Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore KMranong63

KMranong63

Published by Praphaipat chindarat, 2020-04-11 06:04:54

Description: KMranong63

Search

Read the Text Version

แบบบันทกึ องค์ความร้รู ะดบั บคุ คล 1. ชอื่ องค์ความรู้ การส่งเสรมิ กลุ่มสมั มาชพี ชุมชนส่กู ารเป็นผูป้ ระกอบการ OTOP อย่างย่ังยนื 2. ชอื่ -สกลุ นายศราวธุ รักภิรมย์ ตาแหน่งนกั วชิ าการพฒั นาชุมชนปฏิบัตกิ าร สังกัด สานกั งานพฒั นาชมุ ชนอาเภอเมอื งระนอง จังหวดั ระนอง 3. องคค์ วามรู้ที่บง่ ชี้ (เลอื กได้จานวน 1 หมวด) หมวดที่ 1 สร้างสรรคช์ มุ ชนพง่ึ ตนเองได้ / หมวดท่ี 2 สง่ เสรมิ เศรษฐกจิ ฐานรากให้ขยายตัวอย่างสมดลุ หมวดท่ี 3 เสริมสรา้ งทุนชมุ ชนใหม้ ีธรรมาภิบาล หมวดท่ี 4 เสริมสรา้ งองคก์ รให้มขี ีดสมรรถนะสงู 4. ทมี่ า ความสาคญั ในการจัดทาองคค์ วามรู้ เป็นองค์ความรใู้ หม่และมีความคดิ รเิ ริม่ สรา้ งสรรค์ ภายใต้กรอบยุทธศาสตรช์ าตริ ะยะ 20 ปี (พ.ศ. 2560 – 2579) และแผนพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคมแห่งชาติ ฉบับท่ี 12 (พ.ศ. 2560 – 2564) การพฒั นาประเทศระยะยาว ได้กาหนดวิสัยทัศน์ไว้ว่า “ประเทศมีความมั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน เป็นประเทศพัฒนาแล้ว ด้วยการพัฒนาตามปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง” นาไปสกู่ ารพัฒนาให้คนไทย มีความสุขและตอบสนองต่อการบรรลุซ่ึงผลประโยชน์แห่งชาติ ในการ พัฒนาท่ีจะพัฒนาคุณภาพชีวิต สร้างรายได้ระดับสูงเป็นประเทศพัฒนาแล้ว และสร้างความสุขของคนไทย สงั คมมีความมั่นคง เสมอภาคและเปน็ ธรรม การดาเนินงานตามยุทธศาสตร์ด้านการแก้ไขปัญหาความยากจน ลดความเหลือ่ มล้า และสร้างการเตบิ โตจากภายใน มีแนวทางการพัฒนาสาคัญ ได้แก่ การเพมิ่ โอกาสให้กับกลุ่ม ประชากรที่มีรายได้ต่าสุด ให้สามารถยกระดับรายได้ของครัวเรือน และเข้าถึงบริการท่ีมีคุณภาพของรัฐ กระจายการให้บริการภาครัฐให้ครอบคลมุ และทว่ั ถงึ เสรมิ สร้างศักยภาพชมุ ชน อยา่ งไรก็ตาม การแก้ไขปัญหา ความยากจนเป็นเรื่องยากที่จะแก้ไขเพียงใช้นโยบายหรือคนใดคนหน่ึงเท่านั้น จาเป็นจะต้องมีการบูรณาการ ภารกจิ ของสว่ นราชการและภาคีเครือข่ายท่ีเกี่ยวข้อง เพื่อร่วมกันแก้ไขปัญหาของครัวเรือน ซ่ึงเป็นการแก้ไข ปัญหาของเฉพาะของแตล่ ะครัวเรอื น เน่ืองจากความยากจนมีสาเหตุของปัญหาท่หี ลากหลายและแตกต่างกันไป การประกอบอาชีพภาคการเกษตร ค้าขาย และรับจ้างของประชาชนส่วนใหญ่ในชุมชน หมทู่ ่ี 1 บา้ นบางนอนใน และหมทู่ ่ี 2 บา้ นหลมุ ถา่ น ตาบลบางนอน อาเภอเมืองระนอง จังหวัดระนอง ชุมชนมี ลักษณะคอ่ นขา้ งเปน็ ชมุ ชนเมืองมีการรวมตัวกันเปน็ กลุ่มอาชพี คอ่ นขา้ งน้อย สว่ นใหญจ่ ะประกอบอาชีพสว่ นตัว ตา่ งคนต่างทา ขาดการแลกเปล่ียนเรยี นร้แู ละความสามัคคีในชมุ ชนลดนอ้ ยลง ส่วนกลุ่มอาชีพที่มีอยู่ยังไม่ได้รับ การส่งเสริม และพัฒนาอย่างเพียงพอทาให้กลุ่มอาชีพบางกลุ่มหยุดการดาเนินงานไป ประกอบกับมีปราชญ์ ชุมชนด้านอาชีพที่เชี่ยวชาญและประสบผลสาเร็จในการประกอบอาชีพด้านต่างๆ อยู่ในหมู่บ้าน/ชุมชน แต่มี ส่วนน้อยท่ีสามารถถ่ายทอดให้คนอื่นนาไปทาตามให้สาเร็จได้ บทบาทของพัฒนากรในการพัฒนาอาชีพ ครัวเรือนตามแนวทางสัมมาชพี รบั ผดิ ชอบดแู ลหมูบ่ ้านเป้าหมายตามโครงการสัมมาชีพชุมชนในปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 มีท้งั สิน้ 2 หมู่บ้านใน 1 ตาบล โดยดาเนินการขับเคลื่อนงานฯ ให้เป็นไปตามแนวทางที่กรมการ พัฒนาชมุ ชนกาหนด โดยมเี ป้าหมายใหค้ รวั เรอื นสัมมาชีพได้มีโอกาสในการเรียนรู้และพัฒนาอาชีพ เพื่อสร้าง รายได้ของครัวเรือนให้เพ่ิมข้ึน โดยอาชีพท่ีจะพัฒนาต้องเป็นอาชีพที่ไม่เบียดเบียนตนเอง ไม่เบียดเบียนผู้อื่น ไมเ่ บียดเบียนส่งิ แวดลอ้ ม และมีรายไดม้ ากกวา่ รายจ่าย คอื สามารถจาหน่ายใหเ้ กดิ รายได้โดยไม่ได้มุ่งหวังกาไร เพียงอยา่ งเดียวแตต่ ้องคานงึ ถงึ ความเปน็ ธรรมสาหรบั ผู้บริโภค และสามารถพ่งึ ตนเองได้ /5.รปู แบบ...

-2– 5. รูปแบบ กระบวนการ ลาดบั ขัน้ ตอนการดาเนินงานการพฒั นาอาชีพครวั เรอื นตามแนวทางสมั มาชพี 5.1 เตรียมความพรอ้ ม ให้เปน็ ไปตามแนวทางท่กี รมการพัฒนาชมุ ชนกาหนด 5.2 สารวจข้อมูลปราชญ์ชาวบา้ นและจัดทาทะเบียนข้อมูลปราชญ์ชาวบ้าน จานวน 10 คน จดั สง่ ขอ้ มูลใหส้ านักงานพัฒนาชมุ ชนจังหวัดระนอง 5.3 คัดเลอื กปราชญ์ชุมชนเป้าหมายในหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงตามพ้ืนที่ความรับผิดชอบ ของยุทธศาสตร์ที่ 1 ตาบลราชกรูด จานวน 4 หมู่บ้านๆ ละ 1 คน เดินทางเข้ารับการฝึกอบรมหลักสูตร “วทิ ยากรผู้นาสมั มาชพี ” ณ ศนู ย์ศกึ ษาและพัฒนาชุมชนนครศรธี รรมราช จานวน 4 วัน เพือ่ เพ่มิ พนู ทกั ษะด้าน การถ่ายทอดความรู้และการจัดกระบวนการสัมมาชีพ และสามารถกลับไปทาหน้าท่ีเป็น “วิทยากรสัมมาชีพ ชมุ ชน” ในระดบั หม่บู า้ นได้อยา่ งมีคณุ ภาพ 5.4 ประชุมระดับจังหวัด โดยประชมุ เชงิ ปฏบิ ัติการวทิ ยากรสัมมาชพี ชุมชนระดับจังหวัด โดย มวี ัตถุประสงค์เพื่อสรา้ งทมี ปราชญช์ มุ ชนตามประเภทอาชีพและวางแผนปฏิบัติการฝึกอาชีพให้กับประชาชนใน หมู่บ้าน และวิทยากรสัมมาชีพชุมชนกลับไปสร้างทีมในหมู่บ้าน โดยการคัดเลือกปราชญ์ชุมชนหมู่บ้านละ ๔ คน รวมเป็น 5 คน เพือ่ สร้างทีมวทิ ยากรสัมมาชีพชุมชนระดับหมบู่ ้าน และอาเภอจดั ประชุมเตรียมความพร้อม ทีมวทิ ยากรสัมมาชีพชุมชนระดับหมบู่ า้ น โดยมีวตั ถปุ ระสงค์เพ่ือสร้างทีมวิทยากรสัมมาชีพชุมชนระดับหมู่บ้าน ให้มคี วามพร้อม สามารถจัดการฝกึ อบรมอาชีพ ให้กับประชาชนในหมู่บา้ นไดอ้ ย่างมีประสิทธิภาพ โดยคัดเลือก ผู้แทนครัวเรอื นเปา้ หมาย ท่ีตอ้ งการฝกึ อาชีพหมูบ่ า้ นละ 20 ครัวเรือน 6. เทคนิคในการปฏบิ ัติงาน (กลยุทธ)์ 6.1 พจิ ารณาจากผู้ด้อยโอกาส หรือผู้มรี ายได้นอ้ ย ในหม่บู ้านก่อนเปน็ หลัก 6.2 พิจารณาศักยภาพของหมูบ่ า้ นชมุ ชน เช่น อาชีพที่สนใจจะฝึกนั้นสามารถทาได้จริง และ สามารถเกิดการรวมกลุม่ พัฒนาผลติ ภัณฑไ์ ด้ การฟืน้ ฟกู ลุ่มอาชีพเดิมในชมุ ชน เปน็ ต้น 6.3 สนับสนุนการประชาสัมพันธ์กลุ่มอาชีพ ผลิตภัณฑ์ในชุมชนทางสื่อต่างๆ เพ่ือให้ ผลติ ภณั ฑช์ มุ ชนเปน็ ท่ีรูจ้ ัก ช่วยขยายฐานการตลาด 6.4 การสร้างระบบธรรมาภิบาลให้เกิดขึ้นในกลุ่มสัมมาชีพ เม่ือกลุ่มฯ มีธรรมะเข้ามาเป็น ส่วนช่วยในการขับเคลื่อนกลุ่มฯ ทาให้เกิดความซื่อสัตย์ โปร่งใส ตรวจสอบได้ การเข้าถึง และการมีส่วนร่วม ของสมาชิกในกลุ่มฯ จึงก่อเกดิ ความเข้มแขง็ สามัคคี ให้แกก่ ลุ่มฯ 6.5 กาหนดระเบียบของกลมุ่ ฯ โดยการประชมุ แลว้ ลงมตจิ ากสมาชิกในกลมุ่ ฯ 6.6 การสร้างเครือข่ายสัมมาชีพชุมชนในแต่ละหมู่บ้าน เพื่อให้เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ พัฒนาผลติ ภณั ฑ์ และสนับสนนุ แบ่งปนั วัตถุดิบ 6.7 การสร้างความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับสภาวะของการตลาดในปัจจุบัน และแนวโน้มใน อนาคตแก่กลุ่มฯ เพื่อสามารถทาให้กลุ่มฯ ลงมติตัดสินใจผลิตสินค้าที่สามารถตอบสนองความต้องการของ ตลาดได้ เมื่อกลุ่มฯ สามารถผลิตสินค้าหรือผลิตภัณฑ์ท่ีสามารถตอบสนองความต้องการของตลาดได้ก็ย่อม ก่อให้เกิดการหมุนเวยี นของเงนิ (รายได้) เขา้ มาสกู่ ลมุ่ ฯ และชมุ ชน /ผลสาเรจ็ ...

-3– ผลสาเร็จที่เกิดขนึ้ - ผทู้ ่ีมรี ายไดน้ ้อย ได้มโี อกาสเรียนรูส้ รา้ งทักษะอาชพี ใหม่ๆ เกดิ เป็นอาชีพเสริมเพิ่มรายได้ข้ึน - กลมุ่ อาชพี ในหม่บู า้ นเปา้ หมาย มคี วามเข้มแข็ง และพัฒนาเป็นกลมุ่ ผู้ประกอบการ OTOP เกิดเครอื ข่ายสัมมาชีพชุมชน ทีส่ ามารถสนับสนนุ ผลติ สนิ คา้ OTOP สง่ ออกจาน่ายได้ - สมาชกิ ของกลมุ่ สัมมาชพี ชมุ ชน และพัฒนาเป็นกลุม่ ผู้ประกอบการ OTOP สามารถส่ง ผลติ ภัณฑอ์ อกไปจาหน่ายภายนอกชมุ ชนทาให้มรี ายได้เพิม่ ขึ้น 7. ปญั หาทพ่ี บและแนวทางการแกไ้ ขปัญหา ปัญหาที่พบ แนวคิดของสมาชกิ ในกลมุ่ ฯ “ว่าผลติ สนิ ค้าแล้วใครจะซื้อ ขาดความเช่ือมน่ั สับสนไม่แนใ่ จว่า กลมุ่ นน้ั จะแบง่ ปนั ผลประโยชนท์ เี่ ปน็ ธรรม” แนวทางการแกไ้ ขปัญหา 1) การขับเคล่ือนหรือการดาเนินกิจกรรม มีความจาเป็นท่ีจะต้องมาจากความต้องการจาก ชมุ ชน เพอ่ื สนองหรือแก้ไขปญั หา การขับเคลอ่ื นหรอื การดาเนนิ กิจกรรมนน้ั จะประสบความสาเรจ็ และยั่งยนื 2) สร้างความรู้ความเข้าใจเก่ียวกับสภาวะของการตลาดในปัจจุบัน และแนวโน้มในอนาคต แก่กลุ่มฯ เพ่ือสามารถทาให้กลุ่มฯ ลงมติตัดสินใจผลิตสินค้าท่ีสามารถตอบสนองความต้องการของตลาดได้ เมอื่ กลุม่ ฯ สามารถผลิตสินค้าหรอื ผลิตภณั ฑ์ทสี่ ามารถตอบสนองความตอ้ งการของตลาดได้ก็ย่อมก่อให้เกิดการ หมนุ เวยี นของเงิน(รายได้) เขา้ มาสู่กลุ่มฯ และชุมชน ทาให้กล่มุ สามารถดาเนินงานไดอ้ ยา่ งต่อเนือ่ งและม่ันคง 3) สรา้ งระบบธรรมาภิบาลให้เกิดข้นึ ในกลุ่มสัมมาชพี เม่ือกลุ่มฯ มีธรรมะเข้ามาเป็นส่วนช่วย ในการขบั เคลือ่ นกล่มุ ฯ ทาให้เกดิ ความซื่อสัตย์ โปร่งใส ตรวจสอบได้ การเข้าถึง และการมีส่วนร่วมของสมาชิก ในกลุ่มฯ จึงก่อเกิดความเข้มแข็ง สามัคคี ให้แก่กลุ่มฯ ทาให้สมาชิกในกลุ่มฯ มีความเชื่อม่ันต่อการแบ่งปัน ผลประโยชน์ของกลมุ่ ท่เี ปน็ ธรรม 8. ประโยชนข์ ององคค์ วามรู้ 8.1 สามารถนามาปรบั ใช้ในการขบั เคล่ือนงานพฒั นาชุมชนในพืน้ ทอี่ นื่ ๆ เพื่อตอบสนองความ ต้องการของชุมชนอย่างแทจ้ รงิ 8.2 สามารถสะท้อนให้เห็นได้ชัดว่า “พลังท่ีแท้จริงในการขับเคลื่อน และพัฒนาชุมชน คือพลงั แหง่ ความรู้ ความเข้าใจ การมีส่วนร่วม และความเชื่อม่ัน” ทุกคนย่อมมีคาถามในใจเสมอเม่ือจะลงมือ ทาอะไร และถ้าหากคาถามน้ันได้รับคาตอบที่แท้ และจริง เป็นไปตามแนวทางของตนสนใจก็ย่อมทาให้ ผูป้ ฏบิ ตั งิ านนัน้ มีความเชอ่ื มนั่ ศรทั ธา ทาใหง้ านสาเรจ็ ……………………………………………………………………………………….

แบบบันทกึ องค์ความรรู้ ายบุคคล ๑. ชอ่ื ความรู้ : การพฒั นาและสรา้ งทมี วทิ ยากรสมั มาชีพชุมชนระดับหมบู่ ้าน บา้ นคลองทราย หมู่ที่ 5 ตาบลบางหิน อาเภอกะเปอร์ จงั หวดั ระนอง ๒. เจา้ ขององคค์ วามรู้ : นายชัชยาคมน์ สุพทิ ยพนั ธ์ุ ตาแหน่ง นักวิชาการพฒั นาชุมชนชานาญการ สังกดั สานักงานพฒั นาชมุ ชนอาเภอกะเปอร์ ๓. องคค์ วามรทู้ ี่บ่งชี้ (เลือกไดจ้ านวน ๑ หมวด) หมวดที่ ๑ สร้างสรรคช์ มุ ชนพ่ึงตนเองได้ ∕ หมวดที่ ๒ สง่ เสรมิ เศรษฐกจิ ฐานรากให้ขยายตวั อย่างสมดลุ หมวดท่ี ๓ เสรมิ สร้างทุนชมุ ชนให้มธี รรมาภิบาล หมวดท่ี ๔ เสรมิ สร้างองคก์ รให้มขี ดี สมรรถนะสูง ๔. ความเปน็ มาและความสาคัญในการจดั ทาองค์ความรู้ (อธิบายโดยละเอียด) (คะแนนเต็ม ๒๐ คะแนน) บ้านคลองทราย หมทู่ ี่ 5 ตาบลบางหิน อาเภอกะเปอร์ จังหวัดระนองเป็นหมู่บ้านหนงึ่ ท่มี ีประชาชน โดยสว่ นใหญ่ประกอบอาชพี เกษตรกรรม และมีประชากรจากหลากหลายพื้นที่ ทั้งชาวภาคใต้ และชาวอีสาน รวมท้ังมีความหลากหลายทางศาสนา ท้ังศาสนาพุทธและอิสลาม ทาให้เกิดการผสมผสานของวัฒนธรรม ภายในหมู่บ้าน นอกจากบา้ นคลองทราย ได้รับงบประมาณโครงการสร้างความม่นั คงดา้ นอาชีพและรายไดต้ าม หลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงจากสานกั งานพัฒนาชมุ ชนอาเภอกะเปอร์ เมื่อปีพ.ศ.2563 ทาให้มีการจัด กิจกรรมเกี่ยวกับสัมมาชีพชุมชนภายในหมู่บ้าน โดยต้องมีทีมวิทยากรสัมมาชีพชุมชนภายในหมู่บ้านเป็นผู้ ขบั เคลอ่ื น ทีมวิทยากรสัมมาชีพชุมชนท่ีดีจะนาไปสู่การจัดกิจกรรมท่ีประสบความสาเร็จ และจากการสังเกต พบว่า วทิ ยากรสมั มาชีพชมุ ชนจะมีการนาเสนอและแนะนาแก่กลุ่มผู้สนใจไม่ได้ เนอื่ งจากการขาดทักษะและ วธิ กี ารนาเสนอ จากเหตผุ ลดังกล่าวจึงนาไปสกู่ ารพฒั นาและสรา้ งทีมวิทยากรสมั มาชีพชุมชนระดบั หมู่บา้ น ให้ มีทักษะและสามารถส่งต่อความรู้ความสามารถท่ีมีอยู่ภายในตัววิทยากรให้กับผู้สนใจ นาไปสู่การพัฒนา คุณภาพชวี ิตของประชาชนอย่างย่งั ยนื ต่อไป ๕. ปัญหาทีพ่ บและแนวทางการแก้ไขปัญหา (อธบิ ายโดยละเอยี ด) (คะแนนเต็ม ๑๐ คะแนน) ปัญหาของการพัฒนาและสร้างทีมวทิ ยากรสมั มาชีพชุมชนระดับหมบู่ ้านของบา้ นคลองทราย หมูท่ ่ี 5 ตาบลบางหนิ จงั หวัดระนอง แบ่งได้เป็น 3 องคป์ ระกอบ คือ องคป์ ระกอบท่ี 1 ความรู้ความเขา้ ใจ เน่อื งจากทมี วทิ ยากรสมั มาชพี ชุมชนมคี วามรแู้ ละทกั ษะเฉพาะ ดา้ น แต่ไม่ได้มีการจดั เก็บความรู้อย่างเป็นระบบ ทาให้สื่อสารกบั ผสู้ นใจไม่เขา้ ใจ ต้องมีการแก้ไขดว้ ยการนั่ง พูดคยุ กับวทิ ยากรสัมมาชพี เพ่อื วางระบบการคดิ ของและใชก้ ารลาดับข้ันตอนในการปฏิบตั ทิ ี่ถกู ตอ้ ง องค์ประกอบท่ี 2 ทักษะการพูด การพดู ของทีมวทิ ยากรสัมมาชีพชมุ ชน มกี ารพูดท่ีไม่เป็นขั้นตอน ไม่ มกี ารสรุป ทาให้ผู้รับสาร เกิดความไม่เขา้ ใจ สรปุ ใจความสาคญั ไม่ได้ แกไ้ ขด้วยการสอนการพูดโดยเริ่มตั้งแต่ การเกรน่ิ นา เน้ือหา และมกี ารสรุป

องค์ประกอบที่ 3 ทักษะการนาเสนอ รูปแบบการนาเสนอของทมี วิทยากรสมั มาชีพชมุ ชนไมม่ รี ูปแบบ การนาเสนอ เป็นการพดู แลว้ ให้กลมุ่ เปา้ หมายจินตนาการ ทาใหไ้ มเ่ ห็นเป็นรปู ธรรม แก้ไขดว้ ยการนาเสนอสิง่ ที่ เป็นรูปธรรม เชน่ การแนะนาการปลกู พืช กต็ อ้ งนาพชื มาแสดง ๖. ผลลัพธ์ทีไ่ ดจ้ ากการจัดการความรู้ (อธบิ ายโดยละเอียด) (คะแนนเต็ม ๑๕ คะแนน) ผลลัพธท์ ่ไี ด้จากการจัดการความรู้ การพฒั นาและสรา้ งทมี วิทยากรสัมมาชีพชมุ ชน บา้ นคลองทราย หมทู่ ี่ 5 ตาบลบางหิน อาเภอกะเปอร์ จงั หวัดระนอง คอื - รูปแบบการพฒั นาวิทยากรสัมมาชพี ชมุ ชน - ทกั ษะการคดิ เชงิ ระบบและการประยกุ ต์ ๗. เทคนิคและแนวทางในการทางาน (อธิบายโดยละเอยี ด) (คะแนนเต็ม ๒๕ คะแนน) เทคนคิ ในการพฒั นาและสรา้ งทมี วิทยากรสัมมาชีพชุมชนระดับหมบู่ ้าน บา้ นคลองทราย หม่ทู ี่ 5 ตาบลบางหิน คอื 1. ต้องรู้และเข้าใจ : การต้องรู้และเข้าใจ หมายถึง นักวิชาการพัฒนาชุมชนผู้พัฒนาและสร้างทีม วิทยาสัมมาชีพชุมชน ต้องมีความรู้เกี่ยวกับบริบทของตัววิทยากรสัมมาชีพชุมชน และทีมวิทยากรสัมมาชีพ ชมุ ชน รู้บริบทของพ้ืนท่ี รู้ประสบการณ์เดมิ ของผู้เป็นวิทยากรสัมมาชีพชุมชน และเข้าใจส่งิ ท่ีเกิดข้ึนภายใน หมู่บ้านท่ีได้รับงบประมาณโครงการสัมมาชีพ เข้าใจผู้เป็นวิทยากรสัมมาชีพชุมชน เช่น วิธีการคิด ประสบการณ์เดิม 2. กล้าแสดงออก : ความกล้าแสดงออก หมายถงึ นักวชิ าการพัฒนาชมุ ชนผู้พัฒนาและสรา้ งทมี วทิ ยา สมั มาชีพชุมชน ต้องการมีการแนะนาการเป็นวิทยากรสัมมาชีพชุมชน ให้ความรู้แก่วิทยากรสัมมาชีพชุมชน ตงั้ แตก่ ระบวนการพูด การแสดงสีหน้าท่าทาง การนาเสนอ การแนะนาตวั เอง การกล่าวสรปุ รวมท้งั การสร้าง ความมั่นใจในการพูด เทคนิคการลดความประหม่า และการทดลองให้วิทยากรสัมมาชพี ชุมชนได้ฝึกฝนในท่ี สาธารณะ เพอื่ สร้างความมัน่ ในใจการเปน็ วทิ ยากรสัมมาชพี ชุมชน 3. มหี ลักการ : การมีหลักการ หมายถึง นกั วิชาการพัฒนาชุมชนผู้พัฒนาและสรา้ งทีมวิทยาสมั มาชีพ ชุมชน จะต้องนาหลักการเป็นวิทยากรท่ีถูกต้องตามหลักวิชาการ มาใช้ในการพัฒนาและสร้างทีมวิทยากร สัมมาชีพชุมชน มีกระบวนการต้ังต้นจนจบ เพื่อให้วิทยากรสัมมาชีพชุมชน สามารถนาความรู้ และทักษะไป ใช้ไดอ้ ยา่ งเปน็ ทางการ และมีขั้นตอนทถ่ี ูกตอ้ ง *********************************

แบบบันทึกองค์ความรู้ระดับบุคคล 1. ชือ่ องค์ความรู้ การสร้างสัมมาชีพชุมชนตามหลักปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียง 2. ชอื่ -สกลุ นางสาวชยดุ า ปล้องใหม่ ตาแหนง่ นักวิชาการพัฒนาชมุ ชนปฏบิ ตั ิการ สังกดั สานกั งานพฒั นาชุมชนอาเภอกะเปอร์ จงั หวดั ระนอง 3. องคค์ วามรูท้ บี่ ่งชี้ หมวดท่ี 1 สรา้ งสรรค์ชมุ ชนพึ่งตนเองได้ 4. ท่ีมา ความสาคญั ในการจัดทาองค์ความรู้ เป็นองค์ความรใู้ หมแ่ ละมีความคดิ รเิ ริม่ สร้างสรรค์ คาวา่ “สัมมาชีพชมุ ชน” หมายถงึ “ชมุ ชนท่มี กี ารประกอบอาชพี โดยชอบ ซ่งึ มรี ายได้มากกวา่ รายจ่าย โดยลดการเบยี ดเบียนตนเองผอู้ นื่ และสงิ่ แวดล้อม ท้งั นต้ี ้องมีความสอดคลอ้ งกบั วถิ ขี องชมุ ชนเพื่อความมุ่งหมาย ในการสร้างระบบเศรษฐกิจชุมชน” โดยดาเนินการในพื้นท่ีเป้าหมาย และใช้กระบวนการส่งเสริมการสร้าง วทิ ยากรชาวบ้าน น่ันคอื “ปราชญ์ชาวบ้าน” โดยใหช้ าวบา้ นสอนชาวบ้านในสิ่งทอี่ ยากทาและฝึกปฏิบตั จิ ริงให้ สามารถนาไปเป็นอาชีพตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง สร้างรายไดเ้ ล้ียงตนเองและครอบครวั และ สามารถต่อยอดอาชีพสู่การรวมกลมุ่ จดั ตั้งเปน็ กลุ่มอาชีพท่ีมีความเข้มแข็ง สร้างผลิตภัณฑ์ OTOP สร้าง รายได้แกค่ รวั เรอื นสู่เศรษฐกิจฐานรากที่เข้มแขง็ ม่นั คง มง่ั คั่ง ยง่ั ยนื การส่งเสริมการขับเคล่ือนการสร้างสัมมาชีพชุมชน โดยยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ตามแผนงานยทุ ธศาสตรพ์ ฒั นาเศรษฐกิจฐานรากและชุมชนเข้มแข็งของรฐั บาล ซ่ึงตอบสนองนโยบายรฐั บาล เรื่องการลดความเหลือ่ มล้าทางสังคมและการสร้างโอกาสเขา้ ถงึ บรกิ ารของรัฐ ตามแผนยุทธศาสตรก์ าร ขับเคลื่อนการพัฒนาตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงในภาคการเกษตรและชนบท (ยุทธศาสตร์ท่ี 1) ซึ่งได้กาหนดกระบวนการขบั เคลือ่ นทีเ่ ร่มิ ตน้ ดว้ ยการพัฒนาทักษะการถา่ ยทอดองค์ความรู้ใหก้ ับปราชญ์ชุมชน เพื่อให้กลับไปสร้างทีม และจัดฝึกอบรมอาชีพให้กับครัวเรือนเป้าหมายที่ต้องการฝึกอาชีพในหมู่บ้าน โดยใช้พ้ืนท่ีในบ้านปราชญช์ ุมชนหรือศูนยเ์ รียนรู้ชุมชนเปน็ แหลง่ เรียนรู้ เพื่อมุ่งหมายใหค้ รัวเรือนทเ่ี ข้ารับการ ฝึกอาชพี มีความรู้ และปฏิบตั ิอาชีพไดจ้ ริง จนพฒั นาเป็นอาชพี ทส่ี ร้างรายไดใ้ ห้กับครัวเรอื น และตอ่ ยอดสู่การ รวมกลมุ่ จดั ต้งั เป็นกลุ่มอาชีพทม่ี คี วามเข้มแขง็ ต่อไป 5. รูปแบบ กระบวนการ ลาดับขั้นตอนการดาเนินงาน 1. จดั ทาทะเบียนปราชญ์ชุมชนเป้าหมายในหม่บู า้ นเศรษฐกิจพอเพยี ง 2. ดาเนินการร่วมกบั หมู่บ้านในการคดั เลอื กปราชญ์ชมุ ชน หมู่บ้านละ 1 คน เพ่อื เขา้ รบั การฝกึ อบรม หลกั สูตร “วทิ ยากรผนู้ าสมั มาชีพ” จากศนู ย์ศึกษาและพฒั นาชุมชน 3. เตรียมความพรอ้ มทีมสัมมาชีพชมุ ชนสรา้ งความรูค้ วามเข้าใจ ช้ีแจงแนวทางโครงการสรา้ ง สมั มาชีพชมุ ชน ความเป็นมาของโครงการสรา้ งสมั มาชพี ชมุ ชน ความสาคัญของการสรา้ งสัมมาชีพชุมชน กระบวนการสร้างสมั มาชีพชมุ ชน 4 .ถ่ายทอดความรู้ เทคนิค ของการเปน็ วิทยากรผู้นาสัมมาชีพโดยปราชญช์ มุ ชนทผี่ า่ นการอบรม หลักสตู ร “วิทยากรผนู้ าสมั มาชีพ” จากศนู ยศ์ กึ ษาและพฒั นาชุมชน 5. จัดทีมวทิ ยากรสมั มาชพี ชมุ ชนระดบั หมู่บ้าน พรอ้ มมอบหมายภารกจิ หนา้ ทีใ่ นการสง่ เสริม สนับสนนุ กากับและตดิ ตามครวั เรอื นเป้าหมายทผ่ี า่ นการอบรมอาชพี “ครวั เรอื นสมั มาชพี ชมุ ชน” โดยแบง่ สัดสว่ นของทมี วิทยากรสมั มาชีพชุมชนระดบั หมบู่ ้าน 1 คน ต่อครัวเรอื น สมั มาชพี ชมุ ชน 4 ครัวเรอื น 6. ทบทวนและจัดทาแผนปฏบิ ตั กิ ารฝึกอบรมและสง่ เสรมิ สนับสนนุ กากบั และตดิ ตามครัวเรอื น เปา้ หมายทผี่ า่ นการอบรมอาชีพ ซ่ึงเรยี กว่า “ครวั เรือนสัมมาชพี ชมุ ชน”

7. ทีมวทิ ยากรสัมมาชีพชุมชนระดบั หมบู่ ้านรว่ มกนั วิเคราะหข์ อ้ มลู ความต้องการอาชพี จากแบบความ ตอ้ งการฝกึ อาชพี ของคนในชมุ ชนทไ่ี ด้สารวจไว้แล้ว โดยจดั กลุม่ ความต้องการอาชพี แลว้ จงึ วเิ คราะหใ์ ห้ เชือ่ มโยงกับตลาด สรา้ งผลผลิตสร้างผลติ ภัณฑ์เข้าสรู่ ะบบ OTOP 6. เทคนิคในการปฏิบัติงาน (กลยุทธ์) 1) การคดั เลอื กปราชญช์ ุมชน จะตอ้ งเปน็ ปราชญท์ ม่ี อี งค์ความรทู้ เ่ี หมาะสมกบั บรบิ ทของ ชุมชน และตอ้ งคัดเลอื กจากคนทีม่ ีพน้ื ฐานการทาสมั มาชพี ทป่ี ระสบผลสาเรจ็ สามารถถา่ ยทอดความรใู้ หค้ นอื่น เขา้ ใจได้และต่อยอดใหเ้ กิดการพฒั นาเปน็ อาชีพได้ 2) ศกึ ษาข้อมูลการดาเนินงานแนวทางสัมมาชีพชุมชนให้เกดิ วามเข้าใจท่ีชดั เจน เพอ่ื จะได้นาไป ดาเนนิ การในระดับพ้ืนท่ีใหเ้ กิดประสทิ ธิภาพ และมปี ระสทิ ธผิ ล รวมท้ังกาหนดแผนการดาเนนิ กิจกรรม/ โครงการใหช้ ัดเจน ๓) ครวั เรือนเป้าหมาย ต้องสมคั รใจ และมีความตัง้ ใจทจ่ี ะฝกึ อาชพี เพอ่ื ให้การสรา้ ง กลุม่ อาชีพเกดิ รายได้อยา่ งแทจ้ รงิ 4) การสรา้ งสัมมาชีพชมุ ชนใหเ้ กดิ ผลน้นั ตอ้ งบูรณาการการทางานแบบองค์รวมทุกมิติ ทกุ ด้าน (เศรษฐกจิ สังคม การเมอื ง การปกครอง ทรพั ยากรธรรมชาติ/สงิ่ แวดลอ้ มฯลฯ) โดยยึดหลกั การทางานแบบ บรู ณาการ “มองแบบองคร์ วม ทาแบบบรู ณาการ” 7. ปัญหาทพ่ี บและแนวทางการแกไ้ ขปัญหา ปัญหาท่พี บ 1) การรวมกลมุ่ อาชีพ ชาวบ้านยังไมเ่ ข้าใจหลกั การทางานเปน็ กลมุ่ 2) ทีมปราชญย์ ังขาดความชานาญในการเป็นวิทยากรไมส่ ามารถถ่ายทอดได้เท่าที่ควร แนวทางแก้ไข 1) เจ้าหน้าทีพ่ ฒั นาชุมชนสอนกระบวนการบริหารจดั การกลุ่ม 5 ก. ให้แกช่ าวบ้าน เพ่อื ใหช้ าวบา้ นได้ เข้าใจหลักการทางานเปน็ กลมุ่ อย่างแทจ้ รงิ และเจา้ หน้าที่พฒั นาชมุ ชนคอยใหก้ ารช่วยเหลือ ตดิ ตามอย่าง ใกลช้ ิด 2) ทีมปราชญต์ ้องมีการฝกึ ฝนอย่างสม่าสมอ เพ่ือใหเ้ กดิ ความชานาญสามารถถ่ายทอดความรู้ให้ ชาวบ้านเขา้ ใจได้ง่ายและนาไปปฏบิ ตั ิไดจ้ รงิ โดยมีเจ้าหนา้ ทพี่ ฒั นาชุมชนคอยให้ความชว่ ยเหลอื แนะนาอย่างใกลช้ ดิ 8. ประโยชน์ขององค์ความรู้ การส่งเสริมสัมมาชพี ชุมชนบนหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมเี ป้าหมาย คือ ประชาชนไดร้ ับการ พัฒนาอาชีพ มีรายได้เพมิ่ ขึ้นและสามารถพึ่งตนเองได้ ประการต่อมา คือ เกิดกลุ่มอาชีพในหมู่บ้านสมั มาชพี ตามแนวทางปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง เป็นการดึงศักยภาพของชุมชน สร้างศักยภาพชุมชน ใช้ศักยภาพ ชุมชน โดยให้ชาวบ้านสอนชาวบ้านด้วยกันเอง เพ่ือขยายผลและการถอดองค์ความรู้สัมมาชีพชุมชนสู่ สาธารณชน

(รายบุคคล) แบบบันทึกองค์ความรู้ระดบั บุคคล 1. ชอ่ื องค์ความรู้ การประชาสมั พนั ธ์งานพฒั นาชุมชน 2. ชือ่ -สกลุ นางสาวสิรินนั ท์ พูลพทิ กั ษ์ ตาแหน่ง อาสาพฒั นา สงั กดั กรมการพฒั นาชมุ ชน 3. องค์ความรทู้ ี่บง่ ช้ี (เลอื กได้จานวน 1 หมวด)  หมวดท่ี 1 สรา้ งสรรคช์ ุมชนพ่ึงตนเองได้  หมวดท่ี 2 ส่งเสรมิ เศรษฐกจิ ฐานรากให้ขยายตวั อยา่ งสมดุล  หมวดที่ 3 เสริมสร้างทุนชุมชนใหม้ ธี รรมาภบิ าล  หมวดท่ี 4 เสริมสร้างองค์กรให้มขี ีดสมรรถนะสูง 4. ท่มี า ความสาคัญในการจดั ทาองค์ความรู้ เปน็ องคค์ วามร้ใู หม่และมคี วามคิดรเิ รม่ิ สรา้ งสรรค์ (คะแนนเต็ม 10 คะแนน) ในกระแสสังคมของปจั จบุ นั การเขา้ ถงึ โลกโซเชียลเปน็ สิ่งทเ่ี ข้าถึงง่ายกวา่ สมยั รนุ่ กอ่ นๆ การมเี ครื่องมอื สอื่ สารหลากหลายแบบทาใหง้ ่ายตอ่ การตดิ ต่อสื่อสาร การเสพข่าวกระแสตา่ งๆ การอัพเดตเรื่องราวที่เปน็ ปจั จบุ ัน ผา่ นทางสอื่ ออนไลนท์ เี่ รยี กวา่ เฟชบุ๊ค ไลน์ ทวิตเตอร์ อนิ สตราแกรม และแอพพลเิ คชน่ั อ่นื ๆอีก มากมายทีย่ งั ไม่ไดก้ ล่าวถงึ ในขา้ งตน้ ซึ่งทางสานักงานพฒั นาชมุ ชนอาเภอกะเปอร์ ไดม้ ีการสง่ เสรมิ ในดา้ นนี้ โดยการเผยแพรข่ ่าวสารทางเฟชบคุ (facebook) ผา่ นสงิ่ ท่เี รียกว่าเพจ (Page) ทางแอพพลเิ คช่ันไลน์ (line) และทางเวบ็ ไซต์ (website) ของพฒั นาชุมชนอาเภอเอง ทั้งนจี้ ุดประสงคข์ องการเผยแพรท่ างช่องทางต่างๆน้นั คอื ต้องการเผยแพร่ขอ้ มลู ขา่ วสาร กจิ กรรมของหนว่ ยงานไปสู่กลมุ่ เปา้ หมาย ทงั้ หมดนีจ้ าเปน็ ตอ้ งอาศัย เคร่ืองมอื หรอื สอื่ ทจี่ าเปน็ ตอ้ งใชใ้ นการดาเนนิ การกจิ กรรมต่างๆ 5. รูปแบบ กระบวนการ ลาดบั ข้ันตอนการดาเนินงาน (คะแนนเตม็ 15 คะแนน) 5.1 รปู แบบในการดาเนนิ งาน -อัพเดตข่าวสารอยเู่ สมอ โดยผา่ นการกล่นั กรองและการวเิ คราะหเ์ น้อื หาของข้อมลู ทไ่ี ด้รบั มา 5.2 กระบวนการ ลาดบั ข้นั ตอนในการดาเนินงาน -ศึกษา หาความรจู้ ากเอกสารคมู่ ือ ส่ือออนไลน์ตา่ งๆ เชน่ youtube รวมไปถงึ การแลกเปลีย่ นความรู้ ระหว่างบุคลากรของสานักงานดว้ ยกันเอง 6. เทคนคิ ในการปฏบิ ตั ิงาน (กลยุทธ์) (คะแนนเตม็ 25 คะแนน) -การจัดทาส่ือต่างๆ โดยการทาคลปิ วิดโี อความยาวไมเ่ กนิ 5 นาที เพ่ือเพิม่ ชอ่ งทางในการเผยแพร่ ประชาสมั พันธง์ านกจิ กรรมของสานกั งานในอีกรปู แบบหนึง่ -เพมิ่ ความน่าสนใจลงไปในเน้อื หาของขา่ ว เช่น เวลามขี า่ วกิจกรรมท่ตี อ้ งเชิญชวน กจ็ ะใสล่ ูกเล่นคา ต่างๆหรือกจิ กรรมท่ีเป็นไฮไลทข์ องงานน้ันๆ -เนื้อหาจะตอ้ งมีความกระชบั อา่ นแล้วสามารถเขา้ ใจได้ในทนั ที 7. ปญั หาทพี่ บและแนวทางการแก้ไขปญั หา (คะแนนเตม็ 25 คะแนน) การที่ต้องเขยี นขา่ วโดยการใช้คาศพั ทท์ เี่ ปน็ ทางการ ไม่วา่ จะเปน็ คาศพั ทเ์ ฉพาะในกรณขี องการทาข่าว ในสว่ นของราชการ หรือ การเชญิ เขา้ รว่ มงานในพิธสี าคญั ต่างๆ จาเปน็ ต้องศึกษาเพม่ิ เตมิ หรือสอบถามผูร้ ู้ ผทู้ ่ี มเี ชี่ยวชาญในด้านน้ี เพื่อทจี่ ะสามารถสง่ ตอ่ ขอ้ มลู ไดถ้ ูกต้องและดนู า่ เช่ือถอื

8. ประโยชน์ขององค์ความรู้ (คะแนนเตม็ 25 คะแนน) -ได้ฝกึ การบริหารจดั การงาน -มีประสบการณ์การทางานทหี่ ลากหลาย -บคุ ลากรมสี ว่ นร่วมในการแลกเปลีย่ นเรยี นร้เู พ่อื พฒั นางานอยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ -บุคลากรมกี ารขบั เคลอื่ นงานทกุ ขัน้ ตอน

แบบบันทกึ องค์การจัดการความรู้ (Knowledge Management in Community) ........................................ ๑.ชือ่ ความรู้ การสง่ เสริมกลุ่มออมทรัพย์เพ่ือการผลติ ขบั เคลื่อนสัมมาชีพชุมชนส่ผู ลติ ภัณฑ์ OTOP ๒.ชื่อเจา้ ของความรู้ นางพิมพกาญจน์ พลประสิทธิ์ ตำแหน่ง นักวิชาการพฒั นาชุมชนปฏิบตั ิการ สงั กัดสำนักงานพฒั นาชุมชนอำเภอปลายพระยา จงั หวัดกระบี่ ย้ายมาจากสำนักงานพฒั นาชมุ ชนอำเภอกะเปอร์ จังหวดั ระนอง ๓.หมวดองค์ความรูท้ ี่บ่งช้ี เทคนคิ การสง่ เสรมิ กองทุนให้เกดิ การบรหิ ารงานตามหลักธรรมาภิบาล ๔. ทม่ี าและเป้าหมายของการจัดการความรู้ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสงั คมแหง่ ชาติ ฉบบั ท่ี 12 (พ.ศ.2560-2564) ได้กำหนดยทุ ธศาสตร์การ สรา้ งความเปน็ ธรรมลดความเหลอื่ มล้ำในสงั คมเปน็ 1 ใน 10 ยทุ ธศาสตรก์ ารพัฒนาตามแผนฯ และรัฐบาลได้ กำหนดนโยบายการบริหารราชการแผ่นดิน จำนวน 11 ดา้ น ซึง่ มีนโยบายการลดความเหลอ่ื มล้ำของสังคมและ การสรา้ งโอกาสเขา้ ถึงบรกิ ารของรฐั เป็นหนง่ึ ในนโยบายสำคัญทมี่ ุ่งหวงั แก้ไขปัญหาเกยี่ วกับปากทอ้ งของ ประชาชนในระดบั ลา่ งท่เี ป็นคนสว่ นใหญ่ของประเทศ โดยมแี ผนงานทีส่ ำคญั คือ แผนงานการพฒั นาเศรษฐกจิ ฐานรากและชุมชนเข้มแขง็ ซึ่งไดม้ อบให้กระทรวงมหาดไทยที่มีกรมการพฒั นาชุมชนเป็นหน่วยงานหลกั บรู ณา การไปสกู่ ารปฏบิ ตั ิ ในฐานะผู้รับผดิ ชอบงานพัฒนาชมุ ชนตำบลเชย่ี วเหลียง อำเภอกะเปอร์ จงั หวดั ระนอง ได้ศึกษา ชมุ ชนแล้วพบว่า ประชากรส่วนใหญม่ อี าชีพเกษตรกรรม ปลกู ยางพารา ปาล์มนำ้ มนั และผลไม้ เชน่ ทุเรยี น มงั คุด เป็นตน้ ซง่ึ ปจั จุบันนี้สถานการณท์ เี่ กี่ยวข้องกับการประกอบอาชีพของประชาชนในชุมชนมภี าวะความ เส่ียงทเ่ี กดิ จากจำนวนผลผลติ ลน้ ตลาด ราคาผลผลติ ตกตำ่ การไม่มอี าชีพหรอื รายไดเ้ สริม และยงั มีการรวมตวั กนั เป็นกลมุ่ อาชีพค่อนข้างนอ้ ย สว่ นกลุ่มอาชีพท่ีมีอยยู่ ังไม่ได้รบั การสง่ เสริมและพฒั นาอย่างเพยี งพอ ประกอบกบั มี ปราชญช์ ุมชนดา้ นอาชีพทเ่ี ช่ยี วชาญและประสบผลสำเรจ็ ในการประกอบอาชพี ด้านตา่ งๆ อยใู่ นหม่บู ้าน/ชมุ ชน แตม่ สี ่วนน้อยท่สี ามารถถา่ ยทอดให้คนอื่นนำไปทำตามให้สำเรจ็ ได้ ด้วยเหตุปัจจยั ดงั กล่าวข้างตน้ จึงมุง่ เน้นการ ยกระดับเศรษฐกิจฐานราก นน่ั คอื “รายได”้ ที่ตอ้ งทำให้ชุมชนมีรายไดเ้ พิม่ ข้นึ โดยการสร้างอาชพี จึงเป็นท่มี า ของ “สัมมาชพี ชุมชน” และนำไปสกู่ ารสร้างผลติ ภณั ฑ์ของชุมชน ยกระดบั ให้เป็นหน่งึ ตำบล หนึ่งผลิตภัณฑ์ (OTOP) กลมุ่ ออมทรัพย์เพอื่ การผลติ บ้านชลนิมิตร หมทู่ ่ี 7 ตำบลเช่ยี วเหลยี ง อำเภอกะเปอร์ จงั หวัด ระนอง ก่อต้ังเมื่อวนั ที่ 1 พฤศจิกายน พ.ศ 3541 มีสมาชิกในวันกอ่ ต้ัง จำนวน 50 คน ปจั จบุ นั มสี มาชิก จำนวน 157 คน มยี อดเงินสจั จะสะสม จำนวน 1,413,820 บาท มสี มาชิกกเู้ งินสามัญ จำนวน 52 ราย เป็น เงิน 373,790 บาท มีเงินฝากธนาคาร 409,640.01 บาท มเี งนิ สดในมือ 12,160 บาท มกี ารจดั กิจกรรม หลายดา้ นทัง้ การจัดสวัสดิการ และการชว่ ยเหลอื สงั คม รวมทัง้ การสง่ เสรมิ สัมมาชีพชมุ ชน กลุ่มออมทรัพยเ์ พอ่ื

-๒- การผลิต เปน็ กลมุ่ กองทุนทางการเงินทีเ่ กดิ จากการรวมกลุ่มของประชาชนในชุมชน เพือ่ ช่วยเหลอื ตนเองและ ช่วยเหลือซ่ึงกนั และกนั โดยการประหยดั ทรัพย์ แลว้ นำมาสะสมรวมกันทลี ะเล็กละนอ้ ยเปน็ ประจำอย่างสม่ำเสมอ เพื่อใชเ้ ป็นทุนใหส้ มาชกิ ท่มี ีความจำเปน็ เดอื ดร้อนกยู้ ืมไปใชใ้ นการลงทนุ ประกอบอาชีพ หรือเพ่ือสวสั ดกิ ารของ ตนเองและครอบครวั บริหารงานจดั การกลุ่มภายใต้หลกั คุณธรรม 5 ประการ ทำให้คนมคี ณุ ธรรม มีการ ชว่ ยเหลอื เก้ือกูล เอื้ออาทร แบ่งปนั ซ่ึงกนั และกนั เกดิ กระบวนการเรยี นรู้การทำงานร่วมกนั ตามวิถีทาง ประชาธิปไตย ดังน้ัน การนำทนุ ทางการเงินที่มอี ยู่ในชมุ ชนมาใชใ้ นการสนับสนุนครัวเรือนสัมมาชีพจึงเปน็ อีก ช่องทางหน่งึ ทจ่ี ะสามารถผลกั ดนั ใหค้ รวั เรอื นสมั มาชพี มเี งนิ ทนุ สำหรับการต่อยอดในการสร้างและพฒั นาอาชีพ ซึง่ จะสง่ ผลต่อการยกระดับเศรษฐกิจฐานราก อีกทงั้ ยังส่งผลทางด้านสังคมให้เกิดความรัก ความสามคั คี เกดิ ความเอ้ืออาทร เป็นสังคมแห่งความเกื้อกลู ๕.วิธกี าร/ข้ันตอนการจดั การความรู้ บันทึกขุมความรู้ (Knowledge Assets) กระบวนการดำเนินงาน ๑. จังหวัดแจ้งแนวทางการขบั เคล่อื นกลมุ่ ออมทรพั ยเ์ พื่อการผลติ กับการขบั เคลอ่ื นสมั มาชีพ ชมุ ชนให้อำเภอทราบ ๒. จังหวดั พิจารณาคัดเลอื กคณะกรรมการเครือขา่ ยกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลติ /ผูแ้ ทนกลุม่ ออม ทรัพยเ์ พ่อื การผลิต เขา้ ร่วมเป็นทมี สนบั สนุนการขับเคลอื่ นสัมมาชีพชมุ ชน ๓. จังหวดั ดำเนินการจดั ประชุมทีมสนับสนุนการขับเคล่ือนสมั มาชพี ชุมชน 4. คณะกรรมการเครือข่ายกลมุ่ ออมทรพั ยเ์ พอ่ื การผลิต/ผแู้ ทนกลมุ่ ออมทรพั ย์เพื่อการผลติ กำหนดแผนในการสง่ เสริมสนับสนนุ ครวั เรอื นสมั มาชพี 5. คณะกรรมการเครือขา่ ยกลมุ่ ออมทรพั ยเ์ พือ่ การผลติ /ผ้แู ทนกลมุ่ ออมทรัพย์เพื่อการผลิต สนบั สนนุ ครวั เรือนสัมมาชีพใหเ้ ขา้ ถงึ แหล่งทนุ สำหรบั การประกอบอาชีพของครัวเรือน ๖. การติดตามโดยการลงพ้นื ทต่ี ิดตามการดำเนินงานรว่ มกบั ทมี สนับสนุนระดับจังหวดั /อำเภอ ๖.ผลลพั ธท์ ่ีได้จากการจดั การความรู้ แกน่ ความรู้ (Core Competency) ๖.๑ เทคนิคและแนวทางในการทำงาน 1. การคัดเลือกกล่มุ เปา้ หมายในการขับเคลอ่ื นการดำเนนิ งานสมั มาชีพชุมชน ตอ้ งคัดเลือก คณะกรรมการเครือข่ายกลุม่ ออมทรัพยเ์ พ่ือการผลติ /ผู้แทนกลุ่มออมทรัพยเ์ พื่อการผลิตที่ความร้คู วามเข้าใจใน แนวคิดการดำเนินงานกลมุ่ ออมทรัพย์เพือ่ การผลติ และเป็นผู้ทสี่ ามารถถ่ายทอดความรู้ รวมทัง้ เป็นผมู้ ี ความสามารถในการประสานงานในระดับต่างๆ เพอ่ื ให้สามารถเชื่อมโยงการนำทุนจากกล่มุ ออมทรัพย์เพ่ือการ ผลติ มาสง่ เสริมสนบั สนนุ ครัวเรือนสัมมาชพี ได้

-3- 2. การประชุมสรา้ งความรูค้ วามเขา้ ใจแนวทางการดำเนนิ งานสัมมาชพี แก่คณะกรรมการ เครือข่ายกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลติ /ผ้แู ทนกลมุ่ ออมทรัพยเ์ พื่อการผลิตใหม้ ีความรูค้ วามเข้าใจแนวทางการ ดำเนนิ งานสมั มาชีพชมุ ชน เปน็ สว่ นสำคัญท่ีทำให้การขบั เคล่ือนการดำเนนิ งานเปน็ ไปอย่างมีประสทิ ธภิ าพและ เกิดการบรู ณาการรว่ มกนั ของทีมสนบั สนุนการขับเคลอื่ นสัมมาชีพชมุ ชนทกุ ระดบั 3. การเตรยี มความพร้อมกลุ่มออมทรัพยเ์ พื่อการผลิตในระดับพน้ื ที่ให้เข้มแข็ง โดยการพฒั นา ยกระดับให้เขม้ แขง็ และมีมาตรฐาน เพ่ือใช้เป็นแหลง่ เงนิ ทุนสำหรบั ครวั เรอื นสัมมาชีพและสนับสนุนการต่อยอด เงินทุนสำหรับการรวมกลุ่มในการประกอบอาชีพสู่การขึน้ ทะเบียนเปน็ ผ้ปู ระกอบการผลิตภัณฑ์ OTOP รวมทงั้ ให้ สามารถบรหิ ารจัดการสวสั ดิการแกค่ รัวเรือนสัมมาชพี ได้อย่างทั่วถงึ ๖.๒ ขอ้ พงึ ระวัง 1. ตอ้ งมีการเตรยี มความพรอ้ มในการขับเคล่ือนกิจกรรม โดยเฉพาะในขัน้ ตอนของการสรา้ ง ความรู้ความเข้าใจแนวทางในการดำเนินงานแก่กลไกการขับเคล่ือนโดยเฉพาะทมี สนับสนนุ การขับเคล่ือน สัมมาชีพชุมชน (กลมุ่ องคก์ รเครอื ขา่ ยพฒั นาชุมชน 4 องค์กร) จะต้องมีความรคู้ วามเข้าใจท่เี ป็นไปในแนวทาง เดียวกนั จึงจะสามารถบูรณาการในการขบั เคลอื่ นการงานร่วมกนั ได้อย่างเป็นระบบและมีประสิทธิภาพ 2. การสรา้ งความรูค้ วามเข้าใจในแนวคดิ และหลักการดำเนินงานของกลุ่มออมทรัพย์เพ่ือการ ผลิตในพื้นทหี่ มูบ่ ้านเป้าหมายทช่ี ดั เจนเป็นอกี สว่ นหน่ึงทีจ่ ะทำใหค้ รวั เรือนสมั มาชพี ได้เห็นความสำคัญของการ เข้าเปน็ สมาชิกกลุ่มออมทรัพยเ์ พ่ือการผลิต และชมุ ชนสามารถบรหิ ารจัดการทุนจากกลุ่มออมทรัพย์เพ่ือการผลติ มาต่อยอดในการสรา้ งและพัฒนาอาชพี แก่ครวั เรอื นสัมมาชีพ รวมทั้งเกิดการรวมกลุ่มอาชพี ซ่ึงจะกอ่ ให้เกิดการ ยกระดบั เศรษฐกจิ ฐานรากในพืน้ ท่ีเปา้ หมายได้อยา่ งยัง่ ยนื ๖.๓ ปจั จยั แห่งความสำเรจ็ จากการขับเคล่อื นการดำเนินงานของคณะกรรมการเครอื ข่ายกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต/ ผู้แทนกลุ่มออมทรัพย์เพ่ือการผลิตในส่งเสริมและสนับสนนุ การสรา้ งสัมมาชีพชมุ ชน ซึง่ ถอื เปน็ กลไกการ ขับเคลือ่ นหนง่ึ ทีม่ ีสว่ นสำคญั ต่อความสำเรจ็ ของการดำเนนิ งานในภาพรวม ส่งผลใหช้ มุ ชนสามารถดึงศักยภาพ ของทุนชุมชน สรา้ งชมุ ชน ใช้ศักยภาพชุมชนเพ่อื พัฒนาชุมชน ท้งั ในดา้ นของการใช้เงนิ ทุนเพ่อื ใหค้ รวั เรือน สัมมาชพี ชุมชนและกลมุ่ อาชพี สามารถสร้างอาชีพและรายได้แก่ชมุ ชนตามเกณฑ์ท่ีกำหนด รวมทั้งเกดิ การ ชว่ ยเหลอื เกื้อกูลกันในดา้ นของการจัดสวสั ดิการชมุ ชน เปน็ ตน้ ซ่งึ สามารถสรปุ ปจั จยั ทสี่ ง่ ผลต่อความสำเร็จได้ ดงั นี้ ๑. คณะกรรมการเครือข่ายกลมุ่ ออมทรัพยเ์ พื่อการผลติ /ผู้แทนกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลติ ท่ี เขา้ ร่วมเป็นทมี สนบั สนนุ การขบั เคล่ือนสมั มาชีพชมุ ชน มคี วามรู้ความเขา้ ใจแนวทางในการดำเนนิ งานสัมมาชีพ ชุมชนตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง และสร้างการรับรู้ถงึ วิธีการส่งเสรมิ สนบั สนุนการขบั เคลื่อนการ สร้างสมั มาชีพชมุ ชน ตามบทบาทภารกิจทเ่ี ก่ียวขอ้ ง ๒. มีการกำหนดแผนปฏบิ ัติการสง่ เสรมิ สนับสนนุ การขบั เคล่อื นการสร้างสัมมาชพี ชมุ ชน รว่ มกันและดำเนนิ กจิ กรรมอย่างเป็นรปู ธรรม 3. มกี ารประสานงานรว่ มกับจังหวดั ในการตดิ ตามผล และขยายผลในการสนับสนนุ กลุ่มออม ทรัพยเ์ พอื่ การผลติ ในการขับเคลื่อนสัมมาชีพชุมชน ๖.๔ ปญั หาและวธิ ีการแก้ไข ปัญหา ผลไมล้ ้นตลาดโดยเฉพาะมงั คุด สมาชิกไม่มีเงินทนุ ในการนำมาแปรรปู และเป็นผลจากภาวะ เศรษฐกจิ ที่ตกต่ำ ไมม่ รี ายได้เสริม ทำให้การสง่ เงนิ คืนของสมาชกิ ลา่ ชา้ เมือ่ ครบสญั ญาจะมปี ญั หาในการชำระคืน

-4- แนวทางแก้ไข เจ้าหนา้ ที่พัฒนาชมุ ชนและคณะกรรมการเรยี กลูกหนมี้ าพูดคุย สอบถามปญั หา และร่วมกนั หา วิธแี ก้ไขปัญหา รว่ มกนั หาอาชีพเสริมโดยการแปรรปู ผลไมท้ ี่มีอยมู่ ากในชุมชน และใหม้ กี ารทยอยสง่ เงนิ คืนจน ครบตามสญั ญา ๖.๕ ผลลพั ธจ์ ากการแก้ไขปญั หาและพัฒนาเร่ืองนั้น กลุ่มออมทรัพยเ์ พ่ือการผลิตสนับสนุนสมั มาชีพชุมชน เพื่อแปรรปู ผลไม้ คอื ทำมงั คุดกวน และ สามารถขน้ึ ทะเบียนเป็นผลติ ภัณฑ์ OTOP ปี 2563 ในนาม “แปรรปู ผลไม้ หมู่ท่ี 7 ตำบลเชยี่ วเหลยี ง” และ เตรียมทำการแปรูปรปู ทเุ รยี น เชน่ ทเุ รยี นทอด ทุเรยี นกวนต่อไป ทำใหส้ มาชิกมรี ายได้เสรมิ และสามารถทยอยส่ง เงนิ คืนไดต้ ามกำหนด .................................................

การจัดการองค์ความรู้ ชือ่ การดาเนนิ งานหมบู่ า้ นเศรษฐกจิ พอเพียงตน้ แบบ บา้ นผาพิง หมู่ท่ี ๑ ตาบลในวงเหนอื อาเภอละอนุ่ จงั หวดั ระนอง เจา้ ของความรู้ นายมานติ คดิ สร้าง ตาแหนง่ นกั วิชาการพัฒนาชุมชนชานาญการ สงั กดั สานกั งานพฒั นาชุมชนอาเภอละอุ่น จังหวัดระนอง ----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- ------------------------- ความเปน็ มา ตามทกี่ ระทรวงมหาดไทย ไดม้ อบหมายใหก้ รมการพฒั นาชุมชน เป็นหน่วยงานหลกั ในการขบั เคลื่อน ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง เนื่องจากกระบวนการพฒั นาชมุ ชนมคี วามสอดคล้องกบั หลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง คือปฏบิ ตั ติ ามหลกั ความพอประมาณ ความมีเหตผุ ล สรา้ งภูมคิ มุ้ กันที่ดี ด้วยการใชค้ วามรู้คู่คุณธรรม ทา ใหช้ ุมชนพ่ึงตนเองบนความพอเพียง โดยบรู ณาการการทางานร่วมกนั ภาคเี ครอื ขา่ ยการพัฒนาทุกระดับ บ้านผาพิง หม่ทู ี่ ๑ ตาบลในวงเหนอื อาเภอละอ่นุ จงั หวัดระนอง ไดร้ ับงบประมาณขบั เคลอ่ื นโครงการ ขยายผลหมบู่ ้านเศรษฐกจิ พอเพยี งต้นแบบ จากกรมการพฒั นาชมุ ชน ในปีงบประมาณ พ.ศ.25๖๒ ผลกาขบั เคลอ่ื น หมู่บ้านเศรษฐกจิ พอเพียงต้นแบบ สามารถยกระดบั จากระดับ “พออยู่ พอกิน” เป็นระดับ “มัง่ มี ศรสี ขุ ” วธิ กี ารขัน้ ตอนในการขับเคล่อื น 1. ศึกษาแนวทางการดาเนนิ งานพฒั นาหมบู่ า้ นเศรษฐกิจพอเพยี งต้นแบบ ให้มีความเขา้ ใจถึวตั ถปุ ระสงค์ ของโครงการฯ อย่างชดั เจน 2. ประชมุ เพือ่ สรา้ งความรู้ ความเข้าใจ และวตั ถปุ ระสงคข์ องการขับเคลอื่ นโครงการขยายผลหมบู่ ้าน เศรษฐกจิ พอเพียงตน้ แบบ บ้านผาพงิ ตาบลในวงเหนอื อาเภอละอุ่น จงั หวัดระนอง 3. ประชาสมั พนั ธร์ ับสมัครแกนนาหม่บู ้านเศรษฐกจิ พอเพียง 30 ครวั เรอื น โดยจะเน้น ความสาคญั ของแกนนาหมบู่ ้านเศรษฐกจิ พอเพียงตน้ แบบ เปน็ กลไกสาคญั ในการสง่ เสรมิ ละสนบั สนุนกระบวนการพฒั นา หมบู่ ้านเศรษฐกจิ พอเพยี งต้นแบบ แกนนา คอื ผทู้ ี่เปน็ หวั เรยี่ วหวั แรงหลกั ในการชกั ชวนใหค้ นในหม่บู ้าน ลกุ ขน้ึ มาร่วมคดิ ร่วมหาทางแก้ไขปัญหา และลงมอื กระทากจิ กรรมตา่ ง ๆ เพื่อพฒั นาชวี ติ ตนเอง ครอบครัวและชุมชนให้ดี ขนึ้ และเป็นแบบอย่างทีด่ ีในการใชช้ วี ติ ทีเ่ รียบง่าย ๔.ขบวนการคัดเลือกแกนนา คดั เลือกผทู้ ส่ี มคั รใจหัวไวใจสู้ชาวบ้านยอมรบั การคน้ หาโดยใช้วิธี ตดิ ต่อ ทาบทามพูดคยุ ในทีป่ ระชมุ เสนอผ่านเวทปี ระชาคมหมบู่ า้ น เพ่ือทาหนา้ ท่ีสง่ เสรมิ ใหค้ รวั เรอื นตน้ แบบรจู้ กั วเิ คราะห์ ตนเองมองเห็นปญั หา เห็นจดุ อ่อน จุดแขง็ ของตนเอง และเรียนรูว้ ิธีคดิ วธิ ีการ แก้ไขปัญหาโดยนาหลักปรัชญาของ เศรษฐกจิ พอเพียงมาปรบั ใช้ ในการ พฒั นาคณุ ภาพชวี ติ ของตนเอง ครอบครัว และชมุ ชน โดยสรุปแลว้ เรอ่ื งหลัก ๆ ท่แี กนนาจะตอ้ งไปให้คาแนะนา และทาเป็นตวั อยา่ งได้ มีดังนี้ - อบรมครอบครวั พัฒนา 30 ครวั เรอื น ตามแนวทางการด าเนินงานตามโครงการฯ - ประสานหน่วยงานภาคีร่วมด าเนินงาน (อบต./กศน./เกษตร/ธกส.) - สัมมนาการเรยี นรวู้ ิถีชีวติ เศรษฐกิจพอเพียง - ศกึ ษาดูงานประสบการณก์ ารพฒั นาวถิ ชี ีวติ เศรษฐกิจพอเพยี งจากแหลง่ เรียนร้ตู ้นแบบ

-๒- - อบรมการเรยี นรู้การบรหิ ารจดั การชมุ ชน - กิจกรรมสาธิตการดารงชีวิตตามวถิ เี ศรษฐกจิ พอเพยี ง (การทาน้ายาล้างงจานเพื่อลดรายจ่ายใน ครวั เรอื น) 5. ประเมินระดับการพฒั นาของหมบู่ ้านตามเกณฑ์ของกระทรวงมหาดไทย (4 ด้าน 23 ตวั ชวี้ ัด) และประเมนิ ความ “อยเู่ ยน็ เป็นสุข”หรอื ความสุขมวลรวมของหมบู่ า้ น/ชุมชน (GVH) จานวน 2 คร้ัง ครง้ั ท่ี 1 กอ่ นการพฒั นา และคร้งั ท่ี 2 หลงั การพฒั นา 6. หมู่บา้ นดาเนินการขบั เคล่ือนกจิ กรรมตามแนวทางและตามเกณฑข์ องกระทรวงมหาดไทย และ สามารถขยายผลการดาเนินงานสูค่ รอบครวั อ่นื ๆ ในหมบู่ า้ นจนครบทุกครัวเรอื น 7. หมู่บา้ นได้บูรณาการการขบั เคลอื่ นหมบู่ ้านเศรษฐกิจพอเพยี งต้นแบบกบั ภาคส่วนราชการทเี่ ก่ยี วข้อง เช่น องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น/กศน./ ธกส./เกษตร/พช. เปน็ ตน้ 8. หมู่บา้ นไดม้ กี ารจัดทาแผนบรู ณาการในการขบั เคลอื่ นหมบู่ ้านเศรษฐกจิ พอเพยี งตน้ แบบ ให้มี ความย่งั ยนื สืบไป แกนนากับการขยายผลหมบู่ า้ นเศรษฐกจิ พอเพียงต้นแบบโดยทุนชุมชน การขยายผลการพฒั นาหมบู่ า้ นเศรษฐกิจพอเพยี งตน้ แบบโดยทนุ ชุมชน เป็นเป้าหมายสาคญั ในการ ทางานของกรมการพฒั นาชุมชน เพ่ือใหป้ ระชาชน ในหมบู่ ้านทวั่ ประเทศ ไดน้ อ้ มนาหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง ไปปรบั ใช้ในการดารงชีวติ ตามวิถพี อเพยี ง สร้างชุมชนเขม้ แข็ง เศรษฐกจิ ฐานรากม่ันคง โดยการส่งเสรมิ ให้ชุมชน มรี ะบบการบรหิ ารจดั การทเ่ี หมาะสม โดยอาศยั กลไกของชุมชน เช่น กพสม./กพสต., ศอช.ต. ผู้นา อช. อช. ผูน้ าชุมชน แกนนาหมบู่ ้านและเจา้ หน้าที่ โดยใช้ทุนชุมชนท่มี อี ยู่ ทงั้ ทนุ ทไ่ี มใ่ ช่เงนิ และทนุ ทเ่ี ปน็ เงิน เช่น กลุ่มออมทรพั ยเ์ พ่อื การผลติ กองทนุ หมบู่ า้ น กองทนุ กลมุ่ อาชพี กองทนุ พัฒนาบทบาทสตรี ฯลฯ นามาสนับสนุน กจิ กรรมชมุ ชนให้เกิดอย่างต่อเนอ่ื งพรอ้ มท้งั นาเครอ่ื งมือต่าง ๆ สนบั สนนุ การเรียนรู้ เชน่ การมแี ละใช้ระบบขอ้ มลู ทนุ ชุมชน จัดทาและปรบั แผนชุมชนใหม้ มี าตรฐาน สง่ เสริมให้มศี ูนยเ์ รียนรชู้ ุมชน การวัดความสขุ มวลรวมชุมชน ตลอดจนใหม้ ีการจัดการความรู้ชมุ ชน จากแนวทางดงั กลา่ วข้างตน้ แกนนาหม่บู ้าน/ชมุ ชน หรอื ผเู้ ก่ยี วข้องต้องสรา้ ง ความร้คู วามเข้าใจแก่ ประชาชนในหมบู่ า้ น ใหต้ ระหนกั และรว่ มกนั มาพฒั นาหม่บู า้ นของตนเองตามแนวปรชั ญา ของเศรษฐกจิ พอเพียง โดยใชศ้ กั ยภาพชมุ ชนและทุนของชมุ ชนมาร่วม บรู ณาการดาเนินกจิ กรรมชุมชน รว่ มกบั ทกุ ภาคส่วนทเ่ี กี่ยวขอ้ ง และใชเ้ ครอ่ื งมอื ตา่ ง ๆ ทชี่ มุ ชนคุน้ เคยและสอดคลอ้ งกับวิถชี วี ติ ของหมบู่ ้านและ ชุมชนสง่ เสรมิ ใหค้ รอบครัวพฒั นา เปน็ หลักในการดาเนนิ งานฐานะผปู้ ฏบิ ตั ิยดึ หลกั การพฒั นาตามแนวพระราชดาริคือ เข้าใจเข้าถึง พฒั นา ศาสตร์\"เข้าใจเขา้ ถงึ พฒั นา หลักการทรงงานของพระองค์ทา่ นเวลาเสด็จไปยังสถานทต่ี ่าง ๆ โดยมหี ลักการทรงงานแบบ \"เขา้ ใจ เขา้ ถงึ และพฒั นา\" กลา่ วคอื เวลาพระองค์ทา่ นจะพระราชทานความชว่ ยเหลอื ในเร่ืองต่าง ๆ พระองค์จะทรงศึกษา เพ่ือใหเ้ ข้าใจวา่ จะใหค้ วามชว่ ยเหลอื ในเรอ่ื งอะไรไดบ้ า้ งและความเดอื ดรอ้ นของประชาชนเปน็ อยา่ งไรและเมื่อได้ ข้อมูลแลว้ พระองคท์ า่ นทรงใช้วิธเี ขา้ ถึงโดยการเสดจ็ ไปยังพนื้ ท่นี ้นั เพื่อพบกบั ประชาชนผไู้ ด้รบั ความเดือดร้อน การเขา้ ใจ คือการสรา้ งใหเ้ กดิ ความเขา้ ใจในขอ้ มูล พ้ืนฐานดว้ ยการศึกษาข้อมลู ทุกมิติของชมุ ชน คน้ หารากของ ปัญหา และรวบรวมข้อมลู ศกั ยภาพของชมุ ชน องค์ความรขู้ องชมุ ชน องคก์ ร เครอื ขา่ ยในหมบู่ า้ นหรือชุมชนทีจ่ ะเขา้ ไปดาเนนิ การ

-๓- การเขา้ ใจ คือ การสรา้ งให้เกิดความเขา้ ใจในข้อมลู พ้ืนฐานดว้ ยการศึกษาขอ้ มลู ทกุ มิตขิ องชมุ ชน ค้นหารากของ ปญั หาและรวบรวมขอ้ มูลศักยภาพของชุมชน องค์ความร้ขู องชมุ ชน องคก์ รเครือขา่ ยในหมบู่ ้านทจี่ ะเข้าไป ดาเนนิ การ การเข้าถึง คือ เป็นเรอ่ื งการสอื่ สารและสร้างการมีสว่ นรว่ ม โดยมุ่งสอ่ื สารสร้างความเขา้ ใจและความมน่ั ใจ กับชมุ ชน ร่วมกันวิเคราะหป์ ญั หาและความตอ้ งการของชุมชน และใหช้ ุมชนมีสว่ นรว่ มในกระบวนการ คดิ วิเคราะห์ และการพฒั นามากที่สุด การพัฒนา คอื เป็นเรื่องของการเรียนรู้เพื่อพฒั นา ศักยภาพชุมชน สร้างทมี พ่เี ล้ยี งการออกแบบหลกั สตู ร และเมนกู ารพฒั นา การศึกษาดงู าน แลกเปลี่ยนเรียนรู้และฝกึ ปฏบิ ตั ิของชมุ ชน รวมทง้ั การให้ทีม พเ่ี ล้ียงให้ คาแนะนาในชุมชนและติดตามสนับสนุนประเมนิ ผล การสรุปผลการดาเนนิ งาน การแลกเปล่ียนเรียนรู้ ถอดบทเรยี น ประเมิน GVH ครัง้ ที่ ๒ ประเมนิ ๔ ดา้ น ๒๓ ตวั ชว้ี ดั ประกาศ เปน็ หมูบ่ ้านเศรษฐกจิ พอเพยี งตน้ แบบสามารถประสานการดาเนินการ ดงั น้ี -ศูนยเ์ รยี นรูช้ ุมชนบ้านพ่ี เปน็ เจ้าภาพและจดั เวทีถอดบทเรียน -พัฒนากร เปน็ พเี่ ลี้ยงในการจดั เวที GVH ครงั้ ท่ี ๒ และชว่ ยทาเอกสารถอดบทเรียนจากเวทปี ระเมนิ ด้วยเกณฑ์ ๔ ด้าน ๒๓ ตวั ชว้ี ดั และบันทกึ ผา่ นโปรแกรม **************************************************

แบบบันทึกองค์ความรู้ ชือ่ องค์ความรู้ เทคนคิ การดาเนินการสนับสนุนงานโคก หนอง นาโมเดล ชื่อเจา้ ขององค์ความรู้ นายวริ ุณ เลย่ี มไข่ตว่ น ตาแหนง่ นักวชิ าการพัฒนาชุมชนชานาญการ สงั กดั สานักงานพฒั นาชุมชนอาเภอละอนุ่ ความเป็นมาและความสาคัญ กรมการพฒั นาชุมชน ได้ดาเนนิ งานโครงการพฒั นาหมบู่ า้ นตามแนวปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง และไดด้ าเนนิ การในรูปแบบ โคก หนอง นา โมเดล ตามแนวปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงทม่ี ีลกั ษณะหัวไวใจ สู้ ซง่ึ โคก หนอง นา เป็นโมเดลต้นแบบทสี่ ถาบนั เศรษฐกจิ พอเพียงและมลู นิธกิ สิกรรมธรรมชาติน้อมนาพระ ราชดารัส ในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภมู ิพลอดลุ ยเดช รัชการท่ี 9 ตา้ นการทาเกษตรทฤษฎีใหม่ตาม แนวเศรษฐกิจพอเพียงมาใชบ้ รกิ ารจดั การนา้ และพืน้ ท่ีการเกษตร ผสมผสานกบั ภมู ปิ ญั ญาพน้ื บ้านได้อยา่ ง สอดคลอ้ งกนั โดยแบง่ พื้นที่ เปน็ สัดสว่ น การออกแบบพ้ืนทที่ จี่ ะต้องคานึงถงึ “ภูมิสงั คม” ซ่ึงถอื เปน็ ปัจจัยหลกั ทสี่ าคัญของการออกแบบพ้นื ท่ี ตามสภาพดนิ น้า ลม สังคม คือวฒั นธรรม ความเชอ่ื ภูมิปัญญาดงั้ เดมิ ทีอ่ ยู่ใน พน้ื ท่นี ั้น กระบวนการ/วธิ กี าร/เทคนิค กระบวนการ/วิธกี าร 1.ศกึ ษาและทาความเข้าใจแนวทางการดาเนินการ โคก หนอง นา โมเดล 2.ประชาสมั พันธ์ถึงแนวความคิดการทาเกษตรทฤษฎีใหม่ตามแนวเศรษฐกจิ พอเพียง 3.การตัง้ คณะกรรมการในการขบั เคลอ่ื น 4.การพจิ ารณาคดั เลอื กผูท้ จี่ ะเขา้ มาร่วมกจิ กรรม โคก หนอง นา โมเดล 5.ใหแ้ กนนาเขา้ รบั การอบรมเพอ่ื นาความรมู้ าถ่ายทอดใหก้ บั บุคคลทส่ี นใจ 7.ดาเนินการให้ความร้แู ละการปฎบิ ตั โิ ดยใหแ้ กนนาทาเป็นตัวอย่าง และผทู้ สี่ นใจเขา้ ร่วมโดยทาใน ระดบั อาเภอ ผลของการขบั เคลอ่ื นกจิ กรรม โคก หนอง นา โมเดล 1. แกนนาและผเู้ ข้าร่วมโครงการมคี วามรู้ในทฤษฎีและแนวทางในการปฎบิ ตั ิ และไดเ้ ห็นตวั อยา่ งที่ ปฎิบัตอิ ย่างเปน็ รปู ธรรม

2.แกนนาและผูท้ ส่ี นใจมคี วามมั่นคงทางอาหาร ถงึ แม้วา่ จะไม่เหน็ ผลในทันทแี ตก่ เ็ หน็ ความแตกต่าง ยง่ิ ในภาวะปัจจบุ นั ทม่ี โี รคระบาด โควิด 19 ทาใหผ้ ู้ทไี่ มไ่ ดเ้ ตรยี มตวั ให้ตัวเองมคี วามมั่นคงด้านอาหาร มีภาวะ เส่ียงตอ่ การอดอาหาร แตผ่ ้ทู ่ีตระหนกั และเตรียมตัวเองโดยใช้ทฤษฎีใหม่ตามแนวเศรษฐกิจพอเพยี ง จะมคี วาม เดือดร้อนนอ้ ยกวา่ 3.คนในหมบู่ ้านมคี วามสนใจและเขา้ ใจในหลักทฤษฎีใหม่ตามแนวเศรษฐกจิ พอเพียง เรอื่ งโคก หนอง นา โมเดล ปัจจยั แหง่ ความสาเรจ็ 1.ประชาชนทุกคนมคี วามเช่ือมน่ั ในหลักปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี งของพระบาทสมเด็จพระปรมนิ ทร มหาภมู พิ ลอดุลยเดช รัชการที่ 9 และตา่ งน้อมนาไปปฎิบัติ 2.คัดเลอื กแกนนาทีม่ ีความพร้อมเข้าร่วมการอบรม 3.การคดั เลอื กแกนนา ต้องหาแกนนาทก่ี รมการพฒั นาชุมชนสนับสนุนและประสบความสาเรจ็ จนกระทั่งมัน่ ใจในกรมการพฒั นาชมุ ชนและเมื่อเกดิ ความมน่ั ใจวา่ สงิ่ ทก่ี รมการพฒั นาชมุ ชนนาเข้าไปในหม่บู า้ น นน้ั เป็นส่ิงท่ดี อี ยา่ งแนน่ อน แกนนาจงึ เข้าร่วมโครงการดว้ ยความม่นั ใจและช่วยประชาสมั พนั ธใ์ นคนรอบข้าง เห็นความสาคญั ด้วย 4.การทาใหด้ ูเป็นตัวอย่างทาใหเ้ กิดการมองเหน็ ภาพซ่ึงไม่ใชแ่ ต่มองเขา้ ใจในทฤษฎี ขอ้ เสนอแนะ 1.ควรใหง้ บประมาณใหม้ ากกว่าน้ี เนอ่ื งจากเป้าหมายท่ีถกู ตดั ช่อื ไปมีความพลาดหวงั **********************************

แบบบันทึกองค์ความรรู้ ายบคุ คล (KM) 1. ช่อื องค์ความรู้ บทบาทพัฒนากรในการขับเคล่ือนงานสมั มาชพี ชมุ ชน 2. ช่ือ-นามสกุล นางสาวสุลาวลั ย์ ภากร ตาแหนง่ นกั วิชาการพฒั นาชมุ ชนปฎบิ ตั ิการ สังกดั สานักงานพัฒนาชมุ ชนอาเภอละอนุ่ จงั หวัดระนอง 3. องคค์ วามรู้ที่บ่งช้ี หมวดที่ 3 สร้างสรรค์ชุมชนพึง่ ตนเองได้ 4. ที่มา ความสาคญั ในการจัดทาองค์ความรู้ เป็นองค์ความรูใ้ หม่และมีความคดิ รเิ ริม่ สร้างสรรค์ กระทรวงมหาดไทย มอบหมายให้กรมการพัฒนาชุมชนเปน็ หน่วยงานหลกั ในการส่งเสรมิ การ สรา้ งสัมมาชพี ชุมชน โดยยดึ หลักปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียง ตามแผนงานยทุ ธศาสตรพ์ ฒั นาเศรษฐกิจ ฐานรากชมุ ชนเขม้ แข็งของรัฐบาล ซ่ึงตอบสนองนโยบายในการลดความเหล่อื มลาทางสงั คมและการสรา้ ง โอกาส เขา้ ถึงบริการของรฐั ซ่ึงได้กาหนดกระบวนการในการขับเคล่ือนท่เี รม่ิ ต้นด้วยการพัฒนาทกั ษะการ ถา่ ยทอดองค์ความรู้ใหก้ บั ปราชญ์ชุมชนเพื่อใหก้ ลับไปสร้างทมี และจัดฝกึ อบรมใหก้ บั ครัวเรอื นเป้าหมายท่ี ต้องการฝึกอาชีพในหมู่บ้าน โดยใช้พนื ทีใ่ นบา้ นปราชญ์หรือศนู ยเ์ รยี นรชู้ ุมชนเป็นแหลง่ เรียนรู้ เพือ่ ให้ ครัวเรือนท่เี ข้ารับการฝกึ อาชีพมีความรู้ และปฎิบตั อิ าชพี ได้จรงิ จนสามารถประกอบเป็นอาชีพ และสรา้ ง รายได้ให้กับครวั เรือน และตอ่ ยอดสผู่ ปู้ ระกอบการ OTOP และรวมตัวกันจัดตังเป็นกลมุ่ อาชีพต่อไป ภายใต้ ช่อื โครงการ “สมั มาชพี ชมุ ชน” ซง่ึ หมายถึง “ชุมชนที่มีการประกอบอาชีพโดยชอบ ซง่ึ มีรายได้มากกวา่ รายจา่ ย ลดการเบียดเบียนตนเอง ผู้อ่นื และส่งิ แวดลอ้ ม ซึ่งดาเนินการภายใต้ความสอดคล้องกับวิถีชีวติ ของ ชมุ ชนโดยมุ่งเนน้ หลกั การ “พ่ึงตนเอง” โดยบทบาทของพฒั นากรในพืนที่ ข้าพเจ้าไดร้ ับมอบหมายให้กากบั ดูแล เปน็ พเี่ ลียงให้กับหมู่บ้าน เป้าหมายในปงี บประมาณ พ.ศ.2562 จานวน 4 หมูบ่ ้าน โดยมกี ารดาเนินงานขับเคลื่อนงานตามแนวทาง ท่กี รมการพฒั นาชุมชนกาหนด โดยมีเปา้ หมายให้ครวั เรือนสมั มาชีพมีโอกาสในการเรยี นรู้ และเลือกอาชพี ท่ี ตอ้ งการเพื่อสรา้ งรายได้ของครัวเรือนใหเ้ พิ่มขึน ในการดาเนินงานจะส่งเสริมให้ “ชาวบา้ นสอนชาวบ้านในสงิ่ ทเ่ี ขาอยากทา ฝึกปฎบิ ัตใิ ห้สามารถนาไปเป็นอาชีพไดจ้ รงิ ” การจดั ทาองค์ความรเู้ ร่อื งบทบาทพฒั นากรในการขับเคลื่อนงานสมั มาชีพชุมชน ได้จดั ทาขึนเพ่ือ ถา่ ยทอดกระบวนงานในการดาเนนิ งานส่งเสริมสมั มาชีพชมุ ชนในระดบั หมู่บ้านที่ผา่ นมา รวมถึงชอ่ งทางใน การสง่ เสริมการดาเนินงานให้ประสบความสาเร็จ โดยหวงั ใหเ้ ป็นแนวทางในการนาไปปรับใชใ้ นพืนท่ีอ่ืนๆท่ีมี บริบทชุมชนใกลเ้ คียงกนั 3. รูปแบบ กระบวนการ ลาดับขั้นตอนการดาเนินงาน (1) เตรียมความพรอ้ มข้อมูลปราชญช์ าวบ้านในการฝกึ อบรมวิทยากรสัมมาชีพชมุ ชน โดยประสาน กบั ผู้ใหญบ่ า้ นในการจดั ทาทะเบียนข้อมูลปราชญช์ าวบ้าน โดยแยกความเช่ยี วชาญปราชญ์ออกเปน็ 3 ดา้ น ได้แก่ดา้ น การเกษตร ด้านการแปรรปู และ ด้านการท่องเที่ยว (๒) ร่วมกบั คณะกรรมการหมูบ่ ้าน คัดเลือกปราชญช์ าวบา้ นหรอื ผูป้ ระสบความสาเรจ็ หรือมีความ เชย่ี วชาญใน อาชีพ และเปน็ บุคคลท่ีมีความพร้อมทจ่ี ะเข้ารับการอบรมเป็นวิทยากรผูถ้ ่ายทอดสมั มาชพี จานวน 1 คน (จากเวทปี ระชาคมหมู่บ้าน) เพื่อเขา้ อบรมการพัฒนา ทกั ษะการถ่ายทอดองค์ความรู้ให้กับ ปราชญช์ มุ ชน (วิทยากรสัมมาชพี ชมุ ชน) ณ ศูนยพ์ ัฒนาชมุ ชนฯ โดยนาขอ้ มลู ทะเบยี นปราชญ์ทีไ่ ด้จัดทามา เปน็ ขอ้ มูลในการคัดเลอื ก (๓) ประสานและสนับสนนุ วิทยากรสัมมาชีพชุมชน ให้กลับไปสร้างทมี ในหมู่บ้าน โดยการคดั เลือก ปราชญ์ชุมชนหมูบ่ า้ นละ ๔ คน รวมเป็น 5 คน เพ่ือสรา้ งทีมวิทยากรสัมมาชีพชุมชนระดับหมบู่ า้ น ในการ คัดเลอื กทีมปราชญ์ โดยได้ร่วมกบั ผใู้ หญ่บ้านในการคัดเลือกทีมปราชญ์ที่จะชว่ ยขบั เคล่ือนงานสัมมาชีพ ชุมชนโดยพิจารณาจากความรู้ความสามารถ ความเชีย่ วชาญและการถ่ายทอดความรูใ้ ห้กบั ครวั เรือนฯได้

(๔) ศกึ ษาแนวทางการสร้างสัมมาชีพชมุ ชนจากเอกสารแนวทางสร้างสมั มาชพี ชมุ ชน ของกรม การพฒั นาชมุ ชน ทังจากเอกสารคูม่ อื ข้อมูลจากเว็บไซต์และสอ่ื การเรยี นรู้เรื่องสัมมาชีพชุมชน เพ่อื เตรยี ม สนบั สนุนขอ้ มูล รวมถงึ ศกึ ษาข้อมลู จากกล่มุ อาชีพทปี่ ระสบความสาเรจ็ เพื่อนามาปรบั ใช้กับชุมชนโดย พิจารณาจากบรบิ ท และวิถีชวี ติ ทใี่ กล้เคียงกันมากที่สดุ (5) เปิดโอกาสให้ทมี วิทยากรสมั มาชีพชมุ ชนระดับหมบู่ า้ น ไดด้ าเนินงานโครงการส่งเสริมการสรา้ ง สมั มาชีพชมุ ชนในระดบั หม่บู ้าน โดยในส่วนพัฒนากร จะมหี นา้ ทใ่ี นการสง่ เสริมและสนบั สนุนใหข้ ้อมูลกบั ครัวเรือนสัมมาชีพ โดยมุง่ เน้นให้ทีมวิทยากรสัมมาชพี ทุกคนได้ทาหนา้ ทเี่ ป็นครสู อนกันเองและมงุ่ เน้นใหท้ มี วทิ ยากรทุกคนได้เกดิ ความภาคภูมิใจท่ีได้มีโอกาสเปน็ ครูท่ีใหโ้ อกาสสอนคนอนื่ เพ่ือให้เขาเหลา่ นนั มอี าชพี เพอ่ื จะได้เพม่ิ รายได้ให้กบั ครอบครวั ตอ่ ไป (7) มกี ารติดตามการดาเนินงานอย่างต่อเนื่อง โดยมีกลุม่ ไลน์ของครวั เรือนสัมมาชีพ ซ่ึงในกลุ่มไลน์ จะมกี ารติดตามการดาเนนิ งาน รายไดข้ องการประกอบอาชพี ตลาดท่ีรองรบั สินค้ารวมถึงปญั หาอปุ สรรค ใน การดาเนินงานสัมมาชีพของหมูบ่ ้าน โดยสมาชิกสามารถสอบถามทีมปราชญ์ไดเ้ มอื่ เกิดปัญหาในการทาอาชีพ รวมทงั เปน็ การให้กาลงั ใจกับครวั เรอื นและทีมวิทยากรสัมมาชพี อยเู่ สมอ ซง่ึ กลมุ่ ไลน์เป็นชอ่ งทางในการแจ้ง กบั ครัวเรอื นสมั มาชพี ที่มีความสนใจนาผลติ ภณั ฑไ์ ปจาหน่ายในนอกพืนท่ี กรณมี ีการจัดจาหน่ายสนิ คา้ เช่น ตลาดประชารฐั หรือ การจดั งาน OTOP ได้อกี ช่องทางหน่ึง 4. เทคนิคในการปฎบิ ัติงาน 1. ข้าพเจา้ ในฐานะพัฒนากร ท่ีไดเ้ คยรบั ผดิ ชอบงานสมั มาชพี ชมุ ชนในปีท่ีผา่ นมา พบว่ายงั มี ขอ้ บกพร่องเรื่องแนวทางการดาเนินงานในหลายประเด็น รวมถงึ เคยไดร้ บั การตรวจสอบจากสานักงานการ ตรวจเงินแผ่นดิน โครงการสมั มาชีพชมุ ชนฯ เมอื่ ปีงบประมาณพ.ศ. 2560 ทาให้ในการดาเนนิ งานในปนี ี ได้ ใชค้ วามระมดั ระวงั และไดศ้ ึกษาคมู่ ือแนวทางการดาเนนิ งานอยา่ งละเอียด เพ่ือใหก้ ารดาเนินงานในระดับ พืนทใี่ ห้เกดิ ประสิทธภิ าพมากที่สุด 2. ในการคดั เลือกปราชญ์ ต้องเป็นปราชญ์ที่มคี วามรู้ เหมาะสมกบั บริบทชมุ ชน คนในชุมชน ยอมรบั ในความสามารถ มคี วามเสยี สละ รู้ลกึ รจู้ ริง ซึง่ จะสรา้ งความศรัทธาให้ครวั เรอื นได้ 3. อาชีพทเ่ี ลือกต้องเป็นอาชพี ที่สรา้ งรายได้ใหก้ ับครวั เรอื นจริงๆ สามารถต่อยอดเปน็ อาชีพที่ ย่ังยืนได้ 4. ครัวเรือนทค่ี ัดเลือกเขา้ ร่วมโครงการฯ ตอ้ งมคี วามสมคั รใจ ตงั ใจ เขา้ ใจ ทจ่ี ะเข้ามาเรียนรู้และ นาความรู้ไปประกอบอาชีพเพื่อให้เกดิ รายได้อย่างแท้จริง 5. ต้องสอนในส่ิงที่เขาอยากรู้ สอนในสิ่งท่ีเขาต้องการ และลงมือปฎิบตั ิจรงิ 6. นาองค์ความรูข้ องปราชญช์ มุ ชนมาใช้ในการสอนครัวเรือนสมั มาชพี 7. ปญั หาท่ีพบและแนวทางแก้ปญั หา ปญั หาทพ่ี บในการดาเนินงานสัมมาชีพชุมชนคือ ตลาดในการรองรบั สินค้าจากโครงการ สัมมาชีพ มคี ่อนข้างนอ้ ยและจากดั เม่อื ผ่านไปสักระยะจะมีการอ่ิมตวั ของตลาด ทาใหค้ รัวเรอื นสัมมาชีพเกดิ ความ วิตกกังวลว่าจะไม่มตี ลาดรองรับสินคา้ ที่ผลติ ออกมาจาหน่าย แนวทางการแกไ้ ขปญั หา มีการพดู คยุ ให้คาปรึกษาผ่านไลน์กลมุ่ สัมมาชีพ รวมถึงใหค้ วามรู้ ในการจาหน่ายผา่ นทางระบบออนไลน์ การขายผา่ นทาง FACEBOOK การโพสขายหนา้ เฟซบุค๊ รวมถงึ การ pre order สนิ คา้ ก่อนการผลิต เพื่อลดปัญหาการสินค้าเหลือและจาหนา่ ยไมห่ มด 8.ประโยชน์ขององค์ความรู้ การจดั การความรทู้ าให้ผ้ปู ฎบิ ัติงานทราบถึงปัญหาและแนวทางในการแก้ไขปัญหาเพื่อให้ โครงการประสบความและเป็นไปในทิศทางทต่ี งั ไว้ ซึ่งการจัดการความรเู้ รื่องบทบาทพฒั นากรในการขบั เคลื่อนงาน สัมมาชพี ชมุ ชนสามารถนาไปปรับใช้กับหมบู่ า้ นอืน่ ๆ ทมี่ ีแผนงานจะดาเนนิ งานโครงการในอนาคตโดยคานึงถึงวิถชี วี ิต ทีใ่ กล้เคยี งกัน เพ่ือให้งานสัมมาชีพชุมชนสามารถสร้างชมุ ชนเศรษฐกิจฐานรากใหเ้ ข้มแขง็ ภายใต้วิสยั ทศั น์กรมการ พัฒนาชุมชนท่ีวา่ “เศรษฐกิจฐานรากม่ันคงและชมุ ชนพึ่งตนเองได้ ภายในปี 2565” ต่อไป ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------























แบบบนั ทกึ องคค์ วามรู้รายบคุ คล สานกั งานพฒั นาชุมชนอาเภอกระบรุ ี จังหวดั ระนอง --------------------------- 1. ช่อื องค์ความรู้ : เทคนิคการพฒั นาอาชพี ครัวเรอื นตามแนวทางสัมมาชีพ 2. ช่ือเจ้าขององคค์ วามรู้ : นางสาวญาณิศา ผดุง ตาแหนง่ : นกั วิชาการพฒั นาชุมชนปฏบิ ตั ิการ 3. หมวดองค์ความรทู้ บ่ี ง่ ช้ี : องคค์ วามรหู้ มวดเทคนิคการพฒั นาอาชพี ครัวเรอื นตามแนวทางสมั มาชพี 4. ทมี่ าและเป้าหมายของการจดั การความรู้ : การส่งเสริมการขับเคลื่อนการสร้างสัมมาชีพชุมชน โดยยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ตามแผนงาน ยุทธศาสตรพ์ ัฒนาเศรษฐกจิ ฐานรากและชุมชนเข้มแข็งของรัฐบาลซงึ่ ตอบสนองนโยบายรัฐบาลเรื่องการลดความเหลอื่ มล้า ทางสงั คม ตามแผนยุทธศาสตร์การขับเคลื่อนการพฒั นาตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ซ่ึงไดก้ ้าหนดกระบวนการ ขับเคลื่อนดว้ ยการพัฒนาทักษะการถ่ายทอดองค์ความรู้ให้กับปราชญช์ มุ ชนเพื่อให้กลับไปสร้างทีม และจัดฝึกอบรมอาชีพ ให้กับครัวเรือนเป้าหมายทต่ี ้องการฝกึ อาชีพในหมบู่ ้านเพอื่ มุ่งหมายให้ครวั เรือนทเี่ ข้ารับการฝกึ อาชีพมคี วามรูแ้ ละปฏิบัติได้ จรงิ จนพฒั นาเปน็ อาชีพที่สร้างรายได้ใหก้ ับครวั เรอื นและตอ่ ยอดสกู่ ารรวมกลุ่มจัดตังเปน็ กลมุ่ อาชีพทีม่ ีความเข้มแข็งต่อไป บ้านดอนต้าเสา หมทู่ ่ี 4 ตา้ บลนา้ จืด และบ้านมะมุ หมทู่ ่ี 2 ตา้ บลมะมุ ของอ้าเภอกระบุรี ซ่งึ เปน็ หมู่บา้ นในต้าบล ที่ข้าพเจ้ารับผิดชอบ และเป็น 2 ใน 23 หมู่บ้าน ท่ีได้รับการสนับสนุนงบประมาณจากส้านักงานพัฒนาชุมชนจังหวัด ระนอง ประจ้าปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ภายใต้โครงการสร้างความมั่นคงด้านอาชีพและรายได้ ตามหลักปรัชญาของ เศรษฐกจิ พอเพยี ง ซ่งึ ประกอบด้วย 3 กจิ กรรมหลกั ไดแ้ ก่ กิจกรรมสรา้ งเครือข่ายทีมวทิ ยากรสมั มาชีพ กิจกรรมสรา้ งและ พฒั นาสมั มาชพี ชมุ ชนในระดบั หมบู่ ้าน และกิจกรรมจดั ตังและพฒั นากล่มุ อาชีพ 5. รูปแบบ กระบวนการ ลาดบั ข้นั ตอนการดาเนนิ งาน กระบวนการขบั เคล่ือน 1) สรรหาปราชญ์ชุมชน ในการฝึกอบรมวทิ ยากรสัมมาชีพชุมชน โดยการส้ารวจข้อมลู ปราชญช์ าวบา้ นและจัดท้า ทะเบียนข้อมลู ปราชญ์ชาวบา้ น 2) คัดเลือกปราชญ์ชาวบ้านที่ประสบความส้าเร็จในการประกอบอาชีพท่ีมีความพร้อมเข้ารับการอบรมเป็น วทิ ยากรสัมมาชีพ เข้ารบั การฝึกอบรมเพอื่ พัฒนาทกั ษะการเปน็ วิทยากร 3) วิทยากรสัมมาชีพชุมชนกลับไปสร้างทีมในหมู่บ้าน โดยการคัดเลือกปราชญ์อีก 4 คน รวมเป็น 5 คน เพื่อสรา้ งทมี วิทยากรสมั มาชีพชุมชนระดับหม่บู ้าน 4) ศึกษาดูงานหมู่บ้านต้นแบบด้านการประกอบอาชีพเพ่ือเพิ่มพูนความรู้และสร้างแรงจูงใจด้านการประกอบ อาชีพ ขั้นตอนการดาเนินการ ๑. รว่ มกบั วิทยากรสัมมาชีพชมุ ชนปรกึ ษาหารือเพ่ือวางแผน ออกแบบ วิธีการจดั ประชุมฯ และจดั ทาเอกสาร เตรยี มสื่อทจี่ ้าเปน็ และเกย่ี วขอ้ งกับการดาเนินกจิ กรรม ๒. ดา้ เนนิ การจดั ประชมุ เตรยี มความพร้อมทมี วทิ ยากรสมั มาชีพชุมชน และเตรียมการในระดบั หม่บู ้าน ๓. ด้าเนินงานโครงการสง่ เสริมการสร้างสัมมาชพี ชมุ ชนในระดับหมบู่ ้าน ส่งเสรมิ และสนับสนุนการสรา้ งสัมมาชีพ ชมุ ชนในระดับหมู่บ้าน โดยมขี ันตอนการประสานและสนับสนนุ ทีมวทิ ยากร และจดั ทา้ เป็นปฏทิ นิ สนับสนนุ การจดั ฝกึ อบรม ครัวเรือนสัมมาชีพ และศึกษาดูงานในพืนที่ ณ ท่ีท้าการกลุ่มปักผ้าปาเต๊ะ และเย็บกระเป๋าและหน้ากากอนามัยจากผ้า ปาเตะ๊ 4. สนับสนุนทมี วทิ ยากรสมั มาชพี ชุมชนระดบั หมบู่ ้าน ดา้ เนนิ การสง่ เสรมิ ให้ครัวเรอื นนา้ อาชีพที่ไดฝ้ ึกปฏิบัตไิ ป ประกอบอาชพี หรือพฒั นาอาชีพ ให้กอ่ เกดิ เป็นอาชีพและมรี ายไดห้ รอื ลดรายจ่ายได้อย่างต่อเน่อื ง /5.การ...

-2- ๕. การสนบั สนุนขบั เคลอ่ื นหม่บู า้ นเศรษฐกจิ พอเพียงต้นแบบตามแนวทางของกรมการพฒั นาชมุ ชน 6. ส่งเสรมิ สนับสนุนต่อยอดอาชีพสร้างผลผลิต สร้างผลติ ภัณฑ์ขนึ มาเขา้ สู่ระบบ OTOP เพอ่ื ส่งเสริมการพัฒนา ผลติ ภัณฑ์ และเพิ่มช่องทางการตลาดให้กบั กลุ่มฯ 6. เทคนิคในการปฏบิ ตั ิงาน (กลยทุ ธ)์ ในการเพม่ิ ศกั ยภาพและสนบั สนุนการท้างานของสมั มาชีพชุมชนตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง ต้องอาศยั องค์ประกอบในเรอื่ งตอ่ ไปนี ๑. ความรู้แนวคิดของหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ความรู้ในงานพัฒนาชุมชนเทคนิคการท้างาน กระบวนการพัฒนาชุมชนการบริหารจัดการชุมชน ศูนย์เรียนรู้ชุมชนสมบูรณ์แบบ การพัฒนาความรู้ด้านอาชีพ ความรู้ ดา้ นนวตั กรรมใหมๆ่ องคค์ วามรทู้ ี่จ้าเป็นในการท้างาน ๒. วัสดุ – อปุ กรณเ์ ครอ่ื งมอื ในการทา้ งานเพอื่ ส่งเสริมใหห้ มบู่ ้านเปา้ หมายพฒั นาตนเองสกู่ ารเป็น ศนู ย์เรียนรู้เชน่ แนวทางเอกสาร/คมู่ อื ในการปฏบิ ัติงาน ๓. การแสวงหางบประมาณ แบบบรู ณการโครงการ/กิจกรรมฯ ๔. การจัดเวทแี ลกเปล่ียนเรยี นรู้ในหมู่บา้ นเป้าหมายสม่้าเสมอตอ่ เนือ่ ง เพือ่ ตดิ ตามผลการดา้ เนินงานตาม แผนของทีมงานรบั ทราบปญั หาอปุ สรรคในการท้างานและเป็นการปรับปรงุ วิธกี ารทา้ งานตามบรบิ ทของพนื ท่ี 5. การบรู ณาการการท้างานและประสานงานหน่วยงานภาคที ่ีเกย่ี วข้อง เชน่ เกษตรอ้าเภอกระบุรีองคก์ ร ปกครองส่วนทอ้ งถน่ิ พม. เครอื ขา่ ยกลมุ่ อาชีพ การใหค้ วามรู้ในการปักผา้ ปาเต๊ะ และเย็บกระเป๋าและหน้ากากอนามยั จาก ผ้าปาเต๊ะ และฝึกปฏิบัติในการสาธิตและวิธีปฏิบัติ ในพืนท่ีของหมู่บ้านซ่ึงได้มีกลุ่มที่ด้าเนินการอยู่ก่อนแล้วโดยได้ขยาย ให้กบั ครวั เรอื นสมั มาชพี ในหม่บู ้านเพ่มิ ขึน 6. ประเมนิ ผลการปฏบิ ัตงิ านของทมี งานและสรปุ ผลการดา้ เนินงาน และปรบั ปรุงแกไ้ ข มีการส่งเสรมิ การ จดั ตังกลุม่ อาชพี จ้านวน 2 กลมุ่ ได้แก่ กลุ่มปักผ้าปาเตะ๊ และกลุ่มเยบ็ กระเปา๋ และหน้ากากอนามยั จากผา้ ปาเต๊ะ 7. ปญั หาทพี่ บและแนวทางการแกไ้ ขปัญหา 7.1 ขอ้ ควรระวงั 1. เจ้าหน้าที่พัฒนาชุมชน ต้องมีการเตรียมความพร้อมในการขับเคลื่อนกิจกรรมการคัดเลือกปราชญ์ ชุมชน ต้องมีองค์ความร้ทู ีเ่ หมาะสมกับบรบิ ทของพนื ท่ี การคัดเลอื กตอ้ งสมคั รใจและตังใจฝกึ อาชพี 2. การด้าเนนิ การตอ้ งดา้ เนินการบนหลักการและปรชั ญางานพฒั นาชุมชน 3. ตอ้ งมีการขยายผลวิถีชวี ิตประชาชนตามแนวแนวคดิ เศรษฐกจิ พอเพียงถงึ ระดบั ครวั เรอื น ระดับชุมชน 4. การคัดเลือกครัวเรอื นเป้าหมาย ตอ้ งสมัครใจและตังใจฝกึ อาชีพ 7.2 ปัจจัยแหง่ ความส้าเร็จ 1. ความพร้อมของเจ้าหนา้ ท่พี ัฒนาชุมชนและผ้เู กยี่ วข้อง /ผู้น้าชุมชน 2. คดั เลอื กปราชญ์ชุมชน ตอ้ งเปน็ ปราชญ์ท่มี ีองคค์ วามรทู้ เี่ หมาะสมกบั บริบทของพนื ที่ 3. คดั เลอื กครัวเรอื นเปา้ หมาย ต้องสมคั รใจและตังใจฝกึ อาชพี 4. ประสานความร่วมมือภาคกี ารพฒั นาในการใหก้ ารสนบั สนนุ องคค์ วามรทู้ ค่ี รวั เรือนสนใจ 5. ให้ความร้เู รอื่ งหลัก ๕ ก ในการจัดตังกลุ่มอาชีพเสริมสร้างและสนับสนนุ กระบวนการบรหิ ารจัดการ ด้าเนนิ งานสมั มาชีพในรปู แบบกล่มุ อาชพี เพอื่ ใหเ้ กิดความยั่งยืนและต่อเน่ือง 6. ติดตามสนับสนุนและเย่ียมเยอื นใหก้ ้าลังใจแก่ทมี วิทยากรสมั มาชพี ชมุ ชนและครัวเรือนเปา้ หมายอยา่ ง ตอ่ เนอ่ื ง /8.ประโยชน.์ ..

-3- 8. ประโยชนข์ ององค์ความรู้ 1. ทีมวิทยากรสัมมาชีพระดับหมบู่ ้านมีความรู้ความเข้าใจและมีเทคนิคในการจัดการความรู้ด้านอาชพี จัดระบบ การบริหารจัดการ 2. เป็นการดึงศักยภาพของชุมชน สร้างศักยภาพชุมชน ใช้ศักยภาพชุมชน๓. ส่งเสริมให้ชาวบ้านสอนชาวบ้าน ด้วยกันเอง ๔. มกี ารขยายผลและการถอดองคค์ วามรสู้ ัมมาชพี ชมุ ชนสู่สาธารณชน 5. กลุ่มปักผ้าปาเตะ๊ และกลุ่มเยบ็ กระเป๋าและหนา้ กากอนามยั จากผา้ ปาเตะ๊ ได้มีการดา้ เนนิ การอยา่ งต่อเนอ่ื ง ท้า ใหค้ รัวเรอื นเปา้ หมายมรี ายได้เพม่ิ ขนึ จากการน้าผลติ ภัณฑ์ทีไ่ ด้ไปจ้าหน่าย 6. ครวั เรอื นตามแนวทางสมั มาชีพมอี าชพี เสรมิ ทา้ ใหค้ รวั เรือนมีรายได้เพม่ิ ขนึ ขยายผลไปยงั ครวั เรือนใกล้เคยี ง ท้า ให้ครัวเรือนสมั มาชีพมีคณุ ภาพชีวิตดขี นึ ชุมชนเข้มแข็ง พ่งึ ตนเองไดอ้ ยา่ งย่ังยืน *********************************************







แบบบันทกึ ชุดความรรู้ ะดับบุคคล 1. ชอ่ื ชุดความรู้ การบรหิ ารสานักงานให้มคี ุณภาพ 2. ช่อื – สุกล นางสาวกนกวรรณ เหมือนคิด ตาแหนง่ พัฒนาการอาเภอสุขสาราญ สังกัด สานกั งานพฒั นาชุมชนอาเภอสุขสาราญ จงั หวดั ระนอง 3. องค์ความรทู้ ี่บ่งช้ี  หมวดท่ี 4 เสริมสรา้ งองคก์ รใหม้ ีขีดสมรรถนะสูง 4. ท่ีมา ความสาคัญในการจดั ทาองค์ความรู้ เปน็ องค์ความรใู้ หมแ่ ละมีความคดิ ริเรม่ิ สรา้ งสรรค์ จากในสถานการณ์ปัจจุบนั สานักงานพฒั นาชุมชนอาเภอปฏบิ ัติงานหลากหลายมากยิง่ ขนึ้ ไมว่ ่าจะเป็นงานใน ภารกิจกรมการพัฒนาชุมชน งานที่ได้รับมอบหมายจากผู้บังคับบัญชาในระดับอาเภอ งานท่ีได้รับการประสานความ ร่วมมือจากหนว่ ยงานภาคีตา่ งๆ รวมทง้ั งานท่ีได้รบั ความไว้วางใจให้เปน็ ท่ปี รึกษา ส่งเสรมิ ช่วยเหลือ สนับสนุนแกผ่ ูน้ า ชุมชน กลุ่ม องค์กรต่างๆ ในพื้นท่ี ทาให้เจ้าหน้าที่พัฒนาชุมชนต้องปฏิบัติอย่างเต็มท่ีเต็มความสามารถ เพ่ือให้งาน บรรลเุ ป้าหมายตามตวั ชวี้ ัดการปฏบิ ตั ิราชการ จงึ ต้องมกี ารบริหารสานกั งานใหม้ ีคณุ ภาพ 5. รูปแบบ กระบวนการ ลาดบั ขน้ั ตอนการดาเนินงาน 5.1 มีการกาหนดวิสัยทศั น์ กาหนดพนั ธกิจ กาหนดวตั ถปุ ระสงค์และเปา้ หมายขององค์กรทง้ั ระยะสนั้ และระยะยาว กาหนดมาตรฐานในการปฏิบตั งิ านและการดาเนนิ งาน 5.2 มีการบริหารจัดการ การการวางแผน การสั่งการ การควบคุมการทางาน การติดตามกากับดแู ล และการประเมนิ ผลการทางาน 5.2 มีการพัฒนาบุคลากร ซ่ึงเป็นเรื่องสาคัญเพราะบุคคลคือหมู่คณะท่ีรวมตัวกันเป็นองค์กร มี วัตถุประสงค์ มีบทบาทหน้าท่ีในการทางานท่ีสัมพันธ์กัน เพ่ือให้งานบรรลุวัตถุประสงค์ คุณลักษณะและ คณุ สมบตั ขิ องบคุ ลากรทต่ี ้องการคือ ต้องมีความรู้ความสามารถในงานหน้าท่ี มีทกั ษะการส่ือสาร ทักษะในดา้ น เทคโนโลยี ทกั ษะในการบรหิ ารจัดการ 6. เทคนิคในการปฏบิ ัติงาน 6.1 การบริหารงานบุคคล เพอื่ ใหบ้ ุคลากรเก่ง มีความสุข มคี วามผูกพนั กบั องค์กร และมีภาพลกั ษณท์ ่ี ดี ไดร้ บั การยอมรับจากหน่วยงานภาคีและผบู้ ังคบั บญั ชาทุกระดบั ช้นั โดยการสง่ เสรมิ สนับสนนุ เพิ่มพนู ความรู้ ทักษะในการทางาน สอนแนะ ร่วมกันจัดทาข้อตกลง ร่วมกาหนดค่าเป้าหมายการปฏิบัตริ าชการ ร่วมกาหนด แผนปฏิบตั ิการ ร่วมดาเนินการ และร่วมกนั ประเมินผลการปฏิบตั ิราชการทุกข้ันตอน สร้างระบบความผูกพัน ด้วยการชว่ ยเหลือเกอ้ื กูล ดูแลเอาใจใส่ ดูแลโอกาสและความเจรญิ ก้าวหน้า ยกยอ่ ง ใหเ้ กียรติ ใหโ้ อกาส เสริม คุณค่าและพฒั นาจติ ใจ เสริมกาลังด้วยการสรา้ งทีมภายในจากกลุ่มองค์กรเครือขา่ ยพฒั นาชุมชนในพื้นท่ี และ ภาคหี น่วยงาน ดงั น้ี 1) การพฒั นาทีมงาน ปรบั เปลยี่ นทัศนคตใิ หม้ คี วามคดิ เชงิ สรา้ งสรรคแ์ ละเชิงบวก พฒั นาวฒุ ิ ภาวะทางอารมณ์ พัฒนาทักษะทีมงานให้มีความเช่ียวชาญตามบทบาทหน้าที่ ใช้การ Cross Funtion และ ความเชย่ี วชาญเฉพาะด้าน เสริมสร้างแรงจงู ใจ ยกย่องเชดิ ชูเกียรติ สร้างความพึงพอใจและความสมดลุ ระหวา่ ง ชีวิตและงาน ส่งเสริมให้มีความก้าวหน้าและความมนั่ คงในหน้าที่การงาน พัฒนาทักษะการทางานกับชุมชน ด้วยเป้าหมาย ต้องรู้จัก รู้ใจ และเข้าถึงคน พัฒนาทักษะด้านองค์ความรู้เก่ียวกับงานของกรมฯ งานตาม นโยบาย ระเบยี บ กฎหมาย ขอ้ ปฏิบัติและกระบวนการทางาน พัฒนาด้านบคุ ลกิ ภาพ การวางตน การแต่งกาย การใชว้ าจา มติ รไมตรี และการประสานงาน

-2- 2) ปรับทัศนคติและเสริมสร้างวัฒนธรรมองค์กร ส่งเสริมให้ทุกคนปรบั เปล่ียนทัศนคติและ ปฏิบัติตามพระบรมราโชวาท “เข้าใจ เข้าถึง พัฒนา” ส่งเสริมให้ทุกคนปฏิบัติตามธรรมาภิบาล มีจริยธรรม จรรยาบรรณ เสรมิ สร้างวัฒนธรรมองคก์ รให้ทุกคนปฏิบัติตามคา่ นยิ มองคก์ ร 3) การพัฒนาระบบงาน ทางานแบบมุ่งผลสัมฤทธิ์ มีเป้าหมาย ด้วยการประชุมวางแผน จดั ระบบ เรียงลาดบั จัดลาดบั ความสาคัญ ความเร่งดว่ นของงาน ปรบั ปรุงและพฒั นางานโดยการถอดบทเรียน มอบหมายงานตามลักษณะงานเพ่ือความคล่องตัวในการปฏิบัติ เสริมสร้างภาพลักษณ์องค์กรด้วยการ ประชาสมั พนั ธ์ สร้างบรรยากาศใหม้ คี วามสุขในการทางาน ถา่ ยทอดค่าเปา้ หมายและตวั ชีว้ ดั กาหนดแผน ร่วม ดาเนินการ และประเมนิ ผล รายงานผล การสอนและตดิ ตามงาน 6.2 การบริหารวัสดุ อปุ กรณ์ และเครอื่ งมอื สารสนเทศ ดแู ลระบบ IT ของสานักงานใหด้ ีพร้อมใช้งาน อยเู่ สมอ 6.3 การบรหิ ารงบประมาณ เพ่อื ใหป้ ระชาชนได้รบั ประโยชน์สูงสดุ และเกดิ ความคุ้มคา่ ในภารกิจ โดย การกาหนดแผนการใช้จ่ายงบประมาณ โปร่งใส ตรวจสอบได้ บูรณาการการทางานใหส้ อดคลอ้ งกบั การใช้จ่าย งบประมาณ 6.4 การบริหารกิจกรรม/โครงการ เพื่อให้เกดิ ประโยช์สงู สดุ แก่ประชาชน โดยการกาหนดแผนงานที่ ชัดเจน และดาเนินการตามแผน บูรณาการกับหน่วยงานภาคี/องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในการสร้างทีม วทิ ยากร 6.5 การบริหารรายงาน เพื่อให้เกิดความรวดเร็วโดยการรายงานผ่านส่ืออิเล็คทรอนิคส์ทางช่องทาง ตา่ งๆ เช่น Line, OA และ E-mail และกากับควบคมุ จดั ระบบการสง่ รายงานตามกาหนด 6.6 การบริหารการประชาสมั พันธ์ เพ่ือสร้างภาพลักษณ์องค์กร มีการทาสื่อประชาสัมพันธ์งานผ่าน ช่องทางต่างๆ เชน่ Facebook, Line, OA, สถานวี ทิ ยุ และประชุมต่างๆ 7. ปัญหาทพี่ บและแนวทางการแก้ไขปัญหา 1. งานในภารกิจและงานต่างๆ ที่ได้รับมอบหมายมจี านวนมาก ด้วยจานวนบุคลากรทน่ี ้อยทาใหง้ าน บางเร่ืองปฏิบตั ิได้ล่าช้า จงึ ตอ้ งมีการจัดลาดบั ความสาคญั ความเร่งดว่ นของงาน และมอบหมายการปฏบิ ตั งิ าน ตามความคล่องตัว 2. การปฏิบัติงาน การติดตามและประเมินผลในบางกิจกรรม ไม่สามารถทาได้ในทันที เนื่องจาก จานวนบุคลากรน้อย และระยะเวลาในการปฏิบัติงานท่ีกระชั้นชิด จึงได้สร้างทีมวิทยากรจากหน่วยงานภาคี เครือข่ายและจากกลมุ่ องค์กรเครือขา่ ยในพื้นที่เพื่อช่วยเหลือสนบั สนุน 3. งบประมาณ เนอื่ งจากจานวนบคุ ลากรนอ้ ยทาให้ปฏิบตั ิตามระเบียบการใชจ้ ่ายเงนิ งบประมาณได้ไม่ เท่าท่ีควร เช่น การดาเนินกิจกรรมต้องมีการยืมเงินงบประมาณมาดาเนินการ ด้วยระยะเวลาท่ีจากั ดและ จานวนบุคลากรน้อย ในบางกิจกรรมจึงต้องมีการส่งเบิกเงิน เพื่อให้การปฏิบัติงานทันและตรงตามไตรมาสที่ กรมการพัฒนาชุมชนกาหนด 8. ประโยชนข์ ององค์ความรู้ 8.1 ช่วยทาใหเ้ กิดการปรบั เปลี่ยนกระบวนการ หรือวิธกี ารทางานใหมท่ ่มี ปี ระสิทธิภาพ 8.2 ช่วยเพมิ่ กลยทุ ธ์ในการสร้างความสาเร็จในการทางานและช่วยลดความซา้ ซอ้ นของงาน 8.3 ชว่ ยทาใหก้ ารทางานบรรลเุ ป้าหมายทีว่ างไว้อย่างรวดเร็ว 8.4 ทาใหไ้ ด้ผลงานทมี่ คี ุณภาพ ลดความสน้ิ เปลืองค่าใช้จา่ ย ประหยดั เวลา ทรพั ยากร







จำนวน องคค์ วำมรู้ โดย กลมุ่ งำนสำรสนเทศกำรพฒั นำชมุ ชน สำนกั งำนพฒั นำชมุ ชนจงั หวดั ระนอง


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook