Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การบัญชีตั๋วเงิน-8

การบัญชีตั๋วเงิน-8

Published by a99thongdee, 2021-08-03 11:02:07

Description: การบัญชีตั๋วเงิน-8

Search

Read the Text Version

หนว่ ยท่ี 8 การปรับปรุงบัญชแี ละการปดิ บัญชีเกยี่ วกบั ดอกเบย้ี ตว๋ั เงนิ ในวนั ส้ินงวด

สาระการเรยี นรู้ 1. การปรบั ปรงุ เกีย่ วกับดอกเบ้ยี ของตั๋วเงนิ ในวนั ส้นิ งวดบัญชี 2. การปิดบญั ชเี ก่ียวกับดอกเบย้ี ของตว๋ั เงนิ ในวันสิ้นงวดบัญชี 3. การโอนกลบั รายการทม่ี ีการปรับปรงุ เมอ่ื ขึน้ งวดบญั ชีใหม่

การปรบั ปรุงเก่ยี วกบั ดอกเบยี้ ของตั๋วเงินในวันสนิ้ งวดบัญชี ในวันส้ินงวดบัญชี กิจการที่ต้องการทราบผลการดาเนินงานจะตอ้ งทาการปรับปรุงบัญชี เพื่อให้รายการเกี่ยวกับสินทรัพย์ หนส้ี ิน ส่วนของเจ้าของ รายได้ และค่าใชจ้ ่าย ของงวดบัญชีนนั้ ๆ ถูกต้องครบถว้ น สว่ นรายการใดที่เป็นของงวดบัญชีถัดไป กจิ การจะต้องทาการปรับปรุงให้เป็นของ งวดบัญชีถัดไปให้ครบถ้วนเช่นกัน สาหรับกิจการที่มีการบันทึกบัญชีเก่ียวข้องกับต๋ัวเงินชนิดที่มี ดอกเบ้ีย ไม่ว่าจะเปน็ ต๋ัวเงินรับหรือต๋ัวเงินจ่าย จะทาให้เกิดดอกเบ้ียรับหรือดอกเบี้ยจ่าย ซึ่งถ้าต๋ัว เงินครบกาหนดในงวดบัญชีเดียวกันกับวันท่ีออกตั๋ว ในวันสิ้นงวดบัญชีไม่ต้องปรับปรุงบัญชี เกี่ยวกับดอกเบี้ยต๋ัวเงินแต่อย่างใด แต่ถ้าตั๋วเงินครบกาหนดในงวดบัญชีถัดไป จะต้องทาการ ปรับปรุง บัญชีเกี่ยวกับดอกเบี้ยที่เกิดขึ้นในงวดบญั ชีปัจจุบันและงวดบัญชีถัดไป ให้ถูกต้องตรงกับ ความเปน็ จริง

รายการปรับปรงุ เกย่ี วกบั ดอกเบยี้ ของตว๋ั เงนิ มี 4 รายการ ดงั น้ี 1. ดอกเบี้ยคา้ งจา่ ย 2. ดอกเบี้ยคา้ งรบั 3. ดอกเบี้ยจา่ ยล่วงหนา้ 4. ดอกเบย้ี รับลว่ งหนา้ ในการนบั ระยะเวลาที่จะใชใ้ นการปรบั ปรุงดอกเบ้ียของตวั๋ เงนิ นั้น ใหน้ ับเป็นวนั แมว้ า่ ต๋ัวเงนิ จะกาหนด ระยะเวลาเปน็ เดอื นกต็ าม

1. ดอกเบีย้ ค้างจ่าย (Accrued Interest Payable) จะเกิดข้ึนในกรณีท่ีกิจการได้ออก ตั๋วเงินจ่ายชนิดท่ีมีดอกเบ้ีย เพ่ือชาระหน้ีให้เจ้าหนี้หรือเพื่อกู้เงินจากธนาคาร แต่ต๋ัวเงินดังกล่าว ไป ครบกาหนดในงวดบัญชีถัดไป ในกรณีนี้จะเห็นได้ว่า กิจการมีค่าใช้จ่ายคือ ดอกเบี้ยจ่ายเกิดขึ้นแล้ว บางส่วนในงวดบัญชีน้ี แต่ยังไม่ได้จ่ายจริง จึง จาเป็นต้องปรับปรุงดอกเบี้ยค้างจ่าย ณ วันส้ินงวด บัญชี ดอกเบ้ียค้างจ่าย นถ้ี ือเปน็ หนส้ี ินหมนุ เวียนของกจิ การ

ตวั อยา่ ง 5.1 เม่ือวันที่ 5 พฤศจิกายน 25X1 กจิ การออกต๋ัวสัญญาใช้เงนิ เพ่ือชาระหน้ใี ห้เจา้ หนี้ จานวน 10,000 บาท ตั๋วมกี าหนด 3 เดอื น ดอกเบี้ย 15% ต่อปี กิจการปิดบัญชี ในวนั ที่ 31 ธนั วาคม ของทุกปี การคานวณระยะเวลาดอกเบ้ียค้างจา่ ย พฤศจกิ ายน (30 - 5) = 25 วัน ธนั วาคม = 31 วัน รวม 56 วนั การคานวณดอกเบ้ียค้างจา่ ย ดอกเบยี้ ค้างจา่ ย = จานวนเงินในต๋วั x ระยะเวลา x อัตราดอกเบ้ีย = 10,000 x 56 x 15 365 100 = 230.14 บาท

การบันทกึ บัญชใี นสมดุ รายวนั ทั่วไปจะเปน็ ดังน้ี

2. ดอกเบยี้ ค้างรับ (Accrued Interest Receivable) จะเกิดขึ้นในกรณีท่ีกิจการได้รับต๋ัวเงินรับ ชนิดท่ีมีดอกเบ้ียมา ต๋ัวเงิน รับดังกล่าวจะถึงกาหนดรับเงินในงวดบัญชีถัดไป ในกรณีน้ีจะเห็นได้ว่ากิจการมี รายได้คือดอกเบ้ียรับเกิดขึ้นแล้วบางส่วนในงวดบัญชีนี้ แต่ยังไม่ได้รับจริง จึงจาเปน็ ตอ้ ง ปรบั ปรุงดอกเบ้ียค้างรับ ณ วันส้ินงวดบัญชี ดอกเบ้ียค้างรับนี้ ถือ เป็นสนิ ทรพั ย์หมนุ เวียนของ กจิ การ

ตวั อยา่ ง 5.2 เมอ่ื วนั ท่ี 7 พฤศจกิ ายน 25X1 กิจการไดต้ ัว๋ สญั ญาใช้เงนิ จากการชาระหน้ีของลูกหน้ี จานวน 15,000 บาท ต๋วั มีกาหนด 60 วนั อตั ราดอกเบยี้ 15% ต่อปี กจิ การปิดบัญชี ในวันท่ี 31 ธันวาคม ของทุกปี การคานวณระยะเวลาดอกเบี้ยค้างรับ พฤศจิกายน (30 - 7) = 23 วัน ธนั วาคม = 31 วนั รวม 54 วัน การคานวณดอกเบี้ยคา้ งรับ ดอกเบี้ยคา้ งรบั = จานวนเงนิ ในต๋ัว x ระยะเวลา x อตั ราดอกเบ้ีย = 15,000 x 54 15 = 332.88 บาทx 365 100

การบันทกึ บัญชใี นสมดุ รายวนั ทั่วไปจะเปน็ ดังน้ี

3. ดอกเบ้ยี จ่ายล่วงหน้า (Prepaid Interest) จะเกิดข้ึนในกรณีที่กิจการกู้เงินจากธนาคาร โดยออกต๋ัวสัญญาใช้เงินชนิดไม่มีดอกเบี้ยให้ธนาคาร และธนาคารได้หัก ส่วนลดหรือดอกเบี้ย จ่ายล่วงหน้าไว้ท้ังจานวนแล้ว แต่ตั๋วเงินดังกล่าวจะถึงกาหนดจ่ายเงินในงวดบัญชีถัดไป ในกรณีนี้ จะเห็น ได้ว่ากิจการได้จ่ายดอกเบี้ยไว้แล้ว 2 ส่วน ส่วนหน่ึงจ่ายเป็นของงวดบัญชีนี้ อีกส่วนหนึ่ง เป็นของงวดบัญชีถัดไป จึงจาเป็นต้อง ปรบั ปรงุ ดอกเบย้ี จ่ายล่วงหนา้ ณ วนั ส้นิ งวดบญั ชี ดอกเบ้ยี จ่ายลว่ งหนา้ น้ถี ือเป็นสินทรัพย์หมุนเวียนของกจิ การ

ตวั อยา่ ง 5.3 เมอ่ื วันท่ี 9 ธันวาคม 25X1 กจิ การออกต๋ัวสญั ญาใชเ้ งนิ ชนิดไม่มีดอกเบยี้ จานวน 20,000 บาท กาหนด 60 วัน เพ่อื ก้เู งนิ จาก ธนาคาร ธนาคารได้หักสว่ นลดไว้ในวนั ท่ีขอกู้ 16% ต่อปี และได้บนั ทึกไว้ในบัญชีดอกเบ้ยี จ่าย กิจการปดิ บญั ชี ในวนั ที่ 31 ธนั วาคมของทุกปี การคานวณวนั ครบกาหนด ธนั วาคม (31 – 9) = 22 วนั มกราคม = 31 วนั กมุ ภาพนั ธ์ = 7 วัน รวม 60 วนั วนั ครบกาหนดคือวันที่ 7 กมุ ภาพันธ์ 25X2 การคานวณระยะเวลาดอกเบ้ยี จ่ายลว่ งหนา้ มกราคม = 31 วนั กุมภาพันธ์ = 7 วนั รวม 38 วัน

การคานวณดอกเบี้ยจา่ ยล่วงหนา้ มี 2 วธิ ี วธิ ีท่ี 1 ดอกเบ้ยี จา่ ยล่วงหนา้ = จานวนเงินในตว๋ั x ระยะเวลา x อตั ราดอกเบ้ีย = 20,000 x 38 x 16 = 333.15 บาท 365 100 วิธที ่ี 2 ดอกเบ้ยี จ่ายล่วงหนา้ ทธี่ นาคารหกั ไว้สาหรบั ระยะเวลาทั้งหมด 60 วัน = 20,000 x 60 x 16 = 526.03 บาท 365 100 เพราะฉะนนั้ ถือเป็นดอกเบย้ี จ่ายล่วงหน้าสาหรบั ระยะเวลา 38 วนั = 526.03 x 38 = 333.15 บาท 60

การบันทกึ บัญชใี นสมดุ รายวนั ทั่วไปจะเปน็ ดังน้ี

4. ดอกเบยี้ รับลว่ งหนา้ (Interest Received in Advance) จะเกิดข้ึนในกรณีท่ีกิจการ ได้รับตั๋วเงินรับชนิดไม่มีดอกเบ้ีย จากการชาระหน้ีของลูกหนี้ แต่กิจการ ยอมรับชาระหน้ีด้วย จานวนเงินที่ต่ากว่าเงินในต๋ัว ส่วนที่ต่ากว่าน้ีถือเป็นดอกเบี้ยรับของกิจการ และได้บันทึก บัญชีเป็น ดอกเบ้ียรับท้ังจานวน แต่ถ้าตั๋วเงินดังกล่าวถึงกาหนดรับเงินในงวดบัญชีถัดไป ในกรณีน้ีจะเห็นได้ว่า กิจการได้รับดอกเบ้ียไว้แล้ว 2 ส่วน ส่วนหนึ่งเป็นดอกเบ้ียรับของงวดบัญชีนี้ อีกส่วนหนึ่งเป็นของ งวดบัญชีถัดไป จึงจาเป็นต้องปรับปรุงดอกเบ้ียรับล่วงหน้า ณ วันสิ้นงวดบัญชี ดอกเบี้ยรับล่วงหน้านี้ ถือเป็นหนี้สินหมุนเวียนของ กจิ การ

ตวั อยา่ ง 5.4 เมือ่ วนั ท่ี 11 ธันวาคม 25X1 กิจการไดร้ บั ตว๋ั สญั ญาใชเ้ งินชนดิ ไม่มดี อกเบย้ี เป็นการชาระหนี้ ของลูกหนี้ จานวนเงินในตว๋ั 25,000 บาท กาหนดระยะเวลา 60 วนั กิจการยอมรบั ชาระหน้ี โดยหกั ส่วนลด 10% ตอ่ ปี และปดิ บญั ชใี นวนั ที่ 31 ธันวาคม ของทกุ ปี การคานวณวันครบกาหนด ธนั วาคม (31 – 11) = 20 วนั มกราคม = 31 วัน กุมภาพันธ์ = 9 วนั รวม 60 วัน วนั ครบกาหนดคือวนั ที่ 9 กุมภาพนั ธ์ 25X2 การคานวณระยะเวลาดอกเบ้ยี รับลว่ งหน้า มกราคม = 31 วัน กุมภาพันธ์ = 9 วัน รวม 40 วัน

การคานวณดอกเบ้ียรบั ล่วงหน้า มี 2 วธิ ี วธิ ีท่ี 1 ดอกเบยี้ รบั ล่วงหนา้ = จานวนเงินในตว๋ั x ระยะเวลา x อตั ราส่วนลด = 25,000 x 40 x 10 = 273.97 บาท 365 100 วิธที ่ี 2 ดอกเบย้ี รับล่วงหน้าที่กิจการหักไวส้ าหรบั ระยะเวลาทง้ั หมด 60 วัน = 25,000 x 60 x 10 = 410.96 บาท 365 100 เพราะฉะนัน้ ถอื เป็นดอกเบ้ียรบั ลว่ งหน้าสาหรบั ระยะเวลา 40 วนั = 273.97 บาท = 410.96 x 40 60

การบันทกึ บัญชใี นสมดุ รายวนั ทั่วไปจะเปน็ ดังน้ี

การปิดบัญชเี กยี่ วกบั ดอกเบย้ี ของตว๋ั เงนิ ในวันสน้ิ งวดบญั ชี หลังจากทก่ี ิจการบันทกึ รายการปรับปรุงเกี่ยวกบั ดอกเบี้ยตว๋ั เงนิ แลว้ ข้นั ตอนตอ่ ไปคือ การบนั ทกึ รายการ ปดิ บัญชใี นวันสน้ิ งวดบญั ชี ซ่ึงมวี ธิ ีการบันทึกเหมอื นกบั บญั ชีอ่นื ๆ โดยมีหลกั เกณฑ์ ดังนี้ 1. โอนปดิ บัญชีชวั่ คราว 2. หายอดคงเหลือบัญชีถาวร (Temporary Account) ได้แก่ บัญชีดอกเบ้ีย (Permanent Account) ได้แก่ บัญชีดอกเบ้ีย รับ และดอกเบย้ี จ่ายไปบัญชีกาไรขาดทุน ค้างรับ ดอกเบี้ย ค้างจ่าย ดอกเบ้ียจ่าย ล่วงหน้า และดอกเบี้ยรับล่วงหน้า เพ่ือยกยอด ไปงวดบญั ชีต่อไป

ตวั อย่าง 5.5 เมอ่ื วนั ที่ 31 ธนั วาคม 25X1 กจิ การมียอดคงเหลอื ในบญั ชีแยกประเภททวั่ ไปเกี่ยวกับ ดอกเบย้ี ตัว๋ เงินดงั นี้

ใหท้ า 1. บันทึกรายการปิดบัญชใี นสมดุ รายวันท่วั ไป 2. ผ่านรายการไปบญั ชีแยกประเภททั่วไป 3. ปิดบญั ชแี ยกประเภทท่วั ไป

1. บนั ทกึ รายการปิดบญั ชใี นสมดุ รายวนั ทั่วไป

2. ผา่ นรายการไปบญั ชแี ยกประเภททว่ั ไป

3. ปดิ บัญชแี ยกประเภทท่วั ไป

การโอนกลับรายการท่ีมกี ารปรับปรงุ เมอ่ื ขึ้นงวดบัญชใี หม่ ในกรณีที่กิจการได้ปรับปรุงบัญชีเก่ียวกับรายได้และค่าใช้จ่ายให้เป็นไปตามความเป็นจริง ในวันส้ิน งวดบญั ชไี วแ้ ลว้ นั้น เมื่อขนึ้ งวดบัญชีใหม่จะตอ้ งบนั ทึกโอนกลับรายการ (Reversing Entry) ท่ีได้ปรับปรุงไว้ แล้ว เพ่อื ป้องกันความผิดพลาดที่เกิดจากการบนั ทึกบญั ชีซ้าซอ้ น รายการปรบั ปรงุ ทส่ี ามารถโอนกลบั รายการได้ คอื 1. คา่ ใชจ้ า่ ยคา้ งจา่ ย 2. รายไดค้ ้างรับ 3. คา่ ใช้จา่ ยจ่ายลว่ งหนา้ ทบ่ี นั ทึกไวเ้ ป็นคา่ ใชจ้ า่ ย 4. รายไดร้ ับล่วงหนา้ ที่บันทกึ ไวเ้ ป็นรายได้

วิธกี ารบนั ทึกโอนกลบั รายการ ใหบ้ นั ทึกตรงกนั ขา้ มกับรายการที่ไดป้ รับปรงุ ไวแ้ ล้ว ดงั น้ี 1. ค่าใช้จ่ายค้างจ่าย หมายถึง ค่าใช้จ่ายท่ีเกิดขึ้นในงวดบัญชีปัจจุบันแล้ว แต่ยังมิได้ จ่ายเงินไป เชน่ ดอกเบีย้ ค้างจ่าย เงนิ เดือนคา้ งจา่ ย คา่ เชา่ ค้างจ่าย เป็นต้น ณ วนั ส้นิ งวดบญั ชี บนั ทึกปรบั ปรุงบญั ชี ดังน้ี

ณ วันข้นึ งวดบญั ชใี หม่ บันทึกโอนกลับรายการบัญชี ดงั น้ี จากตัวอย่าง 5.1 สามารถบันทึกโอนกลับรายการบัญชี ในวันท่ี 1 ม.ค. 25x2 ดงั น้ี

2. รายได้ค้างรับ หมายถึง รายได้ท่ีกิจการควรจะได้รับ เน่ืองจากให้บริการไปแล้วแต่ยังไม่ได้ รับเงิน จนกระท่งั ถงึ วันสิ้นงวดบัญชี เชน่ ดอกเบ้ยี คา้ งรับ ค่าเช่าคา้ งรบั เปน็ ต้น ณ วันสน้ิ งวดบัญชี บันทกึ ปรบั ปรงุ บญั ชี ดังนี้

ณ วันข้นึ งวดบญั ชใี หม่ บันทึกโอนกลับรายการบัญชี ดงั น้ี จากตัวอย่าง 5.1 สามารถบันทึกโอนกลับรายการบัญชี ในวันท่ี 1 ม.ค. 25x2 ดงั น้ี

3. ค่าใช้จ่ายจ่ายล่วงหน้า หมายถึง ค่าใช้จ่ายที่ ณ วันท่ีจ่าย กิจการอาจบันทึกเป็นค่าใช้จ่ายท้ังจานวน กิจการไดจ้ ่ายเงินไปแล้วในงวดบัญชี ปัจจุบัน ซ่งึ ได้ หรืออาจบันทึกเป็นค่าใช้จ่าย จ่ายล่วงหน้าท้ังจานวนก็ได้ เมื่อถึงวัน รวมค่าใช้จ่ายที่ยังไม่เกิดขึ้นของงวดบัญชีถัดไปไว้ สิน้ งวดจงึ ปรับปรุงแยกในสว่ นที่จา่ ยท้งั หมดใหเ้ ปน็ สว่ นของ ปนี ้ี และ ปหี น้าหรอื ส่วนท่ีจ่ายลว่ งหนา้ ใหถ้ ูกต้อง ด้วย เช่น ดอกเบ้ียจ่ายล่วงหน้า ค่าโฆษณาจ่าย ลว่ งหน้า เป็นตน้ การบันทึกปรับปรุงบญั ชี มี 2 วิธคี ือ 1. บันทึกเป็นค่าใช้จ่าย โดย ณ วันจ่ายเงินกิจการจะถือ ว่าเป็นคา่ ใชจ้ ่ายทง้ั จานวน ณ วนั ส้ินงวดบัญชี บนั ทึกปรบั ปรงุ บญั ชี ดังน้ี

ณ วนั ขึ้นงวดบัญชใี หม่ บนั ทึกโอนกลับรายการบญั ชี ดงั น้ี

2. บันทึกเป็นค่าใช้จ่ายล่วงหน้าหรือสินทรัพย์ โดย ณ วันท่ีจ่ายเงินกิจการจะถือเป็น ค่าใช้จ่าย ลว่ งหนา้ ท้งั จานวน ณ วันสิน้ งวดบัญชี บนั ทกึ ปรบั ปรุงบญั ชี ดังน้ี ณ วนั ขึน้ งวดบญั ชีใหม่ จะไม่บันทึกโอนกลับรายการเพราะ จะทาใหส้ ินทรัพย์มีจานวนเพ่มิ มากขึ้น

จากตวั อยา่ ง 5.3 กิจการได้บันทึกดอกเบีย้ จา่ ย เปน็ ค่าใชจ้ า่ ยทงั้ จานวน ณ วนั ข้นึ งวดบญั ชีใหม่ บันทกึ โอนกลบั รายการบญั ชี ดังน้ี

4. รายได้รับล่วงหน้า หมายถึง จานวนเงินที่กิจการได้รับค่าบริการแล้วในปีปัจจุบัน แต่ยังมีบางส่วนที่ เป็นค่าบริการของปีหน้ารวมอยู่ด้วย เช่น ดอกเบ้ียรับล่วงหน้า เป็นต้น ดังน้ัน ในวันส้ินงวดกิจการจะต้อง ปรับปรงุ เพ่อื แยกว่าส่วนใดถอื เป็นรายได้ของปีน้ี และสว่ นใดถอื เป็น รายไดข้ องปหี น้าหรือสว่ นท่รี ับล่วงหน้า การบันทกึ ปรับปรุงบัญชี มี 2 วธิ ีคอื 1. บันทึกเป็นรายได้ เมื่อกิจการได้รับเงินจะบันทึกเป็นรายได้ทั้งจานวน ในวันส้ินปี จะต้องปรับปรุงลดยอดลง เท่ากบั จานวนเงนิ ทีเ่ ปน็ รายไดข้ องปีหน้า ณ วันสิ้นงวดบญั ชี บันทกึ ปรับปรงุ บัญชี ดงั นี้ ณ วนั ขึน้ งวดบญั ชใี หม่ บนั ทึกโอนกลบั รายการบญั ชี ดังน้ี

2. บันทึกเป็นรายได้รับล่วงหน้าหรือหน้ีสิน เม่ือกิจการได้รับเงิน จะบันทึกไว้เป็น รายได้รับล่วงหน้า ทง้ั จานวน ในวันสิ้นปจี ะต้องปรับปรงุ ลดยอดลงเท่ากบั จานวนเงนิ ที่เป็นรายได้ ของปีปัจจุบนั ณ วนั สิ้นงวดบัญชี บันทกึ ปรับปรงุ บญั ชี ดังน้ี ณ วนั ขน้ึ งวดบญั ชีใหม่ จะไม่บันทึกโอนกลบั รายการ เพราะจะทาใหห้ น้สี นิ มีจานวนเพิ่มมากขน้ึ

จากตัวอยา่ ง 5.4 กจิ การได้บนั ทกึ ดอกเบี้ยรับเป็นรายได้ท้งั จานวน ณ วันขึ้นงวดบัญชีใหม่ บันทกึ โอนกลับรายการบัญชี ดังน้ี

ตัวอย่าง 5.6 จากตัวอย่างท่ี 5.5 ให้บันทึก รายการโอนกลับรายการในสมุดรายวันท่ัวไป ณ วันท่ี 1 มกราคม 25X2 และผ่านรายการไปบัญชี แยกประเภททว่ั ไป บันทึกรายการโอนกลับรายการในสมุด รายวนั ทั่วไป ผ่านรายการไปบญั ชีแยกประเภทท่ัวไป

ผา่ นรายการไปบญั ชีแยกประเภทท่วั ไป


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook