Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore เอกสารภาค ข ความเหมาะสมกับการปฏิบัติงานในหน้าที่

เอกสารภาค ข ความเหมาะสมกับการปฏิบัติงานในหน้าที่

Published by pattarawanw, 2019-05-10 08:43:58

Description: เอกสารภาค ข ความเหมาะสมกับการปฏิบัติงานในหน้าที่

Search

Read the Text Version

เอกสารประกอบการพิจารณาคดั เลอื กบุคคล เพื่อบรรจุและแตง ตง้ั ใหดำรงตำแหนง ผอู ำนวยการสถานศกึ ษา สงั กดั สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา ภาค ข ความเหมาะสมกบั การปฏิบตั ิหนาท่ี นายพีรวชิ ญ มสี ัจจานนท รองผอู ำนวยการชำนาญการพเิ ศษ วิทยาลยั บริหารธุรกิจและการทอ งเท่ยี วกรงุ เทพ

คำนำ เอกสารประกอบการคดั เลือกบุคคล เพ่ือบรรจุและแตง่ ตัง้ ใหด้ ารงตาแหนง่ ผู้อานวยการสถานศึกษา สังกดั สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ภาค ข ความเหมาะสมกบั การปฏิบตั ิงานในหน้าท่ีฉบบั น้ีเปน็ การนาเสนอ และรายงานผลงานทีเ่ กิดจากการปฏบิ ตั งิ าน ในตาแหนง่ รองผอู้ านวยการสถานศึกษา 4 ฝา่ ย ของข้าพเจ้า ประกอบด้วย ฝ่ายบริหารทรัพยากร ฝา่ ยแผนงานและความรว่ มมอื ฝา่ ยพัฒนากิจการนกั เรยี นนกั ศึกษา ฝา่ ย วิชาการ ทสี่ ง่ ผลต่อการพฒั นาคณุ ภาพสถานศึกษา ผูเ้ รียน ชุมชนและสถานประกอบการ ขอขอบพระคุณ บิดา มารดา ครอบครัว ผู้บังคบั บัญชาทกุ ทา่ น ผอู้ านวยการฉนั ทนา โพธิครูประเสริฐ คณะครู บคุ ลากรทางการศกึ ษา เจา้ หน้าที่ และนักเรยี นนักศกึ ษา วิทยาลัยบรหิ ารธรุ กจิ และการท่องเที่ยวกรงุ เทพ อาชวี ศกึ ษากรงุ เทพ ท่ีให้การสนับสนุนในสมคั รสอบผู้อานวยการสถานศกึ ษา สงั กัดสานกั งานคณะกรรมการการ อาชีวศึกษาในครงั้ นี้ พีรวชิ ญ์ มสี ัจจานนท์ รองผู้อานวยการชานาญการพิเศษ วทิ ยาลัยบริหารธุรกจิ และการท่องเทีย่ วกรงุ เทพ

สำรบญั หน้ำ องค์ประกอบกำรประเมิน สว่ นที่ 1 กำรประเมนิ ประวัติและประสบกำรณ์ ๑. คุณวฒุ ิการศึกษา ๒. อายุราชการ ๓. การปฏบิ ัตหิ นา้ ท่ีในปัจจุบนั ๔. วทิ ยฐานะในปัจจบุ นั ๕. การรกั ษาวนิ ัย ส่วนท่ี 2 กำรประเมินผลงำน ผลงำนในกำรปฏบิ ตั ิงำนทภี่ ำคภมู ใิ จ 1. อุดมการณ์ ปรัชญา แนวคิดที่เป็นแรงบันดาลใจในการสร้างผลงาน 2. วิธีการดาเนนิ งานจนสาเร็จ 3. นวัตกรรมจากผลการดาเนินงาน 4. ประโยชน์ต่อผู้เรียน สถานศึกษา ชุมชนและสงั คม ส่วนท่ี 3 กำรประเมินศกั ยภำพ 1. การพัฒนาตนเอง 2. การทางานร่วมกบั เครือข่ายภายนอกในการพฒั นาการศึกษา 3. การมสี ่วนร่วมในกจิ กรรมของสถานศกึ ษา อาชวี ศึกษาจังหวัด อาชวี ศึกษาภาคหรอื สถาบนั การอาชวี ศกึ ษา และสานกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา

ส่วนที่ 1 กำรประเมินประวัติและประสบกำรณ์ ที่ ตวั ชว้ี ดั /องค์ประกอบ คะแนน กรอบกำรพจิ ำรณำ อ้ำงอิง 1. คณุ วฒุ ิกำรศกึ ษำ 6 ปรญิ ญาตรี ปรญิ ญาโท 8 ปริญญาโท ครศุ าสตร์ เอกสาร ปริญญาเอก 10 อตุ สาหกรรมมหาบณั ฑติ หนา้ ๓ (ค.อ.ม.) สาขาวิชาเครอ่ื งกล จากสถาบนั เทคโนโลยี พระจอมเกล้าพระนครเหนือ (สจพ.) 2. อำยรุ ำชกำร อายรุ าชการ เอกสาร 2.1 ตา่ กวา่ 10 ปี 6 หน้า ๕ 2.2 ระหวา่ ง 10 – 15 ปี 8 2.3 ตง้ั แต่ 15 ปขี นึ้ ไป 10 รวม 23 ปี 8 เดอื น 3. กำรปฏบิ ตั หิ นำ้ ทีใ่ นปจั จุบนั 6 3.1 ครู 8 3.2 หวั หนา้ แผนกวชิ า หรอื หวั หนา้ งาน หรือหัวหนา้ กลมุ่ งานในหน่วย เอกสาร ศกึ ษานิเทศก์ หน้า ๑๒ 3.3 รองผู้อานวยการสถานศึกษา 10 รองผู้อานวยการสถานศึกษา 4. วทิ ยฐำนะในปัจจุบัน เอกสาร 4.1 ชานาญการ 6 หนา้ ๒๓ 4.2 ชานาญการพิเศษ 8 วทิ ยฐานะชานาญการพเิ ศษ 4.3 เชย่ี วชาญ/เชย่ี วชาญพิเศษ 10 5. กำรรกั ษำวินัย (ย้อนหลงั 5 ปี) 5 เอกสาร 5.1 เคยถูกลงโทษทางวินัย 10 ไมเ่ คยถูกลงโทษทางวนิ ัย หนา้ 5 5.2 ไม่เคยถกู ลงโทษทางวินยั

ส่วนที่ 2 กำรประเมนิ ผลงำน ผลงำนในกำรปฏิบัติงำนทภ่ี ำคภูมใิ จ ขา้ พเจา้ นายพรี วชิ ญ์ มสี ัจจานนท์ ตาแหนง่ รองผู้อานวยการ วทิ ยฐานะ ชานาญการพิเศษ สังกัด วิทยาลยั บรหิ ารธุรกจิ และการทอ่ งเที่ยวกรงุ เทพ อาชวี ศกึ ษากรุงเทพ เรม่ิ บรรจุเข้ารับราชการในตาแหนง่ อาจารย์ 1 ระดับ 3 เมื่อวันท่ี 1 พฤษภาคม พ.ศ.2538 รวมอายุราชการถึงปจั จุบัน 23 ปี 10 เดือน และไดร้ ับ การบรรจุแตง่ ต้งั ให้ดารงตาแหน่ง รองผ้อู านวยการ เมือ่ วนั ท่ี ๑๔ กมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ. ๒๕๕๔ ปฏิบตั หิ น้าท่ีสายงาน บรหิ ารสถานศึกษาจนถึงปจั จุบัน รวมระยะเวลา ๘ ปี ตลอดระยะเวลาในการปฏบิ ตั ิหน้าทรี่ องผอู้ านวยการ ข้าพเจ้าได้ปฏบิ ตั หิ น้าท่ีตามมาตรฐานตาแหนง่ และปฏบิ ัตงิ านตามท่ีได้รับมอบหมายจากผูอ้ านวยการสถานศกึ ษา ชว่ ยบริหารกิจการของสถานศึกษา มีการวางแผนการปฏบิ ัติงาน การควบคุมกากบั ดูแลเก่ียวกบั การบริหารงาน วิชาการ งบประมาณ การบริหารงานบุคคล การบรหิ ารท่ัวไป ความสัมพนั ธ์กับชุมชน และงานอนื่ ท่เี กยี่ วข้องหรือท่ี ได้รบั มอบหมาย ตามระเบยี บสานักงานคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา ว่าด้วยการบริหารสถานศึกษา พ.ศ.๒๕๕๒ ขอ้ ที่ ๔๓ ครบถว้ นทกุ ประการ และ ผา่ นการบรหิ ารงานสถานศึกษาทหี่ ลากหลาย ล้วนเปน็ สถานศกึ ษาเฉพาะทาง มีบริบททส่ี าคัญใช้เปน็ ประสบการณใ์ นการบริหารได้เป็นอย่างดี และปฏิบตั หิ นา้ ท่ีรองผอู้ านวยการสถานศึกษา ครบ ๔ ฝา่ ย โดยมปี ระวตั กิ ารปฏบิ ัติงานดงั นี้ ๑. 14 กมุ ภาพนั ธ์ 2554 ปฏบิ ตั ิหนา้ ที่ ณ วทิ ยาลัยเทคนิคธัญบรุ ี ฝ่ายแผนงานและความรว่ มมือ ฝ่ายวชิ าการ และฝ่ายพัฒนากจิ การนักเรยี นนักศึกษา (3 ฝ่าย) ๒. 13 มีนาคม 2555 ปฏบิ ตั หิ นา้ ท่ี ณ วทิ ยาลัยสารพดั ชา่ งนครปฐม ฝ่ายพฒั นากจิ การนกั เรียนนักศกึ ษา ฝ่ายแผนงานและความร่วมมอื (2 ฝา่ ย) ๓. 28 กุมภาพันธ์ 2556 ปฏบิ ตั หิ นา้ ท่ี ณ วทิ ยาลัยเทคนิคดุสิต ฝ่ายบริหารทรัพยากร ฝา่ ยวิชาการ (2 ฝา่ ย) ๔. 28 ตุลาคม 2559 ถงึ ปจั จุบัน ปฏบิ ตั ิหน้าท่ี ณ วิทยาลยั บรหิ ารธรุ กิจและการท่องเทย่ี วกรงุ เทพ ฝา่ ยวิชาการ ฝา่ ยบรหิ ารทรัพยากร (2 ฝ่าย) จากการปฏิบัติงานในหนา้ ท่ีรองผอู้ านวยการสถานศึกษา 4 สถานศึกษา และ ผา่ นการบริหารงาน สถานศึกษา ครบ ๔ ฝา่ ย ขา้ พเจ้าได้ทุ่มเทแรงกาย แรงใจ ปฏบิ ตั ิงานด้วยความต้งั ใจ มุ่งม่ัน พฒั นา มคี วามวิริยะ อตุ สาหะ เสยี สละและอุทศิ เวลาในการสรา้ งสรรคผ์ ลงานสถานศกึ ษาอย่างเตม็ กาลงั ความสามารถ จนบังเกิดผลดี ตอ่ ผเู้ รียน สถานศึกษา สถานประกอบการและชุมชน ขา้ พเจา้ นาองค์ความรู้และความสามารถที่ได้จากการบริหาร เปรยี บเสมือนฐานข้อมลู จากสถานศกึ ษาผูป้ ฏิบัติ (Big DATA สถานศึกษา) มาชว่ ยในการขบั เคลือ่ นนโยบายของ สานักงานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ รัฐบาล ดาเนินการสรา้ งนวัตกรรมฐานขอ้ มูลกลาง (Big DATA สานกั งานคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา) ไดอ้ ย่างเปน็ รูปธรรม ซง่ึ สามารถเขียนเปน็ ผลงานในการ ปฏิบตั งิ านท่ีภาคภูมิใจประกอบประเมนิ ได้ดังน้ี www.vec.go.th

1. อุดมกำรณ์ ปรชั ญำ แนวคิดท่ีเปน็ แรงบันดำลใจในกำรสรำ้ งผลงำน รฐั บาลมีนโยบายเสริมสรา้ งความเขม้ แข็งและยัง่ ยืนให้กับเศรษฐกิจภายในประเทศ โดยกาหนดแผนพฒั นา เศรษฐกิจและสงั คมแหง่ ชาติ ฉบับท่ี 12 (พ.ศ.2560-2564) และกาหนดนโยบายให้ประเทศไทยเป็น Digital Country ซึง่ เป็นการปฏิรปู ระบบดจิ ิทัลครง้ั ใหญ่ ต้องมี Data Center หรือ ศูนยก์ ลางขอ้ มูลท่ีรวมขอ้ มูลพื้นฐาน ต่าง ๆ ท่ที ุกหน่วยงานในสงั กัดสามารถนาใช้ได้ การจัดทา Big Data หรอื ฐานข้อมลู ขนาดใหญ่ ภารกิจหน้าท่ีความรบั ผดิ ชอบท่สี าคญั คือ การจดั ทาฐานขอ้ มูลกลาง โดยรวบรวมและวิเคราะหข์ ้อมูลดา้ น อุปสงค์ (Demand Side) และ อุปทาน (Supply Side) เพ่ือวางแผนกาลงั คน โดยจดั ทาฐานขอ้ มูลฯ ใหส้ ามารถ จัดทาและบริหารจัดการฐานข้อมลู กาลงั คนอาชีวศึกษาได้อย่างมีประสทิ ธภิ าพ นาระบบ Big Data System มาใช้ จับค่รู ะหว่างผปู้ ระกอบการท่ีขาดแคลนแรงงานกับผู้เรยี นอาชวี ศึกษา ทาให้ทราบข้อมลู ได้รวดเร็วถูกตอ้ งและ จัดหากาลงั คนได้ทนั ทว่ งที รวมทง้ั วิเคราะห์สาขาท่นี ิยม 5 อันดับแรก ไดแ้ ก่ ช่างยนต์ ช่างไฟฟา้ ชา่ งกลโรงงาน คอมพวิ เตอร์ธุรกิจและการบัญชี รวมถงึ สาขาทคี่ วรเปิดเพิ่มเตมิ อีก 5 สาขา ได้แก่ การบนิ และโลจสิ ตกิ ส์ งาน อาหารและโภชนาการ ระบบขนส่งทางราง ช่างซ่อมบารุงและการท่องเท่ียวเชงิ สุขภาพ หนว่ ยงานรัฐ เอกชน และนักวิชาการทกุ ภาคสว่ น จะต้องร่วมกันสรา้ งทรัพยากรมนุษย์ที่มีประสิทธิภาพ เพอ่ื เปน็ กาลงั ในการพฒั นาประเทศ และยกระดบั ขดี ความสามารถในการแข่งขัน เพอ่ื แก้ไขปญั หาความขาดแคลน บคุ ลากรในสถานประกอบการ ลดปญั หาการว่างงานทเ่ี กดิ จากการผลติ บคุ ลากรไม่ตรงกับความต้องการของ ตลาดแรงงาน เปน็ การสรา้ งความม่นั ใจใหก้ ับสถานประกอบการในการผลิตกาลงั คนอาชีวศึกษาท่ีตรงตามความ ต้องการของสถานประกอบการ และสรา้ งความเชอื่ มัน่ ความเข้าใจกับผปู้ กครองในการสนบั สนุนบตุ รหลานให้ เรียนอาชวี ศกึ ษา ซงึ่ เมื่อจบแลว้ สามารถหางานได้ง่าย รวมทงั้ ให้กาลังใจกับนักเรยี น นักศกึ ษาที่เลอื กเรียน อาชีวศึกษา พร้อมเสนอแนวทางในการทางานและการศึกษาต่อ เพอื่ เป็นการเชอ่ื มโยงข้อมลู การผลิตและพฒั นา กาลังคนอาชีวศกึ ษา รวมทงั้ การเช่ือมโยงข้อมลู ความต้องการของสถานประกอบการ ผู้เรยี นยคุ ใหม่ควรคานึงถึงการเลอื กสาขาวชิ าเรียนทสี่ อดคล้องกับความตอ้ งการของตลาด โดยเฉพาะ สาขาท่เี ปน็ อุตสาหกรรมเป้าหมายหลกั ของประเทศ เพือ่ ให้มงี านทาและมรี ายได้ที่ม่ันคง และยงั ชว่ ยสนับสนุนการ พฒั นาประเทศได้อย่างมีประสิทธภิ าพ ทาใหผ้ ลิตคนไดต้ รงกับความต้องการพัฒนาประเทศ เพิ่มปรมิ าณแรงงานท่ี มคี ุณภาพเข้าส่สู ถานประกอบการ และสงิ่ สาคัญคือ เพ่มิ ขดี ความสามารถในการแขง่ ขนั กับนานาประเทศ ทีจ่ ะช่วย ขับเคลอื่ นเศรษฐกิจและพฒั นาประเทศให้มคี วามม่นั คง มัง่ คงั่ ยั่งยืน ตามเป้าหมายการทางานของรฐั บาล กระทรวงศึกษาธกิ าร ได้ดาเนินการปฏิรปู เพื่อแก้ปัญหา ปรบั ปรุง และพัฒนางานภายใต้กรอบการปฏิรูป ใน ๖ ด้าน ประกอบดว้ ย การปฏิรปู ครู การเพิม่ และกระจายโอกาสทางการศึกษา การปฏิรูปการบรหิ ารจัดการ การผลิตและพัฒนากาลงั คนเพอื่ เพม่ิ ศกั ยภาพการแข่งขัน การปฏิรปู การเรียนรู้ และการปรับระบบ ICT เพื่อ การศกึ ษา การปฏิรปู ICT เพ่ือการศกึ ษา โดยการพฒั นาระบบอินเทอรเ์ น็ต และระบบฐานข้อมูล ได้แก่ การดาเนิน โครงการจัดหา High Speed Internet ในโรงเรียน และโครงการ Big Data กระทรวงศึกษาธิการ เพอ่ื การพัฒนา ระบบฐานข้อมลู กลางของทุกหน่วยงานในกระทรวงศกึ ษาธกิ าร ให้สามารถรองรบั การเช่อื มโยงและแลกเปลย่ี น ข้อมูลกบั ฐานข้อมูลกลางของกระทรวงศึกษาธิการ ได้แบบ On-Line Real Time ทาให้สามารถใชป้ ระโยชนใ์ น การบริหารจดั การฐานข้อมูลไดอ้ ยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ สานกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา จงึ ได้มีการส่งเสริมการระดมทรัพยากรและความรว่ มมือ รวมไป ถงึ การจัดการศึกษาใหส้ อดคล้องกับการมงี านทา และประสานการรบั รู้ เปน็ การเช่ือมโยงข้อมูล และใช้ข้อมูลจาก Big Data ซง่ึ จะเป็นการบรู ณาการหน่วยงานท่จี ะชว่ ยใหส้ ามารถนานักศกึ ษาเข้าสู่การฝึกงาน การฝึกประสบการณ์ เป็นการพฒั นาสมรรถนะวชิ าชพี และเข้าสู่การมีงานทาท่ีตรงต่อความต้องการของสถานประกอบการดว้ ย

2. วิธีกำรดำเนินงำนจนสำเร็จ ในการดาเนนิ งานผลงานในการปฏิบตั งิ านท่ีภาคภูมใิ จ “Big DATA อาชีวศึกษา 4.0” ในคร้งั นี้ ข้าพเจา้ ได้ ดาเนนิ การ ดังน้ี ผลลพั ธ์

นวัตกรรมจำกผลกำรดำเนินงำนสู่ผลงำนในกำร INPUT Big DA3T. A สถำนศึกษำ Big DATA สำนกั งำนคณะกรร ปฏบิ ัติหนำ้ ท่รี องผู้อำนวยกำร 4 ฝำ่ ย ปฏิบตั หิ น้ำท่ีคณะกรรมกำรเทคโนโล สำนักงำนคณะกรรมกำรกำ 1.วิทยาลยั เทคนคิ ธญั บรุ ี ฝา่ ยแผนงานและความรว่ มมอื คณะกรรมกำรกำหนดคุณลกั ษณะ (T ศนู ย์เทคโนโลยสี ำรสนเทศและ แผนงานและงบประมาณ/ประกนั คณุ ภาพ/วจิ ยั นวัตกรรมและ สงิ่ ประดษิ ฐ/์ ศูนยข์ อ้ มลู /ความรว่ มมือ/การค้า รับผดิ ชอบและดำเนนิ กำรดังนี้ ฝ่ายวิชาการ 1.โครงการพัฒนาระบบฐานขอ้ มูลการพฒั นาบคุ ลา เทียบโอนฯ/หลักสูตร/วัดผล/งานสอ่ื /ทวิภาคี/แผนกวชิ าชา่ งอตุ สาหกรรม 2.โครงการสื่อ eDLTV (สมเด็จพระเทพรัตนราชสดุ 2.วิทยาลยั สารพดั ชา่ งนครปฐม 3.โครงการพัฒนาสอื่ คลัง ICT มาใช้ปฏริ ูปการเรียน ฝ่ายพฒั นากิจการนกั เรียนนักศึกษา 4.โครงการการใหบ้ รกิ ารการบริหารจดั การสถาบนั ก 5.โครงการการบริหารจดั การและใหบ้ ริการขอ้ มูลบ Fix it center/องค์การวิชาชีพกจิ กรรม/สอนระยะส้ัน 108 อาชพี /ครูที่ เครอื ขา่ ยและอปุ กรณส์ มารท์ โฟนฯ ปรกึ ษา/ปกครอง/โครงการพเิ ศษ/แนะแนวฯ/สวัสดกิ ารฯ 7.โครงการพฒั นาคลงั ส่อื และสอ่ื ดจิ ิตอลฯ ฝ่ายแผนงานและความรว่ มมอื 8.โครงการบรู ณาการการเรียนรู้โดยใชร้ ะบบ e-Lea 9.โครงการขยายพ้ืนที่การจัดเกบ็ ข้อมูลสถานประก แผนงานและงบประมาณ/ประกนั คุณภาพ/วจิ ัยนวตั กรรมและ 10.โครงการพฒั นาการจดั การเรียนร้วู ิชาชีพ โดยใช สิง่ ประดษิ ฐ/์ ศูนย์ขอ้ มลู /ความร่วมมือ/การคา้ หอ้ งเรยี นอจั ฉริยะ(Smart Classroom) 77 จงั หวัด 3.วทิ ยาลยั เทคนิคดุสิต 11.โครงการบรู ณาการการเรียนรู้โดยใช้ระบบ e-L ฝา่ ยบรหิ ารทรัพยากร 12.โครงการการใหบ้ ริการเวบ็ ไซตอ์ าชีวศกึ ษาของภ 13.โครงการการใหบ้ ริการการใหบ้ รกิ ารสถานวี ิทยุเ จัดซ้อื /จัดจ้าง/บคุ ลากร/สารบรรณ/ประชาสัมพนั ธ/์ การเงินบญั ชี/อาคาร 14.โครงการการใหบ้ รกิ ารสานักงานอัตโนมัติ e-of สถานท่/ี งานทะเบียน 15.โครงการการให้บริการนวตั กรรม ICT และ Dig ฝ่ายวชิ าการ 21 และการใหบ้ ริการการเรียกใช้งาน Web Appli 16.โครงการพัฒนาระบบบูรณาการเพอื่ แลกเปลีย่ น ทวภิ าคี ปวส.HBA สมาคมธุรกิจรับสรา้ งบ้าน 17.โครงการพัฒนากาลังคนผ่านกระบวนเรียนรู้ดว้ นักเรยี นทนุ โครงการตามรอยพระยคุ ลบาท 18.โครงการพัฒนาการศกึ ษาทางไกลดา้ นอาชีพบน เปดิ ป.ตรี ทล.บ.เทคโนโลยีการกอ่ สร้าง 19.โครงการปรบั แผนปฏบิ ัตกิ ารดิจทิ ลั ระยะ 3 ปี หลักสตู ร/วัดผล/งานส่อื /ทวภิ าค/ี แผนกวิชากอ่ สร้างครบวงจร 20.โครงการจ้างเหมาบริการสญั ญาณเครือข่ายอนิ เ 4.วิทยาลยั บรหิ ารธรุ กจิ และการทอ่ งเทย่ี วกรุงเทพ ซอฟแวร์ของระบบห้องเรยี นอัจฉะริยะ 77 จงั หวดั ฝ่ายวิชาการ 21.โครงการเครือข่ายการศึกษาแห่งชาติ (NEdNet แข่งขัน/ประกวด ทกั ษะโครงงาน/หลกั สูตร/วดั ผล/งานสอื่ /ทวิภาคี/ แผนกวชิ าพาณิชยกรรม/ศิลปกรรม/อุตสาหกรรมการท่องเท่ียวโรงแรม ฝ่ายบริหารทรัพยากร จัดซอื้ จัดจา้ งงานพสั ด/ุ บคุ ลากร/สารบรรณ/ประชาสมั พันธ/์ การเงนิ / บญั ช/ี อาคารสถานที/่ งานทะเบียน/ศูนยฯ์ โรงแรม ผเู้ รยี น ครู สถำนประกอบกำร ชุมชนแ

รปฏิบัติงำนที่ภำคภมู ใิ จ เรอื่ ง “Big DATA อำชีวศึกษำ 4.0 4.0” PROCESS OUTPUT รมกำรกำรอำชีวศกึ ษำ ฐำนข้อมูลกลำง (ข้อมูลทำงสถติ ิ) ลยสี ำสนเทศและกำรสอื่ สำร ผลติ พัฒนำกำลงั คน ำรอำชวี ศกึ ษำ และ TOR) จดั จำ้ ง และตรวจรับ ศทอ. /สอศ. ะกำลังคนอำชีวศึกษำ ากรอาชวี ศกึ ษา ดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี) นรู้ เพื่อยกระดบั คุณภาพการศกึ ษาฯ การอาชีวศกึ ษาด้วย ICT บุคลากรอาชวี ศกึ ษาเชงิ สถติ ผิ า่ นระบบ arning ฐำนข้อมูลกลำง เพ่ือผลติ และพฒั นำกำลงั คน ศทอ./สอศ. กอบการและฐานข้อมูลสถานศึกษา ชส้ ถานโี ทรทัศนอ์ นิ เตอรเ์ นต็ และ ประกอบด้วย ด เพอ่ื การเรียนรตู้ ลอดชวี ติ อยา่ งยัง่ ยืน Learning ฯ 1. ระบบ DATA CENTER (รำยงำนจำนวนผู้เรียน ฯลฯ) ภาครัฐและเอกชน ระยะที่ 2 2. ระบบ ศธ.02 ออนไลน์ (ทะเบยี น/หลกั สูตร/วัดผล ฯลฯ) เพอ่ื การอาชพี ffice อาชีวศึกษาของภาครฐั /เอกชน 3. ระบบ V-COP (ผู้เรยี น/สถำนประกอบกำร ตำแหนง่ งำน ฯลฯ) gital เพื่อเตรียมคนไทยสศู่ ตวรรษท่ี ication บนอุปกรณ์เคลอ่ื นที่ นขอ้ มูลระหวา่ งองค์กร วยระบบเทคโนโลยดี ิจทิ ัล นพนื้ ทส่ี งู (ศูนยก์ ารเรยี นบ้านนาโต่) เตอรเ์ นต็ พรอ้ มการให้บริการลิขสทิ ธ์ิ ด t) และสังคม

4. ประโยชนต์ ่อผ้เู รียน สถำนศึกษำ ชุมชนและสังคม ประโยชน์ต่อผ้เู รียน 1. เขา้ ถึงสื่อ เน้ือหาความรไู้ ด้ง่าย รวดเรว็ และทุกมติ ิ 2. สามารถเรียนรู้ และพ่ึงพาตนเองได้ตลอดเวลา 3. เรยี นรู้ Digital และใช้ Digital เป็นเคร่อื งมือในการเรยี นรู้ 4. สร้างความเสมอภาค และสรา้ งโอกาสทางการศึกษา 5. สามารถสร้างรายได้ระหวา่ งเรียนและมีโอกาสได้ทางานตรงวิชาชพี ในสถานประกอบการ ประโยชน์ตอ่ สถำนศึกษำ 1. มีนวตั กรรม Digital เป็นเคร่ืองมือในการเรยี นรู้ 2. บูรณาการในทุกกระบวนการเรยี นรู้ 3. ยกระดับคุณภาพการศึกษา 4. ปรับปรุงระบบการศึกษาให้มีประสทิ ธิภาพ 5. ม่นั คง มง่ั คัง่ และย่ังยนื ขับเคลื่อนส่กู ารปฏบิ ตั ิ 6. เป็นเครื่องมือในทุกมิติ ท้งั การเรยี นการสอน การนิเทศ และการบริหาร 7. พฒั นาหลักสตู รใหม้ ีความเชือ่ มโยงและต่อเน่ือง 8. ผลิตและพฒั นากาลงั คนอาชีวศกึ ษาตรงตามความต้องการของสถานประกอบการ ประโยชน์ตอ่ ชมุ ชนและสังคมหรอื สถำนประกอบกำร 1. ลดความเหล่อื มล้าทางการศกึ ษา 2. มีความศรัทธาและเชอ่ื มน่ั ในการจัดการศึกษา 3. มงุ่ ความเปน็ เลิศและสร้างขีดความสามารถในการแข่งขนั ของประเทศ 4. คนไทยเป็นคนดี คนเกง่ มีคุณภาพ พร้อมสาหรบั วิถชี ีวิตในศตวรรษที่ 21 ดงั นน้ั การบริหารงานไม่วา่ จะเป็นสถานศึกษาหรือสานักงานคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา ผบู้ ริหาร จาเปน็ ตอ้ งมีขอ้ มูลพืน้ ฐานและองค์ความรู้ทถ่ี กู ต้องประกอบการตัดสินใจทร่ี วดเรว็ มีความหลากหลายในการ บรหิ ารงาน ยึดหลัก “เข้าใจ เขา้ ถงึ และพฒั นา” ล้วนส่งผลทาให้งานทรี่ ับผดิ ชอบหรือได้รับมอบหมายประสบ ผลสาเรจ็ มปี ระสทิ ธิภาพ ประสทิ ธิผล เกิดประโยชนส์ ูงสุดตอ่ ผเู้ รยี น ครู บคุ ลากรทางการศึกษา สถานศึกษา ชุมชนและสงั คมหรือสถานประกอบการ การนาเทคโนโลยเี ข้ามาใช้ในการบรหิ ารและพัฒนาองค์กร เปน็ ไปตาม นโยบายประเทศไทย 4.0 ของรฐั บาลท่ีจะนาประเทศไปสูป่ ระเทศพฒั นาแล้วในอนาคต จาเปน็ ทผ่ี ู้บรหิ าร ซ่งึ เปน็ ผู้นาองค์กรจะต้องมีทัศนคตทิ ่ีดตี อ่ เทคโนโลยี บริหาร บนความเปลย่ี นแปลงท่เี กิดขึ้นใหม่ ๆ เสมอ สะท้อนถึง วสิ ัยทัศนแ์ ละแนวคดิ ในการพัฒนา ขอ้ มลู พืน้ ฐานทเ่ี ป็น “ฐานขอ้ มลู กลาง” จึงมีความจาเป็นต่อการพัฒนาสถานศึกษาใหเ้ ป็นทตี่ อ้ งการของ สังคม ซึ่งข้อมลู กลางท่เี รยี กว่า “Big DATA System”ซง่ึ บูรณาการระหว่างหนว่ ยงาน สามารถใช้กาหนดทิศทาง แนวทางการบรหิ ารสถานศึกษาเป้าหมายการผลิตและพัฒนากาลงั คน จัดหาเครื่องมืออุปกรณ์และชุดฝกึ ที่ทนั สมยั ในสาขาวิชาทสี่ อน จัดระบบสารสนเทศการส่ือสารและการจดั การความรู้ กาหนดเป็นอตั ลกั ษณ์ เอกลกั ษณ์ของ สถานศกึ ษาได้อย่างชัดเจนและเดน่ ชัด ส่งผลใหน้ กั เรียน นกั ศึกษา ผู้ปกครองหรอื บุคคลภายนอก มองเห็นภาพของ ผูท้ ีจ่ ะสาเร็จการศึกษา จบไปแล้วมงี านทา ตรงตามความต้องการของสถานประกอบการ สร้างสงั คมที่ มนั่ คง ม่ังคั่ง และยั่งยืน

ภำคผนวก

คำสง่ั สอศ.ที่ 859/2560 ลว.15 มิ.ย.2560 โครงกำรกำรให้บรกิ ำรนวัตกรรม ICT และ Digital เพ่อื เตรยี มคนไทยส่ศู ตวรรษท่ี 21 และกำรให้บรกิ ำรกำรเรยี กใชง้ ำน Web Application บนอปุ กรณ์ เคล่อื นท่ี คำสัง่ สอศ.ท่ี 1371/2560 ลว.12 ก.ย.60 เรอ่ื ง แต่งตั้งคณะกรรมกำรจัดจ้ำงโครงกำรพัฒนำ ระบบบูรณำกำรเพ่ือแลกเปลี่ยนขอ้ มูลระหวำ่ งองค์กร (Department Database) ของสำนักงำน คณะกรรมกำรกำรอำชีวศึกษำ ศูนยเ์ ทคโนโลยีสำรสนเทศและกำลงั คนอำชีวศกึ ษำ

คำส่ัง สอศ.ที่ 113/2561 ลว.30 ม.ค.61 เร่ือง แตง่ ต้ังคณะกรรมกำรเทคโนโลยีสำรสนเทศและกำร สอ่ื สำร สำนักงำนคณะกรรมกำรกำรอำชีวศึกษำ คำส่ัง สอศ.ที่ 497/2561 ลว.29 มี.ค.61 เรื่อง โครงกำรปรับแผนปฏิบตั ิกำรดจิ ิทัลระยะ 3 ปี ของ สำนกั งำนคณะกรรมกำรกำรอำชีวศึกษำ

ภำพแสดงกระบวนกำรดำเนนิ งำนและตรวจรับ ระบบนวัตกรรม ICT และ Digital เพอื่ เตรยี มคนไทยสู่ศตวรรษที่ 21 และกำรให้บริกำรกำรเรียกใช้ งำน Web Application บนอปุ กรณเ์ คล่อื นที่ ภำพแสดงกระบวนกำรดำเนินงำนและตรวจรับ ระบบบูรณำกำรเพ่อื แลกเปลี่ยนขอ้ มูลระหว่ำงองค์กร (Department Database) ของสำนักงำน คณะกรรมกำรกำรอำชวี ศึกษำ ศนู ย์เทคโนโลยสี ำรสนเทศและกำลังคนอำชวี ศึกษำ

สว่ นที่ 3 กำรประเมนิ ศักยภำพ






































































Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook