Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือกาารอ่านออนไลน์ ห้องสมุดประชาชนอำเภอตะกั่วทุ่ง

คู่มือกาารอ่านออนไลน์ ห้องสมุดประชาชนอำเภอตะกั่วทุ่ง

Published by thiratpullsawat, 2021-12-02 12:44:55

Description: คู่มือกาารอ่านออนไลน์ห้องสมุดประชาชนอำเภอตะกั่วทุ่ง

Search

Read the Text Version

คู่มอื ส่งเสรมิ การอา่ นออนไลน์ กศน.อาเภอตะก่วั ทุ่ง ประจาปี 2563 ศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศกึ ษา ตามอธั ยาศยั อาเภอตะกวั่ ทงุ่ สงั กดั สานกั งาน กศน.จงั หวัดพังงา คูม่ อื การอ่านออนไลน์ หอ้ งสมุดประชาชนอาเภอตะก่วั ทุ่ง

คำนำ ในยุคปัจจุบันท่ีมีการเปล่ียนแปลงอย่างรวดเร็ว เทคโนโลยี ดิจิทัล มีอิทธิพลสูงต่อการดาเนนิ ชีวิตประจาวันของผู้คนทั่วไป ส่งผลให้เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการอ่านของผู้อ่านหนังสือจานวนมาก โดยเฉพาะกลุ่มเด็กและคนหนุ่มสาวท่ีหันไปอ่านหนังสือ หรือรับรู้ข้อมูลข่าวสาร และเรื่องราวที่สนใจผ่าน อินเทอร์เน็ต โดยการอ่านบนหน้าจอ โทรศัพท์มือถือ (smart phone) หรือคอมพิวเตอร์ แทนการอ่านหนังสอื ที่พิมพ์เป็นเล่มมากข้ึน เทคโนโลยีดิจิทัลจึงมีส่วนอย่างสาคัญในการทาให้หนังสืออิเล็กทรอนิกส์เกิดข้ึนอย่าง มากมาย การอ่าน e-book หรือ หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ ที่สามารถดาวน์โหลดได้ จาก smart phone สาหรับ ใช้เปน็ สอ่ื กลางสง่ ผา่ นการเล่าเรื่องจากผูเ้ ขยี นไปสูผ่ ู้อ่าน การเปลย่ี นแปลงพฤติกรรมการอา่ นขนึ้ อย่างเห็นได้ชัด โดยเฉพาะกลุ้มเป้าหมายที่ชื่นชอบการใช้อินเทอร์เน็ต 6-7 ชั่วโมงต่อวัน นิยมอ่าน รับรู้ หรือเสพ เร่ืองราว ตา่ งๆ ทางออนไลนผ์ ่านหน้าจอโทรศพั ทม์ อื ถอื หรือคอมพิวเตอร์ ดังน้ัน ห้องสมุดประชาชนอาเภอตะกั่วทุ่ง จึงได้เล็งเห็นความสาคัญของการให้ความรู้ใน ด้านการใช้งานของแอพพลิเคช่ันท่ีจะช่วยเป็นสื่อในการเพ่ิมอัตราการอ่าน จึงได้จัดทาคู่มือส่งเสริมการอ่าน ออนไลน์ เพ่ือเป็นแนวทางในการแนะนาให้ความรู้ และส่งเสริมการอ่านในยุคดิจิทัล ให้ครอบคลุมได้ทุก กลมุ่ เป้าหมาย สามารถเข้าถงึ การอา่ นไดส้ ะดวกและรวดเร็วมากขน้ึ โดยหวงั เปน็ อยา่ งยิ่งว่า ค่มู ือฉบับน้ี จะเปน็ ประโยชน์แกป่ ระชาชน ชมุ ชน ทุกกล่มุ เป้าหมายท่ีจะนาเทคโนโลยดี จิ ทิ ลั เขา้ มามสี ่วนร่วมในการพฒั นาคุณภาพ ชวี ติ ของตนเองจากการอา่ นได้เพม่ิ ขน้ึ อยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ ตอ่ ไป หอ้ งสมุดประชาชนอาเภอตะกั่วท่งุ คู่มอื การอา่ นออนไลน์ หอ้ งสมดุ ประชาชนอาเภอตะก่วั ทงุ่

คู่มอื กำรอำ่ นออนไลน์ ห้องสมดุ ประชำชนอำเภอตะก่วั ทุ่ง ควำมจขุ ้อมูลคิวอำร์โค้ด มากสดุ 7,089 ตัวอกั ษร ตัวเลขอย่างเดียว มากสดุ 4,296 ตวั อกั ษร ตัวอกั ษร ผสม ตัวเลข มากสดุ 2,953 ไบต์ ไบนารี (8 บิต) Max. 1,817 ตวั อักษร คนั จิ/คะนะ QR Code คอื อะไร QR Code (คิวอาร์ โค้ด) คือ สัญลักษณ์ส่ีเหลี่ยม ที่เริ่มเห็นแพร่หลายมากขึ้น ไม่ว่าจะเป็นจาก หนงั สือพมิ พ์หรอื นติ ยสาร QR Code (คิวอาร์ โคด้ ) ย่อมาจาก Quick Response (ควิ๊ก เรสปอน) เป็นบารโ์ ค้ด 2 มติ ิ ทีม่ ีตน้ กาเนดิ มาจากประเทศญี่ปุ่น โดยบริษัท Denso-Wave (เดนโซ-เวฟ) ตง้ั แต่ปี 1994 คุณสมบัติของ QR code คือ เป็นสัญลักษณ์แทนข้อมูลต่างๆ ท่ีมีการตอบสนองท่ีรวดเร็ว ซ่ึงส่วนใหญ่จะนามาใช้กับสินค้า , ส่ือโฆษณา ต่างๆ เพอ่ื ใหข้ อ้ มลู เพิ่มเติม หรอื จะเปน็ URL (ยอู าร์แอล) เว็บไซต์ เมอื่ นากลอ้ งของโทรศัพท์มือถือ ไปถ่าย QR Code ก็จะเข้าส่เู วบ็ ไซตไ์ ดท้ นั ทโี ดยไม่ต้องเสยี เวลาพิมพ์ ประโยชน์ของ QR Code เราสามารถนา QR Code มาประยุกต์ใช้ได้หลากหลายรูปแบบ เช่น แสดง URL ของเว็บไซต์, ข้อความ, เบอร์โทรศัพท์ และข้อมูลที่เป็นตัวอักษรได้อีกมากมาย ปัจจุบัน QR Code ถูก นาไปใช้ในหลายๆ ด้าน เน่ืองจากความรวดเร็ว ประโยชน์ท่ีเห็นได้ชัดที่สุดของ QR Code คือการแสดง URL ของเวบ็ ไซต์ เพราะ URL โดย ปกตแิ ลว้ จะจดจ ายากเพราะยาวและบางทกี ็จะซบั ซอ้ นมาก แต่ดว้ ย QR Code คู่มอื การอา่ นออนไลน์ ห้องสมุดประชาชนอาเภอตะกว่ั ทุ่ง

2 เพียงแค่ยกมือถือมาสแกน QR Code ท่ีพบเห็นตามผลิตภัณฑ์ต่างๆ, นามบัตร, นิตยสาร ฯลฯ แล้วมือถือจะ ลิ้งค์เข้าเว็บเพจที่ QR Code นั้นๆ บันทึกข้อมูลอยู่โดยอัตโนมัติ QR Code มีกี่ประเภท โดยประเภทของ QR Code น้ันมีท้ังหมด 5 ประเภทหลักครับ มีช่ือเรียกแต่ละประเภทตามนี้ คือ QR Code Model 1 and Model 2, Micro QR Code , IQR Code, SQRC และ Frame QR ครบั แบบทห่ี นึ่ง คือ QR Code Model 1 เป็น QR Code แบบด้ังเดิมแล้วมีขนาดใหญ่ที่สุดในบรรดา QR Code ท้ังหมด มีขนาด 73 * 73 โมดูล มีความสามารถบรรจุข้อมูลได้ถึง 1167 ตัว และอีกแบบ คือ Model 2 เป็นเวอร์ช่ันที่พัฒนามาจาก Model 1 มีความสามารถบรรจุข้อมูลได้ถึง 7089 ตัวอักษร ในปัจจุบัน Model 2 เป็นท่ีนิยมใช้กันอย่างแพร่หลายและ สามารถพบเห็นได้ทั่วไป แบบท่ีสอง คือ Micro QR Code เป็น QR Code ท่ีมีขนาดเล็กกว่าแบบแรกมาก เพราะแสดงผล บางจุดตรวจตาแหน่ง ( position detection pattern) เพียงตาแหน่งเดียว ขนาดใหญ่ท่ีสุด ของแบบท่ีสองนี้ คือ M4 (17 * 17 โมดูล) บรรจุข้อมูลได้ 35 ตัวเลข แบบที่สาม คือ IQR Code เป็น QR Code ที่มีขนาดเล็กกว่าแบบดั้งเดิมมากและพิมพ์ออกมา เป็นแนวนอน (rectangular code) สามารถเก็บ ข้อมูลได้มากกว่าถึง 80 เปอร์เซ็นต์ ถ้าจัดเก็บข้อมูลในปริมาณท่ี เท่ากันจะประหยัดพ้ืนที่ในการแสดงผลได้ถึง 30 เปอร์เซ็นต์ เก็บข้อมูลได้ถึง 40000 ตัวอักษร แบบที่ 4 คือ SQRC เป็น QR Code ท่ีมีคุณลักษะเหมือนกับ QR Code Model 1 and Model 2 ทุกประการ แต่มีความเพ่ิมเติม คือ สามารถเก็บข้อมูลท่ีเป็นความลับได้ และแบบสุดท้ายมีชื่อว่า Frame QR เป็น QR Code ที่สามารถนารูปภาพ กราฟิกมาติกบริเวณ ตรงกลางของ QR Code ได้ สว่ นใหญ่ในงานประชาสัมพนั ธ์งานอีเวนต์ นทิ รรศการ เพ่อื ใหส้ ะดุดตาผเู้ ข้าชม โดย การนาภาพ มาติดจะไม่สง่ ผลกระทบกบั การอ่านข้อมลู บน QR Code กำรอำ่ นในยคุ ดจิ ทิ ัล การอ่านหนังสือมีประโยชน์เพื่อช่วยพัฒนาท้ังด้านความคิด เชาวน์ปัญญา และเป็นพื้นฐาน ของการต่อยอดองคค์ วามรใู้ ห้ลึกซ้ึงย่งิ ขนึ้ การส่งเสรมิ การอ่านเป็นการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ตลอดชีวิต แต่ รปู แบบของการอ่านหนงั สือในยุคดจิ ิทลั มีการเปล่ียนแปลงไป ความรตู้ า่ งๆ สามารถหาได้จากอนิ เทอร์เนต็ และ ถูกบรรจุไว้ในเทคโนโลยีแบบพกพา เช่น แท็บเลตคอมพิวเตอร์และสมาร์ทโฟน ซึ่งผู้เรียนสามารถเข้าถึงข้อมูล ได้ท้ังในและนอกห้องเรียน โรงเรียนยุคดิจิทัล ผู้เรียนสามารถเข้าถึงความรู้ได้ทุกท่ี ทุกเวลา เน้นการสร้าง เครือข่ายทางสังคมและการเรียนรู้ร่วมกัน ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการออกแบบการเรียนรู้ของตนเอง ซึ่งจะส่งผล ต่อประสิทธิภาพการเรียนรู้ อีกท้ังการใช้เทคโนโลยีดิจิทัลมาสนับสนุนการเรียนการสอน จะทาให้ผู้เรียนเกิด ความสนุกที่จะเรียนรู้ ได้ท้ังความรู้และความเพลิดเพลิน ห้องสมุดโรงเรียนสามารถนาเทคโนโลยีดิจิทัลมา ประยุกต์ใช้ในการให้บริการส่งเสริมการอ่านให้กับผู้เรียนได้อย่างมีประสิทธิภาพ เช่น การจัดทาวิดีโอคลิปการ เล่านิทานส่งเสริมการอ่าน การเล่าเรื่องหนังสือ การแนะนาหนังสือ การจัดทาบรรณานุกรมและบรรณนิทัศน์ หนังสือผ่านสื่อสังคมออนไลน์ เช่น เฟซบุ๊ก ไลน์ ยูทูป การจัดการแข่งขันเก่ียวกับการอ่าน และการจัดหา หนังสืออเิ ลก็ ทรอนกิ ส์มาใหบ้ ริการ เป็นต้น คู่มือการอ่านออนไลน์ หอ้ งสมดุ ประชาชนอาเภอตะกว่ั ทุ่ง

3 พฤตกิ รรมกำรอำ่ นของคนไทย ในยุคดิจิตอลแบบนี้ เทรนด์การอ่านหนังสือหรือการอ่านนิยายแบบ E-Book กาลังเป็นท่ีนิยมและ ได้รับความสนใจเป็นอย่างมาก เน่ืองจากปัจจัยหลาย ๆ อย่าง แน่นอนว่าหนังสือแบบเล่มก็ยังคงเป็นสิง่ ท่ีไดร้ ับ ความนิยมจากนักอ่าน ซึ่งรูปแบบการอ่านทั้ง 2 แบบนี้เหมือนหรือแตกต่างกันอย่างไร รวมถึงบอกข้อดีและ จุดเดน่ ของแตล่ ะแบบวา่ มีความเหมอื นหรือต่างกนั อยา่ งไรบ้าง การอา่ นนิยายหรือหนงั สอื รูปแบบเล่ม รูปแบบการอ่านท่นี ักอ่านหลาย ๆ คนตา่ งกร็ ู้สึกคุ้นเคยกันเป็นอยา่ งดี นั่นก็คอื หนังสือนิยาย แบบรปู เลม่ ที่มีวางขายอยู่ตามรา้ นหนังสอื ง เสนห่ ข์ องการอา่ นหนังสือแบบรูปเลม่ ท่เี ราต่างกร็ สู้ ึกได้ คอื มัน สามารถจับต้องได้ ทง้ั สมั ผสั ของกระดาษ น้าหนัก ขนาด และกลน่ิ ของกระดาษท่ีเราเปิดอา่ นในแต่ละหน้าก็ ล้วนเป็นเสนห่ ์ที่น่าหลงใหลของหนงั สอื แบบรปู เลม่ ซง่ึ ยงั ไมร่ วมถงึ เสนห่ ์ในระหวา่ งการเลือกซื้อหนงั สือแต่ละ เลม่ มาเป็นเจา้ ของ ดว้ ยทีเ่ ราต้องเดนิ เข้าไปทรี่ า้ นหนังสือ เลือกหยิบ เลือกจับหนงั สอื ทีเ่ รารสู้ กึ สะดดุ ตาขน้ึ มา เปดิ อา่ น เมื่อถูกใจจึงคอยหยิบไปจา่ ยเงนิ การอ่าน E-Book หรือหนงั สือนยิ ายแบบออนไลน์ เป็นการอ่านรูปแบบใหม่ที่กาลังได้รับความนิยมมากขึ้นอยู่ทุกวันในขณะน้ีเพราะอินเตอร์เนต็ ถอื เปน็ ส่วนหนึง่ ในชีวิตประจาวนั ของหลาย ๆ คนไปแล้ว การอ่านนยิ ายออนไลนจ์ ะทาให้ทกุ ๆ คนสามารถ คู่มือการอา่ นออนไลน์ ห้องสมดุ ประชาชนอาเภอตะก่ัวทุ่ง

4 เข้าถึงหนังสือนิยายทุกเล่มได้ผ่านโลกออนไลน์ ไม่ว่าจะเป็นนิยายเก่าหรือใหม่ สามารถเลือกซ้ือเลือกอ่านได้ อย่างรวดเร็ว มีแพลตฟอร์มออนไลน์สาหรับการเขียน-อ่านนิยายออนไลน์ให้เลือกหลากหลาย สามารถติดตาม ข่าวสารเกี่ยวกับนิยายได้ง่ายไม่มีตกหล่น แถมยังพกพาสะดวกสามารถพกไปอ่านได้ทุกท่ี ทุกเวลา อยากอ่าน เร่ืองไหนก็เปิดอ่านได้เลย เสน่ห์ของการอ่านหนังสือนิยายแบบ E-Book คงหนีไม่พ้นการได้แลกเปล่ียนความ คิดเห็นพูดคุยกันของเหล่านักอ่านว่ารู้สึกอย่างไรกับเน้ือหานิยายตอนนั้น มาร่วมแลกเปล่ียนความรู้สึกกันทั้ง ฉากฟนิ ๆ ฉากซง้ึ ไปจนถึงฉากเศรา้ ๆ อ่านไปร้องไห้ไปกล็ ้วนนามาพูดคยุ แชร์ประสบการณ์กัน เหมือนมีเพื่อน อ่านด้วยไม่มีเหงา และด้วยความสะดวก และเข้าถึงง่าย แถมยังมีชุมชน (Community) ขนาดย่อม ๆ ของ เหล่านักอ่านทาให้การอ่านนิยายแบบ E-Book จึงเริ่มได้รับความนิยายมากข้ึนเร่ือย ๆ การอ่านหนังสือนิยาย รปู แบบเล่มกย็ ังคงไดร้ ับความนยิ มจากนักอ่านหลายๆ คนอยูเ่ พราะด้วยเสน่หเ์ ฉพาะตัวอยา่ งท่ีได้กลา่ วไป จึงทา ให้นักอ่านหลายคนเลือกที่จะอ่านท้ังแบบรูปเล่ม และแบบ E-Book ไปพร้อม ๆกัน ยามว่างหยุดพักผ่อนอยู่ บ้านก็เลือกที่จะอ่านหนังสือแบบรปู เลม่ เพื่อซึมซับบรรยากาศการอ่าน ที่ได้จับเล่มหนังสือ ส่วนตอนที่ต้องออก จากที่พัก เดินทางไปทางาน หรือระหว่างเดนิ ทางไปเรียนก็สามารถอ่านนยิ ายเรือ่ งนั้นต่อผ่านชอ่ งทาง E-Book ได้เลย ทาใหไ้ ม่รสู้ ึกขาดชว่ ง แถมยังสามารถนาขึน้ มาเปดิ อ่านระหวา่ งวันได้ยามว่าง ไมต่ อ้ งพกหนังสือเล่มใหญ่ ไปไหนมาไหนใหห้ นกั กระเป๋า ดังน้ัน ถงึ แม้ในปจั จบุ ันการอ่านนิยายจะมรี ูปแบบใหเ้ ลอื กหลากหลายมากขึ้น การอ่านนิยาย รปู แบบเลม่ ก็ยังคงได้รบั ความนิยมอยู่ ไม่มีทางลม้ หายตายจากไปง่าย ๆ อย่างแน่นอน ท้ังน้ี หนงั สอื นยิ าย รูปแบบเล่มก็มักจะมีของแถมพิเศษ ๆ มาให้พรอ้ มกบั หนงั สือด้วย อาทิ ที่คนั่ หนงั สือ โปสการ์ดแถมให้เราได้ ตามเก็บ รวมถึงของทีร่ ะลกึ อื่น ๆ ทเ่ี กี่ยวขอ้ งกับนยิ ายเร่ืองนน้ั ๆ กย็ ่งิ เปน็ ส่ิงดึงดูดใหเ้ หลา่ นักอ่านไดม้ ากขึน้ วธิ ีการอา่ นหนงั สือ และส่ือ QR code ด้วยมือถือ วิธกี ารใชม้ อื ถือหรอื อปุ กรณเ์ พ่อื ทาการอา่ น QR code เพอื่ ดงึ ข้อมูลขน้ึ มาใชง้ าน ไม่วา่ จะเปน็ ข้อมลู ประเภท e-mail, website address หรือ Text message ต่างๆ ด้วยยคุ สมยั แห่งเทคโนโลยี ตอนน้เี ราสามารถเอา บทความเป็นหน้าๆ เขา้ ไปไว้บน QR code ได้แลว้  เราตอ้ งดาวน์โหลดแอพสาหรับอ่าน Qr code (แนะนาแอพ QR droid, QR code scanner, Barcode scanner หรอื Goggle กส็ ามารถอ่านได)้ โหลดจาก Google play store มาไว้ในเครื่องได้เลยครบั ค่มู อื การอา่ นออนไลน์ ห้องสมุดประชาชนอาเภอตะกว่ั ทุ่ง

5  เปดิ แอพขึน้ มา, แอพจะเปิดการทางานของกล้อง  ให้เรานากล้องมาจ่อไว้ทสี่ ญั ลักษณ์ QR code ทเ่ี ราต้องการครับ แอพจะทาการอา่ นเองโดย อตั โนมตั ิ ** ในบางครัง้ แอพอาจจะไมส่ ามารถอ่าน QR code ได้ ท้ังนีก้ ็อาจจะมปี จั จยั อื่นๆ เขา้ มา รบกวน เช่น แสงสวา่ งนอ้ ยหรือมากเกนิ ไป, มีส่ิงแปลกปลอมติดหรอื เลอะอยูบ่ น QR code ในกรณที ่ีไม่ต้องการ ดาวโหลดแอพลเิ คชนั่ สามารถ ใช้โทรศพั ท์มือถอื อา่ น Qr code ได้จากแอพพลิเคชั่น Line โดยมวี ิธกี ารดังน้ี 1. เปิดแอพลิเคชั่น LINE แลว้ ไปท่ี หน้าหลกั แตะไอคอน เพมิ่ เพ่ือน 2. แตะไปทีไ่ อคอน QR Code จากนั้นก็เริม่ ทาการสแกนได้เลย คูม่ อื การอ่านออนไลน์ ห้องสมดุ ประชาชนอาเภอตะก่ัวทุ่ง

6 3. แตะ Open หากเป็น QR Code ของลงิ คต์ า่ งๆ ซ่งึ จะแสดง URL หรอื ชือ่ ลงิ คใ์ ห้เห็นด้วย คู่มอื การอ่านออนไลน์ ห้องสมุดประชาชนอาเภอตะกัว่ ทุ่ง

7 หนังสือ E BOOK ทจ่ี ดั ทาให้บริการในรปู แบบ QR CODE โดย ห้องสมุดประชาชนอาเภอตะก่วั ท่งุ ผักสวนครู ฉบับพอเพียง ๘ ท่า นวดตนเอง คลายเครียด ๕๐ วรรณกรรมที่ต้องอา่ นก่อนโต Bakerry Shop 3 การปลูกต้นอ่อนทานตะวนั การปลกู ผักสาหรบั คนเมือง คู่มือการอา่ นออนไลน์ ห้องสมดุ ประชาชนอาเภอตะก่วั ทงุ่

8 ปลูกผกั กินเอง สร้างความมั่นคงทางอาหาร คูม่ ือเล้ยี งไก่ไข่ โดราเอม่อน 1 โดราเอมอ่ น 2 โดราเอม่อน ๓ โดราเอมอ่ น ๔ ออกกาลังกายทบี่ ้าน ต้านโควิด อาหารจากธัญพชื คู่มือการอ่านออนไลน์ หอ้ งสมดุ ประชาชนอาเภอตะก่วั ทงุ่

9 การเพาะผักงอก ทางานทีบ่ ้านยังไงให้ไดง้ าน ภมู ปิ ญั ญาผ้สู งู อายุ อาหารหวาน อาหารคาว เมนผู ัก กกุ๊ น้อย 4 ภาค สมนุ ไพรประจาบ้าน ภมู ิปัญญาผู้สงู อายุ สวนครวั ลอยฟา้ เมนูไข่ สตฟี จ๊อบ คู่มอื การอา่ นออนไลน์ หอ้ งสมดุ ประชาชนอาเภอตะกั่วทุ่ง

10 จัดทำโดย ท่ีปรึกษำ ผูอานวยการ กศน.อาเภอตะก่วั ทุ่ง นางจิตราภรณ์ แกว้ วิสัย ครผู ชู วย นางสาววาสนา คงทอง ผูเขยี นและเรียบเรียง บรรณารกั ษ(์ อัตราจ้าง) นางธีรัตม์ พูลสวัสด์ิ ผูพมิ พ รวบรวมรปู เลม นางธีรัตม์ พลู สวัสดิ์ บรรณารักษ(์ อัตราจา้ ง) ข้อมูล /ที่มา https://so06.tci-haijo.org/index.php/edujournal_nu/article/view/123014 https://rbs.co.th https://theallapps.com/scan-qr-code-line-app/ คูม่ ือการอ่านออนไลน์ ห้องสมุดประชาชนอาเภอตะก่ัวท่งุ

ค่มู ือการอ่านออนไลน์ หอ้ งสมดุ ประชาชนอาเภอตะกั่วท่งุ