Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ขนมไทย 62

ขนมไทย 62

Published by nattamed2612, 2020-06-27 21:03:48

Description: ขนมไทย 62

Search

Read the Text Version

รายงานผลการจดั กจิ กรรมโครงการศนู ยฝ์ กึ อาชพี ชมุ ชน (กลมุ่ สนใจ) วชิ าการทาขนมไทย (จานวน 8 ช่ัวโมง) ระหว่างวันที่ 1 – 2 เดือนพฤษภาคม พ.ศ.2562 ณ กศน.ตาบลหนองบวั อาเภอเมืองกาญจนบรุ ี จังหวัดกาญจนบุรี กศน.ตาบลหนองบัว ศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอเมืองกาญจนบรุ ี สานักงานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยจังหวดั กาญจนบรุ ี

เอกสารรายงานผลการปฏิบตั งิ าน กจิ กรรมสง่ เสริมศนู ย์ฝกึ อาชพี ๒ ชมุ ชน รายงานการจัดการศึกษาต่อเนือ่ ง กิจกรรมหลกั สตู รพฒั นาอาชีพ (กลมุ่ สนใจ) วชิ าการทาขนมไทย วันที่ 1 – 2 พฤษภาคม 2562 ณ กศน.ตาบลหนองบัว ตาบลหนองบวั อาเภอเมอื ง จังหวดั กาญจนบรุ ี ศูนย์การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อาเภอ เมืองกาญจนบรุ ี ตาบลหนองบวั Muangkanchanaburi District Non-formal and Informal Education Centre

เอกสารรายงานผลการปฏบิ ัติงาน กิจกรรมส่งเสรมิ ศูนยฝ์ กึ อาชีพ ๓ ชุมชน คานา การจดั การศกึ ษาเพ่อื ตอบสนองนโยบายของกระทรวงศึกษาธิการ ต้องมุ่งเน้นการพัฒนาเพ่ือเพิ่ม ศักยภาพและขีดความสามารถของประชาชนกลุ่มเป้าหมาย ให้สามารถประกอบอาชีพ สร้างรายได้ท่ีม่ังคั่งและ ม่นั คง เปน็ บคุ คลท่ีมีวนิ ัย เปี่ยมไปด้วยคุณธรรม จริยธรรม มจี ติ สานกึ รับผดิ ชอบต่อตนเอง ผู้อื่นและสังคม เน้นการ จดั การศกึ ษาที่ยดึ พนื้ ทเ่ี ป็นฐาน โดยสถานศึกษาต้องวิเคราะห์ศักยภาพ 5 ด้าน ของแต่ละพื้นที่ ได้แก่ ศักยภาพ ด้านทรัพยากรธรรมชาติ ศักยภาพด้านภูมิอากาศ ศักยภาพด้านภูมิประเทศ ศักยภาพ ด้านศิลปวัฒนธรรม ประเพณี และศักยภาพด้านทรพั ยากรมนุษย์ และวิเคราะห์ข้อมูลวิถีการดาเนินชีวิต ความต้องการ และประชาชน ในภูมิภาคต่างๆ ที่เป็นผู้ใช้บริการผลผลิตของสถานศึกษา การวิเคราะห์ข้อมูลดังกล่าวจะนามาสู่กา รกาหนด หลักสูตรอาชพี ท่ีสถานศึกษาจะจดั การเรยี นการสอน การจัดการศึกษาของสานักงาน กศน. เพ่ือตอบสนองนโยบายดังกล่าว จึงต้องปรับเปลี่ยน กระบวนการจัดการเรียนรู้ ที่เน้นการปฏิบัติจริง มีการศึกษาดูงานเพ่ือแลกเปลี่ยนเรียนรู้จากผู้มีประสบการณ์ใน อาชีพโดยตรง ผู้สอนเป็นวิทยากรที่มีความรู้ ความสามารถ และเป็นผู้ประกอบการในอาชีพน้ัน ๆ ให้ความสาคัญ ตอ่ การประเมินผลการจบหลักสูตรทีเ่ นน้ ทักษะ ความสามารถ และการมีผลงาน ช้ินงาน ที่ได้มาตรฐานออกสู่ตลาด ได้ การพัฒนาหลักสูตรอาชีพ จึงต้องปรับใหม่โดยการพัฒนาให้ครบวงจร ประกอบด้วย ช่องทางการประกอบ อาชีพ ทักษะของอาชีพ การบริหารจัดการ และโครงการอาชีพพร้อมแหล่งเงินทุน และให้ผู้เรียนท่ีเรียนจบจาก หลักสูตรอาชีพมีความม่ันใจว่าจะสามารถประกอบอาชีพสร้างรายได้ ได้อย่างแท้จริง จึงขอให้สถานศึกษาที่นา หลักสูตรที่ได้พฒั นาแลว้ นน้ั นามาคดั เลือกให้เหมาะสมกับความต้องการของพนื้ ท่ี และนาไปอนุมัติใช้ในการจัดการ เรียนการสอนตอ่ ไป หลักสูตรอาชีพที่พัฒนาข้ึนได้ปรับปรุงจากหลักสูตรอาชีพท่ีสถานศึกษาในแต่ละจังหวัดพัฒนา เป็นฉบับร่างมาแล้ว สานักงาน กศน. นามาพัฒนาเนื้อหาสาระให้ครบวงจรและกาหนดระยะเวลาในการเรียนให้ เหมาะสม โดยได้รับความร่วมมือเป็นอย่างดีจาก สถาบัน กศน.ภาคสานักงาน กศน.จังหวัด สถานศึกษา วิทยากร ภูมิปัญญา และผู้ท่ีเก่ียวข้อง มาร่วมพิจารณาและตรวจสอบความถูกต้องจึงทาให้การดาเนินการจัดทาหลักสูตรใน ครง้ั น้ีเสรจ็ ส้นิ ไปด้วยดี สานักงาน กศน. ขอขอบคุณมา ณ โอกาสน้ี

เอกสารรายงานผลการปฏบิ ตั ิงาน กิจกรรมส่งเสรมิ ศนู ย์ฝกึ อาชพี ๔ ชมุ ชน ตอนที่ ๑ ประวัตคิ วามเป็นมา การจัดการศึกษาอาชีพในปัจจุบันมีความสาคัญมาก เพราะจะเป็นการพัฒนาประชากรของประเทศให้มี ความรู้ ความสามารถและทักษะในการประกอบอาชีพของบุคคล และกลุ่มบุคคล เป็นการแก้ปัญหาการว่างงาน และส่งเสริมความเข้มแข็งให้แก่เศรษฐกิจชุมชน กระทรวงศึกษาธิการ จึงได้กาหนดยุทธศาสตร์ ท่ีจะพัฒนา 5 ศักยภาพของพื้นที่ใน 5 กลุ่มอาชีพใหม่ ให้สามารถแข่งขันได้ใน 5 ภูมิภาคหลักของโลก “รู้เขา รู้เรา เท่าทัน เพื่อแขง่ ขนั ได้ในเวทีโลก” และได้กาหนดภารกิจว่า จะพัฒนายกระดับและจัดการศึกษาเพ่ือเพ่ิมศักยภาพ และขีด ความสามารถให้ประชาชนได้มีอาชีพที่สามารถสร้างรายได้ท่ีมั่งคั่ง และม่ันคง เพื่อเป็นบุคลากรที่มีวินัยเปี่ยมไป ด้วยคุณธรรม จริยธรรม มีจิตสานึกความรับผิดชอบต่อตนเอง ผู้อ่ืนและสังคม โดยคานึงถึงศักยภาพและบริบท รอบ ๆ ตัวผู้เรียน พัฒนาและยกระดับองค์ความรู้และกระบวนการเรียนการสอนให้ทัดเทียมอารยประเทศ ด้วย การบริหารจัดการเทคโนโลยีสมัยใหม่ มุ่งเป้าหมายของการเพ่ิมขีดความสามารถในการแข่งขันและยกระดับ ศักยภาพในการทางานให้บุคลากรไทยให้แข่งขันได้ในระดับสากลภายใต้ศักยภาพ 5 ด้าน ได้แก่ ศักยภาพของ ทรัพยากรธรรมชาติในแต่ละพ้ืนที่ ศักยภาพของพ้ืนท่ีตามลักษณะภูมิอากาศ ศักยภาพของภูมิประเทศและทาเล ที่ตั้งของแต่ละพ้ืนท่ี ศักยภาพของศิลปวัฒนธรรม ประเพณี และวิถีชีวิตของแต่ละพ้ืนที่ และศักยภาพของ ทรัพยากรมนษุ ย์ในแตล่ ะพนื้ ที่ นอกจากนัน้ ยังไดก้ าหนดหลักสูตรออกเป็น 5 กลุ่มอาชีพ ได้แก่ 1. กล่มุ หลกั สตู รใหมด่ า้ นเกษตรกรรม 2. กลุ่มหลกั สตู รใหม่ดา้ นอตุ สาหกรรม 3. กลุม่ หลักสูตรใหม่ดา้ นพาณชิ ยกรรม 4. กลุ่มหลักสูตรใหมด่ า้ นความคิดสร้างสรรค์ 5. กลมุ่ หลักสูตรใหมด่ า้ นอานวยการและอาชีพเฉพาะทาง สานักงาน กศน. จึงได้นานโยบายและยุทธศาสตร์ดังกล่าวสู่การปฏิบัติ เพื่อจัดการศึกษาพัฒนาอาชีพให้ กลุ่มเป้าหมายและประชาชนมีรายได้และมีงานทาอย่างย่ังยืน มีความสามารถเชิงการแข่งขันท้ังในระดับภูมิภาค อาเซียนและระดับสากลโดยจัดศูนย์ฝึกอาชีพชุมชนท่ัวประเทศ ซึ่งการดาเนินการดังกล่าวจะทาการจัดการศึกษา ของประเทศ และของสานักงาน กศน. เป็นการจัดการศึกษาตลอดชีวิตในรูปแบบใหม่ท่ีสร้างความมั่นคงให้แก่ ประชาชนและประเทศชาติ และจะทาใหก้ ารจัดการศกึ ษาของประเทศเปน็ การจัดการศึกษาตลอดชวี ติ อยา่ งแท้จริง

เอกสารรายงานผลการปฏิบัตงิ าน กิจกรรมสง่ เสริมศนู ยฝ์ ึกอาชพี ๕ ชุมชน นโยบายและจดุ เน้นการดาเนินงาน สานกั งาน กศน. ประจาปงี บประมาณ ๒๕๖๑ นโยบายเร่งดว่ น ศนู ย์ฝกึ อาชีพชมุ ชน สู่ “วสิ าหกิจชมุ ชน : ชุมชนพ่งึ ตนเอง ทาได้ ขายเป็น” ๑ สง่ เสริมการจัดการศกึ ษาอาชพี ท่สี อดคล้องกับศกั ยภาพของชุมชน และความต้องการของตลาด รวมทั้ง สรา้ งเครือข่ายการรวมกลุ่มในลักษณะวสิ าหกิจชุมชน สรา้ งรายไดใ้ ห้กบั ชมุ ชน ใหช้ ุมชนพ่ึงพาตนเองได้ ๒ ส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีในการสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับสินค้า การทาช่องทางเผยแพร่และจาหน่าย ผลติ ภัณฑ์ของวสิ าหกิจชุมชนใหเ้ ปน็ ระบบครบวงจร กศน.อาเภอเมืองกาญจนบุรี ประสงค์ให้กิจกรรมโครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน ซึ่งการจัดการศึกษา อาชีพในปัจจุบันมีความสาคัญมากเพราะเป็นการพัฒนาประชากรของประเทศให้มีความรู้ ความสามารถและ ทักษะในการประกอบอาชีพของบุคคล และกลุ่มบุคคลเป็นการแก้ปัญหาการว่างงานและส่งเสริมความเข้มแข็ง ให้แก่เศรษฐกิจชุมชน กระทรวงศึกษาธิการได้กาหนดยุทธศาสตร์ ภายใต้กรอบเวลา ๒ ปี ที่จะพัฒนา ๕ ศกั ยภาพของพื้นท่ีใน ๕ กลุ่มอาชีพใหม่ให้สามารถแข่งขันได้ใน ๕ ภูมิภาคหลักของโลก “รู้เขา รู้เรา” เท่าทัน เพ่ือแข่งขันได้ และสังคมโดยคานึงถึงศักยภาพและบริบทรอบๆตัวผู้เรียน พัฒนาและยกระดับองค์ความรู้และ กระบวนการเรยี นการสอนได้ นน้ั กศน.อาเภอเมอื งกาญจนบรุ ี จงึ ได้จดั โครงการศูนย์ฝกึ อาชพี ชมุ ชน (กลมุ่ สนใจ) วิชาการทาขนมไทย เพ่ือจัดให้กับกลุ่มเป้าหมายและประชาชน มีรายได้และมีงานทาอย่างยั่งยืน มีความสามารถในเชิงการและ นาไปใช้ในชีวติ ประจาวันได้ โครงการศูนย์ฝึกอาชีพชมุ ชน (กลุ่มสนใจ) วิชาการทาขนมไทย น้ีใช้ระยะเวลาในการอบรมท้ังสิ้น 2 วนั โดยจัดขึ้นในระหวา่ งวันที่ 1 - 2 พฤษภาคม 25๖2 ณ กศน.ตาบลหนองบัว ตาบลหนองบัว อาเภอเมือง กาญจนบุรี จังหวดั กาญจนบุรี ขอขอบคุณ ผู้นาชุมชน ประชาชน ที่ช่วยเหลือสนับสนุน และที่ให้ความอนุเคราะห์ สถานท่ีและ วสั ดอุ ุปกรณ์ตา่ งๆในการจดั อาชพี คร้ังนด้ี ว้ ย

เอกสารรายงานผลการปฏิบตั งิ าน กจิ กรรมส่งเสริมศนู ยฝ์ ึกอาชีพ ๖ ชุมชน ตอนที่ ๒ เอกสารอา้ งองิ /แผนที่แสดงสถานท่ีจัดกิจกรรม การจัดการศึกษาอาชีพในปัจจุบันมีความสาคัญมาก เพราะจะเป็นการพัฒนาประชากรของ ประเทศให้ มีความรู้ ความสามารถและทักษะในการประกอบอาชีพ เป็นการแก้ปัญหาการว่างงานและส่งเสริม ความเข้มแข็งให้แก่เศรษฐกิจชุมชน ซึ่งกระทรวงศึกษาธิการได้กาหนดยุทธศาสตร์ 2555 ภายใต้กรอบเวลา 2 ปี ที่ จะพฒั นา 5 ศกั ยภาพของพ้ืนที่ใน 5 กลุ่มอาชีพใหม่ ให้สามารถแข่งขันได้ใน 5 ภูมิภาคหลักของโลก “รู้เขา รู้เรา เท่าทัน เพ่ือแข่งขันได้ในเวทีโลก” ตลอดจนกาหนดภารกิจ ที่จะยกระดับการจัดการศึกษาเพื่อเพิ่มศักยภาพ และขีดความ สามารถให้ประชาชนได้มีอาชีพที่สามารถสร้างรายได้ ทีม่ ัน่ คง โดยเนน้ การบูรณาการให้สอดคล้อง กบั ศักยภาพด้านต่างๆ มงุ่ พฒั นาคนไทยให้ได้รับการศึกษาเพื่อพัฒนาอาชพี และการมีงานทาอย่างมี คุณภาพ ทั่วถึง และเท่าเทียมกัน ประชาชนมีรายได้มั่นคง มั่งค่ัง และมีงานทาอย่างย่ังยืน มีความสามารถเชิงการแข่งขันทั้งใน ระดับภมู ิภาคอาเซยี นและระดบั สากล ซึ่งจะเปน็ การจดั การศกึ ษาตลอดชวี ติ ในรปู แบบใหมท่ ี่สร้างความมั่นคงให้แก่ ประชาชนและประเทศชาติ. สภาพสังคมปัจจุบันมนุษย์เราได้รับผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงในด้านต่างๆ เช่น ด้าน เศรษฐกิจ การเมอื ง สงั คมและสิ่งแวดล้อมเปน็ อย่างมาก ประชากรมนษุ ย์เพมิ่ ข้ึนเรอื่ ยๆ แต่ทรัพยากร ธรรมชาติถูก ใชไ้ ปอยา่ งรวดเร็ว และไม่เพียงพอกับจานวนประชากรที่เพ่ิมขึ้นทุกมุมโลก มนุษย์จึงประสบปัญหาต่างๆ ตามมา มากมาย โดยเฉพาะด้านการดารงชีพและชีวิตความเป็นอยู่ของประชาชน นอกจากจะมีการประกอบอาชีพเพ่ือ เป็นการเล้ียงตัวเองและครอบครัวแล้ว ยังมีส่ิงท่ีถือว่าเป็นภาระหนักคืออาหารเพื่อบริโภคประจาวัน จึงจา เป็น อย่างยิง่ ท่ีมนษุ ย์เราจะต้องสร้างขนึ้ หรือหามาทดแทนโดยวธิ กี ารต่างๆ เพอื่ การอยรู่ อด ขนมไทย คือ อาหารหวานของอาหารไทย ซ่ึงลักษณะ ขนมไทย จะมีความหวานจากน้าตาล ความมันจากกะทิ เป็นหลัก โดยมีส่วนผสมของวัตถุดิบจากธรรมชาติ เช่น แป้ง ไข่ไก่ ไข่เป็ด เน้ือผลไม้ต่างๆ เช่น ลูกตาล ลูกชิด มะพร้าว กล้วย โดยเทคนิคการทาขนมไทย ส่วนมากจะเป็นการนึ่ง การต้ม เป็นหลัก ขนมไทยใน สมัยโบราณ นิยมทาขนมไทย เฉพาะวาระท่ีสาคัญเท่านั้น เช่นงานประเพณีต่างๆ ไม่ว่าจะเป็น การทาบุญ งาน แต่งงาน เทศกาลสาคัญ เน่ืองจากขนมหวานไทยเป็นขนมท่ีใช้เวลาทานาน เน่ืองจากต้องใช้ความพิถีพิถัน มาก ความสวยงามเป็นจุดเด่นของขนมหวานไทย ขนมไทยแบบดั้งเดิม จะมีส่วนผสมของ แป้งจากข้าวจ้าว หรือ ข้าว เหนียว น้าตาล กะทิ เท่านั้น ต่อมาการถ่ายทอดวัฒนธรรมด้านอาหารจากประเทศต่างๆเข้ามาในประเทศไทย ขนมก็มีความหลากหลายมากข้ึน เช่น ทองหยิบ ทองหยอด เม็ดขนุน ก็เป็นขนมท่ีได้รับอิทธิพลจากโปรตุเกส ใน สมัยรัชกาลท่ี 1 พบหลกั ฐานว่ามกี ารทาตาราอาหาร และตาราขนมหวานไทยครงั้ แรก ซึ่งตาราอาหารไทยเล่มแรก คอื แมค่ รัวหัวปา่ วัฒนธรรมทางดา้ นอาหาร มกี ารพัฒนาการอยา่ งตอ่ เน่ือง ด้วยการถ่ายทอดวฒั นธรรมด้านอาหาร ต่างชาติมาดัดแปลงให้เหมาะสมกับสภาพท้องถิ่น นอกจากวัตถุดิบต่างๆ ยังมีเคร่ืองมือในการทาขนมที่มีความ ทนั สมัย ขนมหวานไทย จึงมกี ารเปล่ยี นแปลง จนคนรุ่นหลังไม่ทราบขนมหวานๆ ของไทยแท้เป็นอย่างไร รายการ ขนมไทย จาพวกอบ เข้ามาประเทศไทยสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช ทองหยิบ ทองหยอด และฝอยทอง ก็ เปน็ ขนมท่ีไดร้ บั อิทธพิ ลจากโปรตเุ กส มีการบอกเล่าสู่รุ่นหลานสะท้อนใหเ้ หน็ ลักษณะของบายศรีที่มีความหลากหลาย ใช้ศิลปะในการตกแต่ง การเลือกบรรจุภัณฑ์ รวมท้ังการวางแผนจาหน่ายเพ่ือการค้า การเลือกทาเลท่ีเหมาะสม ท้ัง ในการประกอบอาชีพเพื่อการดารงชีวิตระดบั ครอบครัว ชมุ ชน

เอกสารรายงานผลการปฏิบัตงิ าน กจิ กรรมส่งเสริมศนู ยฝ์ ึกอาชีพ ๗ ชุมชน สถานท่จี ัดโครงการศนู ย์ฝกึ อาชพี ชุมชน (กลุ่มสนใจ) วชิ าการทาขนมไทย ณ กศน.ตาบลหนองบวั ตาบลหนองบัว อาเภอเมืองกาญจนบุรี จังหวดั กาญจนบรุ ี สถานทีจ่ ัดโครงการศนู ย์ฝึกอาชพี ชมุ ชน (กลุม่ สนใจ) วชิ าการทาขนมไทย ณ กศน.ตาบลหนองบัว ตาบลหนองบวั อาเภอเมืองกาญจนบรุ ี จงั หวัด กาญจนบรุ ี

เอกสารรายงานผลการปฏิบตั งิ าน กิจกรรมสง่ เสริมศูนยฝ์ ึกอาชีพ ๘ ชมุ ชน ตอนที่ ๓ ภาพถา่ ยกจิ กรรม/วธิ ีดาเนินการจัดกิจกรรม 1.วธิ กี ารดาเนินงาน 1. จัดทาแผนปฏบิ ตั ิงาน 2. ศกึ ษาวธิ กี ารและขั้นตอนจากครูท่ีปรึกษา ภมู ปิ ญั ญาท้องถนิ่ จากแหลง่ เรียนรู้ 3. เตรียมวัสดุอุปกรณ์ท่ีใชใ้ นการทา 4. ดาเนนิ การเรยี นการสอนตามขัน้ ตอน 5. จดบันทกึ ข้อมลู จากการเริ่มเรยี นจนจบหลักสตู ร 6. รวบรวมข้อมลู จากการจดบันทกึ ไปนาเสนอใหค้ รทู ี่ปรึกษาตรวจสอบ 7. พิมพร์ ายงานสรุปผลการเรยี นการสอน/ผลการดาเนนิ งาน 2. แผนการปฏบิ ตั ิงาน วนั /เดือน/ปี แหล่งการเรียนรู้/วิธีการศกึ ษา ผลการปฏบิ ตั ิงาน ดาเนนิ การปฏบิ ัติตามแผน 27 เมษายน 62 วางแผนการปฏบิ ตั งิ าน - ศกึ ษาวธิ กี ารและขั้นตอน จากครูท่ี 28 เมษายน 62 ศกึ ษาวธิ ีการและขน้ั ตอนการจัดการ ปรกึ ษาและแหล่งเรยี นรู้ สอน เพ่อื การค้าจาก วทิ ยากร/แหล่งเรยี นรู้ - จัดหาอุปกรณใ์ นการจดั กจิ กรรม - เปดิ การเรยี นการสอน 30 เมษายน 62 เตรียมวสั ดอุ ุปกรณ์ - จดบันทกึ ข้อมลู ต้งั แต่การเรียนการสอน การฝกึ ปฏิบตั ิ แลว้ สรปุ ข้อมลู 1 พฤษภาคม 62 เปิดโครงการ - จดั พมิ พร์ ายงานสรุปผลการดาเนินงาน 1 พฤษภาคม 62 จดบนั ทกึ และรวบรวมขอ้ มลู นิเทศ ถึง 2 พฤษภาคม 62 การเรยี นการสอน 7 พฤษภาคม 62 พิมพร์ ายงานสรุปผลการทดลอง/ผล การดาเนนิ งาน

เอกสารรายงานผลการปฏบิ ัตงิ าน กจิ กรรมส่งเสรมิ ศูนยฝ์ กึ อาชพี ๙ ชมุ ชน ภาพกิจกรรมสง่ เสรมิ ศนู ยฝ์ ึกวิชาชีพชุมชน (กลมุ่ สนใจ) วชิ าการทาขนมไทย ณ กศน.ตาบลหนองบัว ตาบลหนองบัว อาเภอเมอื งกาญจนบุรี จังหวดั กาญจนบรุ ี วันที่ 1 – 2 พฤษภาคม ๒๕๖2 (วนั พธุ – วนั พฤหัสบดี) ระหว่างเวลา ๐๙.๐๐ – ๑2.๐๐ น.

เอกสารรายงานผลการปฏบิ ตั งิ าน กิจกรรมส่งเสรมิ ศูนย์ฝึกอาชีพ ๑๐ ชมุ ชน ภาพกิจกรรมส่งเสริมศนู ยฝ์ กึ วชิ าชพี ชุมชน (กลมุ่ สนใจ) วิชาการทาขนมไทย ณ กศน.ตาบลหนองบัว ตาบลหนองบัว อาเภอเมอื งกาญจนบุรี จังหวดั กาญจนบรุ ี วันท่ี 1 – 2 พฤษภาคม ๒๕๖2 (วนั พธุ – วนั พฤหัสบดี) ระหวา่ งเวลา ๐๙.๐๐ – ๑2.๐๐ น.

เอกสารรายงานผลการปฏบิ ัติงาน กิจกรรมสง่ เสริมศูนยฝ์ ึกอาชพี ๑๑ ชุมชน ตอนที่ ๔ รายชอ่ื ผ้เู ขา้ ร่วมกิจกรรม/การประเมนิ ผลการจัดกิจกรรม ส่งเสรมิ ศูนยฝ์ กึ อาชีพชมุ ชน (กลมุ่ สนใจ) “วิชาการทาขนมไทย” แบบประเมินและรายงานผลการจบหลักสตู รวชิ าชพี (กลุ่มสนใจ)วิชาการทาขนมไทย จานวน 8 ชวั่ โมง วนั ท่ี 1 - 2 พฤษภาคม 2562 ณ กศน.ตาบลหนองบัว ตาบลหนองบัว อาเภอเมืองกาญจนบรุ ี จังหวดั กาญจนบรุ ี

เอกสารรายงานผลการปฏิบตั ิงาน กจิ กรรมสง่ เสรมิ ศนู ยฝ์ กึ อาชพี ๑๒ ชุมชน ทะเบียนผู้เรียนผ้จู บหลกั สูตรการจดั การศึกษาต่อเนอ่ื ง วชิ าการทาขนมไทย จานวน 8 ชวั่ โมง ระหวา่ งวันที่ 1 พฤษภาคม 25๖2 ถึง วันท่ี 2 พฤษภาคม 25๖2 สถานทจี่ ัด ณ กศน.ตาบลหนองบัว ตาบลหนองบวั อาเภอเมืองกาญจนบรุ ี จังหวดั กาญจนบุรี

เอกสารรายงานผลการปฏบิ ตั ิงาน กจิ กรรมสง่ เสริมศูนยฝ์ ึกอาชีพ ๑๓ ชมุ ชน ตอนที่ ๕ สรปุ ผลการจัดกจิ กรรม อายรุ ะหว่าง 15-25 ปี 0 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 0.00 0.00 อายรุ ะหว่าง 26-35 ปี 0 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 0.00 70.00 อายุระหว่าง 36-45 ปี 0 คน คิดเปน็ ร้อยละ 30.00 จานวน 10 คน อายุระหวา่ ง 46-59 ปี 7 คน คดิ เปน็ ร้อยละ อายรุ ะหว่าง 60 ปีขึ้นไป 3 คน คดิ เป็นร้อยละ มีผู้ผ่านกิจกรรมส่งเสรมิ ศนู ย์ฝกึ อาชีพชุมชน วชิ าการทาขนมไทย สรุปแบบสอบถามความพึงพอใจ 1. เนอื้ หาวิชาทีจ่ ดั ทีเ่ รยี นรู้ตรงตามความต้องการของทา่ นเพยี งใด คิดเป็นรอ้ ยละ 80.00 2. วิทยากรมาให้ความรูต้ รงตามเวลา คดิ เป็นร้อยละ 80.00 3. วิทยากรมาให้ความรคู้ รบตามหลักสตู รท่ีกาหนด คดิ เปน็ รอ้ ยละ 80.00 4. ความสามารถในการถ่ายทอดความรู้ของวทิ ยากร คิดเปน็ รอ้ ยละ 80.00 5. จานวนสอื่ /อปุ กรณก์ ารฝึกประกอบการเรียนเพียงพอเพียงใด คิดเป็นร้อยละ 80.00 6. ท่านไดร้ บั ความรูค้ วามสามารถฝกึ ทักษะได้ตามท่ีคาดหวงั มากนอ้ ยเพยี งใด คดิ เปน็ รอ้ ยละ 80.00 7. ความรทู้ ักษะที่ได้ สามารถนาไปใช้ประกอบอาชีพไดเ้ พียงใด คดิ เป็นร้อยละ 80.00 8. สถานเรียนเหมาะสมเพียงได คดิ เปน็ ร้อยละ 80.00 9. ทา่ นไดร้ บั โอกาสในการเรียนรู้เท่าเทียมกันเพยี งไร คิดเป็นรอ้ ยละ 80.00 10. ระยะเวลาในการเรียน/กิจกรรมเหมาะสมเพียงใด คดิ เป็นรอ้ ยละ 80.00 11. ความร้ทู ี่ไดร้ ับคุ้มค่าเวลา และความตัง้ ใจเพยี งใด คดิ เป็นร้อยละ 80.00 12. ทา่ นพึงพอใจตอ่ หลกั สตู รนี้เพียงใด คิดเปน็ ร้อยละ 80.00 ผูผ้ า่ นกิจกรรมส่งเสริมศูนยฝ์ ึกอาชีพชุมชน วชิ าการทาขนมไทย คดิ เปน็ รอ้ ยละ 80.00 อยู่ในระดับดี

เอกสารรายงานผลการปฏบิ ัติงาน กิจกรรมส่งเสริมศูนยฝ์ ึกอาชพี ๑๔ ชุมชน สรปุ แบบสอบถามความพึงพอใจ วันที่ 1 – 2 พฤษภาคม ๒๕๖2 ณ กศน.ตาบลหนองบัว ตาบลหนองบัว อาเภอเมืองกาญจนบุรี จงั หวัดกาญจนบุรี ตอนที่ 1 ขอ้ มูลท่ัวไป เพศ ชาย 3 คน หญิง 7 คน อายุ อายุ15 - 25 ปี คน อายุ26 - 35 ปี คน อายุ36 - 45 ปี คน อายุ46 - 59 ปี 7 คน อายุ 60 ปี ขนึ้ ไป 3 คน ระดับการศกึ ษา ประถมศกึ ษา 1 คน ตาแหนง่ ทางสังคม ม.ตน้ 2 คน ม.ปลาย 3 คน ปวช ปวส. คน ปริญญาตรี คน อื่นๆ ระบุ....................... 4 คน คน ประชาชนท่ัวไป 10 คน อสม. คน กรรมการหมู่บ้าน คน ผูน้ าทอ้ งถ่นิ คน

เอกสารรายงานผลการปฏิบตั ิงาน กิจกรรมสง่ เสริมศูนยฝ์ ึกอาชพี ๑๕ ชมุ ชน สรุปแบบสอบถามความพึงพอใจ วนั ที่ 1 – 2 พฤษภาคม ๒๕๖2 ณ กศน.ตาบลหนองบัว ตาบลหนองบวั อาเภอเมืองกาญจนบรุ ี จงั หวดั กาญจนบุรี ตอนที่ 2 ดา้ นความพึงพอใจของผ้รู ับบรกิ าร สรุประดับความพึงพอใจ ลาดบั รายการ ค่าเฉล่ยี ความหมาย คดิ เป็นร้อยละ 1 เนือ้ หาวิชาท่ีจัดที่เรียนรู้ตรงตามความตอ้ งการของท่านเพยี งใด 4.00 ดี 80.00 2 วิทยากรมาให้ความรตู้ รงตามเวลา 3 วิทยากรมาให้ความรู้ครบตามหลักสูตรท่กี าหนด 4.00 ดี 80.00 4 ความสามารถในการถา่ ยทอดความรู้ของวิทยากร 5 จานวนส่ือ/อปุ กรณก์ ารฝกึ ประกอบการเรยี นเพียงพอเพยี งใด 4.00 ดี 80.00 6 ท่านได้รบั ความรู้ความสามารถฝึกทักษะไดต้ ามท่คี าดหวังมากนอ้ ยเพียงใด 7 ความรทู้ ักษะท่ีได้ สามารถนาไปใช้ประกอบอาชีพไดเ้ พียงใด 4.00 ดี 80.00 8 สถานเรยี นเหมาะสมเพยี งใด 9 ทา่ นไดร้ ับโอกาสในการเรยี นรู้เท่าเทียมกนั เพียงไร 4.00 ดี 80.00 10 ระยะเวลาในการเรยี น/กิจกรรมเหมาะสมเพยี งใด 11 ความรทู้ ไี่ ด้รบั คมุ้ คา่ เวลา และความต้ังใจเพยี งใด 4.00 ดี 80.00 12 ท่านพงึ พอใจต่อหลกั สตู รนเ้ี พียงใด 4.00 ดี 80.00 4.00 ดี 80.00 4.00 ดี 80.00 4.00 ดี 80.00 4.00 ดี 80.00 4.00 ดี 80.00 จากผลแบบสอบถามความคิดเห็นและความพงึ พอใจของผูเ้ รียน/ผรู้ บั บริการดา้ นกระบวนการจดั กิจกรรม และความพงึ พอใจในครงั้ น้พี บวา่ - ด้านหลักสูตร ๑. เน้ือหาวิชาที่จัดท่ีเรียนรู้ตรงตามความต้องการ มีผลการประเมินอยู่ในระดับดีคิดเป็น ร้อยละ 80 ของผ้เู ขา้ รว่ มโครงการ * โดยภาพรวมด้านหลกั สตู รผรู้ บั บริการมผี ลการประเมนิ ในระดับดี คิดเป็นร้อยละ 80.00 - ด้านวทิ ยากรหรอื ผสู้ อน 2. วิทยากรมาให้ความรู้ตรงตามเวลา มีผลการประเมินอยู่ในระดับดีคิดเป็นร้อยละ 80 ของผู้เข้าร่วม โครงการ

เอกสารรายงานผลการปฏิบตั ิงาน กิจกรรมสง่ เสรมิ ศูนย์ฝึกอาชพี ๑๖ ชุมชน 3. วิทยากรมาให้ความรู้ครบตามหลักสูตรที่กาหนด มีผลการประเมินอยู่ในระดับดีคิดเป็นร้อยละ 80 ของผู้เข้ารว่ มโครงการ * โดยภาพรวมด้านวิทยากรหรอื ผูส้ อน ผูร้ ับบรกิ ารมผี ลการประเมนิ ในระดับดี คิดเป็นร้อยละ 80.00 - ด้านการจดั กิจกรรมหรอื การเรียนรู้ 4. ความสามารถในการถ่ายทอดความรู้ของวิทยากร มีผลการประเมินอยู่ในระดับดีคิดเป็นร้อยละ 80 ของผเู้ ขา้ ร่วมโครงการ * โดยภาพรวมดา้ นการจัดกิจกรรมหรือการเรียนรู้ผู้รับบริการ มีผลการประเมินในระดับดี คิดเป็นร้อยละ 80.00 - สื่อและวัสดอุ ุปกรณ์ ๕. จานวนสื่อ/อุปกรณ์การฝึกประกอบการเรียนเพียงพอเพียงใด มีผลการประเมินอยู่ในระดับดีคิดเป็น รอ้ ยละ 80 ของผูเ้ ข้ารว่ มโครงการ * โดยภาพรวมดา้ นสอ่ื และอุปกรณ์ผรู้ บั บรกิ ารมีผลการประเมนิ ในระดับดี คิดเปน็ รอ้ ยละ 80.00 - ผลท่ไี ดร้ บั จากการเรียนรู้หรือเข้าร่วมกิจกรรม 6. ท่านได้รับความรู้ความสามารถฝึกทักษะได้ตามท่ีคาดหวังมากน้อยเพียงใด มีผลการประเมินอยู่ใน ระดบั ดคี ดิ เปน็ รอ้ ยละ 80 ของผ้เู ข้ารว่ มโครงการ 7. ความรู้ทักษะท่ีได้ สามารถนาไปใช้ประกอบอาชีพได้เพียงใด มีผลการประเมินอยู่ในระดับดีคิดเป็น รอ้ ยละ 80 ของผเู้ ข้าร่วมโครงการ * โดยภาพรวมด้านผลท่ีได้รับจากการเรียนรู้หรือเข้าร่วมกิจกรรม ผู้รับบริการมีผลการประเมินในระดับดี คิดเป็นร้อยละ 80.00 - สถานทใ่ี หบ้ รกิ าร 8. สถานเรียนเหมาะสมเพยี งใด มผี ลการประเมนิ อย่ใู นระดบั ดคี ดิ เปน็ ร้อยละ 80 ของผ้เู ข้ารว่ มโครงการ * โดยภาพรวมด้านผลท่ีได้รับจากการเรียนรู้หรือเข้าร่วมกิจกรรม ผู้รับบริการมีผลการประเมินในระดับดี ข้นึ ไปคดิ เปน็ ร้อยละ 80.00 - ความพงึ พอใจต่อการให้บริการ 9. ท่านได้รับโอกาสในการเรียนรู้เท่าเทียมกันเพียงไร มีผลการประเมินอยู่ในระดับดีคิดเป็นร้อยละ 80 ของผู้เข้าร่วมโครงการ 10. ระยะเวลาในการเรียน/กิจกรรมเหมาะสมเพียงใด มีผลการประเมินอยู่ในระดับดีคิดเป็นร้อยละ 80 ของผเู้ ขา้ ร่วมโครงการ

เอกสารรายงานผลการปฏบิ ัติงาน กิจกรรมสง่ เสริมศูนย์ฝกึ อาชีพ ๑๗ ชุมชน 11. ความรู้ที่ได้รับคุ้มค่าเวลา และความตั้งใจเพียงใด มีผลการประเมินอยู่ในระดับดีคิดเป็นร้อยละ 80 ของผเู้ ขา้ ร่วมโครงการ 12. ท่านพึงพอใจต่อหลักสตู รนี้เพียงใด มผี ลการประเมินอยู่ในระดับดีคิดเป็นร้อยละ 80 ของผู้เข้าร่วม โครงการ * โดยภาพรวมด้านผลที่ได้รับจากการเรียนรู้หรือเข้าร่วมกิจกรรม ผู้รับบริการมีผลการประเมินในระดับดี คดิ เปน็ รอ้ ยละ 80.00 ۞โดยภาพรวมแล้วจากแบบสอบถามความคิดเห็นและความพึงพอใจของผู้เรียน/ผู้รับบริการ การจัดกิจกรรมงานการศึกษาเพ่ือพัฒนาอาชีพ วิชาการทาขนมไทย มีผลการประเมินอยู่ในระดับดี คิดเป็น ร้อยละ 80.00

เอกสารรายงานผลการปฏบิ ัตงิ าน กิจกรรมส่งเสริมศูนยฝ์ ึกอาชพี ๑๘ ชุมชน คณะผู้จัดทา ทป่ี รึกษา นายศกั ดิ์ชัย นาคเอ่ียม ผอ.กศน.อาเภอเมืองกาญจนบรุ ี นางสุนีย์ ทนั ไกร ครูอาสาสมัครฯ กศน.อ.เมืองฯ นางภัทรานิษฐ์ หนขู าว ครูอาสาสมคั รฯ กศน.อ.เมอื งฯ คณะผ้จู ัดทา ผ้รู บั ผิดชอบโครงการ คณะทางาน นายณัฏฐเมศ เสรมิ สุข นางสาวจารณุ ี สาราญวงศ์

เอกสารรายงานผลการปฏบิ ตั ิงาน กจิ กรรมส่งเสรมิ ศนู ย์ฝึกอาชพี ๑๙ ชุมชน แบบติดตามผูเ้ ขา้ รับการฝกึ อบรมประชาชนหลังจบหลกั สูตร กศน.ตาบลหนองบัว กศน.อาเภอเมืองกาญจนบุรี จังหวดั กาญจนบุรี ฝกึ อบรมหลักสตู ร โครงการศนู ย์ฝึกอาชีพชุมชน (กลุ่มสนใจ) วชิ าการทาขนมไทย จานวน......2........ วัน ระหวา่ งวันที่…...1 – 2 พฤษภาคม 2562................................................. ช่อื วทิ ยากร (ถ้าม)ี ..................................นางสาวเอ้อื มพร ป้นั โอ้........................................................ คาชีแ้ จง แบบติดตามผูเ้ ข้ารบั การฝกึ อบรมประชาชน มวี ัตถุประสงค์เพื่อศึกษาและรวบรวมข้อมูลเกย่ี วกับ ประโยชนท์ ผี่ ู้เข้ารับการฝกึ อบรมไดร้ ับหลังจากการฝกึ อบรมจบหลักสูตรแล้ว ชอื่ –นามสกลุ การนาไปใชป้ ระโยชน์ ผเู้ ข้ารบั การฝกึ อบรม ที่ ลดรายจ่าย เพิ่มรายได้ พฒั นา นาไปประกอบอาชีพ อ่ืน ๆ (ระบุ) คุณภาพชวี ิต 1 นางสาอาง สมสี  2 นายแทน โหรา 3 นางวเิ ชียร เกษมโศธน์  4 นางสาวพัฒนี ใบบวั 5 นางอมราลักษณ์ ใบบวั  6 นางสมพร สิงหชาติ 7 นางดวงอาพร คามรกั ษ์  8 นายปราโมทย์ เจรญิ สุข 9 นายยุทธชัย บัวคลี่  10 นางวาสนา พุฒซ้อน      ลงชอื่ ..............................................................ครู กศน.ตาบล (นายณัฏฐเมศ เสริมสุข)

เอกสารรายงานผลการปฏบิ ตั ิงาน กิจกรรมสง่ เสรมิ ศูนยฝ์ ึกอาชีพ ๒๐ ชุมชน


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook