Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หน่วย3_รัฐโบราณและรัฐไทยในดินแดนไทย

หน่วย3_รัฐโบราณและรัฐไทยในดินแดนไทย

Published by pongchet phosuk, 2021-09-06 03:17:12

Description: หน่วย3_รัฐโบราณและรัฐไทยในดินแดนไทย

Search

Read the Text Version

รฐั โบราณและรฐั ไทยในดินแดนไทย



รัฐโบราณและรัฐไทยในดินแดนไทย พฒั นาการของอาณาจกั รโบราณใน อาณาจกั รทวารวดี (พทุ ธศตวรรษท่ี 11-16) เปน็ อาณาจกั รทมี่ ีหลกั ฐานแนน่ อนแหง่ แรกบนผนื แผน่ ดนิ ไทย สนั นษิ ฐานว่ามี ศนู ย์กลางอยทู่ จ่ี งั หวัดนครปฐม หลักฐานสมยั ทวารวดี เชน่ ธรรมจักร ศิลา จุลประโทนเจดยี ์ และฐานอาคาร ท่ีวดั พระเมรุ ทวารวดไี ด้รับอทิ ธิพลอินเดยี เช่น การ ปกครองโดยกษตั รยิ ์ ศาสนาพราหมณ์- ฮนิ ดู พระพทุ ธศาสนา

อาณาจักรละโว้ (พทุ ธศตวรรษที่ 12-18) • ในชว่ งแรกละโวร้ ับวฒั นธรรมจากอนิ เดีย เช่น แนวคดิ เร่ืองการปกครอง โดยกษตั ริยม์ กี ารแบง่ ชนชั้นทางสังคม • มีการนับถือพระพุทธศาสนา นิกายเถรวาทและมหายาน รวมทั้งความเช่ือเร่ืองการนับถือบรรพบุรุษ และยกย่อง สตรี • มีอาชีพที่สาคัญ คือ การเกษตร และมีการติดต่อค้าขาย กับชมุ ชนตา่ งถิ่น • สมัยพระเจ้าสุริยวรมันท่ี 1 กษัตริย์ขอมได้ปกครองละโว้ ในฐานะประเทศราช • ขอมได้ส่งผู้แทนมาปกครองละโว้มีการบังคับใช้กฎหมาย และระบบตุลาการ คือ ศาลสภา • หลังสมัยพระเจ้าชัยวรมันที่ 7 ขอมเสื่อมอานาจ ทาให้ อทิ ธพิ ลขอมในละโว้ ได้หมดตามไปด้วย

พัฒนาการของอาณาจกั รโบราณใน อาณาจักรโยนกเชยี งแสน (พทุ ธศตวรรษที่ 12-19) • สนั นษิ ฐานวา่ มีศูนย์กลาง อยทู่ เ่ี มืองเชียงแสน (อาเภอเชยี งแสน จังหวดั เชยี งราย) • เร่อื งราวโยนกเชียงแสนปรากฏอยู่ในตานานสงิ หนวตั กิ ุมารและตานานลวจังกราช • อาณาจกั รโยนกเชยี งแสนถกู ขอมยดึ ครองอาณาจักร • พระเจา้ พรหมกุมารสามารถกู้เอกราชและสรา้ งเมืองใหม่ขึน้ ทีเ่ วียงไชยปราการ • หลงั สมัยพระเจ้าพรหม ถูกมอญในพม่ารุกราน จึงสร้างเมอื งใหม่ท่ีกาแพงเพชร • พุทธศตวรรษท่ี 19 ถกู รวมเปน็ สว่ นหนึง่ ของลา้ นนา

อาณาจักรหริภญุ ชยั (พทุ ธศตวรรษท่ี 13-19) • สนั นษิ ฐานว่ามศี ูนย์กลางอยทู่ ่ีจงั หวดั ลาพนู • ตานานจามเทวีวงศ์กลา่ วว่า ฤๅษีวาสุเทพ เปน็ ผู้สรา้ งเมืองหริภญุ ชัย • มพี ระนางจามเทวีเปน็ ปฐมกษตั รยิ ์ • สันนษิ ฐานว่าชาวเมอื งหรภิ ุญชัยเป็นชาวมอญจากละโว้ • หรภิ ญุ ชัยตกอยูภ่ ายใตอ้ านาจละโว้หลายครัง้ • ในสมยั พระเจา้ อาทติ ยราช พระพทุ ธศาสนามีความเจรญิ รุ่งเรอื งมาก • พ.ศ.1835 หรภิ ญุ ชัยถูกรวมเข้าเป็นส่วนหน่งึ ของลา้ นนา

• มศี นู ย์กลางอยู่ท่เี มืองนพบุรศี รีนครพงิ ค์เชียงใหม่ (จังหวดั เชียงใหม)่ • ผกู้ อ่ ตง้ั อาณาจักร คือ พระยามังรายมหาราช • แรกเริ่มตง้ั ราชธานที เี่ วียงกุมกาม ต่อมายา้ ยเมอื งไปอยู่เชยี งใหมใ่ น พ.ศ. 1839 • มีความเจรญิ รุ่งเรอื งในเรอื่ งของกฎหมาย มังรายศาสตร์ อกั ษรธรรมล้านนา หรืออักษรตวั เมือง วัดเจดยี ห์ ลวง เป็นตน้

พฒั นาการของอาณาจกั รโบราณในภาคใต้ ศนู ยก์ ลางอยู่ท่ีอาเภอยะรัง จังหวดั ปัตตานี พัฒนาขนึ้ จากการเปน็ เมอื งทา่ สาคญั มีความสมั พันธ์ใกล้ชดิ กับจนี มีอารยธรรมรุ่งเรอื ง และมสี ถาบันกษตั รยิ ป์ กครองมายาวนาน เป็นศนู ยก์ ลางสาคญั ของพระพุทธศาสนานกิ ายมหายาน มีการนบั ถือศาสนาพราหมณ์-ฮนิ ดู ลัทธไิ ศวนกิ าย

อาณาจักรตามพรลงิ ค์ (พุทธศตวรรษท่ี 13- 18) • ศูนยก์ ลางอยู่ทจ่ี ังหวดั นครศรธี รรมราช • เจรญิ รุง่ เรืองมาจากการเปน็ เมอื งท่าของพอ่ คา้ อินเดยี • เปน็ ศนู ยก์ ลางการคา้ ละการเมืองในบริเวณคาบสมทุ รภาคใต้ • นับถือศาสนาพราหมณ-์ ฮนิ ดู และพระพุทธศาสนานกิ ายมหายาน • พุทธศตวรรษท่ี 18 ได้รบั อทิ ธิพลพระพทุ ธศาสนานกิ ายเถรวาท ลัทธิลังกาวงศ์ • นครศรีธรรมราชเปน็ ศูนย์กลางสาคญั ของการเผยแผ่พระพุทธศาสนาในดินแดนไทย

• มศี นู ยก์ ลางทีเ่ มอื งปาเลม็ บงั บนเกาะสมุ าตรา • ระยะแรกเจริญรุ่งเรืองในฐานะศูนย์กลางการค้า ทางทะเลระหว่างจีนและอนิ เดยี • เม่ือจีนเข้ามาค้าขายโดยตรง ทาให้เมืองไชยาเป็น เมืองสาคัญในการค้าและรบั วฒั นธรรมศรีวิชยั

พฒั นาการของอาณาจักรโบราณใน • มศี ูนยก์ ลางอยู่ที่นครพนม ครอบคลมุ พนื้ ทภี่ าค ตะวนั ออกเฉียงเหนือ และดนิ แดนฝั่งซา้ ยแมน่ ้าโขง • นบั ถอื พระพุทธศาสนานกิ ายเถรวาทตามแบบทวารวดี และมคี วามเชอื่ พ้ืนเมืองเรอื่ งการบชู าพญานาค • พระธาตุพนมเป็นศาสนสถานท่สี าคญั ของอาณาจกั ร • พทุ ธศตวรรษท่ี 18 พระเจา้ ชัยวรมันท่ี 7 แห่ง อาณาจักรขอมได้ครอบครองดนิ แดนในภาค ตะวันออกเฉียงเหนือของไทย • ตอ่ มาโคตรบูรณต์ กเปน็ เมอื งขึ้นของล้านชา้ ง

อาณาจกั รอิศานปุระ (พุทธศตวรรษท่ี 12-18) • มีอานาจและเจริญรุ่งเรอื งสงู สุดในสมัยพระเจ้าสุ ริยวรมนั ท่ี 2 • สร้างปราสาทหินขนาดใหญ่มากมาย • เผยแพร่อารยธรรมไปยงั รัฐข้างเคยี งหลายดา้ น เชน่ การปกครองแบบสมบรู ณาญาสทิ ธริ าชย์ ความเปน็ สมมตเิ ทพของกษัตริย์ การปกครองแบบ จตุสดมภ์ กฎหมายพระธรรมศาสตร์ ศาสนา พราหมณ์-ฮนิ ดู พระพทุ ธศาสนานกิ ายมหายาน เปน็ ตน้








Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook