Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore งานนำเสนอไม่มีชื่อ

งานนำเสนอไม่มีชื่อ

Published by Anuphat Tongrung, 2020-08-16 06:59:53

Description: งานนำเสนอไม่มีชื่อ

Search

Read the Text Version

แนวคดิ เกี่ยวกับอตั ราการเกิด ปฏกิ ริ ยิ าเคมี จัดทาํ โดย นาย อนุภทั ร ทองรุง มัธยมศกึ ษาปท ี่5 เลขที่11 เสนอ คุณครู นกแกว แกวคง โรงเรียนโพธิสมั พนั ธพ ทิ ยาคาร

คาํ นํา รายงานเลม นจ้ี ัดทาํ ขึน้ เพอ่ื เปนสว นหนง่ึ ของวิชา เคมีชน้ั มธั ยมศกึ ษาปท่ี 5 โดยมีจุดประสงคเ พื่อการศึกษาผาน หนงั สอื อเิ ล็กทรอนิกส เรอื่ งแนวคดิ เก่ยี วกบั อตั ราการเกดิ ปฏกิ ิริยาเคมีเพื่อเปน ประโยชนต อ การเรียน ทางผูจ ัดทําหวังวาหนังสอื อเิ ลก็ ทรอนกิ สเรอ่ื งแนว คิดเกีย่ วกบั อัตราการเกิดปฏกิ ิรยิ า จะเปน ประโยชนแกผูอานท่ี กาํ ลงั ศกึ ษาหาขอมูลเรื่องนีอ้ ยหู ากมขี อ ผดิ พลาดประการใด ขออภยั มา ณ ท่นี ดี้ วยครบั ผูจดั ทาํ นาย อนุภทั ร ทองรุง



แบบทดสอบกอ น-หลงั เรยี น



แนวคิดเกยี่ วกบั การเกดิ ปฏกิ ริ ยิ าเคมี การเกิดปฏกิ ิรยิ าเคมีสามารถอธิบายไดโ ดยใชทฤษฎกี ารชนและทฤษฎีสารเชิงซอ นที่ ถูกกระตุน 1. ทฤษฎกี ารชนกนั (Collision Theory) ทฤษฎีน้ีอธิบายวา “ปฏิกิรยิ าเคมีจะเกิดขน้ึ ไดกต็ อ เม่ืออนุภาคของสารตั้งตน อาจ เปน โมเลกุลอะตอมหรือไอออนก็ได จะตองมกี ารเคลื่อนท่ชี นกนั กอน” แตมิได หมายความวา การชนกันของอนภุ าคทุกครงั้ จะเกดิ ปฏิกิรยิ า การชนกันของอนภุ าค ของสารตัง้ ตน จะเกดิ ปฏิกริ ิยาไดห รือไมข ้นึ อยูกบั ปจ จยั ตอไปนี้ 1.1.พลงั งานจลนของอนุภาคทเี่ คล่ือนที่ชนกัน อนภุ าคของสารตัง้ ตนเมื่อ ชนกันแลว จะเกิดปฏกิ ิรยิ าไดก ็ตอเมอ่ื อนุภาคทชี่ นกนั จะตองเคล่อื นทเ่ี รว็ หรอื มี พลงั งานจลนสูง คือเมือ่ ชนกันแลวพลงั งานทไี่ ดจ ากการชน จะตอ งสูงพอที่ทาํ ใหพ ันธะ ในสารตั้งตน สลาย แลวสรางพันธะใหมเ กิดเปนสารผลิตภณั ฑไ ด 1.2.ทิศทางการชนของอนภุ าค การชนกันของอนภุ าคจะเกดิ ปฏกิ ริ ิยาได นอกจากน้ขี นึ้ อยูกบั พลังงานจลนของอนุภาคแลว ยังข้นึ อยกู บั ทิศทางในการชนดว ย เชน ปฏิกิรยิ าระหวา งแกส ไฮโดรเจน (H2) กับไอของไอโอดีน (I2) กลายเปนแกส ไฮโดรเจนไอโอไดด (HI) ดงั สมการ H2(g) + I2(g) → 2HI(g) ปฏกิ ริ ยิ าน้ีจะเกิดขึน้ ไดเ มือ่ โมเลกลุ ของ H2 และโมเลกลุ ของ I2 จะตองมีพลังงานจลนส งู พและโมเลกลุ ท้งั สองจะตองเคลือ่ นทชี่ นกนั ในทิศทางท่ี เหมาะสมดว ย






Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook