Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore วันสงกรานต์

วันสงกรานต์

Published by tangthai55160, 2019-09-03 04:51:42

Description: วันสงกรานต์

Search

Read the Text Version

ประเพณสี งกรานต์ วนั สงกรานต์ ถือเป็นประเพณีวันขึ้นปใี หม่ของไทยมาแต่ โบราณ เปน็ ประเพณที ีง่ ดงาม อ่อนโยน เอื้ออาทร และเต็มไปด้วย บรรยากาศของความกตญั ญู ความสนกุ สนาน ความอบอนุ่ และการ ให้เกียรติเคารพซึ่งกันและกัน สะท้อนให้เห็นถึงลักษณะของความ เป็นไทยได้อย่างเดน่ ชัด โดยใชน้ ้าเปน็ สอ่ื ในการเชือ่ มสัมพันธไมตรี ปัจจบุ ันแม้ไทยเราจะนบั วนั ที่ ๑ มกราคมของทุกปี เป็น วันข้ึนปีใหม่แบบสากลนิยม แต่ลักษณะพิเศษและกิจกรรมที่คนใน ชมุ ชนไดถ้ ือปฏบิ ัติสบื เนอ่ื งมาอย่างยาวนาน ไม่ว่าจะเป็นการท้าบุญ ท้าทาน การอุทิศส่วนกุศลแด่บรรพบุรุษผู้ล่วงลับ การสรงน้าพระ การรดนา้ ขอพรผ้ใู หญ่ การเล่นสาดน้า และการละเล่นร่ืนเริงต่าง ๆ ลว้ นท้าให้ชาวไทยสว่ นใหญย่ งั ถอื ประเพณีสงกรานต์เป็นปีใหม่แบบ ไทย ๆ ทีเ่ ทศกาลแห่งความเออ้ื อาทร เกอ้ื กูลผูกพันซึ่งกนั และกนั ช่วงเทศกาลสงกรานตจ์ ะตรงกบั วันท่ี ๑๓, ๑๔ และ ๑๕ เมษายนของทุกปี ซึ่งรัฐบาลได้ประกาศให้เป็นวันหยุดราชการ ต่อเนือ่ งกนั เพ่อื ใหป้ ระชาชนทท่ี ้างานในต่างท้องท่ีได้กลับไปยังถิ่น ฐานของตน เพ่อื ไปร่วมท้าบญุ เย่ยี มเยยี นญาติผใู้ หญ่ บพุ การี และ เล่นสนกุ สนานกับครอบครวั เพือ่ นฝูง นอกจากไทยแล้ว หลาย ๆ ประเทศอย่างมอญ พม่า เขมร ลาว รวมถึงชนชาติไทย เช้อื สายตา่ ง ๆ ในจีน อินเดีย ต่าง กถ็ ือตรุษสงกรานตเ์ ปน็ ประเพณีฉลองปใี หมเ่ ชน่ เดยี วกับเรา เพยี งแต่ ในประเทศไทยได้มีการสบื สานและวิวฒั นาการประเพณีสงกรานตจ์ น มีเอกลักษณ์อันโ ดดเด่นกลายเป็ นวัฒนธร ร มปร ะ จ้าชาติที่ มีควา ม พเิ ศษ จนแมแ้ ต่ชาวต่างชาตกิ ็ยังให้ความสนใจ และรู้จักประเพณีน้ี เปน็ อย่างดี ความเป็นมาและการเปลี่ยนแปลงวันขึ้นปีใหม่ของไทย

2 สงกรานต์ เปน็ ประเพณเี ก่าแกข่ องไทยประเพณหี น่ึงที่สืบ ทอดมาตัง้ แตส่ มยั โบราณคู่กบั ประเพณีตรุษจีน หรอื ทีเ่ รยี กกันรวม ๆ วา่ ประเพณีตรษุ สงกรานต์ ซึ่งหมายถงึ ประเพณีส่งทา้ ยปเี ก่าต้อนรบั ปี ใหมข่ องไทย ก่อนท่ีจะปรับเปลี่ยนมาใช้ในวันท่ี ๓๑ ธันวาคมเป็น วนั ส่งท้ายปีเกา่ และวนั ท่ี ๑ มกราคม เป็นวันขึ้นปีใหม่ เม่ือ พ.ศ. ๒๔๘๓ เชน่ เดียวกับประเทศอนื่ ๆ ทัว่ โลก ในสมัยโบราณ ไทยเราถือเอาวันแรม ๑ ค่้า เดอื นอ้าย เปน็ วันขนึ้ ปใี หม่ ซง่ึ คนสมยั ก่อนจะถือวา่ ฤดูเหมันต์ (ฤดหู นาว) เป็น การเร่ิมตน้ ปี ซ่ึงจะตกอยู่ราวปลายเดือนพฤศจิกายน หรือธันวาคม ต่อมาก็ได้มีการเปลี่ยนแปลงไปตามคติพราหมณ์ ซึ่งมีรากเหง้ามา จากการสังเกตธรรมชาติ และฤดูการผลิ ต วันข้ึนปีใหม่จึง เปลยี่ นเป็นวันข้ึน ๑ ค่า้ เดอื น ๕ หรือประมาณเดือนเมษายน ซ่ึง เปน็ การนบั ปีใหมต่ ามเกณฑ์จลุ ศกั ราช โดยถือเอาวันมหาสงกรานต์ เปน็ วนั ขึ้นปใี หม่ ครน้ั ในปี พ.ศ. ๒๔๓๒ พระบาทสมเดจ็ พระจุลจอมเกล้า เจ้าอยหู่ ัว (รัชกาลที่ ๕) ได้กา้ หนดใหว้ นั ท่ี ๑ เมษายน เป็นวันขึ้น ปีใหม่ ซ่ึงเป็นการนับทางสุริยคติแทน จนกระทั่งปี พ.ศ. ๒๔๘๓ รัฐบาลไทยในสมยั จอมพล ป.พบิ ลู สงคราม กไ็ ด้ประกาศให้วันที่ ๑ มกราคม เป็นวันข้ึนปีใหม่ อันเป็นการนับปีใหม่แบบสากลนิยม ดังนั้น ต้งั แต่ปี พ.ศ. ๒๔๘๔ เป็นตน้ มา ประเทศไทยเราจึงมีวันขึ้น ปใี หม่ตรงกบั วันท่ี ๑ มกราคม และใชก้ นั มาจนปัจจุบนั ความหมายของตรษุ สงกรานต์ ค้าว่า “ตรุษ” เป็นภาษาทมิฬ ใช้ในชนเผ่าหนึ่งทาง อินเดียตอนใต้ แปลว่า ตัด หรือขาด คือ ตัดปี หรือขาดปี หมายถึงการส้นิ ปนี ่นั เอง ตามปกติการก้าหนดวันตรุษ หรือวันสิ้นปี จะถอื หลักทางจันทรคติ (วิธีนับวันและเดือนถือเอาการเดินของดวง จันทรเ์ ปน็ หลัก) คอื วันแรม ๑๕ ค้่า เดอื น ๔

3 ส่วนค้าวา่ “สงกรานต”์ เป็นภาษาสันสกฤต แปลว่า กา้ ว ขึ้น ผ่าน หรอื เคลอ่ื นที่ ย้ายที่ หมายถึง เวลาที่ดวงอาทิตย์เคล่ือน จากราศีหนง่ึ ไปสู่อีกราศีหน่งึ ทกุ ๆ เดอื น เรียกว่า สงกรานต์เดือน ยกเว้นเมื่อพระอาทิตย์เคลื่อนเข้าสู่ราศีเมษ เม่ือใดก็ตามจะเป็น สงกรานต์ปี และเรียกช่ือพิเศษว่า “มหาสงกรานต์” ถือเป็นวันข้ึนปี ใหม่ตามคติพราหมณ์ โดยเป็นการนับทางสุริยคติ วิธีนับวันและ เดือนโดยถือก้าหนดต้าแหน่งดวงอาทิตยเ์ ป็นหลกั ) ดังน้ัน การก้าหนดนับวันสงกรานต์จึงตกอยู่ในระหว่าง วันท่ี ๑๓, ๑๔ และ ๑๕ เมษายน ซ่ึงท้ัง ๓ วัน จะมีช่ือเรียก เฉพาะดังนี้ คือ วันท่ี ๑๓ เมษายน เรียกว่า มหาสงกรานต์ หมายถึง วันที่ดวงอาทิตย์ก้าวขึ้นสู่ราศีเมษ อีกครั้งหน่ึง หลังจากท่ีผ่านการ เขา้ สู่ราศีอื่น ๆ แลว้ จนครบ ๑๒ เดอื น วันที่ ๑๔ เมษายน เรยี กวา่ วนั เนา หมายถึง วันท่ีดวง อาทติ ยเ์ คลอ่ื นเข้าอยรู่ าศเี มษ ประจ้าทเ่ี รยี บรอ้ ยแลว้ วันที่ ๑๕ เมษายน เรียกว่า วันเถลิงศก หรือวันข้ึนศก คือวันท่ีเร่ิมเปล่ียนจุลศักราชใหม่ การก้าหนดให้อยู่ในวันน้ีน้ัน เพื่อให้แน่ใจได้ว่าดวงอาทิตย์โคจรขาดจากราศีมีนขึ้นอยู่ราศีเมษ แน่นอนแลว้ อยา่ งน้อย ๑ องศา ทงั้ สามวันนี้ ถา้ หากดูตามประกาศสงกรานต์ อนั เปน็ การ ค้านวณตามหลักโหราศาสตร์จริงแล้ว ก็จะมีการคลาดเคลื่อนไม่ ตรงกันบ้าง เช่น วันมหาสงกรานต์ อาจจะเป็นวันท่ี ๑๔ เมษายน แทนทจ่ี ะเปน็ วนั ที่ ๑๓ เมษายน แตเ่ พื่อใหจ้ ดจ้าได้งา่ ยและไมส่ บั สน จึงกา้ หนดเรยี กตามทีก่ ลา่ วข้างต้น ความส้าคัญของวันสงกรานต์

4 ดังได้กล่าวแล้วว่า สงกรานต์เป็นประเพณีวันขึ้นปีใหม่ ของไทย ซ่ึงได้ยึดถือปฏิบัติมาเนิ่นนาน บรรพบุรุษของเราได้ ก้ า ห น ด ธ ร ร ม เ นี ย ม ป ฏิ บั ติ ม า อ ย่ า ง ชั ด เ จ น สื บ ท อ ด ต่ อ กั น ม า จ น กลายเป็นวัฒนธรรมประจ้าชาติ เป็นความงดงาม ซึ่งบ่งบอกถึง คุณลักษณะของความเป็นไทยอย่างแท้จริง เช่น ความกตัญญู ความโอบอ้อมอารี ความเอื้ออาทรทั้งต่อมนุษย์และสิ่งแวดล้อม ความสนุกสนานรื่นเรงิ เปน็ ต้น วนั ผสู้ ูงอายุแหง่ ชาติและวนั ครอบครวั วัน ท่ี ๑๓ เ ม ษา ยน ขอ งทุ ก ปี นอ ก จ า ก จะเ ป็ น วั น มหาสงกรานตแ์ ลว้ รฐั บาลยงั ก้าหนดใหเ้ ปน็ วนั ผู้สูงอายุแห่งชาติอีก ด้วย เพื่อให้ลูกหลานได้เล็งเห็นความส้าคัญของผู้สูงอายุ ซ่ึงส่วน ใหญ่ก็มักจะเป็นบุพการี ผู้อาวุโสหรือผู้ใหญ่ในชุมชนท่ีเคยท้า คณุ ประโยชนแ์ ก่สังคมนัน้ ๆ มาแล้ว สว่ นวันที่ ๑๔ เมษายนของทุกปี รฐั บาลกไ็ ดก้ า้ หนดให้ เป็น “วันครอบครัว” เพราะเห็นว่าช่วงดังกล่าว เป็นระยะเวลาท่ี ประชาชนส่วนใหญ่จะเดินทางกลับไปหาครอบครัวอยู่แล้ว จึงเป็น ช่วงเวลาแห่งความรักความอบอุ่น ท่ีจะได้พบกันอย่างพร้อมหน้า พร้อมตา และท้ากจิ กรรมร่วมกันในครอบครัว กิจกรรมในวันสงกรานต์ จะเห็นได้ว่าพฤติกรรมต่าง ๆ ท่ีเราได้ถือปฏิบัติสืบต่อ ๆ กันมานั้น มีความมุ่งหมายให้เกิดความสงบสุขแก่จิตใจ ครอบครัว และสังคมเป็นสา้ คัญ กจิ กรรมทที่ า้ กม็ ีอย่างหลากหลาย และมเี หตผุ ล ในการกระทา้ ดงั กล่าวท้งั สิ้น ซง่ึ สามารถประมวลกิจกรรมต่าง ๆ ได้ ดังต่อไปนี้  ก่อนวนั สงกรานต์

5 เปน็ การเตรยี มความพรอ้ มในด้านต่าง ๆ เพ่ือความ เปน็ สิรมิ งคล และ ตอ้ นรบั ชีวติ ใหมท่ ่จี ะเรมิ่ ตน้ ในวนั ปใี หม่ทกี่ ้าลงั จะมาถึง กิจกรรมทที่ า้ ได้แก่ - ก า ร ท้ า ค ว า ม ส ะ อ า ด บ้ า น เ รื อ น ท่ี อ ยู่ อ า ศั ย เคร่ืองใช้ข้าวของต่าง ๆ รวมทั้งสถานที่สาธารณะต่าง ๆ เช่น วัด ศาลา บรเิ วณชมุ ชน เป็น - การเตรียมเสื้อผ้าที่จะสวมใส่ไปท้าบุญ รวมทั้ง เครือ่ งประดับตกแต่งต่าง ๆ นอกจากน้ียังมีผ้าส้าหรับไปไหว้ผู้ใหญ่ เพือ่ รดน้าขอพรด้วย - การเตรียมอาหารในการไปท้าบุญ ท้ังของคาว ของหวานท่ีพเิ ศษ ไดแ้ ก่ การเตรยี มขนมทีถ่ อื เปน็ สัญลักษณ์ของวัน ตรุษและวันสงกรานต์ นั่นคือ ข้าวเหนียวแดงส้าหรับวันตรุษ และ ขนมกวนหรอื กาละแมสา้ หรับวนั สงกรานต์  ชว่ งวันสงกรานต์ เมอ่ื ถึงวันสงกรานต์ก็จะเป็นเวลาที่ทุกคนจะย้ิมแย้ม แจม่ ใส ท้าใจใหเ้ บกิ บา เพ่ือท้ากจิ กรรมตา่ ง ๆ ซ่งึ มีดงั ตอ่ ไปนี้ - การท้าบุญตักบาตรตอนเช้า หรือน้าอาหารไป ถวายพระที่วัด การท้าบุญอัฐิ อาจจะท้าตอนไหนก็ได้ เช่น หลังจากพระภิกษุ-สามเณร ฉันเพลแล้ว หรือจะนิมนต์พระมาสวด มนต์ ฉันเพลท่ีบ้าน แล้วบังสุกุลก็ได้ การท้าบุญอัฐิ อาจจะนิมนต์ พระไปยังสถานทเ่ี ก็บหรือบรรจอุ ัฐิ หากไม่มใี ห้เขยี นชอื่ ผู้ท่ีล่วงลับไป แล้วลงในกระดาษแผ่นนั้นเสีย เชน่ เดยี วกบั การเผาศพ - การสรงน้าพระ มี ๒ แบบ คือ การสรงน้า พระภกิ ษุสามเณร และการสรงน้าพระพทุ ธรูป 1) การสรงน้าพระภิกษุสามเณร จะใช้แบบ เดียวกับอาบน้า คือ การใช้ขันตักรดที่ตัวท่าน หรือท่ีฝ่ามือก็ได้

6 แลว้ แต่ความนยิ ม หากเป็นการสรงน้าแบบอาบน้าพระจะมีการถวาย ผา้ สบง หรือถวายผา้ ไตรตามแตศ่ รัทธาด้วย 2) การสรงน้าพระพุทธรูป อาจจะจัดเป็น ขบวนแหห่ รอื เชิญมาประดิษฐานในที่เหมาะสม การสรงน้าจะใช้น้า อบ น้าหอม หรอื นา้ ท่ผี สมดว้ ยนา้ อบ น้าหอมประพรมที่องค์พระ  การก่อพระเจดีย์ทราย จะท้าในวันใดวันหน่ึง ระหวา่ งวันท่ี ๑๓ – ๑๕ เมษายน โดยการขนทรายมาก่อเปน็ เจดีย์ขนาดตา่ ง ๆ ในบริเวณวัด โดยมีวัตถุประสงค์เพ่ือให้วัดได้ใช้ประโยชน์ในการก่อสร้างหรือถม พื้นต่อไป ถือเป็นการท้าบุญอีกลักษณะหนึ่งที่ได้ท้ังบุญและความ สนกุ สนาน  การปล่อยนกปล่อยปลา เป็นการท้าบุญท้าทานอีก รูปแบบหนงึ่ โดยเฉพาะ การปล่อยนกปลอ่ ยปลาท่ีติดกับดัก บ่วงให้สู่อิสระ หรือปลาที่อยู่ใน น้าตืน้ ๆ ซึ่งอาจจะตายได้ หากปลอ่ ยใหอ้ ยู่ในสภาพแบบเดิม  การรดน้าผู้ใหญ่หรือการรดน้าขอพร เป็นการ แสดงความเคารพตอ่ ผู้ใหญข่ องครอบครวั หรอื ผ้ใู หญท่ เี่ คารพนบั ถอื การรดน้าผู้ใหญ่อาจจะรดน้าหรือรดเฉพาะท่ีฝ่ามือก็ได้ ดังน้ัน จึง ควรมผี า้ นงุ่ หม่ ไปมอบใหด้ ้วย เพ่อื จะได้ผลัดเปล่ียนหลังจากเสร็จส้ิน พิธีแลว้  การเล่นรดน้า หลังจากเสร็จพิธีการต่าง ๆ แล้ว เป็นการเลน่ รดน้าเพ่ือเช่ือมความสัมพันธ์ระหว่างญาติมิตร โดยการ ใชน้ ้าสะอาดผสมนา้ อบหรอื นา้ หอม หรือจะใช้น้าอบก็ได้ รดกันเบา ๆ ด้วยความสุภาพ  การเล่นร่ืนเริงหรือมหรสพต่าง ๆ เป็นการเชื่อม ความสามัคคีและเพื่อความสนุกสนาน รวมท้ังยังเป็นการสืบสาน มรดกทางวัฒนธรรมในแตล่ ะทอ้ งถนิ่ ให้คงอยู่ตอ่ ไป เช่น ลิเก ลา้ ตัด โปงลาง หมอลา้ หนงั ตะลุง นอกจากกจิ กรรมดงั กลา่ วแล้ว บางแห่งยังมีการทรงเจา้ เขา้ ผเี พ่ือความสนกุ สนาน

7 เช่น การเข้าทรงแม่ศรี การละเล่นสะบ้า เล่นลูกข่าง เล่นเพลง พิษฐาน (อธิษฐาน) สุดแล้วแต่ความนิยมของท้องถิ่นน้ัน ๆ ประเพณีปฏิบตั เิ หลา่ น้อี าจจะมคี วามแตกตา่ งกันออกไปบา้ งตามแตล่ ะ ท้องถิ่น การยึดถือปฏิบัติอย่างไรนั้นข้ึนอยู่กับความเหมาะสม และ ความต้องการของชมุ ชนเปน็ ส้าคญั ประเพณสี งกรานตใ์ นแตล่ ะภมู ิภาค ปจั จุบนั แม้ประเพณีสงกรานตใ์ นหลายทอ้ งท่ีจะมีรปู แบบท่ี คลา้ ยคลึงกนั มากข้นึ โดยเฉพาะตามจังหวัดใหญ่ ๆ อย่างไรก็ดีใน แตล่ ะภมู ภิ าคกย็ ังมีเอกลักษณเ์ ฉพาะถน่ิ ทีน่ ่าสนใจ คอื ภาคเหนือ หรือทเ่ี รยี กว่า ลา้ นนา เขาจะเรียกวันท่ี ๑๓ เมษายน ว่า “วันสงกรานตล์ อ่ ง” (อ่นาสังขานล่อง) หมายถึง วนั ทป่ี ี เก่าผ่านไป หรือวันท่ีสังขารร่างกายแก่ไปอีกปี วันน้ีตอนเช้าจะมี การยิงปนื หรือจดุ ประทดั เพ่ือขับไล่เสนียดจัญไร จากนั้นก็จะมีการ ท้าความสะอาดบ้านเรือน ช้าระล้างร่างกาย รวมทั้งแต่งตัวด้วย เสอื้ ผา้ ใหมพ่ ื่อตอ้ นรับปใี หม่ วันที่ ๑๔ เมษายน เรียก “วันเนา” หรือ “วันดา” จะ เป็นวนั เตรยี มงานต่าง ๆ เช่น เคร่ืองสงั ฆทาน อาหารที่จะไปท้าบุญ และแจกญาตพิ นี่ อ้ ง เพือ่ นบ้าน วันน้ีบางทีเรียกวา่ “วันเน่า” เพราะ ถอื วา่ เป็นวนั ห้ามพูดจาหยาบคาย เพราะเช่อื วา่ จะท้าให้ปากเน่า ไม่ เจริญ วนั ท่ี ๑๕ เมษายน เรียก “วนั พญาวัน” หรอื “วนั เถลิง ศก” ถอื เปน็ วันเรมิ่ ต้นปใี หม่เปน็ วนั ทีช่ าวบ้านจะท้าบุญประกอบกุศล เล้ียงพระ ฟังธรรม อุทิศส่วนกุศลให้แก่บรรพบุรุษผู้ล่วงลับ สรงน้า พระพุทธรูปและพระสงฆ์ น้าไม้ไปค้าต้นโพธิ์ รดน้าด้าหัวขอพร ผ้ใู หญ่ ค้าว่า “ด้าหัว ” ปกติแปลว่า “สร ะผม ” แต่ใ นท าง ประเพณีสงกรานต์ หมายถึง การไปแสดงความเคารพ ขอ

8 อโหสิกรรมท่ีอาจจะล่วงเกินในเวลาท่ีผ่านมา และขอพรจากท่าน โดยมีดอกไม้ ธูปเทียน และน้าหอมท่ีเรียกว่า “น้าขม้ินส้มป่อย” (ประกอบด้วยน้าสะอาดผสมดอกไม้แห้ง เช่น สารภี หรือดอก ค้าฝอย และผักส้มปอ่ ยเผาไฟ) พรอ้ มท้ังน้าของไปมอบผู้ใหญ่ เช่น ผลไม้ เส้ือผา้ อาหาร ฯลฯ เมื่อผู้ใหญ่กล่าวอโหสิกรรม และอวย พร ทา่ นจะใช้มือจุ่มน้าขมน้ิ ส้มป่อยลูบศรษี ะตนเอง ถัดจากวันพญาวัน เรียกว่า วันปากปี จะมีการท้าพิธี สะเดาะเคราะห์ พิธีสืบชะตา และการท้าบุญขึ้นท้าวท้ังสี่ (คือการ ไหว้เทวดาประจ้าทิศ) รวมถงึ การจุดเทยี นต่ออายุชะตาภายในบา้ น นอกจากนีห้ ลายทอ้ งทย่ี งั จดั การละเลน่ รนื่ เริง สนุกสนาน มมี หรสพการแสดง หรือมกี ารจัดประเพณีวัฒนธรรมท้องถ่ินเสริมไป ด้วย เชน่ การประกวดกลองมองเซงิ กฬี าพน้ื เมอื ง เปน็ ตน้ ภาคอสี านหรอื ตะวันออกเฉยี งเหนือ ประเพณีสงกรานต์ จะจดั กิจกรรม ๓ วันบ้าง ๕ วนั บา้ ง หรืออาจจะ ๗ วัน ก็แล้วแต่ ท้องถนิ่ กา้ หนด โดยวันแรกจะตรงกบั วันท่ี ๑๓ เมษายน กิจกรรมที่ จะจัดคล้ายกับทางเหนือ กิจกรรมหลัก ๆ คือ สรงน้าพระพุทธรูป ซึ่งส่วนใหญ่จะท้าอยู่วันเดียว โดยมากจังหวัดจะจัดขบวนแห่ ประกอบด้วยพระพทุ ธรปู และบริวารอื่น ๆ เมื่อแห่เสร็จก็จะมีการสรง นา้ พระพุทธรปู และพระสงฆ์ตามลา้ ดบั จากนั้นก็มักมีการท้าบุญอัฐิบรรพบุรุษ ที่เรียกว่า สัก อนจิ จา ในช่วงเทศกาลสงกรานต์น้ี คนอีสานที่ไปท้ามาหากินหรือ ต้ังถิ่นฐานอยู่ต่างถ่ิน มักจะเดินทางกลับภูมิล้าเนาในวันสงกรานต์ เพ่อื รวมญาติ และท้าบุญอทุ ศิ ส่วนกศุ ลใหบ้ รรพชนผู้ล่วงลบั ไปแลว้ นอกจากน้ีก็มีการปล่อยสัตว์ ปล่อยนกปล่อยปลา ส่วน กจิ กรรมอน่ื ๆ กม็ กี ารรดน้าขอพรผใู้ หญ่ การแสดง และการละเล่น ต่าง ๆ ตามประเพณีท้องถ่ิน ด้านคนหนุ่มสาวและเด็ก ๆ ก็จะเล่น สาดน้ากันด้วยความสนุกสนาน เชื่อมสัมพันธ์กันและกัน โดยก่อน วันสงกรานต์จะมีการท้าความสะอาดบ้าน การเตรียมอาหารและทุก ส่ิงไว้ให้พร้อม เพ่ือจะได้งดการท้าภารกิจต่าง ๆ ในช่วงสงกรานต์ ซ่งึ ถือเปน็ วันเฉลมิ ฉลองปีใหมท่ ที่ กุ คนรอคอย

9 ภาคใต้ จะเรียก “วันสงกรานต์” ว่า “ประเพณีวันว่าง” ถือวา่ เปน็ วันละวางกายและใจ จากภารกจิ ปกติ ซ่ึงตามประเพณีจะ จดั กิจกรรม ๓ วนั คือ วนั ที่ ๑๓, ๑๔ และ ๑๕ เมษายนของทุกปี วนั ท่ี ๑๓ เมษายน เรียกว่า “วนั เจา้ เมอื งเกา่ ” หรอื “วัน สง่ เจา้ เมืองเก่า” เพราะเชอ่ื ว่าเทวดารักษาบ้านเมอื งกลบั ไปชุมนมุ กนั บนสวรรค์ ในวันน้ีมักจะเป็นวันท้าความสะอาดบ้านเรือน และ เครือ่ งใช้ไม้สอยตา่ ง ๆ รวมท้ังทา้ พิธีสะเดาะเคราะห์ ทีเ่ รยี กว่า ลอย เคราะห์ หรอื ลอยแพ เพ่อื ให้เคราะหก์ รรมตา่ ง ๆ ลอยตามไปกับเจ้า เมอื งเก่าไป และมักจะมกี ารสรงนา้ พระพทุ ธรปู สา้ คญั ในวันนี้ วันท่ี ๑๔ เมษายน เรียกว่า “วันว่า ง ” คือ วันท่ี ปราศจากเทวดาทร่ี กั ษาเมอื ง ดังนั้น ชาวบ้านก็จะงดงานอาชีพต่าง ๆ แลว้ ไปท้าบญุ ทีว่ ัด และรดน้าขอพรผ้ใู หญ่ วันท่ี ๑๕ เมษายน เรียกว่า “วันรับเจ้าเมืองใหม่” คือ วันรับเทวดาองค์ใหม่ที่ได้รับมอบหมายให้มาดูแลเมืองแทนองค์เดิม วันน้ีชาวเมืองมักจะแต่งตัวด้วยเส้ือผ้า เคร่ืองประดับใหม่ แล้วน้า อาหารไปทา้ บุญทว่ี ัด นอกจากกิจกรรมดังกล่าวแล้ว ชาวใต้ยังมีการปล่อยนก ปลอ่ ยปลา การก่อเจดีย์ทราย และการเล่นสาดน้าเช่นเดียวกับภาค อน่ื ๆ และในสมัยกอ่ นแตล่ ะหมู่บ้านจะมคี ระเพลงบอกออกไปตระเวน ร้องตามชุมชนหรอื หมบู่ ้าน โดยมกี ารรอ้ งเป็นตา้ นานสงกรานต์ หรอื เพลงอืน่ ๆ ตามทเ่ี จ้าของบา้ นรอ้ งขอด้วย ภาคกลาง ประเพณีสงกรานต์ในภาคกลางจะมีกิจกรรม หลัก ๆ คล้ายภาคอื่น ๆ เช่นกันคือ การท้าความสะอาดบ้านเรือน เครือ่ งใชต้ า่ ง ๆ กอ่ นวนั สงกรานต์ คร้ันถึงวันสกุ ดิบ (ก่อนสงกรานต์ หนึ่งวัน) ก็จะเป็นการเตรียมอาหารคาวหวานไปท้าบุญตักบาตร หรือน้าไปถวายพระที่วัด ซึ่งอาหาร/ขนมท่ีนิยมท้าในเทศกาลน้ี ไดแ้ ก่ ข้าวแช่ ข้าวเหนียวแดง กะละแม ลอดช่อง เป็นต้น

10 คุณค่าและสาระของวันสงกรานต์ จากภาพรวมของกิจกรรมต่าง ๆ ในวันสงกรานต์จะเห็น ได้วา่ สงกรานต์เปน็ ประเพณีท่ีงดงาม อ่อนโยน เอื้ออาทร และเต็ม ไปดว้ ยบรรยากาศของความกตญั ญู ความเคารพซ่งึ กนั และกัน เป็น ประเพณีท่ีให้ความส้าคัญของความสัมพันธ์ระหว่างเพ่ือนมนุษย์ใน สงั คม โดยใช้น้าเป็นสอื่ ในการเชือ่ นความสัมพนั ธ์ระหวา่ งกัน ประเพณีทถ่ี ือปฏบิ ตั แิ ละสืบทอดกนั มาอย่างยาวนาน เช่น ประเพณีสงกรานต์นี้ จึงย่อมมีความหมายและมีคุณค่าต่อผู้ปฏิบัติ ชมุ ชน และสังคมเปน็ อยา่ งยิง่ กลา่ วคือ สงกรานต์ - คณุ ค่าต่อตนเอง  วนั สงกรานตเ์ ปน็ วนั แหง่ การเรมิ่ ตน้ ชวี ิตใหม่ โดย หนั กลับมามองตนเอง หรือสา้ รวจตนเองวา่ ในรอบ ๑ ปที ี่ผ่านมา เราได้กระท้าสิง่ ใดท่ีเป็น ประโยชนต์ ่อตนเอง ต่อครอบครัวต่อคนรอบข้าง และต่อสังคมแล้ว หรอื ยัง เราใสใจกับสุขภาพร่างกายของตนเองมากนอ้ ยแค่ไหน บาง คนมัวแต่ท้างานจนลืมดูแลตัวเอง ลืมเอาใจใส่ครอบครัว บุพการี เรามีความสุขกับสิ่งที่เป็นอยู่หรือไม่ และนับจากน้ีไปเราควรจะท้า อย่างไรเพ่ือให้เราได้ใช้ชีวิตอย่างมีคุณค่าและมีความสุข หลาย ๆ คนจึงถือเอาวันสงกรานต์หรือวันข้ึนปีใหม่น้ีเป็นวันเร่ิมต้นในการ ดา้ เนนิ ชวี ิตใหม่ สงกรานต์ - คุณคา่ ตอ่ ครอบครัว  วัน ส ง ก ร า น ต์ เ ป็น วัน แ ห่ง ค ว า ม รั ก ผู ก พัน ใ น ครอบครวั อย่างแทจ้ ริง พอ่ แมจ่ ะเตรียมเสื้อผ้าใหม่พร้อมเครื่องประดับให้ลูกหลานไปท้าบุญ ลูกหลานกจ็ ะเตรียมเส้ือผา้ เคร่อื งนงุ่ หม่ ให้ผู้ใหญ่ได้สวมใส่หลังการ รดน้าขอพร เมื่อถึงวันสงกรานต์ทุกคนจะหาโอกาสกลับบ้านไปหา

11 พ่อแม่และญาติผู้ใหญ่ รดน้าขอพรเพ่ือเป็นสิริมงคลในการเริ่มต้นปี ใหม่ และเป็นกา้ ลงั ใจซึง่ กนั และกนั ในการดา้ รงชีวิตอยู่ตอ่ ไป  วันสงกรานต์เป็นวันแห่งการแสดงความกตัญญู โดยการปรนิบัตติ อ่ พ่อแมแ่ ละผู้มีพระคุณที่มีชีวิตอยู่ และท้าบุญอุทิศ ส่วนกุศลใหแ้ ก่ผู้ทีล่ ่วงลับไปแล้ว สงกรานต์ - คุณคา่ ต่อชมุ ชน  วันสงกรานต์เป็นวันท่ีก่อให้เกิดความสมัครสมาน สามคั คใี นชุมชน เชน่ ได้ พบปะสงั สรรค์ ไดท้ ้าบญุ ร่วมกนั และได้เล่นสนุกสนานรื่นเริงกันใน ยามบา่ ยหลังจากการทา้ บญุ โดยการเลน่ รดน้าในหม่เู พอื่ นฝงู และคน รจู้ กั และการละเลน่ ตามประเพณีทอ้ งถ่ิน เปน็ ตน้ สงกรานต์ - คุณค่าตอ่ สงั คม  สงกรานต์เป็นประเพณีท่ีก่อให้เกิดความเอื้ออาทร ต่อส่ิงแวดล้อม เพราะ ก่อนวันสงกรานต์ทุกคนจะช่วยกันท้าความสะอาดบ้านเรือนส่ิงของ เคร่ืองใช้ทุกอย่างให้สะอาดหมดจด เพื่อจะได้ต้อนรับปีใหม่ด้วย ความแจม่ ใส เบิกบาน นอกจากนี้ควรช่วยกันท้าความสะอาดวัดวา อาราม ทส่ี าธารณะ และอาคารสถานที่ของหน่วยงานต่าง ๆ ด้วย สงกรานต์ - คุณค่าต่อศาสนา  วันสงกรานต์เปน็ วนั ท้าบุญครงั้ ส้าคญั ครงั้ หน่ึงของ พุทธศาสนกิ ชน โดยการท้าบุญตักบาตร เล้ียงพระ ฟังเทศน์ ปฏิบัติธรรม และสรง น้าพระ การศรัทธาในการท้าบุญท้าทาน ถือเป็นการเกื้อกูลสูงสุด ของมนุษยชาติ และการถือศีลปฏิบัติธรรมเป็นเหตุแห่งความ เจริญรุ่งเรืองของชีวิต และสามารถสืบทอดพระพุทธศาสนามาได้ จนถึงปจั จุบนั

12 แนวทางปฏิบตั ิในวนั สงกรานต์ เพ่ือด้ารงไว้ซึ่งความหมาย สาระ และคุณค่าของวัน สงกรานต์ดังกล่าว ประกอบกับการเปล่ียนแปลงของยุคสมัยเราจึง ควรเลือกประพฤติปฏิบัติกิจกรรมที่เป็นแก่นแท้ หรือที่เป็นเน้ือหา สาระของประเพณสี งกรานตอ์ ยา่ งแทจ้ ริง กิจกรรมใดท่ีหลงเหลือแต่ เพียงรูปแบบแต่ขาดซึ่งความหมายที่แท้จริง เช่น การก่อพระเจดีย์ ทราย ซึง่ ปัจจบุ ันมไิ ดท้ ้าเพือ่ วัตถปุ ระสงค์ในการให้พระภิกษุสงฆ์ได้ น้าทรายไปใช้ในการก่อสร้างวัด หรือการปล่อยนกปล่อยปลา ซึ่ง ปัจจุบันกลายเป็นธุรกิจเพ่ือซ้ือ – ขาย ก็อาจจะมีความจ้าเป็นต้อง ยก เ ลิก ไ ป หรื อ ป รับ ป รุง เ ป ล่ีย น รู ปแ บ บใ ห้ เ หม า ะ สม กั บยุ ค ส มัย ห า ก จา้ เป็น กจิ กรรมท่ีสมควรประพฤตปิ ฏิบัติในวนั สงกรานต์ เพื่อสืบ ทอดความดงี ามของคณุ ค่าของประเพณนี ไ้ี ว้ มดี งั นี้  การทา้ บญุ ตกั บาตรหรอื นา้ อาหารไปถวายพระทว่ี ัด เพอ่ื สืบทอดและท้านุบ้ารุงพระพุทธศาสนา และเพื่อกล่อมเกลาจิตใจ ให้รจู้ กั การให้ เสียสละ โดยมไิ ดม้ ุ่งหวังสง่ิ ใดตอบแทน  การทา้ บญุ อทุ ศิ สว่ นกศุ ลใหแ้ กบ่ รรพบรุ ษุ เพ่อื แสดง กตัญญูต่อผู้มีพระคุณที่ล่วงลบั ไปแล้ว  การสรงน้าพระท้ังพระภิกษุสงฆ์และพระพุทธรูป เพื่อความเป็นสิริมงคลและแสดงความเคารพต่อปูชนียบุคคลที่ด้ารง สืบทอดพระพุทธศาสนา  การรดน้าขอพร เป็นการแสดงความเคารพและ แสดงความกตัญญูกตเวทีต่อผู้มีพระคุณโดยเฉพาะผู้อาวุโสน้อย พึงปฏิบัตต่อ ผู้อาวุโสมา ก เช่น ลูกกับพ่อ -แม่ -ปู่-ย่า-ตา-ยาย พทุ ธศาสนิกชนตอ่ พระภกิ ษุสงฆ์ เป็นต้น เป็นการแสดงความสุภาพ ออ่ นนอ้ ม อ่อนโยน และขอรบั พร ซง่ึ ผอู้ าวุโสกว่าเหล่าน้นั จะไดอ้ วย ชัยให้พรให้อยู่เย็นเป็นสุข และได้ข้อคิดเตือนใจเพื่อเร่ิมต้นปีใหม่ อยา่ งไมป่ ระมาท

13  การเลน่ รดนา้ เพอ่ื เชอ่ื มความสัมพันธ์ระหว่างญาติ พน่ี ้องและมิตรสหาย ดว้ ยการรดน้าเพยี งเลก็ น้อยลงท่ไี หล่ หรอื ท่ีมือ พร้อมกับอวยพรให้มคี วามสขุ  การเล่นร่ืนเริงต่าง ๆ เพื่อเช่ือมความสามัคคีและ เพื่อความสนุกสนาน รวมท้ังการสืบสานมรดกทางวัฒนธรรมให้คง อยู่ตอ่ ไป อน่ึง ในแต่ละท้องถ่ินย่อมมีค่านิยมและธรรมเนียมปฏิบัติ เกย่ี วกับประเพณีสงกรานต์ที่แตกต่างกันออกไป ก็สมควรให้ปฏิบัติ ไปตามนั้น เพ่ือเป็นการเคารพภูมิปัญญาของบรรพบุรุ ษท่ีได้ กล่ันกรองเลือกสรรแล้วว่าเหมาะสมกับท้องถ่ินของตนเอง ดังนั้น การจะเปล่ียนแปลงใด ๆ จึงขึ้นกับวิจารณญาณของเจ้าของ วัฒนธรรมน้ัน ๆ โดยตรง ที่จะเลือกรับหรือไม่รับสิ่งท่ีแตกต่างไป จากเดมิ รวมทั้งส่ิงใหม่ ๆ ทีแ่ ทรกเขา้ มาอยา่ งไม่หยดุ ย้ัง การจัดพิธีรดน้าขอพร การจัดรดน้าขอพรผใู้ หญใ่ นบ้าน - จัดสถานท่ีและที่น่ังให้เหมาะสม เช่น ในบ้านหรือ บริเวณลานบา้ น โดยจะให้ ท่านน่ังบนเก้าอ้ี หรือนัง่ กบั พื้นกด็ คู วามสะดวกของทา่ น - จัดน้าผสมน้าอบหรือน้าหอม (อาจลอยดอกไม้เพ่ิม เชน่ กลีบกหุ ลาบ มะลิ) ใส่ขนั หรือภาชนะทีเ่ หมาะสมไว้ส้าหรับรดนา้ พร้อมภาชนะรองรบั - การรดน้าขอพร ให้รดน้าที่ฝ่ามือท้ังสองของท่าน โดยผู้ใหญ่แบมอื ไมต่ ้อ ประนม เมือ่ ลกู หลานมารดนา้ ผู้ใหญ่กจ็ ะให้ศลี ให้พรหรืออาจจะเอา น้าท่ีรดให้ลูบศีรษะผู้มารด เมื่อรดน้าเสร็จแล้วบางครั้งก็อาจจะ อาบน้าจริง คือ รดแบบทั้งตัว แล้วน้าผ้าใหม่มาให้ผู้ใหญ่เปล่ียนก็ ได้ การรดนา้ ขอพรผู้ใหญ่ในท่ที า้ งานหรอื ชมุ ชนตา่ ง ๆ

14 จัดแบบไม่เป็นทางการ ส่วนใหญ่จะใช้ห้องของผู้ใหญ่/ ผบู้ งั คบั บัญชาเอง หรือห้องที่เห็นว่าเหมาะสม แล้วจัดน้าส้าหรับรด และภาชนะรองรับเตรียมไว้ให้พร้อม จากนั้นเชิญท่าน มานั่งใน บริเวณท่จี ดั ไว้พร้อมเชิญทกุ คนมารว่ มรดนา้ ขอพร เม่อื แล้วเสรจ็ ท่าน อาจจะกล่าวให้พรอีกคร้ัง ตัวแทนก็มอบของท่ีระลึก อาจจะเป็นผ้า หรอื ของกนิ ของใช้ ตามแต่จะเหน็ สมควร จัดแบบพิธีการ มักจะมีการจัดโต๊ะสรงน้าพระพุทธรูป พร้อมจัดตกแต่งสถานที่อย่างเป็นระเบียบสวยงาม เม่ือเร่ิมพิธี จะมี พิธกี รกล่าวแนะนา้ และเชิญผใู้ หญ่ เชน่ ผู้ว่าราชการจังหวัด ผู้เฒ่า ผู้แก่ในชุมชนไปน่ังยังสถานที่ท่ีจัดไว้ เมื่อรดน้าเสร็จผู้ใหญ่ก็จะ กลา่ วอวยพร และเปน็ ตัวแทนมอบของขวญั แก่ทา่ น พระพุทธสหิ ิงค์กับวันสงกรานต์ ก า ร อั ญ เ ชิ ญ พ ร ะ พุ ท ธ สิ หิ ง ค์ ซ่ึ ง เ ป็ น พ ร ะ พุ ท ธ รู ป คู่บ้านคู่เมืองมาแต่โบราณมายังบริเวณท้องสนามหลวง เพื่อให้ ประชาชนได้มาสกั การบชู าและสรงน้าในวันสงกรานต์นั้น เริ่มเม่ือปี พ.ศ. ๒๔๗๗ ในสมัยพระยาพหลพลพยุหเสนาเป็นนายกรัฐมนตรี โดยทางการเป็นผูจ้ ัดขนึ้ เพอ่ื ความเปน็ สิรมิ งคล และเปน็ ขวัญกา้ ลงั ใจ ในโอกาสเฉลิมฉลองปีใหม่ไทย ดังน้ัน ทุกวันสงกรานต์เราจึงได้ สรงน้าพระพุทธสิหิงค์ปีละคร้ัง และถือเป็นประเพณีสืบต่อกันมาจน ปจั จบุ ัน ตา้ นานพระพุทธสหิ งค์ ตามประวัติเล่าว่า พระพุทธสิหิงค์เป็นพระพุทธรูปท่ี พระมหากษัตริย์ลังกา ๓ พระองค์ ได้ร่วมพระทัยพร้อมกับพระ อรหนั ตใ์ นเกาะลงั กา สร้างขนึ้ เมอื่ ปี พ.ศ. ๗๐๐ โดยมีพระยานาคท่ี เคยได้เห็นพระพุทธองค์ไดแ้ ปลงกายมาเป็นแบบ และได้ประดิษฐาน เปน็ ทีเ่ คารพสกั การะแก่ชาวลงั กามาเปน็ เวลาชา้ นาน ตอ่ มาสมยั พอ่ ขุนรามค้าแหง ได้ทราบถงึ ลักษณะทีง่ ดงาม ของพระพุทธสิหิงค์ ก็โปรดเกล้าฯ ให้แต่งทูตเชิญพระราชสาส์นไป ขอประทานมาจากพระเจ้ากรุงลังกา พระพุทธสิหิงค์จึงได้มา

15 ประดิษฐาน ณ กรุงสุโขทัย จากนั้นด้วยสถานการณ์การเมืองที่ เปลี่ยนแปลงไปในสมัยต่อ ๆ มา พระพุทธสิหิงค์จึงถูกอัญเชิญไป ป ร ะ ดิ ษ ฐ า น อ ยู่ ต า ม เ มื อ ง ต่ า ง ๆ ตั้ ง แ ต่ พิ ษ ณุ โ ล ก อ ยุ ธ ย า ก้าแพงเพชร เชยี งราย เชียงใหม่ จนมาสมัยรัชกาลท่ี ๑ แห่งกรุง รตั นโกสนิ ทร์ สมเด็จพระบวรเจ้ามหาสรุ สิงหนาท จงึ ไดท้ รงอัญเชญิ พระพุทธสิหิงค์ลงมายังกรุงเทพฯ เม่ือปี พ.ศ. ๒๓๓๘ และได้ ประดษิ ฐานอยู่ ณ พระทีน่ ง่ั พุทไธสวรรย์มาจนถึงปัจจบุ ัน ปัจจุบัน ประเทศไทยมีพระพุทธรูปท่ีทรงพระนามว่า “พระพทุ ธสหิ ิงค์” อยู่ ๓ องค์ คือ ๑. ในพระทนี่ ง่ั พุทไธสวรรย์ พิพิธภณั ฑสถานแหง่ ชาติ พระนคร คอื องค์ทก่ี ล่าวถงึ ข้างตน้ เปน็ พระพุทธรปู ปางสมาธิ หล่อ ดว้ ยวสั ดุโลหะสมั ฤทธิ์ ๒. ในหอพระสิหิงค์ จังหวัดนครศรีธรรมราช สร้างใน ลักษณะปางมารวิชัย ขัดสมาธิเพชร มีพระพักตร์กลมอมย้ิม หล่อ ด้วยวัสดโุ ลหะสมั ฤทธิ์ ๓. ในวัดพระสิงห์วรมหาวิหาร จังหวัดเชียงใหม่ เป็น ปางมารวิชยั ขดั สมาธิเพชร หลอ่ ด้วยวัสดุโลหะสมั ฤทธลิ์ งรักปิดทอง เปน็ ศิลปะสมัยเชียงแสนรุน่ แรก ตา้ นานนางสงกรานต์ นอกจากความหมาย สาระ คุณค่า และแนวทางในการ ปฏิบตั ิเนื่องในเทศกาลสงกรานตแ์ ลว้ หลายคนคงสงสยั ว่าแล้ว “นาง สงกรานต์” มาเกี่ยวข้องกับประเพณีสงกรานต์ตรงไหน เรื่องนาง สงกรานต์นีเ้ ปน็ คติความเชอื่ อยใู่ น “ต้านานสงกรานต์” ซึ่งรัชกาลท่ี ๓ ให้จารึกลงในแผ่นศิลาติดไวท้ ี่วดั พระเชตุพนวิมลมังคลาราม (วัด โพธ์)ิ เป็นเร่อื งเลา่ ถึงความเปน็ มาของประเพณดี งั กล่าว พระอาทิตย์ ยกขึ้นสู่ราศีเมษและถือเป็นวันขึ้นปีใหม่ตามสุริยคติ โดยสมมุติผ่าน นางสงกรานตท์ ้งั เจ็ดเทยี บกบั แต่ละวนั ในสัปดาห์ โดยเรื่องเล่าว่า มีเศรษฐีคนหน่ึงไม่มีบุตร จึงถูกนักเลงสุราข้างบ้านซ่ึงมี บุตรสองคนกล่าวค้าหยาบคายดูหมิ่นในท้านองว่าถึงจะร่้ารวยเงิน

16 ทอง แต่ก็ไม่มีบุตรสบื สกลุ ตายไป สมบัติก็สูญเปล่า สู้ตนผู้มีบุตรก็ ไมไ่ ด้ เศรษฐีได้ฟังแล้วเกิดความละอาย จงึ ไปบวงสรวงพระอาทิตย์ และพระจันทร์ แต่ผ่านไปสามปีก็ยังไม่มีบุตร อยู่มาวันหนึ่งเป็นวัน นักขัตฤกษส์ งกรานต์ จึงได้ไปอธฐิ านขอบุตรจากพระไทร พระไทร สงสารจงึ ไปขอพระอินทร์ ท่านจึงได้ส่งธรรมบาลเทวบุตรจุติมาเกิด เป็นลกู เศรษฐี มชี อ่ื วา่ ธรรมบาลกุมาร ซ่ึงเม่ือเจริญวัยข้ึนก็รู้ภาษา นก และเรียนไตรเพทจบเมื่ออายุเพียงเจ็ดปี ต่อมาได้เป็นอาจารย์ บอกมงคลการต่าง ๆ แกม่ นุษย์ แต่ขณะนั้นท้าวกบิลพรหมเป็นผู้ท้า หนา้ ทีแ่ สดงมงคลท้งั ปวงแก่มนษุ ย์อยกู่ อ่ นแล้ว จึงเกิดความไม่พอใจ ไปทา้ ธรรมบาลกุมารใหต้ อบปริศนาสามขอ้ โดยมขี อ้ แมว้ ่าหากธรรม บาลกุมารตอบไม่ได้จะต้องตัดศีรษะบูชาตน หากตอบได้ตนก็จะตัด ศรี ษะบูชาธรรมบาลกมุ ารแทน ปรศิ นาดงั กล่าวมีอยูว่ า่ ข้อท่ี ๑ ราศี อยู่ที่ใด (ราศี หมายถึง ความอิ่มเอิบ ความภาคภมู ิ) ขอ้ ที่ ๒ เทย่ี ง ราศี อยทู่ ีไ่ หน ข้อที่ ๓ คา้่ ราศีอยทู่ ี่ใด ธรรมบาลกุมารขอผัดไปเจ็ดวัน ปรากฏว่าเวลาล่วงถึง วันที่หก ก็ยังคิดหาค้าตอบไม่ได้ จึงไปนอนอยู่ใต้ต้นตาล บังเอิญ ขณะนัน้ ไดย้ นิ เสียงนกอนิ ทรยี ์สองผวั เมยี คุยกันวา่ วนั รงุ่ ขึ้นจะได้กิน ศพธรรมบาลกุมาร เพราะตอบปริศนาไม่ได้ พร้อมกันน้ันนกตัวผู้ก็ ไดเ้ ฉลยคา้ ตอบแก่นกตัวเมียว่า เช้า ราศีอยู่ท่ีหน้ามนุษย์จึงเอาน้า ล้างหนา้ เทย่ี ง ราศอี ยทู่ อ่ี กมนษุ ยจ์ งึ เอาเครอ่ื งหอมประพรมทอี่ ก ค้่า ราศอี ยทู่ ีเ่ ท้ามนษุ ย์จงึ เอานา้ ลา้ งเท้า ธรรมบาลกมุ ารไดย้ นิ กส็ ามารถ ตอบปริศนาได้ ดังน้ัน ท้าวกบิลพรหม จึงต้องตัดศีรษะบูชาธรรม บาลกุมาร แต่ก่อนจะตัดศีรษะ ท้าวกบิลพรหมก็ได้เรียกธิดาทั้งเจ็ด ของตนท่ีเป็นบาทบริจาริกา (แปลว่านางบ้าเรอแทบเท้าหรือสนม) ของพระอินทร์มาส่ังเสียว่าในมหาสมุทร น้าก็จะแห้ง ดังน้ัน จึงให้ ธิดาทัง้ เจ็ดน้าพานมารองรับศีรษะที่ถูกตัด แล้วนา้ ไปแห่รอบเขาพระ สุเมรุ จากนั้นก็อัญเชิญประดิษฐานท่ีมณฑปถ้าคันธุลีเขาไกรลาส ครน้ั ถึงก้าหนด ๓๖๕ วัน ซึ่งโลกสมมุติว่าเป็นปีหน่ึงเวียนมาถึงวัน มหาสงกรานต์ เทพธิดาท้ังเจ็ดก็จะทรงพาหนะต่าง ๆ ผลัดเวรกันมา

17 เชิญพระเศยี รของบิดาออกแห่ โดยที่เทพธิดาท้ังเจ็ดน้ีปรากฎในวัน มหาสงกรานต์เป็นประจ้า จึงได้ช่ือว่า “นางสงกรานต์” ส่วนท้าว กบิลพรหม ซ่งึ มอี ีกชื่อว่า ท้าวมหาสงกรานต์นั้น โดยนัยก็คือ พระ อาทติ ย์ น่ันเอง เพราะ กบิล แปลว่า สีแดง รจู้ กั นางสงกรานตท์ ัง้ เจด็ น า ง ส ง ก ร า น ต์ ซึ่ ง ป ร ะ จ้ า แ ต่ ล ะ วั น ใ น สั ป ด า ห์ จ ะ มี น า ม อาหาร อาวธุ และสตั ว์ทีเ่ ปน็ พาหนะต่าง ๆ กันดงั ตอ่ ไปนี้ วันอาทิตย์ นาม ทุงสะ ทัดดอกทับทิม เคร่ืองประดับ ปทั มราค หรือปัทมราช (พลอยสีแดง) ภักษาหารมะเด่ือ หัตถ์ขวา ถอื จกั ร หตั ถซ์ ้ายถือสงั ข์ มีครุฑเปน็ พาหนะ วันจนั ทร์ นาม นางโคราคะ ทัดดอกปีบ เคร่ืองประดับ มกุ ดา (ไขม่ กุ ) ภกั ษาหารน้ามันหตั ถข์ วาถอื พระขรรค์ หัตถ์ซ้ายถือ ไมเ้ ท้า มีเสือเป็นพาหนะ วันองั คาร นาม นางรากษส (ราก-สด) ทดั ดอกบัวหลวง เครื่องประดับโมรา ภักษาหารโลหิต หตั ถข์ วาถอื ตรศี ูล หตั ถซ์ า้ ยถือ ธนู มีสุกร (หมู) เป็นพาหนะ วันพุธ นาม นางมณฑา ทัดดอกจ้าปา เครื่องประดับ ไพฑรู ย์ ภักษาหารนมเนย หตั ถ์ขวาถือเหลก็ แหลม หัตถ์ซ้ายถือไม้ เทา้ มคี ัสพะ (ลา) เป็นพาหนะ วั น พ ฤ หั ส บ ดี น า ม น า ง กิ ริ ณี ทั ด ด อ ก ม ณ ฑ า เครอื่ งประดับมรกต ภักษาหารถ่ัวงา หัตถ์ขวาถือขอช้าง หัตถ์ซ้าย ถอื ปืน มีชา้ งเป็นพาหนะ วันศุกร์ นาม นางกมิ ทิ า ทัดดอกจงกลนี เครื่องประดับ บุษราคัม ภักษาหารกล้วยน้า หัตถ์ขวาถือพระขรรค์ หัตถ์ซ้ายถือ พณิ มีกระบือ (ควาย) เปน็ พาหนะ วันเสาร์ นาม นางมโหธร ทัดดอกสามหาว (ผักตบ) เครื่องประดบั นลิ รตั น์ ภกั ษาหาร เนื้อทราย หัตถ์ขวาถือจักร หัตถ์ ซ้ายถือตรีศูรยม์ นี กยงู เปน็ พาหนะ อริ ิยาบถของนางสงกรานต์

18 นอกจากนามของนางสงกรานตแ์ ตล่ ะนามขา้ งต้น จะเป็น การบอกให้ทราบว่า “วัน มหาสงกรานต์” หรือวนั ข้ึนปีใหม่ของปีนั้นตรงกับวนั ใดแลว้ ท่าหรือ อิรยิ าบถทน่ี างสงกรานตน์ ่งั /นอน/ยนื บนพาหนะ ยังเป็นการบอกว่า ช่วงเวลาท่ีพระอาทิตย์ยกเข้าสู่ราศีเมษ ซ่ึงแต่ละปีจะไม่เหมือนกัน ดว้ ย เพราะสมยั กอ่ นเขามิได้นับว่าหลังเทยี่ งคนื (ทปี่ ัจจบุ ันนิยมเคาน์ ดาวน์) จะเป็นเวลาข้ึนปีใหม่ทันที แต่เขาจะนับจากช่วงเวลาที่พระ อาทติ ย์เคล่อื นจากราศีมนี มาอยู่ในราศีเมษ ซึ่งอาจจะเป็นเวลาเช้า สาย บ่าย เยน็ หรอื ค้า่ กไ็ ด้ ดังน้ัน อิริยาบถของนางสงกรานต์ท่ีข่ี พาหนะมาจงึ เป็นการบอกใหท้ ราบถึงช่วงเวลาดังกล่าว ซึ่งมีด้วยกัน ๔ ทา่ คอื ๑. ถ้าพระอาทิตย์ยกสู่ราศีเมษ ในระหว่างเวลารุ่งเช้า จนถงึ เท่ียง นางสงกรานตจ์ ะยนื บนพาหนะ ๒. ถา้ พระอาทติ ยย์ กสู่ราศเี มษ ในระหว่างเทย่ี งจนถึงค่้า นางสงกรานต์จะนงั่ บนพาหนะ ๓. ถ้าพระอาทิตย์ยกเข้าสู่ราศีเมษ ระหว่างค่้าไปจนถึง เทย่ี งคืน นางสงกรานต์จะนอนลมื ตาบนพาหนะ ๔. ถ้าพระอาทิตย์ยกเข้าสู่ราศีเมษ ระหว่างเที่ยงคืนไป จนถึงร่งุ เชา้ นางสงกรานตจ์ ะนอนหลบั ตามบนพาหนะ ความเชอื่ เกยี่ วกับนางสงกรานตแ์ ละวันสงกรานต์ คนสมัยก่อนรู้หนังสือกันน้อย อีกทั้งยังไม่มีส่ือท่ีจะบอก เร่ืองสภาพดินฟ้าอากาศ รวมถึงวันส้าคัญต่าง ๆ ล่วงหน้าเช่น ปัจจุบัน ดังนั้น ประกาศสงกรานต์ของทางราชการจึงมีสาระที่เป็น ประโยชน์ต่อการด้าเนินชีวิตของราษฎรที่ส่วนใหญ่ประกอบอาชีพ กสิกรรม ซื่งนอกจากจะมเี นื้อหาข้างตน้ แล้วประชาชนส่วนใหญ่ก็จะ รอดูรปู นางสงกรานต์ของแต่ละปีด้วย เน่ืองจากรูปนางสงกรานต์จะ เป็นเครอื่ งบอกเหตุการณ์ หรือเป็นการท้านายอนาคตล่วงหน้า อัน เป็นความเชื่อของคนสมัยน้ัน ซ่ึงจะมีท้ังการพยากรณ์เกี่ยวกับอิริย บถของนางสงกรานต์ว่า นางใดมาอิริยบทไหน จะเกิดเหตุเช่นไร

19 รวมไปถึงการท้านายวนั มหาสงกรานต์ วันเนา และวันเถลิงศกด้วย ว่า หากวนั เหลา่ น้ีตกวันใด จะมเี หตกุ ารณใ์ ดเกดิ ขึน้ ส้าหรับความเช่ือในเร่ืองอิริยบทของนางสงกรานต์ เชื่อ กันวา่ ๑. ถา้ นางสงกรานต์ยืนมา จะเกิดความเดือดร้อนเจ็บไข้ ๒. ถา้ นางสงกรานตน์ งั่ มา จะเกิดความเจ็บไข้ ผคู้ นล้มตาย และเกิดเหตเุ ภทภัยต่าง ๆ ๓. ถ้านางสงกรานต์นอน ลืมตา พระมหากษัตริย์จะ เจริญรงุ่ เรืองดี ๔. ถ้านางสงกรานต์นอนหลับตา พระมหากษัตริย์จะ เจริญรง่ ุเรอื งดี ส่วนค้าท้านายเก่ยี วกบั วันมหาสงกรานต์ วันเนา และวัน เถลิงศก กม็ วี า่ ๑. ถ้าวันอาทิตย์ เป็นวันมหาสงกรานต์ ปีน้ันพืชพันธ์ุ ธัญญาหารไม่ส้จู ะงอกงามนกั ถ้าวันอาทิตย์เป็นวันเนา ข้าวจะตายฝอย คนต่างด้าวจะเข้าเมือง ยาก ทา้ วพระยาจะร้อนใจ ถ้าวันอาทิตย์เป็นวันเถลิงศก พระมหา กษัตรยจ์ ะมพี ระบรมเดชานภุ าพ ปราบศตั รูไดท้ ่ัวทุกทิศ ๒. ถ้าวันจันทร์เป็นวันมหาสงกรานต์ ข้าราชการชั้น ผูใ้ หญ่ ตลอดจนคณุ หญงิ คณุ นาย ทั้งหลายจะเรืองอ้านาจ ถ้าวัน จนั ทร์เปน็ วันเนา มกั เกิดความไข้ต่าง ๆ และเกลอื จะแพง นางพญา จะร้อนใจ ถ้าวันจันทร์เป็นวันเถลิงศก พระราชินีและท้าวนางฝ่าย ในจะมีความสุขส้าราญ ๓. ถา้ วนั องั คาร เป็นวันมหาสงกรานต์ โจรผู้ร้ายจะชุก ชุม จะเกิดการเจ็บไข้ร้ายแรง แต่ถา้ วันองั คารเปน็ วันเนา ผลหมาก รากไมจ้ ะแพง ถา้ วนั องั คารเปน็ วันเถลิงศก ข้าราชการทุกหมู่เหล่า จะมคี วามสุข มีชยั ชนะแก่ศัตรูหม่พู าล ๔. ถ้าวนั พธุ เป็นวนั มหาสงกรานต์ ขา้ ราชการช้ันผูใ้ หญ่ จะไดร้ ับการยกย่องจากต่างประเทศ ถ้าวันพุธเป็นวันเนา ข้าวปลา อาหารจะแพง แม่หม้ายจะพลัดที่อยู่ ถ้าวันพุธเป็นวันเถลิงศก บรรดานักปราชญ์ราชบณั ฑติ จะมคี วามสขุ ส้าราญ

20 ๕. ถา้ วนั พฤหัสบดีเป็นวันมหาสงกรานต์ ผู้น้อยจะแพ้ผู้ เป็นใหญ่ และเจ้านาย ถ้าวันพฤหัสบดีเป็นวันเนา ผลไม้จะแพง ราชตระกูลจะมคี วามรอ้ นใจ ถ้าวนั พฤหสั บดีเป็นวนั เถลงิ ศก สมณชี พราหมณ์จะปฏิบตั กิ รณียกิจอนั ดงี าม ๖. ถา้ วันศกุ ร์เปน็ วันมหาสงกรานต์ พืชพันธ์ุธัญญาหาร จะอุดมสมบรู ณ์ ฝนชกุ พายุพดั แรงผู้คนจะเป็นโรคตาและเจ็บไข้กัน มาก ถ้าวันศุกร์เป็นวันเนา พริกจะแพง แร้งกาจะเป็นโรค สัตว์ป่า จะเป็นอนั ตราย แมห่ มา้ ยจะมีลาภ ถา้ วนั ศุกร์เป็นวันเถลิงศก พ่อค้า คหบดีจะท้ามาค้าขึ้น มีผลกา้ ไรมาก ๗. ถา้ วนั เสาร์เปน็ วนั มหาสงกรานต์ โจรผู้ร้ายจะชุกชุม จะเกิดการเจ็บไข้ร้ายแรง ถ้าวันเสาร์เป็นวันเนา ข้าวปลาจะแพง ข้าวจะได้น้อย ผลไม้จะแพง น้าน้อย จะเกิดเพลิงกลางเมือง ขุน นางจะตอ้ งโทษ ถา้ วนั เสาร์เปน็ วันเถลงิ ศก บรรดาทหารทั้งปวงจะมี ชยั ชนะแก่ข้าศกึ ศัตรู การพยากรณ์ข้างต้น ก็เช่นเดียวกับท้านายดวงเมืองใน ปัจจุบัน อนั เป็นการคา้ นวณทางโหรศาสตร์ที่เป็นสถิติชนิดหนึ่ง ซึ่ง อาจจะเกิดหรือไม่เกดิ เหตกุ ารณ์นนั้ ๆ ขึ้นก็ได้ แต่ค้าท้านายเหล่าน้ี ก็เป็นเสมือนค้าเตือนล่วงหน้าให้ทุกคนด้ารงชีวิตอยู่ด้วยความไม่ ประมาท และรูจ้ กั เตรยี มวธิ ปี อ้ งกนั หรอื แก้ไขไวล้ ว่ งหน้า ************************


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook