตา ไมส่ วยงาม อาจนบั ได้วา่ เป็นความเขา้ ใจผิดก็ว่าได้ ด้วยการใชส้ มี ากสีหากไม่รู้จกั จดั โครงสี หรอื ลดทอนความสดใสของแต่ละสใี หเ้ กิดความกลมกลนื กนั แล้ว แทนทจี่ ะทาให้น่าดู ตรงกันขา้ มยังทาให้ดู เปรอะเลอะเทอะ เสียอีกในแนวทางการใชส้ ี ทใ่ี ช้นอ้ ยสีแต่สามารถระบายให้นา่ ดูได้ โดยวิธไี ลค่ ่านา้ หนักของสี มี หลายวธิ ีคือ 4.1 ค่าในน้าหนกั ของสี สเี ดียว (values of Single colour) คอื นาสี สีเดียวมาไลค่ ่านา้ หนักให้ อ่อนโดยใช้สขี าวมาผสม หรือหากต้องการเข้มขน้ึ ก็ผสมด้วยสีดว้ ยสดี า โดยปกตกิ ารไลค่ ่าน้าหนักของสี สามารถ กระจายค่าได้ 7-9 ระยะด้วย 4.2 คา่ ในน้าหนกั ของสหี ลายสี (values of different colours) คือ นาสหี ลายสมี าไล่ค่าน้าหนัก ของสี เรยี งจากอ่อนไปหาแก่ ในวงสธี รรมชาติ เชน่ สเี หลือง สม้ แสด แดง และมว่ งแดง หรือสีเขยี วเหลอื ง เขียน น้าเงิน ฟา้ และมว่ งนา้ เงิน 4.3. การใชส้ ีโดดเด่น (Intensity) เปน็ การใชส้ ที ี่ดงึ ดดู ความสนใจ สร้างจุดเดน่ ให้กับภาพ ใหร้ สู้ ึก แตกตา่ ง จากภาพรวมๆทว่ั ไป สว่ นมากจะเน้นสว่ นทเี่ ปน็ ประธานของภาพ 4.4 การใชส้ ใี กล้เคียง (Adjacent colour) คอื การใชส้ ที อ่ี ยู่ใกลเ้ คียงกันในวงจรสี มาสร้างสรรคง์ าน ศิลปะ กจ็ ะได้งานท่ีสีมีความกลมกลืนกัน

30 กำรคดิ คำนวณต้นทุน กำหนดรำคำขำย และจดั จำหนำ่ ย งำนประดิษฐด์ อกไม้สด - ใตอง การคดิ คานวณตน้ ทนุ กาหนดราคาขายมีความสาคญั มากในธุรกิจศิลปป์ ระดษิ ฐ์ ซงึ่ ผ้ผู ลิตต้องมีความรู้ ในการคิดคานวณต้นทุนและใช้แนวทางให้เหมาะสมในการกาหนดราคาขายผลิตภัณฑ์ เพ่ือผลกาไรและความ เจริญก้าวหนา้ ของธุรกิจงานศิลปป์ ระดิษฐ์ 1. ความหมายของตน้ ทุน จานวนเงินท่ีจ่ายไปเพ่ือใช้ในการผลิตสินค้าทุกขั้นตอนตั้งแต่การแปรสภาพวัตถุดิบจนเปลี่ยนสภาพเป็นสินค้า สาเร็จรปู หรือคา่ ใช้จา่ ยต่าง ๆ และการหมดเปลืองของสนิ ทรัพยใ์ นการดาเนนิ งานทตี่ ้องจ่ายไปในงวดบัญชี 2. การคา้ นวณตน้ ทุน องค์ประกอบของต้นทนุ ประกอบด้วย 2.1 วัตถุดิบทางตรง (Direct Materials) หมายถึง วัตถุดิบโดยตรงที่เกี่ยวข้องกับ การผลิตสินค้า เช่น การประดิษฐ์ร่มการบูรหอม มีส่วนประกอบของวัตถุดิบทางตรงได้แก่ ริมบ้ินผ้า ก้านลวด ทอง การบรู เป็นต้น 2.2 ค่าแรงทางตรง (Direct Labor) หมายถึง ค่าจ้างแรงงานท่ีจ่ายให้กับคนงาน หรือลูกจ้างที่ผลิตสินค้าโดยตรง จานวนค่าแรงทางตรงจะเปล่ียนไปตามปรมิ าณการผลติ ถ้าผลิตได้มาก ก็จ่าย มาก ถ้าผลิตไดน้ ้อยก็จ่ายนอ้ ย 2.3 ค่าใช้จ่ายในการผลิต (Factory Overhead) หมายถึง ค่าใช้จ่ายต่าง ๆ ที่ใช้ ในการผลิตสินคา้ ได้แก่ 2.3.1 วัตถุดิบทางอ้อม (Indirect Materials) หมายถึง วัตถุดิบทีเก่ียวข้อง กับการผลิต แตไ่ ม่ใชว่ ัตถุดิบหลัก เชน่ ด้าย กาว ฯลฯ 2.3.2 ค่าแรงทางอ้อม (Indirect Labor) หมายถึง ค่าแรงอ่ืน ๆ ที่ไม่ เก่ียวข้องกบั การผลติ สินคา้ โดยตรง เช่น คา้ จ้างพนักงานทาความสะอาด คา่ จ้างบรรจสุ ินค้า ฯลฯ 2.3.3 ค่าใช้จ่ายอื่น ๆ หมายถึง ค่าใช้จ่ายท่ีเกิดขึ้นเป็นส่วนประกอบในการ ผลติ สนิ ค้าหรอื เรยี กวา่ คา่ โสหุย้ เชน่ ค่านา้ ประปา คา่ ไฟฟา้ ค่าโทรศัพท์ ฯลฯ 3. วธิ กี ารค้านวณตน้ ทุน ต้นทนุ การผลิต = วัตถดุ บิ ทางตรง + คา่ แรงทางตรง + คา่ ใช้จา่ ยในการผลติ

31 4. ก้าหนดราคาขาย การกาหนดราคาขายเพ่ือให้เป็นที่พอใจแก่ผู้ซ้ือและมีผลกาไรพอควรมาสู่ผู้ผลิตน้ันมิใช่เรื่อง ง่ายนักท้ังนี้เพราะผู้มีอานาจในการต้ังราคาสินค้าจะต้องพิจารณาถึงปัจจัยหลาย ๆ อย่างประกอบกันกับการ พจิ ารณาในเรอ่ื งตน้ ทนุ ปัจจัยท่ีควรคานึงถึงในการกาหนดราคาขาย มที ั้งปัจจัยที่สามารถควบคุมได้และควบคุม ไมไ่ ด้ โดยนามาพิจารณาประกอบการตดั สินใจได้ ดังนี้ 4.1 วตั ถปุ ระสงค์ในการก้าหนดราคา (Objective) ผมู้ ีอานาจในการตัง้ ราคา จะต้องเข้าใจถงึ วัตถุประสงค์ของกิจการว่าตอ้ งการอะไร เช่น ตอ้ งการต่อสกู้ ับคู่แข่ง ก็ควรจะลดราคาให้ตา่ กวา่ คูแ่ ข่งเพื่อการยดึ ครองตลาด หรอื ต้องการให้ได้กาไรสูงขน้ึ โดยเพมิ่ ยอดขายใหม้ ากท่ีสุดและได้กาไรต่อหนว่ ยต่า ฯลฯ 4.2 ลกั ษณะของสนิ ค้าหรอื บริการ (Character of the Product or Services) การทาใหต้ ัวสินคา้ แตกต่างไปจากคแู่ ขง่ ก็จะทาใหผ้ ลติ ภัณฑ์ของเราขายได้ ถงึ แม้วา่ ราคาจะแตกตา่ งกันก็ตาม ดงั นน้ั การพจิ ารณาถึงลกั ษณะพเิ ศษของผลิตภณั ฑ์หรอื การใหบ้ รกิ ารท่ีแตกตา่ งกันทาใหเ้ ราสามารถตัง้ ราคาได้ แตกต่างกนั ด้วย 4.3 ปัจจัยเกย่ี วกบั ต้นทนุ โดยเฉพาะการต้ังราคาสนิ ค้าโดยทัว่ ไปจะพิจารณาถึง ตน้ ทุนการผลิต และต้นทนุ การตลาด หรอื บางครง้ั เรียกว่า ตน้ ทุนการจัดจาหน่าย บวกกาไรพอสมควรหรือ กาไรโดยปกติทก่ี จิ การควรได้ 4.4 ปจั จัยทางการแข่งขนั ลักษณะสภาพตลาดของไทยสว่ นใหญ่เป็นการแข่งขันไม่ สมบูรณ์ โดยมกี ารทาผลติ ภัณฑ์ให้แตกต่างกัน เพ่ือการตัง้ ราคาสินค้าให้สูงกวา่ คู่แขง่ นอกจากนีผ้ ูผ้ ลิตยังต้อง คอยระมดั ระวังเกย่ี วกับปฏกิ ิริยาของคแู่ ข่ง เพ่ือการรักษาตลาดของตนไว้ 4.5 ปจั จัยทางภาวะเศรษฐกิจ สภาพเศรษฐกจิ ที่ซบเซาหรือรุ่งเรืองยอ่ มส่งผลถึง การคาดคะเนยอดขายในอนาคตได้ และในยามทีเ่ ศรษฐกจิ รุ่งเรืองผูผ้ ลิตจะต้องรับผดิ ชอบต่อการผลิตสินค้าให้ ทันกับความต้องการทเ่ี พิ่มขน้ึ ดว้ ย 5. ความหมายของราคา ราคาถือได้ว่าเป็นสื่อกลางของการแลกเปล่ียนและเป็นปัจจัยสาคัญอันจะนาไปสู่การเปลี่ยนแปลง การเป็นเจ้าของ อีกทั้งสามารถสร้างความพึงพอใจให้แก่ผู้ซ้ือและผู้ขาย ดังน้ันการตั้งราคาขายจึงกาหนดจาก ต้นทุนบวกกาไร ซ่ึงถ้าผู้บริโภคไม่ยอมรับในระดับราคาน้ัน ผู้ผลิตก็ต้องตั้งราคาใหม่หรืออาจมีผลทาให้วงจร ของผลิตภัณฑ์สั้นลง ด้วยเหตุนี้การกาหนดราคาขายจึงตอ้ งคานึงถึงกลุ่มเป้าหมาย เพราะในปัจจุบันสินค้าและ บริการในตลาดมักถูกกาหนดโดยผู้บริโภคเปน็ สาคญั แตใ่ นความเป็นจริงปรากฏวา่ ผบู้ ริโภคตอ้ งการราคาระดับ หนึ่ง ส่วนผู้ผลิตก็ต้องการขายในราคาระดับหนึง่ ซึ่งไม่ตรงกัน เพราะจุดมุ่งหมายของผู้ผลิตต้องการกาไรมาก ๆ ฝ่ายผู้ซื้อต้องการสินค้าราคาถูก คุณภาพดี ดังน้ันการกาหนดราคาให้เหมาะสมกับกลุ่มผู้บริโภคจึงเป็นสิ่งที่ จาเปน็

32 ขน้ั ตอน วิธกี ำรประดษิ ฐ์ดอกไมส้ ด – ใบตอง วิธีการมดั ดอกข่า 1. ฉกี ใบตองขนาด 2X3 นวิ้ วางกลบี ดอกกุหลาบคว้่าหน้าลงแล้วม้วนจนสุดใบตองให้ฐานใบตองกว้างแต่ ยอดแหลม 2. พับกลีบกหุ ลาบเป็นกระพุ้ง 2 กลีบ ประกบซ้ายขวา แลว้ มัดด้วยด้ายใหแ้ นน่

33 3.พบั กลีบกหุ ลาบเปน็ กระพุ้ง 2 กลบี ประกบซ้ายขวา สับหวา่ งกับชนั้ ท่ี 2 แล้วมัดดว้ ยด้ายให้แน่น 4 .พับกลีบกุหลาบเปน็ กระพุ้ง 2 กลีบ ประกบซ้ายขวา สับหวา่ งกับชั้นที่ 3 แล้วมัดด้วยดา้ ยให้แนน่ 5. พบั กลีบกุหลาบเป็นกระพุ้ง 2 กลีบ ประกบซา้ ยขวา สับหว่างกบั ชนั้ ที่ 4 แล้วมดั ด้วยดา้ ยให้แน่น จะได้ ดอกขา่ ส้าเร็จ 1 ดอก

34 วิธีการรอ้ ยมาลยั ตุ้ม 1. พับใบตองเปน็ แป้นสาหรบั ร้อยมาลยั เสียบลงเข็ม จากน้ันใชม้ อื ข้างท่ีถนัดจับเข็มมาลัย พบั กลบี ดอกกหุ ลาบ ทบคู่ รอ้ ยลงเข็ม 5 กลีบ ส่งความยาว 0.5 ชม. 2. ชน้ั ที่ 2 พบั กลีบดอกกุหลาบทบคู่ ร้อย 5 กลบี สง่ ความยาว 1 ซม ใหส้ บั หว่างกบั ชัน้ ท่ี 1 3. ชั้นที่ 3 พบั กลีบดอกกหุ ลาบทบคู่ รอ้ ย 5 กลีบ ส่งความยาว 1.5 ชม. ให้สบั หวา่ งกัน

35 4. ชน้ั ท่ี พบั กลบี ดอกกหุ ลาบทบคู่ ร้อย 5 กลีบ ส่งความยาว 2 ชม. ให้สับหว่างกับชน้ั ที่ 3 5.ชัน้ ตอ่ ไป ใหล้ ดขนากลบี ลง เป็น 1.5 , 1, และ 0.5 ตามลาดบั จนไดเ้ ปน็ รูปทรงมาลัยตุ้ม ผลงานส้าเรจ็

36 วิธกี ารร้อยมาลยั ซกี 1. มาลัยซกี ดอกพุด 1. ตัดก้านดอกพดุ ให้ส้นั ลงเตรยี มไว้ พับใบตองเปน็ แป้นส้าหรบั ร้อยมาลัยเสยี บลงเข็ม จากนั้นใช้ มือขา้ งที่ถนัดจับเข็มมาลัย อีกขา้ งรอ้ ยดอกพดุ 3 ดอก ส่งความยาวของดอกให้เท่ากัน 2. ช้ันที่ 2 ร้อยดอกพดุ 2 ดอก สับหวา่ งกับช้นั ที่ 1 3. ร้อยสลับสับหว่างกนั ไปเรอ่ื ยๆ จนได้ความยาวตามตอ้ งการ

37 2. มาลยั ซกี กลีบกุหลาบ 1. พบั ใบตองเป็นแป้นส้าหรับร้อยมาลัยเสียบลงเขม็ จากนั้นใช้มอื ขา้ งที่ถนัดจบั เข็มมาลยั อีกขา้ ง พบั กลบี ดอกกุหลาบทบครู่ อ้ ยลงเข็ม 3 กลบี 2. ชนั้ ท่ี 2 ร้อยกลีบกุหลาบทบคู่ 2 กลีบสับหว่างกบั ชั้นท่ี 1 3. ร้อยสลับสับหว่างกันไปเร่อื ยๆ จนได้ความยาวตามตอ้ งการ

38 วธิ ีการเย็บแบบกลบี ดอกบวั 1. วางใบตองสลับทางกนั 4 ชน้ั ตัดแบบกลบี บวั ขนาดกว้าง 2 1/2 น้วิ ยาว 2 1/2 นิ้วจา้ นวน 12 แบบ 2. ดามลวดตรงกลางใบตอง เย็บตรงึ ด้วยดา้ ย 3. ปิดลวดดว้ ยใบตองเยบ็ ตรึงด้วยด้าย 4. ฉีกใบตองกวา้ ง 2 ชม. ยาว 6 ชม. แบ่งคร่งึ ใบตองใหเ้ ท่ากัน พบั ริมใบตองดา้ นซา้ ยลงใหเ้ ปน็ เสน้ ต้ังฉาก

39 5. พบั ใบตองด้านริมขวาให้ชดิ เสน้ ก่งึ กลางใบตอง 6. พับทบท้ังสองขา้ งเขา้ หากัน 7 . พับตลบสันทบกลับมาทางขวาให้เป็นแนวเสน้ โค้งทแยง 8. น้ากลบี กหุ ลาบมาเย็บหุ้มริมแบบกลบี บวั เยบ็ จนเต็มขอบแบบทงั้ 2 ดา้ น 9. พบั กลีบดอกกุหลาบเป็นกลีบกระพุ้งเย็บลงในแบบกลีบบวั 10. เย็บจนเต็มแบบกลบี บัว

40 วิธกี ารการประดษิ ฐพ์ านพ่มุ สักการะ (ดอกไม้สด) 1. ตดั โฟมกวา้ งเทา่ ปากพาน ความหนา 3 นิ้ว เกลาให้โค้งมน ลักษณะคล้ายหลังเต่า ตัดใบซุ้มกระตา่ ย ยาว 4 นิ้ว จ้านวน 70 ใบ ติดลงบนโฟม ใหแ้ ตล่ ะเส้นซ้อนทบั กนั โดยใช้ตะปูหมุดยึดใหแ้ นน่ 2. นา้ พ่มุ วางตรงกลางพานยึดใหแ้ นน่ ด้วยไม้ไผ่ปลายแหลม 3. ตดิ แบบกลีบบัวทช่ี ่องวา่ งตรงตัวพุ่ม 4. ชนั้ ท่ี 2 ปักแบบกลีบบัวสับหว่างกับชัน้ แรก

41 5. ชนั้ ท่ี 3 และชั้นที่ 4 ปักกลบี บวั ให้หงายกลีบขึ้น 6. รัดมาลยั แบนตรงส่วนฐานหลงั เตา่ ยึดติดด้วยลวดตัวยู 7. ปักตุ้มยอดบนยอดพุ่ม

42 วธิ ีการห่อทรงสงู

43 วิธีการหอ่ ขนมเทยี น

44 วธิ ีการหอ่ ขา้ วต้มมัด

45 วธิ ีการประดิษฐก์ ระทงสองมมุ ทอ้ งแบน


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook