Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore นิทรรศมานุษยวิทยา

นิทรรศมานุษยวิทยา

Description: นิทรรศมานุษยวิทยา

Search

Read the Text Version

นมิทรารศนการุษยวิทยา พัฒนา-กาล

นิทรรศการ “มานุษยวิทยา พฒั นา-กาล” อ�ำ นวยการผลิต ห้องสมดุ ศูนยม์ านุษยวทิ ยาสิรนิ ธร (องคก์ ารมหาชน) เนอื้ หา ผศ. ดร. ดำ�รงพล อินทร์จนั ทร์ ประสานงาน ยุวดี ศรหี ว้ ยยอด ออกแบบศลิ ปกรรม พสิ ุทธ์ ิ ศรหี มอก พมิ พค์ รัง้ แรก มนี าคม พ.ศ. 2561 จดั พิมพ์โดย หอ้ งสมดุ ศูนยม์ านุษยวทิ ยาสริ ินธร (องค์การมหาชน) 20 ถนนบรมราชชนนี เขตตลิ่งชัน กรุงเทพมหานคร 10170 โทรศัพท์ 02-880-9429 www.sac.or.th

สารบัญ อารมั ภบท 5 นิยามมานษุ ยวิทยา 7 ยคุ เรม่ิ ตน้ มานุษยวทิ ยา 9 ผูเ้ ชีย่ วชาญสาขาต่างๆ กอ่ นมีนักมานษุ ยวทิ ยา 11 บิดาของวิชามานษุ ยวิทยาสงั คม 19 จากหอคอยงาชา้ ง สู่ งานภาคสนาม 23 มาลินอฟสกี้ (Bronislaw Malinowski): 27 ภาคสนาม และการสังเกตการณอ์ ยา่ งมสี ว่ นร่วม รธู ฟลู ตัน เบเนดิกท์ 37 กับงานภาคสนามของสตรีนกั มานุษยวิทยา มาร์กาเรต มีด้ (Margaret Mead, 1901-1978) : 47 ในนามนกั มานษุ ยวิทยาสตรอี เมริกัน มานุษยวทิ ยาในสงั คมไทย 56 ปจั ฉมิ บท 60

“มานุษยวทิ ยามเี ป้าประสงคท์ �ำ ใหโ้ ลกพบสันติสุข ”จากความแตกตา่ งหลากหลายของมวลมนษุ ย์ รธู ฟูลตัน เบเนดิกท์ (2430-2491) “The purpose of anthropology is to make the ”world safe for human differences. Ruth Benedict (1887-1948) 4\\

แรกเริ่มของมานุษยวิทยากำ�เนิดจากฝั่งยุโรป ในสหราชอาณาจักร เรียกวา่ มานุษยวิทยาสงั คม (Social Anthropology) สว่ นในสหรัฐอเมริกา เรยี กวา่ มานษุ ยวทิ ยาวฒั นธรรม (Cultural Anthropology) ซง่ึ มมี มุ มองตา่ งกัน แต่ทั้งสองสำ�นักเริ่มจากความคิดที่จะศึกษาวัฒนธรรมของสังคมท่ีแตกต่าง ไปจากสังคมตะวันตก (Non Western Culture) เรือ่ ยมาจนปจั จุบนั ถอื ว่า มานษุ ยวทิ ยาเปน็ ศาสตรท์ ศ่ี กึ ษาเกย่ี วกบั เรอ่ื งราวของมนษุ ย์ มขี อบเขตกวา้ งขวาง ครอบคลุมทุกด้านของวิถีชีวิต ทั้งความคิด พฤติกรรม และผลผลิตของมนุษย์ เกีย่ วกบั ชีววิทยา สภาพแวดล้อม ความสัมพันธ์กับสัตวโ์ ลกอืน่ ๆ ความส�ำ เรจ็ ของมนษุ ย์ ความเจรญิ ทางสงั คมวัฒนธรรม ประวตั วิ วิ ฒั นาการของมนษุ ย์ ได้แก่ โบราณคดี ชาตพิ ันธุ์วทิ ยา ภาษา และสังคมวัฒนธรรม ศึกษาตั้งแต่วิวัฒนาการกายภาพของมนุษย์ สรีรวิทยา การตดั แต่งพันธุกรรม โภชนาการ การเมอื ง ครอบครัว และศาสนา ครอบคลมุ เนื้อหาทางวัฒนธรรมของสังคมโบราณจนถึงสังคมร่วมสมัย ภายใต้ทรรศนะ มองมนุษย์แบบองค์รวมและการศกึ ษาแบบมีส่วนรว่ ม นิทรรศการชุดน้ีมีความมุ่งหมายเพื่อแสดงที่มาท่ีไปของสาขาวิชา มานุษยวิทยานับจากอดีต และนักมานุษยวิทยาที่มีบทบาทสำ�คัญต่อความคิด และองคค์ วามรมู้ านษุ ยวทิ ยาปจั จบุ นั โดยแบง่ การน�ำ เสนอออกเปน็ มานษุ ยวทิ ยา ยคุ แรกเรม่ิ งานภาคสนาม นกั มานษุ ยวทิ ยาสตร ี ตวั อยา่ งผลงานมานษุ ยวทิ ยาไทย / 5 มานษุ ยวิทยา พฒั นา-กาล

Greek / ἄνθρωπος anthrōpos, -λογία -logia Latin / anthropologia New Latin Greek / anthropos and Latin -logia Aristotle / anthropologos, “speaking or treating of man.” French / anthropologie English / anthropology 6\\

นยิ ามมานุษยวทิ ยา ตงั้ แตค่ ริสต์ศตวรรษที่ 18 และ 19 เปน็ ตน้ มา สาขาวชิ ามานษุ ยวิทยา สมัยใหม่ (Anthropology) ไดก้ ่อเกดิ ขน้ึ คำ�ว่า “มานุษยวิทยา” มีรากศัพท์มาจากภาษากรีกและละติน [anthropos(Greek) and-logia(Latin)]ปรากฏค�ำ วา่ anthropologiaขน้ึ ครง้ั แรก ในแวดวงภาษาละตนิ ชว่ งยคุ ฟน้ื ฟศู ลิ ปวทิ ยาฝรง่ั เศส (the Renaissance France) รากศัพท์มาจากคำ�ว่า anthrōpos ในภาษากรีก ἄνθρωπος แปลวา่ “ความเป็นมนุษย์” (human being) อนั หมายถึง “มนษุ ยชาต”ิ (humankind or humanity) ผสมกับ –logia ภาษาละติน ใน -λογία ที่หมายถึง การศกึ ษา แปลเปน็ องั กฤษวา่ anthropology ซง่ึ มคี วามหมายวา่ “การศกึ ษา มนษุ ย์ หรือ วิทยาศาสตร์วา่ ด้วยมนษุ ย”์ (the study (or science) of man) เจมส์ ฮันท์ (James Hunt, 1833-1869) นักบำ�บัดวจีเภท (Speech Therapist) ชาวอังกฤษได้พยายามสืบค้นทางนิรุกติศาสตร์ ค้นพบว่า anthropologos มาจากอรสิ โตเตลิ (Aristotle, 384–322 BC) ในพจนานกุ รม ภาษากรีกโบราณ ซึ่งกล่าวถึง “การพูด หรือ การดูแลมนุษย์” (speaking or treating of man) ชาติวงศ์วทิ ยา (Ethnology) ศึกษาหลักการอันเปน็ รากฐานสากล วเิ คราะห์ หรอื สรา้ งทฤษฎเี ก่ยี วกบั วฒั นธรรมปจั จบุ ัน ชาตพิ นั ธว์ุ รรณนา (Ethnography) บนั ทกึ วฒั นธรรมของสงั คม เรยี กผู้บันทกึ วา่ “นกั ชาตพิ นั ธุ์วรรณา” มานุษยวิทยาสงั คม (Social Anthropology) มุ่งเนน้ ความสำ�คัญในการ ศึกษาเก่ียวกับสงั คมว่าแตกต่างกบั วฒั นธรรม มานุษยวิทยาวัฒนธรรม (Cultural Anthropology) มองว่าการศึกษา วฒั นธรรมและสงั คมเปน็ สง่ิ เดยี วกนั / 7 มานษุ ยวิทยา พัฒนา-กาล

8\\

ยุคเริ่มตน้ มานษุ ยวทิ ยา กอ่ นจะเป็นมานษุ ยวิทยา กอ่ นกาลมานษุ ยวทิ ยา การแสวงหาความรเู้ กย่ี วกบั มนษุ ยข์ องชาวตะวนั ตก ในครสิ ตศ์ ตวรรษท่ี 8 ชาวกรีกโบราณได้ล่องเรือไปตามเมืองต่างๆ ที่ตั้งอยู่ในแถบเมดิเตอร์เรเนียน และเขยี นบรรยายถงึ ความแตกตา่ ง ของคนและเมอื งทา่ เหลา่ นน้ั ความรดู้ งั กลา่ ว กอ่ ใหเ้ กิดประโยชน์มหาศาลแกพ่ อ่ ค้าทท่ี �ำ การค้าขายระหวา่ งกัน นกั ประวตั ศิ าสตรค์ นส�ำ คญั ของกรกี ฮโี รโดตสั (Herodotus, 484-426 BC) ไดเ้ ดินทางไปยงั อยี ปิ ต์ ปาเลสไตน์ บาบโิ ลน แมคคาโดเนยี และตราซ ได้บันทกึ เรอ่ื งราวของผคู้ นทไ่ี ดพ้ บเหน็ บรรยายความแตกตา่ งระหวา่ งชาวอยี ปิ ตก์ บั ชาวกรกี อาทิ “ในอียปิ ต์ผูห้ ญิงเปน็ ผูท้ ำ�การคา้ ขายในตลาด ในขณะทีผ่ ู้ชายทอผ้าอยู่ ท่ีบ้าน ผหู้ ญิงใช้หัวไหลเ่ พ่อื แบกสิ่งของสว่ นผู้ชายใช้ศรี ษะ ลูกชายไม่ชว่ ยพอ่ แม่ ทำ�งานนอกจากลูกผู้หญิง...”ผลงานเหล่านี้เองทำ�ให้นักมานุษยวิทยาสังคม ชาวอังกฤษยกย่องว่า ฮีโรโดตสั เป็นนักมานษุ ยวิทยาคนแรกของโลก ความสนใจเร่ืองราวของมนุษย์และสังคมวัฒนธรรมท่ีแตกต่างไปจาก ชนชาวยโุ รปได้ขยายขอบเขตอย่างกวา้ งขวาง เมื่อชาวสเปนและโปรตุเกสเดนิ ทางไปแสวงโชคและค้นพบดินแดนใหมใ่ นทวปี แอฟริกา เอเชีย และอเมริกา นักเดินทางต่างบันทึกเร่ืองราวส่ิงที่พบเห็นทั่วทุกมุมโลกและนำ�มาเผยแพร่ให้ ชาวยุโรปได้เรียนรู้ว่าโลกนี้กว้างใหญ่ไพศาลยิ่งนัก มีผู้คนมากมายที่มีลักษณะ สีผิวรูปพรรณสัณฐาน สังคมและขนบธรรมเนียมประเพณีที่แตกต่างไปจาก ชนผิวขาวชาวยุโรป ก่อเกิดแนวคิดที่พยายามลดทอน “อคติทางชาติพันธุ์” (Ethnocentrism) ลง / 9 มานุษยวิทยา พฒั นา-กาล

ชารล์ ส์ ดารว์ นิ (Charles Darwin) 1809-1882 10 \\

จาก “อทิ ธพิ ลแนวคดิ ววิ ฒั นาการ” สู่ “ศาสตรก์ ารศกึ ษามนษุ ย”์ ร้อยกว่าปมี าแลว้ แนวคิดวิวฒั นาการของชาร์ลส์ ดารว์ ิน (Charles Darwin, 1809-1882) สง่ อทิ ธิพลตอ่ ฃวชิ ามานุษยวทิ ยาอยา่ งมาก ผลงานของ ดาร์วิน The Origin of Species (1859) และ “The Descent of Man (1871) เกย่ี วกบั การเลือกสรรตามธรรมชาติ (Natural Selection) เปน็ กญุ แจสำ�คัญให้ เขา้ ใจวา่ กลไกของกระบวนการวิวฒั นาการของสง่ิ มีชวี ิตด�ำ เนนิ ไปอย่างไร ปัจจบุ ันแนวความคิดวิวฒั นาการยงั ถือว่ามคี วามสำ�คญั อยู่ อาจกล่าว ได้วา่ ดาร์วนิ เป็นผู้กระต้นุ ความสนใจเรอื่ งก�ำ เนิดและประวัติศาสตร์ในอดตี ของ มนุษย์ ซง่ึ ความสนใจดงั กลา่ วปรากฏชดั ในวชิ ามานุษยวิทยา Skeletons of the Chimpanzee. Gorilla. Man. Gibbon. Orang. ผเู้ ชย่ี วชาญสาขาตา่ งๆ กอ่ นมนี กั มานษุ ยวทิ ยา กอ่ นวิชามานุษยวทิ ยาจะพัฒนาจนถึงปัจจบุ นั ในยุคแรกเรม่ิ ผู้ท�ำ การ ศกึ ษาในสมยั กอ่ นมกั เปน็ ผเู้ ชย่ี วชาญวชิ าแขนงใดแขนงหนง่ึ โดยเฉพาะ ไมไ่ ดเ้ ปน็ นกั มานษุ ยวิทยาโดยตรง / 11 มานษุ ยวิทยา พฒั นา-กาล

อดอลฟ์ บาสเตยี น (Adolf Bastian) 1826-1905 นายแพทย์ผู้เป็นภัณฑารักษ์ของพิพิธภัณฑ์ทาง ชาติพันธุ์วรรณนาของเบอร์ลิน ปี ค.ศ. 1868 เป็นผู้ตั้ง Museum für Völkerkunde อันมชี ื่อเสียง 12 \\

ปแิ อร์ พอล โบรกา (Pierre Paul Broca) 1824-1880 ศัลยแพทย์ทางประสาท ผู้ให้กำ�เนิดของวิชา มานษุ ยวทิ ยากายภาพ (Physical Anthropology) และผู้ตง้ั สมาคมมานษุ ยวทิ ยา (Society of Anthropology of Paris) ขนึ้ เปน็ ครัง้ แรกท่มี หานครปารสี เม่ือปี ค.ศ. 1859 / 13 มานษุ ยวิทยา พัฒนา-กาล

โจฮันน์ เจคอบ บาคโชเฟ่น (Johann Jakob Bachofen) 1815-1887 นกั กฎหมายเขยี นหนงั สอื ทช่ี อ่ื วา่ Das Mutterrecht (matriarchy) หรอื Mother Right: an investigation of the religious and juridical character of matriarchy in the Ancient World (1861) มเี นือ้ หาเกีย่ วกบั ระบบ การปกครองแบบมาตาธิปไตย (Matriarchy) 14 \\

เซอร์ เฮนร่ี เจมส์ ซมั เนอร์ เมน (Sir Henry James Sumner Maine) 1822–1888 ตีพมิ พห์ นงั สือชื่อ Ancient Law (1861) ถอื เป็น การศึกษาด้านวิชานิติศาสตร์เปรียบเทียบ (Comparative Jurisprudence) เปน็ ครง้ั แรก เมนเสนอระบบชุมชนหมบู่ ้าน จากการส�ำ รวจเชงิ ประวตั ศิ าสตร์ โดยเฉพาะสงั คมกสกิ รรมของ องั กฤษโบราณ ประวตั ศิ าสตรข์ ององคก์ รทางสงั คม หนว่ ยงาน การเกษตรโบราณ โดยเฉพาะคำ�บรรยายของเมน ว่าด้วยเร่อื ง “กฎหมายบรรพกาล” (Ancient Laws) จนนำ�ไปสกู่ ารเสนอ ทฤษฎสี งั คมยคุ แรกเรม่ิ ของมนษุ ย์ ตลอดจนชนปา่ เถอ่ื นกถ็ อื ว่า เปน็ หน่งึ ในสถาบันดัง้ เดมิ เชน่ กัน / 15 มานษุ ยวิทยา พัฒนา-กาล

จอห์น เฟอร์กสู ัน แมคเลนแนน (John Ferguson McLennan) 1827–1881 ทนายความชาวสกอ็ ต ผู้ไดร้ บั การกล่าวถึงในฐานะ นกั มานุษยวทิ ยาสงั คมและนักชาตพิ ันธว์ุ ิทยา ไดต้ พี ิมพ์ผลงาน Primitive Marriage (1865) ซงึ่ โต้แยง้ สัญลักษณ์และรูปแบบ ของพิธีกรรมลกั พาตวั เจา้ สาว (bride kidnapping) ความคิด ของเขาต่อยอดมาจากระบบการปกครองแบบมาตาธิปไตย (Matriarchy) แมคเลนแนนพัฒนาแนวคิดนี้จากข้อมูลทาง ชาติพันธุ์วรรณนาจากทฤษฎีวิวัฒนาการทางสังคมว่าด้วย การแต่งงานและระบบเครือญาตติ ามกฎเกณฑ์ของธรรมชาติ 16 \\

ลอู สิ เฮนร่ี มอร์แกน (Lewis Henry Morgan) 1818-1881 นกั มานษุ ยวทิ ยาและนกั ทฤษฎที างสงั คมชาวอเมริกัน รนุ่ บกุ เบกิ อดตี ทนายความของการรถไฟ ผแู้ ตง่ หนงั สอื จ�ำ นวนมาก เลม่ ทีร่ จู้ กั กนั อย่างแพรห่ ลาย คือ The League of the Ho-de-no-sau-nee or Iroquois (1851) และ Systems of Consanguinity and Affinity of the Human Family (1871) ถือไดว้ า่ มอรแ์ กนเปน็ ผู้มสี ่วนอย่างสำ�คญั ท่กี ระตุ้นให้ เกิดความสนใจดา้ นต่างๆ ซงึ่ ตอ่ มากลายเป็นวชิ ามานุษยวทิ ยา / 17 มานษุ ยวทิ ยา พฒั นา-กาล

เซอร์ เอ็ดเวริ ด์ เบอรเ์ นต็ ไทเลอร์ (Sir Edward Burnett Tylor) 1832-1917 18 \\

บิดาของวิชามานษุ ยวทิ ยาสงั คม (Father of Social Anthropology) ผู้ที่ถือได้ว่าเป็น บิดาของวิชามานุษยวิทยาสังคม (Cultural Anthropology) คอื เซอร์ เอด็ เวริ ด์ เบอรเ์ นต็ ไทเลอร ์ (Sir Edward Burnett Tylor, 1832-1917) นกั มานุษยวทิ ยาชาวองั กฤษ เดมิ เป็นนักธุรกจิ ชาวอังกฤษ ที่ได้รับการศึกษาส่วนตัว ไทเลอร์เป็นผู้นำ�ทฤษฎีวิวัฒนาการทางวัฒนธรรม (Cultural Evolutionism) ผลงานทมี่ ีชอ่ื เสียงของเขาคอื Primitive Culture (1871) โดยก�ำ หนดบรบิ ทของการศกึ ษาทางมานษุ ยวทิ ยาบนพน้ื ฐานของทฤษฎี วิวัฒนาการของชารล์ ส์ ไลเอลล์ (Charles Lyell, 1797-1875) ไทเลอร์เชื่อว่ามีพื้นฐานของการทำ�งานของสังคมและศาสนาเป็น กฎเกณฑส์ ากลทกุ สงั คมตอ้ งพฒั นาผา่ น3ขน้ั ตอนจากความปา่ เถอ่ื น- อนารยธรรม - อารยธรรม (savagery – barbarism – civilization) ถอื เปน็ ผกู้ อ่ ตง้ั ศาสตรท์ าง มานษุ ยวทิ ยาสงั คม ผลงานของเขาชว่ ยวางรากฐานการศกึ ษาสาขามานษุ ยวทิ ยา ในครสิ ตศ์ ตวรรษที่ 19 / 19 มานุษยวิทยา พฒั นา-กาล

ในปี ค.ศ. 1861 ไทเลอร์ตีพิมพ์ผลงาน Anahuac: Or Mexico and Mexicans Ancient and Modern ซงึ่ สนั นิษฐานเกยี่ วกับสมยั โบราณ ของเม็กซิโก ไทเลอร์เข้าร่วมสมาคมทางมานุษยวิทยาในพระบรมราชูปถัมภ์ (The Royal Anthropological Society) จากน้นั ได้ศึกษาสังคมดงั้ เดิม เผยแพรง่ านวจิ ัย Researches into the Early History of Mankind and the Development of Civilization (1865) และการศกึ ษา ทม่ี ชี อ่ื เสยี งทส่ี ดุ ของเขา Primitive Culture (1871) ซง่ึ สง่ ผลอยา่ งมากในแงข่ อง ทฤษฎที างสงั คม ไทเลอรไ์ ดร้ บั เลอื กเปน็ สมาชกิ ของ Royal Anthropological Society ในปเี ดยี วกนั แนวคดิ ทฤษฎขี องไทเลอรเ์ ดน่ ชดั ในผลงาน Anthropology (1881) ภาพ 2.1 Collected Works of Edward Burnett Tylor เซอร์ เอด็ เวิรด์ เบอร์เนต็ ไทเลอร ์ ถือเปน็ นกั มานษุ ยวทิ ยาคนแรก ที่ใช้คำ�ว่า “วัฒนธรรม” และนิยามความหมายของวัฒนธรรมไว้ในหนังสือ Primitive Culture ซ่ึงฉบบั ดัง้ เดมิ ตพี ิมพ์ในปี ค.ศ. 1871 20 \\

“วัฒนธรรมประกอบดว้ ยความรู้ ความเช่อื ศลิ ปะ ศีลธรรมกฎหมาย ธรรมเนียม ตลอดจนความสามารถและอปุ นสิ ัยต่างๆ อันเป็นผลจากการเป็นสมาชกิ ของสังคม (condition of knowledge, religion, art, custom, ”and the like among them) “ผลรวมอันซบั ซ้อน (complex whole) อนั ประกอบด้วยความรู้ ความเชือ่ ศิลปะ ศีลธรรม กฎหมาย ธรรมเนียม ตลอดจนความสามารถ ”และ อปุ นิสัยต่างๆ อนั เปน็ ผลจากการเปน็ สมาชิกของสังคม / 21 มานุษยวทิ ยา พัฒนา-กาล

ฟรานซ์ โบแอส (Franz Boas) 1858-1942 22 \\

งานภาคสนาม (Fieldwork) จากหอคอยงาช้าง สู่ งานภาคสนาม ฟรานซ์ โบแอส (Franz Boas, 1858-1942) ได้รบั การขนาน นามว่า “บิดาของมานุษยวิทยาอเมริกัน” (Father of American Anthropology) ฟรานซ ์ โบแอส ถอื เปน็ นกั ชาตพิ นั ธว์ุ รรรณนา (Ethnographer) ที่ทำ�งานบุกเบิกการศึกษาอินเดียแดงกลุ่ม Kwakiutl และชนเผ่าอื่นๆ ทาง ชายฝั่งตะวนั ตกเฉียงเหนือในเขตบริติชโคลมั เบีย (British Columbia) ตงั้ แต่ ชว่ งกลางครสิ ตท์ ศวรรษ 1880 จนถงึ แก่กรรมในปี ค.ศ. 1942 ผ้นู ำ�แนวคิดเรือ่ งววิ ฒั นาการ และวิธีการเกบ็ ขอ้ มูลทางชาตพิ ันธม์ุ าสู่ วงการมานุษยวิทยา ความคิดของโบแอสกลายเป็นยุคทองของมานุษยวิทยา ในอเมรกิ า / 23 มานษุ ยวิทยา พฒั นา-กาล

โบแอสเองได้ทำ�วิจัยภาคสนามทางมานษุ ยวิทยา (Anthropological Fieldwork)อยา่ งลกึ ซง้ึ และยาวนานในสงั คมตา่ งๆของอนิ เดยี นแดงในอเมรกิ าเหนอื โดยเข้าไปอาศัยอยรู่ ่วมกับชาวเอสกิโมระหว่างปี ค.ศ. 1883-1884 โบแอสมองเห็นว่าสว่ นต่างๆ ของวฒั นธรรม ไม่ว่าจะเป็นหมอ้ ใบหนึ่ง หรอื พธิ กี รรมอยา่ งหนง่ึ จะตอ้ งถกู เขา้ ใจโดยพจิ ารณาถงึ วฒั นธรรมทง้ั หมดเพราะ วัฒนธรรมเป็นระบบที่ส่วนต่างๆ สัมพันธ์กัน เพราะประชากรในสังคมต่างๆ ไมไ่ ดย้ อมรบั สว่ นใหมๆ่ ของวฒั นธรรมทเ่ี หน็ ๆ กนั อยู่ เมอ่ื สว่ นตา่ งๆ ของวฒั นธรรม แพรก่ ระจายจากสงั คมหนง่ึ ไปอกี สงั คมหนง่ึ ความหมาย และรปู แบบจะเปลย่ี นแปลง ไปดว้ ย ในทส่ี ดุ มนั จะกลายเปน็ สว่ นหนง่ึ ของแบบแผนวัฒนธรรมที่มีอย่กู อ่ นแลว้ โบแอสให้ความสนใจกับปจั จยั ต่างๆ ทางจิตวิทยาและประวัตศิ าสตร์ ท่ีมีผลทำ�ให้เกิดความเหมือนหรือความแตกต่างกันในแบบแผนวัฒนธรรม ของสังคมเฉพาะแห่งจึงได้รับการยอมรับในฐานะเจ้าสำ�นักมานุษยวิทยา “แนวประวัติศาสตร์เฉพาะกรณี” (Historical Particularism) ผลงาน American anthropology, 1888-1920 : papers from the American anthropologist งานวรรณกรรมในเชงิ วพิ ากษ์ ประกอบไปด้วย บทความทถ่ี กู คัดสรรและจดั เรียงประเด็น และก็ยังใหข้ ้อมูลเพม่ิ เติมทมี่ ีคณุ คา่ อยา่ งมาก ประกอบด้วย 55 บทความของนกั มานษุ ยวิทยาอเมริกนั ทม่ี ีช่อื เสียง ตัง้ แต่กอ่ ต้งั จนกระทง่ั สงครามโลกคร้งั ท่ี 1 อาทิ Franz Boas, Elsie Clews Parsons, A. L. Kroeber, Clark Wissler, Robert Lowie, James Mooney, John Wesley Powell, John Swanton และ Edward Sapir 24 \\

ภาพ 3.1 Anthropology in ภาพ 3.2 Anthropology and North America (1915) modern life (1928, reprint 1932, 1956, 1960, 1962) ภาพ 3.3 The Ethnography of Franz Boas ภาพ 3.4 The social organization (1969) and the secret societies / 25 of the Kwakiutl Indians (1970) มานษุ ยวทิ ยา พฒั นา-กาล

โบรนิสลอว์ มาลนิ อฟสก้ี (Bronislaw Malinowski) 1884-1942 26 \\

มาลินอฟสก้ี (Bronislaw Malinowski): ภาคสนาม และการสังเกตการณ์อยา่ งมีสว่ นร่วม โบรนสิ ลอว์ มาลนิ อฟสก้ี (Bronislaw Malinowski, 1884-1942) คือ นักมานุษยวิทยาที่สำ�คัญมากของโลก มาลินอฟสกี้ก่อตั้งสาขาวิชา มานุษยวิทยาสังคม (Social Anthropology) เขาได้ก่อตั้งสำ�นักคิด มานุษยวิทยาหน้าที่นิยม (The Functionalist School of Social Anthropology) เขาเป็นที่จดจำ�ในฐานะบิดาแห่งสำ�นักหน้าที่นิยม (Functionalism) และผู้ให้กำ�เนิดมานุษยวิทยาสมัยใหม่ (Modern anthropology) คอื การใหค้ วามส�ำ คญั กบั การลงพน้ื ทภ่ี าคสนาม (Fieldwork) เปน็ เวลานานหลายปเี พื่อเกบ็ ข้อมูลภาคสนามอย่างละเอียด มาลินอฟสก้ี เดนิ ทางออกไปศึกษาด้วยการใช้ชีวติ อยู่ร่วมกับชาวเกาะ โทรเบรยี น ในหม่เู กาะทะเลใต้ ระหวา่ งปี ค.ศ.1915-1918 เพอ่ื ศกึ ษาวัฒนธรรม ของสังคมแหง่ น้นั และการให้ความส�ำ คัญกบั การสังเกตการณอ์ ยา่ งมสี ่วนร่วม (Observing and Participating) ภายหลงั แนวคิดของมาลนิ อฟสกม้ี อี ิทธพิ ล อยา่ งมากต่อนกั มานุษยวทิ ยาส�ำ นกั อเมรกิ ัน และนน่ั สง่ ผลใหเ้ ขากลายเป็นหนึ่ง ในนักมานุษยวิทยาทมี่ ชี อ่ื เสยี งทีส่ ดุ ในครสิ ต์ศตวรรษที่ 20 / 27 มานุษยวิทยา พฒั นา-กาล

ภาพ 4.1 Argonauts of ภาพ 4.2 Towards a Scientific Theory the Western Pacific (1961) of Culture: The writings of Bronislaw Malinowski (2012) มาลนิ อฟสกไ้ี ดว้ างรากฐานการศกึ ษาแนวใหมใ่ หก้ บั วงการมานุษยวิทยา ด้วยรูปแบบการศึกษาที่มุ่งเน้นการลงพื้นที่เก็บข้อมูลภาคสนาม (Fieldwork) อย่างละเอียด และการสังเกตการณ์อย่างมีส่วนร่วม คือ การเขา้ ไปคลุกคลี อยู่อาศัยกับคนในท้องถิ่นเป็นเวลานานเพื่อที่จะเข้าใจวิถีชีวิตของคนเหล่าน้ัน ไดร้ าวกับเป็นคนในวัฒนธรรมเอง ซง่ึ ลกั ษณะดังกลา่ วถกู น�ำ มาใชใ้ นการศึกษา ทางมานษุ ยวิทยามาอยา่ งต่อเนื่องจนถงึ ปจั จบุ นั มาลินอฟสกี้เป็นหน่ึงในนักมานุษยวิทยาที่สำ�คัญท่ีสุดใประวัติศาสตร์ ผู้ริเริ่มมานุษยวิทยาสมัยใหม่ นักวิทยาศาสตร์สังคมกับการค้นพบระเบียบวิธี วิจัยแบบใหม่ กลายมาเป็นหนึ่งในผู้ปฏิวัติระบบความคิดทางมานุษยวิทยา ไปสู่ระบบความคิดแบบวิทยาศาสตร์ที่ทันสมัย ผู้ริเริ่มใช้วิธีการศึกษาอย่างมี สว่ นรว่ ม (Participant Observation) เกบ็ ขอ้ มลู ดว้ ยภาษาทอ้ งถน่ิ ใหค้ วามส�ำ คญั กับรายละเอียดในชีวิตประจำ�วันทุกๆ ด้าน เป็นดั่งผู้เชี่ยวชาญที่ฝึกฝนให้กับ นกั มานษุ ยวิทยาจ�ำ นวนมากในช่วงเวลานัน้ 28 \\

รปู แบบการแลกเปลย่ี นของชาวเกาะโทรเบยี นด์ (Trobiand Islanders) ซ่ึงเป็นชนหมหู่ นึ่งทางวัฒนธรรมหมูเ่ กาะทะเลใต้ ผ่านระบบกูลา (Kula ring) หรือ รูปแบบการแลกเปลีย่ นของก�ำ นัลท่ีเรียกวา่ “กลู า” เป็นระบบการค้าท่ี มาลนิ อฟสกใ้ี หค้ วามสนใจเปน็ อยา่ งยง่ิ เนอ่ื งจากเปน็ ระบบการตดิ ตอ่ แลกเปลย่ี น สง่ิ ของระหวา่ งชนเผา่ เหนอื สใู่ ตข้ องนวิ กนิ ี ผทู้ เ่ี ขา้ รว่ มพธิ แี ลกเปล่ยี นของกำ�นัล หรือพิธีกูลาจะต้องเดินทางเป็นเวลานานนับเดือนเพื่อไปพบกับเพื่อนบ้านท่ีอยู่ เกาะอื่นโดยของกำ�นัลที่น�ำ ไปแลกเป็นเครอื่ งประดับทท่ี ำ�จากเปลือกหอยไดแ้ ก่ สร้อยคอยาวท�ำ จากเปลอื กหอยสแี ดง เรยี กวา่ “Soulava” และกำ�ไลข้อมือ เปลอื กหอยสขี าว เรียกว่า “Mwali” ของก�ำ นัลน้ีจะสง่ ตอ่ ไปยังคนแต่ละกลุ่ม ท่มี คี วามเก่ียวขอ้ งกนั เพื่อให้ทุกคนมีสทิ ธคิ รอบครองของกำ�นัลเทา่ เทียมกนั ภาพ 4.3 มาลินอฟสก้ถี อื สร้อยคอเปลือกหอย (Solava) ยืนอยกู่ บั ชาวเกาะโทรเบยี นด์ / 29 มานุษยวทิ ยา พัฒนา-กาล

ภาพ 4.4 The Family Among the Australian Aborigines; a sociological study (1963) ผลงานวิทยานิพนธ์ของมาลินอฟสก้ีท่ีเขียนขึ้นในขณะที่ศึกษาด้าน มานษุ ยวทิ ยาท่ี London School of Economics ตง้ั แตป่ ี ค.ศ. 1913 โดย บรรยายเรื่องชนพื้นเมืองดั้งเดิมในออสเตรเลีย (Aboriginal Australians) ชาติพันธ์ุวิทยา (Ethnology) เครือญาติ (Kinship) การแต่งงาน (Marriage) ชีวิตทางสังคมและวัฒนธรรมประเพณี (Social life and customs) และ ครอบครัว (Families) ของชนเผา่ อะบอรจิ ิ้นในออสเตรเลยี และความสมั พันธ์ ภายในครอบครัวในออสเตรเลยี เผยแพร่เมอ่ื ปี ค.ศ. 1963 มาลินอฟสก้ีมีจุดประสงค์ที่จะเขียนงานเอกสารเพ่ือแสดงจุดยืน แนวความคดิ ใหมๆ่ แทนทจ่ี ดุ ออ่ นทง่ี านศกึ ษาในยคุ กอ่ นหนา้ มกั กลา่ วถงึ เครอื ญาติ ในรปู แบบของการพัฒนาเป็นล�ำ ดบั ขนั้ และการศึกษาที่ไมม่ ีหลักฐานเพยี งพอ โดยการบรรยายความเป็นจริงท่ีพบเจอในสงั คมชนเผา่ ออสเตรเลีย และแทรก มมุ มองเรื่องพัฒนาการกับโครงสร้างต่างๆ ทางสังคมไวด้ ว้ ย โดยอธิบายถึงการ แต่งงานโดยการบังคับ การฆ่าทารกวา่ เปน็ ไปเพื่อจุดหมายบางอย่างของสังคม ไมค่ วรตดั สนิ วา่ เปน็ เรอ่ื งลา้ หลงั นอกจากนย้ี งั มเี รอ่ื งราวมากมายเกย่ี วกบั ชนพน้ื เมอื ง ในออสเตรเลยี ท่ีศกึ ษาพบและน่าสนใจย่งิ 30 \\

ภาพ 4.5 Crime and Custom in Savage Society (1964) Crime and Custom in Savage Society (1964) น�ำ เสนอการอธบิ าย ความสัมพันธ์ระหว่างกฎหมายและสังคม ตลอดการทำ�งานของมาลินอฟสกี้ ไดส้ รา้ งมานษุ ยวทิ ยาวทิ ยาศาสตรร์ ปู แบบหนง่ึ ทม่ี บี ทบาทมากทง้ั ในภาคทฤษฎี และภาคปฏบิ ตั ิ สร้างวิธวี ทิ ยาท่เี ป็นหลักสำ�คัญของมานุษยวทิ ยาสมัยใหม ่ เชน่ ความสมั พันธ์ของโครงสรา้ งทางสงั คมพ้ืนฐานทฤษฎขี องการให้และการรบั ท่ซี ึ่ง เกดิ ขนึ้ โดยทว่ั ไปในวถิ ีชีวิตของคนพื้นเมอื งกฎระเบยี บหลกั เกณฑข์ องประเพณี นยิ ามและการจัดจ�ำ แนก Reciprocity and Dual Organization นยิ ามของ กฎหมายในทางมานุษยวิทยา ข้อตกลงพิเศษเกี่ยวกับกฎหมาย ส่วนที่สอง กล่าวถึงการกระทำ�ที่ผิดศีลธรรมและการลงโทษ กฎที่ใช้ในการลงโทษและ การกลับสู่สงั คม การใช้เวทมนตร์คาถาและการฆ่าตัวตายในเชงิ อ�ำ นาจ (ซ่ึงมี การครอบงำ� และไม่ชอบธรรมต่อปัจเจก) ระบบระเบียบวิธีของกฎหมาย ในการจดั การกบั ความขัดแยง้ และระบบตา่ งๆ ท่ที �ำ งานร่วมกันในสังคมชนเผ่า / 31 มานษุ ยวทิ ยา พฒั นา-กาล

ภาพ 4.6 The sexual life of savages (1987) ชาติพันธุ์วรรณนา (ethnography) ว่าดว้ ยการเกีย้ วพาราสี การแตง่ งาน และชวี ิตครอบครัว มาลินอฟสก้ีให้คำ�อธิบายว่าเรื่องเพศนั้นมีอำ�นาจเหนือความเป็นจริง ของวฒั นธรรมในเกือบทุกดา้ น หนงั สอื ทบ่ี รรยายชาตพิ นั ธว์ุ รรณนา (Ethnography) เรอ่ื งการเกย้ี วพาราสี การแตง่ งานและชวี ิตทางครอบครวั ในหม่ชู าวพน้ื เมืองของเกาะ เป็นบทความ ประวตั ิศาสตรธ์ รรมชาติทางเพศอันยาวนาน ในอดีตการศึกษาพฤติกรรมทางเพศในมุมมองทางมานุษยวิทยามีให้ เห็นไม่มากนัก และนักมานุษยวิทยาผู้ที่มีบทบาทสำ�คัญในเรื่องนี้คนหนึ่งคือ มาลนิ อฟสกี้เอง แม้ว่าเปน็ การอธิบายเรื่องเพศในระดบั กว้างๆ โดยให้เหตุผลวา่ ชาวโทรเบียนด์ไมส่ นใจเรื่องเพศของคนอน่ื และเปน็ เรือ่ งยากทจี่ ะน�ำ มาพดู กนั ไดท้ ว่ั ไปในสงั คมโทรเบยี นด์ แตก่ น็ บั วา่ “เพศ” เปน็ ประเดน็ การศกึ ษาทน่ี า่ สนใจ และสะท้อนกรอบแนวคดิ มมุ มองด้านสงั คมวัฒนธรรมของสังคมนน้ั ๆ ได้เป็น อยา่ งดี 32 \\

ภาพ 4.7 Magic, Science and Religion and Other Essays (1948) ศาสนา เวทมนต์ และ วทิ ยาศาสตร์ : ศรทั ธา และวฒั นธรรม ศาสนาและเวทมนตเ์ ปน็ สง่ิ ส�ำ คญั ตอ่ มนษุ ยแ์ ละเปน็ เรอ่ื งลกึ ลบั คนพน้ื เมอื ง และการนบั ถอื ศาสนา และมานาอนั เปน็ พลงั อ�ำ นาจทถ่ี กู เชอ่ื มากในกลมุ่ คนพน้ื เมอื ง มานา หมายถงึ อ�ำ นาจเหนอื ธรรมชาติ หรอื การกระท�ำ ของวิญญาณทีม่ ีผล ต่อการกระทำ�ของมนษุ ย์ สะท้อนให้เหน็ ถงึ แนวคดิ แกนกลางของมาลีนอฟสกี้ ที่มุ่งอธิบายวา่ “วัฒนธรรมมหี น้าทใ่ี นการตอบสนองความตอ้ งการทางกายภาพ ของมนุษย”์ สง่ิ ตา่ งๆ เหลา่ นล้ี ว้ นมคี วามส�ำ คญั ในวถิ ชี วี ติ ของชาวโทรเบยี นด์ ไสยศาสตร์ หมายถงึ ศิลปะในทางปฏบิ ัติ เพอ่ื หวังผลอยา่ งใดอยา่ งหนงึ่ จากการกระทํานน้ั ศลิ ปะปฏบิ ตั ขิ องไสยศาสตร์ ไดแ้ ก่ การกลา่ วคาถา (Spell) การกระท�ำ พธิ กี รรม (Rites) และการปฏิบัติตนให้มีความพิเศษในบางกรณี ไสยศาสตร์จึงเป็นสง่ิ ท่ี เหน็ ไดง้ า่ ยและเกดิ ผลขน้ึ ในเวลาทไ่ี มน่ าน ตา่ งจากศาสนาทห่ี มายถงึ ความศรทั ธา ความเชอ่ื อารมณ์ ทไ่ี มต่ อ้ งการคําอธบิ าย ไมต่ อ้ งการคน้ ควา้ หาเหตผุ ล ไมต่ อ้ งการ ความกระจ่าง มแี ต่ความเชอ่ื ถอื และศรัทธาในความขลังความศักดส์ิ ทิ ธ์ิเท่าน้ัน ท�ำ ให้เป็นท่ยี อมรับไดใ้ นสังคม สามารถจดั การควบคุมไดแ้ ละมคี วามถกู ต้องใน มมุ มองของคนทวั่ ไป / 33 มานุษยวทิ ยา พัฒนา-กาล

ภาพ 4.8 A diary in the strict sense of the term (1967) ไดอารขี่ องมาลีนอฟสกี้ : อีกแง่มมุ ชวี ติ จากภาคสนามของ นกั มานษุ ยวทิ ยา หนงั สอื ทก่ี ลายเปน็ ประเดน็ ของการถกเถยี งอยา่ งมากในทางมานษุ ยวทิ ยา “ประหนึ่งเป็นวิธีการวิเคราะห์ตนเอง” (as a means of self-analysis) และมคี วามถกู ตอ้ งในมุมมองของคนทัว่ ไป หนงั สอื เลม่ นไ้ี ดย้ า้ ยเปลย่ี นสถานะทเ่ี ปน็ สอ่ื กลางในฐานะงานวรรณกรรม ทส่ี ะทอ้ นทางมานษุ ยวทิ ยาไดอ้ ยา่ งดยี ง่ิ ในปี ค.ศ. 1967, คลฟิ ฟอรด์ เจมส์ เกยี รซ์ (Clifford James Geertz, 1926-2006) นกั มานษุ ยวทิ ยาอเมรกิ นั ผมู้ ชี อ่ื เสยี ง แห่งครสิ ตศ์ ตวรรษที่ 20 รู้สึกวา่ “ทัง้ หมดแล้วน่าเบื่อ”(gross, tiresome) บันทึกได้เผยให้เห็นว่ามาลินอฟสกี้นั้นเป็นพวกฉุนเฉียว หมกมุ่นในตัวเอง (a crabbed, self-preoccupied, hypochondriacal narcissist) ซึ่งเมือ่ ติดตามอ่านแล้วจะทราบว่าเป็นความรู้สึกที่เกิดขึ้นกับคนที่อยู่ภายใต้ข้อจำ�กัด อย่างยิ่งยวด (whose fellow-feeling for the people he lived 34 \\

with was limited in the extreme) (Geertz, 1967: Online) แตใ่ น ปี ค.ศ. 1988 เกียร์ซเรียกไดอารี่ฉบับนี้ว่าเป็น “ผลงานชิ้นเอกของวงการ มานษุ ยวทิ ยา, เหมอื นคเู่ กลยี วซอ้ นกนั ของเราเอง” (a backstage masterpiece of anthropology, our The Double Helix) ในท�ำ นองเดยี วกนั ในปี ค.ศ. 1987 เจมส์ คลฟิ ฟอรด์ (James Clifford, 1945 - ) นกั ประวัตศิ าสตร์อเมรกิ ัน คนสำ�คัญในปัจจุบันเรียกบันทึกของมาลีนอฟสกี้ฉบับนี้ว่า เป็นเอกสารสำ�คัญ อยา่ งยิ่งสำ�หรบั ประวตั ิศาสตรข์ องมานุษยวทิ ยาเลยทีเดียว ภาพ 4.9 Malinowski’s Kiriwina: fieldwork photography, 1915-1918 (1998) เผยอีกมุมของชีวิตนักชาติพันธุ์วรรณนา (Ethnographers) ดังที่ พอล ราบนิ าว (Paul Rabinow, 1944 - ) ศาสตราจารย์มานุษยวิทยาแหง่ มหาวทิ ยาลยั แคลิฟอรเ์ นยี เบริ ก์ ลยี ์ กลา่ วว่า หากจะเร่มิ ตน้ เรยี นรูเ้ พ่ิมเติมเก่ียว กบั มาลนี อฟสกแ้ี ลว้ การอา่ นบนั ทกึ ทน่ี า่ สนใจเลม่ นถ้ี อื เปน็ ปฐมบทแหง่ การอา่ นทด่ี ี / 35 มานษุ ยวิทยา พัฒนา-กาล

รธู ฟูลตัน เบเนดกิ ท์ (Ruth Fulton Benedict) 1887-1948 36 \\

นกั มานษุ ยวิทยาสตรแี ห่งโลกตะวนั ตก รธู ฟลู ตนั เบเนดกิ ท์ กบั งานภาคสนาม ของสตรนี กั มานษุ ยวทิ ยา รูธ ฟูลตนั เบเนดิกท์ (Ruth Fulton Benedict, 1887-1948) ถอื เปน็ ผหู้ ญงิ คนแรกๆ ทม่ี อี ทิ ธพิ ลตอ่ เรยี นการสอนของวชิ ามานษุ ยวทิ ยาในยคุ สมยั ที่ผู้หญิงมักไม่ประสบความสำ�เร็จเท่าใดนัก แนวคิดของเบเนดิกท์ ได้ลบล้าง ค�ำ อธบิ ายวฒั นธรรมแบบเหมารวมของ Armchair Anthropologists นักเรยี น ของเบเนดกิ ทต์ า่ งไดร้ บั การผลกั ดนั ใหท้ �ำ การศกึ ษาภาคสนามเพอ่ื ศกึ ษาลักษณะ เฉพาะตวั ของแตล่ ะสังคม ทำ�ใหก้ ารศกึ ษาวฒั นธรรมมุง่ เนน้ ไปยังรายละเอียด ปลีกย่อยรวมไปถึงบุคคลมากย่ิงข้ึนและสามารถสร้างคำ�อธิบายที่ไม่อ้างอิงกับ สงั คมใดสังคมหนงึ่ อีกต่อไป / 37 มานุษยวทิ ยา พัฒนา-กาล

ภาพ 5.1 Patterns of culture (1959) เบเนดกิ ท์ไดเ้ ขา้ ศกึ ษาต่อท่ี The New School for Social Research ในสาขามานษุ ยวทิ ยาและท�ำ งานรว่ มกบั Alexander Goldenweiser ซง่ึ เปน็ บุคคลทแี่ นะน�ำ ให้เบเนดิกทร์ ู้จกั กบั ฟรานซ์ โบแอส (Franz Boas) บดิ าแหง่ มานษุ ยวทิ ยาอเมรกิ นั โดยตอ่ มาเบเนดกิ ทไ์ ดศ้ กึ ษาตอ่ ณ มหาวทิ ยาลยั โคลมั เบีย (Columbia University) ซึ่งงานสว่ นใหญ่ของเบเนดกิ ทอ์ ยู่ภายใต้ค�ำ แนะนำ� ของโบแอส และไดส้ �ำ เรจ็ การศกึ ษาระดบั ปรญิ ญาเอกในปี ค.ศ. 1923 โดยเบเนดกิ ท์ เร่มิ ท�ำ งานเป็นผชู้ ่วยสอน และไดพ้ บกบั มารก์ าเรต ม้ดี (Margaret Mead) ผซู้ ง่ึ มคี วามส�ำ คญั มากทง้ั ตอ่ ชวี ติ และผลงานของเบเนดกิ ทโ์ ดย เบเนดกิ ทไ์ ดส้ อนหนงั สอื ณ มหาวทิ ยาลยั แหง่ นเ้ี ปน็ เวลากวา่ 20 ปี รว่ มกบั การท�ำ งานวจิ ยั และเขยี นหนงั สอื 38 \\

ภาพ 5.2 The Chrysanthemum and the sword (1967) งานทางดา้ นมานษุ ยวทิ ยาของเบเนดกิ ทส์ ว่ นใหญม่ งุ่ เนน้ ไปทว่ี ัฒนธรรม และบคุ ลกิ ภาพ โดยงานศกึ ษาในชว่ งแรกเปน็ การศกึ ษาความแตกตา่ งของวฒั นธรรม ในแต่ละกลุ่มชนพืน้ เมอื งอเมรกิ ัน เบเนดิกท์ให้ความสำ�คญั กับงานภาคสนาม (Fieldwork) มาก จึงได้ออกศึกษาภาคสนามไปยังเมืองต่างๆ จนกระทั่งใน ปี ค.ศ. 1934 ผลงานที่มชี อ่ื เสยี งท่สี ุดอยา่ ง Patterns of Culture ไดร้ บั การตพี มิ พ์ โดยมแี นวคดิ ส�ำ คญั คอื วฒั นธรรมเปน็ ภาพสะทอ้ นบคุ ลกิ ภาพของคน ในแตล่ ะสงั คม ไม่สามารถนำ�มาเปรยี บเทยี บกนั เพราะแตล่ ะวฒั นธรรมตา่ งก็มี ลกั ษณะเฉพาะตัว ตอ่ มาในปี ค.ศ. 1940 Race: Science and Politics ไดร้ บั การตพี มิ พ์โดยเปน็ ผลงานศกึ ษาความไมเ่ ทา่ เทยี มกนั ในสงั คมมนษุ ย์จนใน ชว่ งสงครามโลกครง้ั ที่ 2 เบเนดกิ ทไ์ ด้ทำ�การศกึ ษาประเทศไทย ญ่ีป่นุ โรมาเนีย และเนเธอแลนด์ เพื่อผลประโยชน์ทางการทหารของประเทศสหรัฐอเมริกา และไดผ้ ลติ งาน The Chrysanthemum and the Sword เสร็จสิ้นใน ปี ค.ศ. 1946 ซึ่งเป็นหนังสือเล่มสุดท้ายของเบเนดิกท์ จากนั้นเบเนดิกท์ จึงได้กลับไปศึกษางานวิจัยที่ได้รับการสนับสนุนจาก UNESCO ในช่วง บั้นปลายชีวิตเบเนดิกท์ได้รับรางวัลยกย่องเชิดชูเกียรติมากมาย รวมไปถึง การดำ�รงตำ�แหน่งประธานสมาคมมานุษยวิทยาอเมริกันและการมอบตำ�แหน่ง ศาสตราจารย์ดา้ นมานุษยวิทยาประจำ� Columbia University กอ่ นจะเสยี ชวี ิต ลงในวัย 61 ปี เม่ือวนั ท่ี 17 กนั ยายน ค.ศ. 1948 / 39 มานษุ ยวิทยา พฒั นา-กาล

ภาพ 5.3 Race: Science and politics (1943) งานเขยี นนม้ี จี ดุ ประสงคเ์ พอ่ื สรา้ งความเทา่ เทยี มใหเ้ กดิ ขน้ึ ภายในสังคม ลดการเหยยี ดผดิ และชอ่ งวา่ งระหวา่ งเชอ้ื ชาติ โดยศกึ ษาตง้ั แตก่ ารใหค้ ณุ คา่ และ ความไมเ่ ทา่ เทยี มกนั ของแตล่ ะเชอ้ื ชาติ และอธบิ ายวา่ บคุ คลทเ่ี กดิ มาในเชอ้ื ชาติ ที่แตกต่างกันมีความแตกต่างในด้านการใช้ชีวิตอย่างไร ตั้งแต่ความแตกต่าง ทางกายภาพ เช่น ความสูง ลักษณะของกะโหลกศีรษะ ความฉลาด และสีผวิ ซึง่ งานศกึ ษาเลม่ นี้นิยามว่า สีผิวเปน็ สิ่งทบ่ี อกความแตกต่างระหว่าง เชื้อชาติไดอ้ ย่างชดั เจนทส่ี ดุ 40 \\

ภาพ 5.4 Thai culture and behavior: an unpublished war-time study dated September, 1943. (1952) “แบบแผนพฤติกรรมและวฒั นธรรมไทย” ในสายตานักมานษุ ยวิทยาอเมริกนั งานศกึ ษาสงั คมและวฒั นธรรมไทยในระหวา่ งสงครามโลกครง้ั ท่ี 2 จนถงึ เดอื นกนั ยายนปี ค.ศ. 1943 งานศกึ ษานค้ี รอบคลมุ ถงึ ขอ้ มลู ดง้ั เดมิ ระบบความเชอ่ื ของชาวไทย ชวี ติ วยั เดก็ และผใู้ หญ่ รวมไปถงึ การวเิ คราะหพ์ ฤตกิ รรมของชาวไทย ซง่ึ เบเนดกิ ทแ์ บง่ ออกเปน็ 3 ลกั ษณะคอื ความพงึ พอใจในชวี ติ ความใจเยน็ ของ คนไทย และบทบาทการเปน็ ผู้น�ำ ของเพศชาย เบเนดกิ ทไ์ ดศ้ ึกษาขอ้ มลู เกย่ี วกับ ข้อมูลพื้นฐานของประเทศไทยจากหลายๆ แห่ง ทั้งในหนังสือและข้อมูลจาก คนไทยที่อาศัยอยู่ในสหรัฐอเมริกา ตั้งแต่ความหมายของชื่อ สถานที่ตั้ง สภาพอากาศ ชาติพันธ์ุ และประวัติศาสตร์การสรา้ งชาต ิ เบเนดิกท์อธิบายว่า ธรรมเนียมและวิธีปฏิบัติดั้งเดิมของคนไทยนั้น สามารถแบ่งออกไดเ้ ป็น 3 ประการ คอื 1) พระมหากษัตรยิ ์ โดยในสังคมไทย นน้ั ประชาชนจะมวี ถิ ชี วี ติ ทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั พระมหากษตั รยิ เ์ สมอ เชน่ การมวี นั หยุด / 41 มานษุ ยวทิ ยา พฒั นา-กาล

ในทุกวนั ประสตู ขิ องพระมหากษัตรยิ ์และพระราชินี รวมไปถงึ การหยุดงานใน วันสำ�คญั ตา่ งๆ ทเี่ กย่ี วขอ้ งกบั พระมหากษตั รยิ ์ด้วย 2) ระบบบริหารราชการ แบบไทยทีเ่ รียกวา่ “จตุสดมภ์” ที่ไดท้ �ำ การปรบั ปรุงรปู แบบมาตง้ั แต่ยุคสมัย สมเดจ็ พระบรมไตรโลกนาถ และ 3) ชาวบา้ น เบเนดกิ ท์อา้ งว่า ในปี ค.ศ. 1937 ประชาชนชาวไทยกว่า 88.5% ประกอบอาชพี เกษตรกรรมและตกปลา ชาวบา้ นนยิ มอยกู่ นั เปน็ กลมุ่ เลก็ ๆ ตาม ลุม่ แม่นำ�้ ล�ำคลองเพื่อผลประโยชนท์ างเกษตรกรรม นอกจากน้นั เบเนดิกท์คิดเห็นว่า ระบบศักดินาของไทยมีความแตกต่างไปจาก ระบบศกั ดินาในประเทศจนี และประเทศอินเดยี ส�ำหรับในไทยนน้ั จะจดั ล�ำดับ ศักดินาโดยใช้จ�ำนวนที่ดินเป็นเกณฑ์ในขณะที่ประเทศจีนจะกระท�ำโดยระบบ การปกครองแทน ซ่ึงในสว่ นตอ่ มาเบเนดิกท์ไดศ้ กึ ษาถงึ การกลายเปน็ สมัยใหม่ ของประเทศไทย กระบวนการเลกิ ทาส การตดิ ตอ่ เจรจาคา้ ขายกบั ชาวตะวนั ตก และการศกึ ษาแบบตะวนั ตกทเี่ ขา้ มาแพรห่ ลายในไทยโดยชนชน้ั สูงมากย่ิงขึ้น เบเนดิกท์ยังได้ศึกษาระบบความเชื่อของคนไทยท่ีมีมาช้านานคือ ศาสนาพุทธและความเช่อื เรื่องผีและวญิ ญาณ เธอค้นพบว่า ผชู้ ายไทยตอ้ งเข้า รบั การอปุ สมบทเป็นพระสงฆ์ แต่ไมจ่ �ำเป็นตอ้ งอปุ สมบทตลอดชวี ติ การบวช หรอื อปุ สมบทนเ้ี ปรยี บเสมอื นพิธกี รรมเปลย่ี นผ่าน (Rite of Passage) ของ ผูช้ ายไทย นอกจากน้ัน เบเนดิกท์ยังวเิ คราะหล์ ักษณะของคนไทยเพิม่ เตมิ อีกว่า คนไทยชอบงานรื่นเริงและมีความสขุ กับชีวติ จะเหน็ ไดจ้ าก การมีปฏสิ มั พนั ธ์ที่ ดตี ่อสังคม งานประจ�ำปตี า่ งๆ งานเทศกาลและการเฉลมิ ฉลองทางศาสนาท่ี ท�ำให้ทุกคนมามสี ่วนร่วมกัน เบเนดกิ ทส์ รุปว่า วัฒนธรรมสงั คมไทยเปน็ ผลมา จากกระบวนการขัดเกลาทางสังคมผา่ นความเชอ่ื ทางศาสนา ครอบครัว และ สิง่ แวดล้อม โดยเบเนดกิ ทห์ วังว่า ผอู้ ่าน (หมายถงึ กองทพั สัมพันธมิตรผไู้ ด้ ประโยชนจ์ ากงานศกึ ษาน)ี้ จะไดท้ �ำความเขา้ ใจและคนุ้ เคยกบั สงั คมไทยมากขน้ึ อนั จะมาสผู่ ลประโยชน์ทางการทหารในช่วงเวลาแห่งสงคราม 42 \\

“ตวั ตน” ของนกั มานษุ ยวทิ ยาสตร:ี กวี และสตรีนิยม เบเนดิกท์เปน็ ทั้งนกั กวี นักมานษุ ยวิทยา และนักสตรีนิยม เธอเกดิ มา ในช่วงปีสุดท้ายของยุควิคตอเรียน (Victorian Era) และเติบโตมาพร้อมกับ การเข้าสู่ยุคสมัยใหม่ (Modern Era) เบเนดิกท์ไม่ยอมรับการให้คุณค่าต่อ ผหู้ ญงิ ของสงั คมในขณะนน้ั ซง่ึ ไดร้ บั อทิ ธพิ ลมาจากยคุ วคิ ตอเรยี น โดยผหู้ ญงิ จะถูก คาดหวังอย่างหนักและถูกจ�ำ กดั บทบาทในสงั คม เธอตอ้ งตอ่ สเู้ พอ่ื คน้ หาบทบาทของตวั เองในฐานะปญั ญาชนและผหู้ ญิง เพอื่ เคลอื่ นไหวเรยี กร้องใหเ้ กดิ การเปลยี่ นแปลงสังคม เบเนดิกท์ใช้วิชามานุษยวิทยาเป็นพื้นฐานร่วมกับทักษะการเขียนของ เธอชว่ ยขับเคลอ่ื นและนิยามความเปน็ สมัยใหม่ เธอเป็นผู้หญิงคนแรกที่ได้รับการพิจารณาในฐานะนักมานุษยวิทยา คนสำ�คญั ที่สุดในสหรฐั อเมริกา เธอเปน็ ทง้ั ปญั ญาชนและศลิ ปนิ ในชว่ งเวลาทผ่ี หู้ ญงิ ไมไ่ ดร้ บั การยอมรับ จากสงั คมมากมายนกั และยงั ทำ�งานคน้ คว้าวิจยั จนกระท่งั วนั สดุ ทา้ ยของชวี ติ เพ่ือเปน็ กระบอกเสยี งให้กบั บุคคลทีถ่ ูกสังคมตีตราบาปด้วยความไม่เข้าใจ / 43 มานษุ ยวิทยา พัฒนา-กาล

ภาพ 5.5 An anthropologist at works: writings of Ruth Benedict (1959) ภาพ 5.6 Ruth Benedict: stranger in this land (1989) ภาพ 5.7 Ruth Benedict: a humanist in anthropology (2005) 44 \\

ภาพ 5.8 รูท เบเนดิกท์ (Ruth Benedict) กับชายผิวสี สองคนทเี่ ขตสงวนแบล็คฟตุ ( Blackfoot Reservation) เมอ่ื ฤดรู ้อน ปี ค.ศ. 1939 / 45 มานุษยวทิ ยา พฒั นา-กาล

มาร์กาเรต มีด้ (Margaret Mead) 1901-1978 46 \\

มาร์กาเรต มี้ด (Margaret Mead, 1901-1978) : ในนามนักมานษุ ยวทิ ยาสตรอี เมริกนั สาขาวิชามานุษยวทิ ยาตอ้ งการจิตใจทเ่ี ปิดกว้าง “(ของนักมานุษยวิทยา) เพือ่ มองและฟงั บันทึกถงึ ความตกตะลึง ”และสงสยั ในสรรพสิง่ ใดใดอนั อยเู่ หนอื ความคาดเดา มารก์ าเรต มี้ด (2444-2521) “ [Anthropology demands the open-mindedness with which one must look and listen, record in astonishment and wonder at that which one would not ”have been able to guess.] Margaret Mead (1901-1978) / 47 มานุษยวิทยา พัฒนา-กาล

ภาพ 6.1 Reading Benedict/ Reading Mead (2004) มาร์กาเรต มี้ด (Margaret Mead, 1901-1978) งานเขียนส่วนใหญ่ อธิบายลักษณะบุคลิกภาพและความแตกต่างกันระหว่างผู้หญิงและผู้ชาย ในแตล่ ะสงั คมโดยเกดิ จากการหลอ่ หลอมทางวฒั นธรรมมากกวา่ การเปลี่ยนแปลง ทางชวี ภาพ มด้ี อทุ ศิ ชวี ติ ใหก้ บั การท�ำ งานเกย่ี วกบั เพศในสงั คมดง้ั เดมิ และบคุ ลกิ ภาพ ของคนในสังคมท่ีแตกต่างกันเพื่อช่วยให้ผู้คนโดยเฉพาะชาวอเมริกันได้เข้าใจ ตัวเองและผูอ้ ืน่ มากยิ่งข้ึน งานของมี้ดทำ�ให้ผู้คนเข้าใจในส่ิงแวดล้อมรอบตัวและมองเห็น ความเป็นไปไดใ้ นการพฒั นาคุณคา่ ของตน เป็นตัวอยา่ งในการศึกษาภาคสนาม และการศกึ ษาพฒั นาการในวยั เดก็ รวมไปถงึ ภาพถา่ ยภาคสนามของมด้ี นน้ั ยงั น�ำ มาสูก่ ารเกิดข้ึนของมานษุ ยวิทยาประยกุ ตอ์ กี ด้วย มด้ี เปน็ บคุ คลหนง่ึ ทเ่ี ปลย่ี นแปลงและสรา้ งสสี นั ใหก้ บั วงการมานษุ ยวทิ ยา อเมริกัน ทั้งชีวิตส่วนตัวผลงานและแนวคิดทฤษฎีของเธอกลายเป็นประเด็น ถกเถยี งมาอย่างยาวนานทงั้ ในแวดวงวชิ าการและในกลุ่มผ้สู นใจ ภาพลกั ษณข์ องมด้ี เปน็ ทง้ั ผหู้ ญงิ สมยั ใหม่ นกั สตรนี ยิ ม นกั มานษุ ยวทิ ยา นักเขียน นกั วิทยาศาสตร์ และคนดังแหง่ อเมริกา 48 \\


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook