Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore เหตุการณ์สำคัญทางประวัติศาสตร์

เหตุการณ์สำคัญทางประวัติศาสตร์

Description: เหตุการณ์สำคัญทางประวัติศาสตร์

Search

Read the Text Version

เหตุการณ์สาคญั ทางประวตั ศิ าสตร์ ทมี่ ผี ลต่อโลกปัจจุบัน

เหตุการณ์สาคญั ทางประวตั ศิ าสตร์ทม่ี ผี ลต่อโลกปัจจุบัน • เหตุการณ์สาคญั ในสมยั กลาง • เหตุการณ์สาคญั ในสมยั ใหม่จนถึงสมยั ปัจจุบนั • ความขดั แยง้ ของมนุษยชาติในคริสตศ์ ตวรรษท่ี 20 จนถึงปัจจุบนั • ความร่วมมือของมนุษยชาติในคริสตศ์ ตวรรษท่ี 20 จนถึงปัจจุบนั



ระบอบการปกครองแบบฟิ วดัล • ระบบศกั ดินาสวามิภกั ด์ิ เป็นระบบความสมั พนั ธ์ทางสงั คม การเมือง และเศรษฐกิจ ของยโุ รปสมยั กลาง • เกิดข้ึนในขณะที่ส่วนกลาง หรืออานาจกษตั ริยล์ ดนอ้ ยลง • เป็นลกั ษณะการกระจายอานาจสู่ทอ้ งถ่ิน • โครงสร้างที่สาคญั ไดแ้ ก่ เจา้ (Lord) ซ่ึงเป็นเจา้ ของที่ดิน และขา้ (vassal) ซ่ึงเป็นผขู้ อความอุปการะ • มีที่ดิน (fief) เป็นภาระผกู พนั ซ่ึงเป็นที่มาของระบบฟิ วดลั • จรรยาบรรณท่ีขนุ นางในระบบฟิ วดลั ยดึ ถือ คือ วรี คติ เป็นการอบรบบุตรชาย ในตระกลู ใหเ้ ป็นอศั วนิ ท่ีดี

ภาระหน้าทข่ี องลอร์ด ภาระหน้าที่ของวัสซัล ให้ความคุ้มครองวสั ซัลให้ เป็ นทหารช่วยรบ หรือส่งกองทพั มาช่วย ปลอดภัยจากโจรผู้ร้ายหรือศัตรู ลอร์ดรบเวลามสี งคราม ตัดสินคดคี วามและให้ ให้ความช่วยเหลอื ทางการเงนิ แก่ลอร์ด เช่น ความยุตธิ รรมแก่วสั ซัลเมอื่ กรณที ลี่ อร์ดทาพธิ ีแต่งต้ังลูกชายคนโตเป็ น เกดิ กรณพี พิ าทในแมเนอร์ อศั วิน ค่าไถ่ตัวลอร์ดทถี่ ูกจับไป จ่ายเงนิ แก่ลอร์ดเป็ นค่ารับมรดก ทดี่ นิ หรือค่าเช่าทด่ี นิ เป็ นเจ้าภาพเลยี้ งดูต้อนรับลอร์ดและบริวาร เมอื่ ลอร์ดไปเยยี่ มหรือไปพกั ผ่อนในทด่ี นิ ของวสั ซัล

สังคมฟิ วดลั กษัตริย์ อศั วิน ลอร์ด ชาวนาและทาสตดิ ทด่ี ิน

สงครามครูเสด • เป็นสงครามศาสนาระหวา่ งชาวคริสเตียน กบั ชาวมุสลิม เพ่อื แยง่ ชิงเมืองศกั ด์ิสิทธ์ิ ทางศาสนา คือ เยรูซาเลม็ • สาเหตุของสงครามเกิดจากความขดั แยง้ ระหวา่ งคริสตศ์ าสนาและศาสนาอิสลาม ที่มีมาต้งั แต่คริสตศ์ ตวรรษที่ 7

สงครามครูเสดคร้ังสาคญั สงครามครูเสดคร้ังที่ 1 สงครามครูเสดคร้ังที่ 2 ไม่มีกษตั ริยร์ ่วมดว้ ย ส่วนใหญ่ ผนู้ าสาคญั คือ จกั รพรรดิ เป็นขนุ นางและราษฎร ผลคอื คอนราดที่ 3 แห่งเยอรมนั ยดึ เยรูซาเลม็ ได้ แต่ภายหลงั และพระเจา้ หลุยส์ที่ 7 กถ็ กู มุสลิมยดึ คืนกลบั ไป แห่งฝรั่งเศส ผลคอื ลม้ เหลว สงครามครูเสดคร้ังท่ี 3 สงครามครูเสดคร้ังท่ี 4 ผนู้ าสาคญั คือ พระเจา้ ริชาร์ด พอ่ คา้ เวนิสเป็นผจู้ ดั เตรียมข้ึน ใจสิงห์ แห่งองั กฤษ พระเจา้ ฟิ ลิป เพอื่ จะไปรบกบั พวกคริสเตียน ออกสุ ตุส แห่งฝร่ังเศส และ พระเจา้ เฟรเดอริค บาร์บารอสซา ท่ีกรุงคอนสแตนติโนเปิ ล แห่งเยอรมนั ผลคอื ลม้ เหลว เพราะตอ้ งการควบคุม แต่มุสลิมกใ็ หพ้ วกคริสเตียน การคา้ กบั พวกมุลลิม ไปแสวงบุญยงั เยรูซาเลม็ ได้

ผลของสงครามครูเสด ทางศาสนา มีส่วนช่วยเผยแพร่คริสตศ์ าสนาไปทางตะวนั ออก ทางเศรษฐกจิ ทาใหเ้ กิดการใชเ้ งินตรา เกิดการคา้ ระหวา่ ง ทางการเมอื ง ยโุ รปตะวนั ตกกบั เอเชียไมเนอร์ ระบบฟิ วดลั เส่ือมลง กษตั ริยม์ ีอานาจมากข้ึน เกิดลทั ธิชาตินิยม ทางศิลปวทิ ยาการ เกิดการเผยแพร่วชิ าความรู้จากตะวนั ออกสู่ตะวนั ตก ทางการทหาร มีการเรียนรู้ปรับปรุงยทุ ธวธิ ี และการใชด้ ินปื น ทางการดารงชีวติ เกิดการอพยพของชาวยโุ รปตะวนั ตก ทาใหเ้ กิด การผสมผสานทางวฒั นธรรมกบั ชาวตะวนั ออก

การฟื้ นฟูศิลปวทิ ยาการ (Renaissance) หมายถึง การเกิดใหม่ (Rebirth) ของภมู ิปัญญา ศิลปกรรมและวรรณกรรม ของกรีกและโรมนั เกิดข้ึนเมื่อประมาณ ค.ศ. 1350 และสิ้นสุดใน ค.ศ. 1650 โดย เริ่มข้ึนในอิตาลี

สาเหตุของการฟื้ นฟูศิลปวทิ ยาการ แท่นพมิ พก์ เู ตนเบิร์ก • ผลจากสงครามครูเสด ทาใหม้ ีการติดต่อทาง วิ ท ย า ก า ร ร ะ ห ว่ า ง โ ล ก ต ะ ว ัน ต ก กั บ โ ล ก ตะวนั ออก • ความเจริญรุ่งเรืองทางการค้า ทาให้เกิดชน ช้นั พ่อคา้ ชนช้นั กลางท่ีมง่ั คง่ั ซ่ึงสนใจศึกษา ศิลปวทิ ยาการต่างๆ • ความก้าวหน้าทางวิชาการ เช่น การพิมพ์ ทาใหม้ ีการเผยแพร่ความรู้อยา่ งกวา้ งขวาง

มรดกทางวฒั นธรรมในสมยั ฟื้ นฟูศิลปวทิ ยาการ ลทั ธิมนุษยนิยม นกั ปรัชญาคนสาคญั เช่น เปตรากาหรือเปซาก บอ็ กกซั ซิโอ อีรัสมสั มาเคียเวลลี ทอมสั มอร์ ศิลปกรรม ศิลปิ นคนสาคญั เช่น มาซกั ซิโอ ลีโอนาร์โด ดา วนิ ชี ไมเคิลแองเจโล ราฟาเอล วรรณกรรม นกั ประพนั ธค์ นสาคญั เช่น ดงั เต้ เซอร์วองเตส ราเบอเลส์ มิเชล เดอ มองตาญ วลิ เลียม เชกสเปี ยร์ การประดษิ ฐ์คดิ ค้น เช่น การพมิ พแ์ ละแท่นพมิ พ์ ความกา้ วหนา้ ทางดา้ น วทิ ยาศาสตร์ เช่น โคเปอร์นิคสั กาลิเลโอ



การค้นพบและการสารวจทางทะเล ปัจจยั ทส่ี ่งเสริมการค้นพบและการสารวจทางทะเล ด้านเศรษฐกจิ ด้านศาสนา ด้านวทิ ยาการ • ชาวยโุ รปตอ้ งการ • ชาวยโุ รปที่เป็น • ความเจริญกา้ วหนา้ สินคา้ ตะวนั ออกแต่ โรมนั คาทอลิกและ ทางวทิ ยาการ เช่น เสน้ ทางการคา้ เดิมถกู โปรเตสแตนต์ การสร้างเรือเดิน พวกเติร์กยดึ ครอง ตอ้ งการเผยแผค่ ริสต์ ทะเล การปรับปรุง ทาใหต้ อ้ งพยายามหา ศาสนาไปยงั ดินแดน เขม็ ทิศ แผนท่ี เสน้ ทางใหม่มายงั ตะวนั ออกที่ลา้ หลงั ลว้ นส่งเสริมต่อ ตะวนั ออก และป่ าเถื่อน การสารวจเส้นทาง เดินเรือใหม่

นักเดินเรือและสารวจคนสาคญั ๆ ของแต่ละประเทศ ประเทศ นักเดนิ เรือและ ช่ือ ดนิ แดนทส่ี ารวจและค้นพบ สารวจคนสาคญั • บาร์โทโลมิว ไดแอส • เดินเรือเลียบชายฝั่งทวปี แอฟริกาจนผา่ นแหลมแห่ง พายุ หรือแหลมก๊ดู โฮป โปรตุเกส • วาสโก ดา กามา • เดินเรือเสน้ ทางเดียวกบั ไดแอสจนข้ึนฝั่งที่เมือง กาลิกตั ของอินเดีย

ประเทศ นักเดนิ เรือและ ช่ือ ดนิ แดนท่ีสารวจและค้นพบ สารวจคนสาคญั • คริสโตเฟอร์ โคลมั บสั • เดินเรือขา้ มมหาสมุทร ชาว เมืองเจนวั ประเทศอิตาลี แอตแลนติกเพ่ือเดินทาง ไปจีน แต่กลบั คน้ พบโลก ใหม่ คือ ทวปี อเมริกา สเปน • เฮฮร์นานโด คอร์เตส • เดินทางสารวจทวปี อเมริกาใตแ้ ละทาสงคราม กบั พวกอินเดียนแดง เผา่ อซั เตก็ และชนะจนได้ ยดึ ครองเมก็ ซิโก

ประเทศ นักเดนิ เรือและ ช่ือ ดนิ แดนทีส่ ารวจและค้นพบ สารวจคนสาคญั • สารวจทวปี อเมริกาใต้ • ฟรานซิสโก ปิ ซาร์โร และทาสงครามกบั พวก อินเดียนแดงเผา่ อินคา จนไดย้ ดึ ครองเปรู สเปน • เฟอร์ดินานด์ • เดินทางขา้ มมหาสมุทร แมกเจลแลน แอตแลนติกไปยงั ชาวโปรตเุ กส มหาสมุทรแปซิฟิ ก จน มาถึงหมู่เกาะฟิ ลิปปิ น ถือ เป็ นคนแรกท่ีเดินทางรอบ โลก

ประเทศ นักเดนิ เรือและ ช่ือ ดนิ แดนท่สี ารวจและค้นพบ สารวจคนสาคญั • เดินเรือไปทางเหนือเพื่อ • วลิ เลม บาร์เรนต์ สารวจเสน้ ทางทางทิศ ตะวนั ออกเลียบชายฝั่ง สแกนดิเนเวยี เนเธอร์แลนด์ • วลิ เลม ยานซ์ • คุมเรือเดฟเกนเพื่อคน้ หา เกาะทองคา จนคน้ พบทวปี ออสเตรเลีย และเรียกทวปี น้ีวา่ นิวฮอลแลนด์

ประเทศ นักเดนิ เรือและ ช่ือ ดนิ แดนที่สารวจและค้นพบ สารวจคนสาคญั • เอเบล ทสั แมน • เดินเรือเลียบมาทาง ออสเตรเลียและคน้ พบ เกาะแทสมาเนีย นิวซีแลนด์ และหมู่เกาะฟิ จิ เนเธอร์แลนด์ • เฮนรี ฮดั สัน • เดินทางสารวจทวปี อเมริกา ชาวองั กฤษ เหนือบริเวณลุ่มแม่น้าฮดั สนั จดั ต้งั อาณานิคมของ ฮอลนั ดาบนเกาะแมนฮตั ตนั ใหช้ ่ือใหม่วา่ นิวอมั สเตอร์ดมั

ประเทศ นักเดนิ เรือและ ช่ือ ดนิ แดนทส่ี ารวจและค้นพบ ฝรั่งเศส สารวจคนสาคญั • ชาค คาร์ติเยร์ • เดินเรือสารวจทวปี อเมริกา • ลาซาล เหนือบริเวณแม่น้าเซนต์ ลอวเ์ รนซ์ และข้ึนฝั่งท่ีแคนาดา (ปัจจุบนั คือ ควเิ บกและมอน - ทรีออล) • เดินเรือสารวจบริเวณลุ่มแม่น้า มิสซิสซิปปี และยดึ ครองเป็น อาณานิคม ต้งั ช่ือวา่ หลุยเซียนา

ประเทศ นักเดนิ เรือและ ช่ือ ดนิ แดนที่สารวจและค้นพบ สารวจคนสาคญั • จอห์น คาร์บอท • เดินเรือขา้ มมหาสมุทร ชาวอิตาเลียน แอตแลนติกมายงั ทวปี อเมริกาเหนือ และคน้ พบ เกาะนิวฟันดแ์ ลนด์ องั กฤษ • เซอร์ ฟรานซิส • นกั เดินเรือชาวองั กฤษคน เดรก แรกที่เดินทางรอบโลกได้ สาเร็จ

ผลของการค้นพบและการสารวจทางทะเล ด้านเศรษฐกจิ ด้านการเมอื ง ด้านศาสนา • มีการบกุ เบิกตลาด • มีการจดั ต้งั หน่วย • มีการนาคริสต์ ใหม่และเพ่ิม ปกครองข้ึนเพอ่ื ศาสนาและ ดินแดนแหล่งใหม่ ควบคุมชาว วฒั นธรรมยโุ รป พ้ืนเมือง ไปเผยแพร่ เช่น • เป็นพ้นื ฐานสาคญั ภาษา และธรรม ของการแสวงหา • มีปัญหาความ เนียมต่างๆ อาณานิคมของ ขดั แยง้ ระหวา่ ง มหาอานาจยโุ รปใน ประเทศแม่กบั • ทาใหอ้ ารยธรรม สมยั ต่อมา อาณานิคม ตะวนั ตกหลงั่ ไหล เขา้ สู่ดินแดนต่างๆ ทว่ั โลก

การปฏิรูปศาสนา • เป็ นการปฏิรูปของคริสต์ศาสนิกชนที่ไม่เห็นด้วยกับข้อปฏิบัติขององค์กรศาสนจักร คาทอลิก โดยเฉพาะการหาเงินเพ่อื สร้างมหาวหิ ารเซนตป์ ี เตอร์ดว้ ยการขายใบไถ่บาป • มาร์ติน ลูเทอร์ ไดเ้ สนอหลกั การ 95 ประการ (95 Theses) ติดประกาศโจมตีความเสื่อม ทรามของศีลธรรมจรรยาของพวกนักบวชและการประพฤติผิดวินยั ในคริสต์ศาสนา ซ่ึง นบั เป็นจุดเริ่มตน้ ของการปฏิรูปศาสนา

นักปฏิรูปศาสนาคนสาคญั มาร์ติน ลูเทอร์ เป็นผปู้ ระกาศนิกายลูเทอร์ ซ่ึงไดร้ ับการสนบั สนุนจาก แควน้ ทางตอนเหนือและตอนกลางของดินแดนเยอรมนั แพร่หลายไปทว่ั ยโุ รปตอนเหนือ ไดแ้ ก่ เดนมาร์ก นอร์เวย์ และสวเี ดน อุลริช ซวงิ ลี บาทหลวงชาวสวสิ เป็นผปู้ ระกาศนิกายซวงิ ลี แพร่หลาย ในเมืองซูริค เมืองเบิร์น เมืองบาเซิล และเมืองต่างๆ ทางใต้ ของดินแดนเยอรมนั จอห์น กลั แวง ชาวฝรั่งเศส เป็นผปู้ ระกาศนิกายกลั แวง ซ่ึงแพร่หลายใน ดินแดนต่างๆ เช่น องั กฤษ เรียกวา่ พิวริตัน ในสกอตแลนด์ เรียกวา่ เพรสไบ ทีเรียน ในฝรั่งเศส เรียกวา่ ฮูเกอโน รวมถึงในเนเธอร์แลนดแ์ ละดินแดน บางส่วนของลุ่มแม่น้าไรน์ ตลอดจนแควน้ โบฮีเมียและฮงั การี

การปฏริ ูปศาสนาในประเทศองั กฤษ • สาเหตุมาจาก พระเจา้ เฮนรีที่ 8 ตอ้ งการหยา่ ขาดจาก มเหสีเดิมเพ่อื จะอภิเษกใหม่ แต่สนั ตะปาปาไม่ยอม • พระองคจ์ ึงประกาศแยกองั กฤษออกจากศาสนจกั รท่ี โรม และต้งั เป็นนิกายแองกลิคนั • กษตั ริยอ์ งั กฤษเป็นประมุขสูงสุดทางศาสนา • หลกั การสาคญั ไม่ไดเ้ ปลี่ยนจากโรมนั คาทอลิกมาก พระบรมสาทิสลกั ษณ์พระเจา้ เฮนรีท่ี 8 แห่งราชวงศท์ ิวดอร์ขององั กฤษ

การปฏิรูปศาสนาของฝ่ ายโรมนั คาทอลกิ The Jesuits • การจดั ต้งั คณะเยซูอิต โดยมีอิคเนเทียส ค.ศ. 1534 โลโญลา นกั บวชชาวสเปนเป็นผนู้ า The Inquisition • การสอบสวนพวกนอกศาสนา โดยการ ค.ศ. 1542 ลงโทษผปู้ ระพฤติผดิ ทางศาสนาอยา่ ง รุนแรง คือ เผาท้งั เป็น หรือริบสมบตั ิ The Council of • การประชุมสภาแห่งเมือง Trent ค.ศ. เทรนต์ 1545-1563 The Index of • การกาหนดรายช่ือ Prohibited Books หนงั สือตอ้ งหา้ ม ค.ศ. 1564

ผลของการปฏริ ูปศาสนา ศาสนจกั รสากลของโลกตะวนั ตก กษตั ริยใ์ นแต่ละประเทศท่ีนบั ถือ สิ้นสุดลง คริสตศ์ าสนาแบ่งออกเป็น โปรเตสแตนตเ์ ป็นอิสระพน้ จาก โรมนั คาทอลิกและโปรเตสแตนต์ อานาจของสนั ตะปาปาและศาสน จกั รที่โรม กษตั ริยม์ ีอานาจมากข้ึน (เช่น นิกายลเู ทอร์ นิกายกลั แวง) ส่งเสริมลทั ธิปัจเจกชนนิยม ก่อใหเ้ กิดสงครามศาสนาในยโุ รป ทาใหแ้ ต่ละบุคคลมีความเชื่อมน่ั หลายคร้ัง เช่น สงครามระหวา่ ง ในตนเอง มีเสรีภาพในการนบั ถือ จกั รพรรดิแห่งจกั รวรรดิโรมนั อนั ศาสนา เกิดความใคร่ศึกษาหาความรู้ ศกั ด์ิสิทธ์ิและบรรดาเจา้ ผคู้ รองรัฐ เรื่องศาสนา เยอรมนั สงคราม 30 ปี

การปฏวิ ตั ิทางวทิ ยาศาสตร์ • เป็นกระบวนการเปล่ียนแปลงท่ีเกิดข้ึนอยา่ งต่อเนื่อง นบั ต้งั แต่คริสตศ์ ตวรรษท่ี 16 ถึง ตน้ คริสตศ์ ตวรรษท่ี 18 • วธิ ีการทางวทิ ยาศาสตร์ ประกอบดว้ ย การต้งั คาถามและการสงั เกต การต้งั ขอ้ สมมติฐาน การตรวจสอบทดลองอยา่ งถี่ถว้ นและการสรุปความอยา่ งมีเหตุผล และ การประยกุ ตผ์ ลจากการทดลอง

ปัจจยั ท่ีก่อใหเ้ กิดการปฏิวตั ิทางวทิ ยาศาสตร์ การฟื้ นฟู ความเจริญทางการ การสารวจและ ศิลปวทิ ยาการ ค้าและอตุ สาหกรรม ค้นพบดนิ แดน ทาใหค้ นหนั มาสนใจงาน เป็นแรงผลกั ดนั ที่ทาให้ ทาใหม้ ีโอกาสติดต่อ ของคนรุ่นก่อนอยา่ ง วทิ ยาศาสตร์เจริญกา้ วหนา้ แลกเปล่ียนความรู้กบั คน กวา้ งขวาง เพราะพวกพอ่ คา้ ตอ้ งการ ต่างชาติ ต่างวฒั นธรรม ผลกาไรทางเศรษฐกิจมาก

การค้นพบทางวทิ ยาศาสตร์ที่สาคญั นิโคลสั โคเปอร์นิคสั ชาวโปแลนด์ เป็นผเู้ สนอความรู้ใหม่เก่ียวกบั ระบบ สุริยจกั รวาลวา่ ดวงอาทิตยค์ ือศนู ยก์ ลางของจกั รวาล โดยมีโลกและดาว พระเคราะห์หมุนรอบ ฟรานซิส เบคอน ชาวองั กฤษ เป็นผเู้ สนอแนวทางการแสวงหาความรู้ และขอ้ เทจ็ จริงดว้ ยวิธีการทางวิทยาศาสตร์ รวมท้งั เสนอแนวคิดแบบ ประสบการณ์นิยมในการเร่ิมหาความจริงจากประสบการณ์และสรุป ความจริงจากประสบการณ์ กาลเิ ลโอ กาลเิ ลอิ ชาวอิตาเลียน เป็นอีกผหู้ น่ึงท่ียอมรับทฤษฎีใหม่ เกี่ยวกบั สุริยจกั รวาลของโคเปอร์นิคสั ดว้ ยการสงั เกตโดยผา่ น กลอ้ งโทรทศั นท์ ่ีเขาเป็นผปู้ ระดิษฐข์ ้ึน

โยฮันส์ เคปเลอร์ ชาวเยอรมนั ไดส้ นบั สนุนทฤษฎีของโคเปอร์นิคสั และเป็นผเู้ สนอกฎการเคลื่อนท่ีของดาวเคราะห์ เรอเน เดส์การ์ตส์ ชาวฝรั่งเศส เป็นผเู้ สนอทฤษฎีเกี่ยวกบั การ เขา้ ใจธรรมชาติโดยอาศยั วธิ ีการทางคณิตศาสตร์ และวธิ ีการเขา้ ถึง ความจริงโดยอาศยั เหตุผล ไอแซค นิวตนั ชาวองั กฤษ เป็นผสู้ านต่อทฤษฎีของโคเปอร์นิคสั และ กาลิเลโอ และเป็นผคู้ น้ พบกฎแรงดึงดดู ของจกั รวาล และกฎความถ่วง

ผลของการปฏิวตั ิวิทยาศาสตร์ • ทาใหเ้ กิดความเจริญกา้ วหนา้ วทิ ยาการสมยั ใหม่ เกิดการประดิษฐค์ ิดคน้ อยา่ งไม่ หยดุ ย้งั • นาไปสู่การปฏิวตั ิทางความคิด ช่วยสร้างทศั นคติใหช้ าวตะวนั ตกเป็นคนช่างสงสยั • มีช่วยปฏิรูปสงั คมตะวนั ตก ทาใหค้ ริสตส์ ตวรรษท่ี 17 ไดช้ ่ือวา่ เป็นยคุ ทองแห่ง วทิ ยาศาสตร์ • ทาใหน้ กั วชิ าการสาขาอื่นๆ พยายามเอาวธิ ีการทาง วทิ ยาศาสตร์มาช่วยในการศึกษาความรู้ในแขนงของตน • ทาใหม้ นุษยม์ ีคาอธิบายท่ีเป็นจริงมากข้ึน มีเสรีภาพมากข้ึน

การปฏิวตั อิ ตุ สาหกรรม • เป็นการเปลี่ยนแปลงการผลิตและระบบการผลิต จากการใชแ้ รงงานคนหรือสตั วม์ าเป็นการ ใชเ้ คร่ืองจกั รกลหรือเครื่องทุ่นแรงแบบง่ายๆ จนถึงแบบซบั ซอ้ นที่มีกาลงั ผลิตสูง • เกิดเป็นการผลิตในระบบโรงงานแทนการผลิตภายในครัวเรือน • เกิดข้ึนเป็นคร้ังแรกท่ีประเทศองั กฤษ และตอ่ มากแ็ พร่หลายไปยงั ประเทศอื่นๆ ทวั่ โลก

สาเหตุของการปฏิวตั ิอตุ สาหกรรม การขยายตวั ทางการคา้ อนั มีสาเหตุมาจากการ สารวจทางทะเลในคริสตศ์ ตวรรษที่ 15-17 ความเจริญกา้ วหนา้ ทางวทิ ยาศาสตร์ ซ่ึงเกิดข้ึนต้งั แต่คริสตศ์ ตวรรษที่ 16-18 ความมีเสถียรภาพทางการเมือง ในยโุ รป ทาใหเ้ กิดการ พฒั นาดา้ นเศรษฐกิจ

พฒั นาการของการปฏิวตั ิอุตสาหกรรม พฒั นาการของ วงการ นักประดษิ ฐ์และประดษิ ฐกรรมที่สาคญั การปฏวิ ตั ิอตุ สาหกรรม อุตสาหกรรม การปฏวิ ตั ิอุตสาหกรรม • จอห์น เคย์ ประดิษฐก์ ่ีกระตุก (Flying Shuttle) • เจมส์ ฮาร์กรีฟส์ ประดิษฐเ์ คร่ืองปั่นดา้ ยสปิ นนิง ระยะแรก (ค.ศ. 1750-1870) เจนนี (Spinning Jenny) ทอผา้ • ริชาร์ด อาร์คไรท์ ประดิษฐเ์ คร่ืองป่ันดา้ ย วอเตอร์ เฟรม (Water Frame) • แซมมวล ครอมป์ ตนั ประดิษฐเ์ คร่ืองป่ันดา้ ย สปิ นนิง มูล (Spinning Mule) • เอด็ มันด์ คาร์ตไรท์ ประดิษฐห์ ูกทอผา้ เพาเวอร์ ลูม (Power Loom) • เอลี วทิ นีย์ ประดิษฐเ์ คร่ืองแยกเมลด็ ฝ้ ายจาก ใยฝ้ าย “Cotton Gin”

พฒั นาการของ วงการ นักประดษิ ฐ์และประดษิ ฐกรรมที่สาคญั การปฏิวตั ิอุตสาหกรรม อุตสาหกรรม การปฏิวตั อิ ุตสาหกรรม เครื่องจกั ร • ทอมสั นิวคอเมน ประดิษฐเ์ คร่ืองจกั รไอน้า ระยะแรก ไอน้า เป็นคนแรก ซ่ึงใชป้ ระโยชน์ในการสูบน้าออก (ค.ศ. 1750-1870) จากเหมืองแร่และบ่อถา่ นหิน • เจมส์ วตั ต์ ประดิษฐเ์ คร่ืองจกั รไอน้าท่ีสามารถ ใชป้ ระโยชนไ์ ดห้ ลายอยา่ ง เหลก็ และ • เฮนรี คอร์ต คน้ พบวธิ ีทาใหถ้ ่านหินบริสุทธ์ิ ถ่านหิน โดยปราศจากควนั ไดส้ าเร็จ ถ่านหินดงั กล่าว เรียกวา่ โคก้ • อบั ราฮัม ดาร์บี พบวา่ สามารถใชถ้ ่านหินเป็น เช้ือเพลิงในการหลอมเหลก็ แทนถา่ นไม้ ทาให้ ตน้ ทุนการถลุงเหลก็ ลดต่าลง

พฒั นาการของการปฏวิ ตั ิ ความเจริญก้าวหน้าของอุตสาหกรรม อตุ สาหกรรม • มีการประดิษฐค์ ิดคน้ ใหม่ๆ และนาพลงั งานใหม่ คือ ไฟฟ้ า การปฏิวตั อิ ตุ สาหกรรม น้ามนั และพลงั งานนิวเคลียร์มาใช้ ระยะท่ี 2 (ค.ศ. 1870-ปัจจุบนั ) • มีการนาความรู้ทางวทิ ยาศาสตร์มาใชใ้ นอุตสาหกรรม การ ประดิษฐใ์ ยสงั เคราะห์ และโลหะที่มีน้าหนกั เบา ทนทาน แขง็ แรง ไม่เป็นสนิมมาใชใ้ นการผลิตเครื่องจกั รกล ยานพาหนะ และเครื่องใชอ้ ุปโภคบริโภคต่างๆ เช่น ไนลอน พลาสติก และเซรามิก • มีการพฒั นาเคร่ืองจกั รกล เคร่ืองมือและเคร่ืองคอมพวิ เตอร์ ใหค้ วบคุมการผลิตและประสานการทางานร่วมกนั เกิดเป็น การผลิตในระบบโรงงานที่ใชเ้ คร่ืองจกั รหุ่นยนตใ์ นการผลิต แทนการใชแ้ รงงานคน

ผลของการปฏวิ ตั อิ ุตสาหกรรม ด้านการเมือง ด้านเศรษฐกจิ ด้านสังคม • ชนช้นั กลางมีอานาจ • เกิดระบบโรงงาน • เกิดการเพิ่มของ ทางการเมืองมากข้ึน ระบบนายทุน จานวนประชากร • กรรมกรจดั ต้งั สหภาพ • เกิดการขยายตวั ทาง • เกิดเมืองใหญแ่ ละ แรงงาน ซ่ึงมีบทบาท การคา้ จนประเทศใน ปัญหาทางสงั คม สาคญั ทางการเมือง ยโุ รปแขง่ ขนั กนั ขยาย อานาจทางเศรษฐกิจ • เกิดชนช้นั กลางและ • เกิดลทั ธิจกั รวรรดิ เขา้ ไปในดินแดนโพน้ ชนช้นั กรรมาชีพ นิยม ทะเล • เกิดลทั ธิเสรีนิยม และลทั ธิสังคมนิยม

แนวคดิ เสรีนิยม • เนน้ เร่ืองเสรีภาพและการเรียกร้องเสรีภาพท้งั ทางการการเมือง และเศรษฐกิจในขอบเขตของ กฎหมาย เสรีภาพในความหมายเสรีนิยม หมายถึง เสรีภาพภายใตก้ ฎหมาย • จุดเร่ิมตน้ เกิดจากการปฏิวตั ิของชาวอเมริกนั เพือ่ แยกตวั เป็นเอกราชจากองั กฤษ และการ ปฏิวตั ิฝรั่งเศส การปฏิวตั ิอเมริกนั สะทอ้ นถึงการเรียกร้องเสรีภาพทางการเมือง ซ่ึงเสรีภาพเป็นหลกั การพ้ืนฐานของเสรีนิยม

เสรีนิยมทางการเมือง • ทาใหเ้ กิดการเรียกร้องการปฏิรูปทางการเมืองเป็นประชาธิปไตยแบบมีรัฐสภา • ประชาชนมีส่วนร่วมในการบริหารปกครองประเทศ • มีรัฐธรรมนูญเป็นหลกั กฎหมายของการปกครอง มีกลไกตรวจสอบและถ่วงดุลอานาจ ภาพวาดแสดงการผา่ นพระราชบญั ญตั ิปฏิรูประบบการเลือกต้งั ของรัฐสภาองั กฤษ

นักคดิ เสรีนิยมคนสาคญั • จอห์น ลอ็ ก เสนอความคิดเร่ืองเสรีภาพของปัจเจกบุคคล • มงเตสกเี ยอ เสนอแนวความคิดในเร่ืองการแบ่งแยกอานาจ • รูโซ เสนอแนวคิดเร่ืองอานาจอธิปไตยของประชาชน มงเตสกเี ยอ จอห์น ลอ็ ก รูโซ

เสรีนิยมทางเศรษฐกจิ • ในระยะแรก เรียกร้องระบบเศรษฐกิจเสรี • ชนช้นั กลางมีบทบาทสาคญั ทางเศรษฐกิจและ สงั คม จนสามารถสถาปนาอานาจทางการเมือง ของตนได้ • แนวคิดน้ีมกั เปลี่ยนแปลงไปตามสถานการณ์ทาง สังคมตามความเหมาะสม อดมั สมิท มีแนวคิดใหเ้ อกชนประกอบกิจกรรม ทางเศรษฐกิจไดอ้ ยา่ งเสรีโดยปราศจากการ แทรกแซงของรัฐ

เสรีนิยมคลาสสิกกบั เสรีนิยมสมัยใหม่ แบบคลาสสิก แบบสมยั ใหม่ เนน้ ความสาคญั ของปัจเจกบุคคล เห็นการแทรกแซงของรัฐไม่ และมีเสรีภาพอยา่ งเตม็ ท่ี เป็นอนั ตรายต่อเสรีภาพของบุคคล ปล่อยใหร้ ะบบเศรษฐกิจเป็นไปอยา่ งเสรี มุ่งปฏิรูปสงั คม ตอ้ งการให้ ทุกคนอยดู่ ีกินดี เนน้ บทบาทของรัฐในการค้าประกนั ความมนั่ คงทางเศรษฐกิจและสงั คม “รัฐสวสั ดิการ” เป็นหลกั การสาคญั ของเสรีนิยมสมยั ใหม่

อตุ สาหกรรมรถยนตใ์ นสหรัฐอเมริกา ทศวรรษ ที่ 1920 เป็นลกั ษณะของเศรษฐกิจแบบเสรีนิยม

แนวคดิ จักรวรรดนิ ิยม • เกิดข้ึนหลงั ยโุ รปเขา้ สู่ยคุ การคน้ พบและสารวจทางทะเล • ประเทศต่างๆ ในยโุ รปต่างแขง่ ขนั กนั ขยายอานาจเขา้ ไปยงั ส่วนต่างๆ ของโลก • มุ่งหวงั ผลประโยชนท์ างเศรษฐกิจมากกวา่ การเมือง ภาพวาดพอ่ คา้ ชาวดตั ชท์ ี่เมืองท่าปัตตาเวยี ในเกาะชวา ประมาณ ค.ศ. 1600

แรงผลกั ดนั สาคญั ทท่ี าให้แนวคดิ ภาพวาดเมืองปัตตาเวียประมาณคริสตศ์ ตวรรษที่ 17 จกั รวรรดินิยมขยายตวั แสดงถึงการเป็นเมืองท่าทางการคา้ ท่ีสาคญั การเมือง เพ่อื การมีสิทธิครอบครอง ดินแดนมากข้ึน เศรษฐกจิ เพ่อื หาวตั ถุดิบ การตลาด การคา้ ฯลฯ การทหาร เพือ่ จดั ต้งั ฐานทพั เรือ และ ฐานท่ีมน่ั ทางการทหารเพ่อื ควบคุมจุดยทุ ธศาสตร์ท้งั ทางบก ทางทะเล

แนวคดิ จกั รวรรดนิ ิยมสมยั ใหม่ • เกิดจากการแสวงหาอาณานิคม • เป็นการขยายอานาจเขา้ ครอบงาและเขา้ ปกครองท้งั ทางตรงและทางออ้ ม • ขยายอานาจเขา้ ไปในดินแดนแอฟริกาและเอเชียทุกรูปแบบ นาไปสู่ความขดั แยง้ ทาง การเมืองระหวา่ งประเทศ และนาไปสู่สงครามในที่สุด • ในเอเชีย ญ่ีป่ ุนขยายอานาจจนนาไปสู่ความขดั แยง้ กบั จีน จนเกิดสงครามจีน-ญ่ีป่ ุน ต่อมา ญี่ป่ ุนชนะรัสเซียในสงครามรัสเซีย - ญี่ป่ ุน ทาใหญ้ ี่ป่ ุนกลายเป็นมหาอานาจในเอเชีย

การเขา้ ยดึ ครองดินแดน เป็นผลจากการอา้ งภาระหนา้ ที่ของคนขาวในการเผยแพร่อารยธรรมท่ีสูงกวา่ (จากภาพ) คณะมิชชนั นารีในช้นั เรียนของชาวพ้ืนเมืองในฟิ ลิปปิ นส์

ผลของแนวคดิ จกั รวรรดนิ ิยมท่มี ีต่อโลก • ยโุ รปกลายเป็นชาติมหาอานาจ ส่งผลใหแ้ นวคิดทางการเมือง เศรษฐกิจ สังคม และวฒั นธรรม ของยโุ รป แพร่ขยายไปยงั ดินแดนส่วนอ่ืนๆ ของโลก • นาไปสู่การเปลี่ยนแปลงทางความคิดและวถิ ีชีวติ ของผคู้ น • ก่อใหเ้ กิดการแข่งขนั ของชาติยโุ รป และกลายเป็นความขดั แยง้ ระหวา่ งประเทศจนเกิดสงคราม • นาไปสู่การเปล่ียนแปลงทศั นคติและแนวคิดทางการเมืองของประเทศต่างๆ ในยโุ รป

แนวคดิ ชาตนิ ิยม • ชาตินิยม คือ ความเป็นชาติ ความรักหรือความภกั ดีต่อปิ ตภุ ูมิ ทาใหเ้ กิดความผกู พนั และ ร่วมมือร่วมใจในการปกป้ องรักษาความเป็นชาติ • เป็นผลสืบเนื่องมาจากการปฏิวตั ิฝร่ังเศส ค.ศ. 1789 • เกิดข้ึนและพฒั นาแตกต่างกนั ตามเงื่อนไขทางประวตั ิศาสตร์และการเมือง การบุกทลายคุกบาสตีย์ ถือเป็นจุดเร่ิมตน้ ของการปฏิวตั ิฝรั่งเศส


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook