ก คานา เอกสารฉบับน้ีจัดทาขึ้นเพ่ือรายงานผลการปฏิบัติงาน เพ่ือรับรางวัลทรงคุณค่า สพฐ. (OBEC AWARDS) ระดับภาคเหนือ (การศึกษาพิเศษ) ครั้งที่ 8 ประจาปีการศึกษา 2561 รางวัลที่ เสนอขอ สถานศึกษายอดเยี่ยม ประเภท หน่วยงานยอดเย่ียม สานักบริหารงานการศึกษาพิเศษ โรงเรียนการศึกษาสงเคราะห์ ด้านนวัตกรรมและเทคโนโลยีเพ่ือการเรียนการสอนยอดเย่ียม โดยมี รายละเอียดและเอกสารอ้างอิงตามเกณฑ์การประเมิน 2 องค์ประกอบ ดังนี้ องค์ประกอบที่ 1 ด้าน การบริหารงานตามบทบาท/ภารกจิ ของสถานศึกษา ประกอบด้วย 6 ตัวชี้วัด คือ 1.1) ด้านคุณภาพ ผเู้ รียน 1.2) ด้านครูและบคุ ลากรทางการศึกษา 1.3) ด้านกายภาพ 1.4) ดา้ นการบรหิ ารจดั การ 1.5) ดา้ นสือ่ และเทคโนโลยีเพ่ือการสอน 1.6) ด้านความสัมพันธ์กับชุมชนและหน่วยงานอ่ืน องค์ประกอบ ท่ี 2 ดา้ นนวัตกรรมและเทคโนโลยเี พื่อการเรียนการสอน ประกอบด้วย 11 ตัวชี้วัด คือ 2.1) ความ เป็นมาของนวัตกรรม 2.2) กระบวนการพัฒนานวัตกรรม 2.3) การออกแบบนวัตกรรม 2.4) การ ดาเนินการพัฒนานวัตกรรม 2.5) การมีส่วนร่วมในการพัฒนานวัตกรรม 2.6) ผลที่เกิดจากการนา นวัตกรรมไปใช้ 2.7) ประโยชน์ของนวัตกรรมในการแก้ปัญหาหรือพัฒนาคุณภาพของกลุ่มเป้าหมาย 2.8) การใช้ทรัพยากรในการพัฒนานวัตกรรม 2.9) การเรียนรู้ร่วมกันในการพัฒนานวัตกรรม 2.10)ลักษณะของนวัตกรรมที่นาไปใช้ 2.11) การยอมรับนวัตกรรม และมีเอกสารและรายละเอียด ประกอบการพิจารณาดงั แนบมาพร้อมน้ี ทั้งน้ี ข้าพเจ้าฯหวังเป็นอย่างยิ่งว่าเอกสารฉบับนี้จะสามารถใช้ประกอบการพิจารณาของ คณะกรรมการในการประเมินผลงานการปฏิบัติงานด้านนวัตกรรมและเทคโนโลยีเพื่อการเรียนการ สอนยอดเย่ยี ม ของโรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จงั หวัดเชียงใหม่ ได้เปน็ อย่างดี (นางวลิ าวลั ย์ ปาลี) ตาแหน่ง ผูอ้ านวยการชานาญการพิเศษ โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จังหวดั เชยี งใหม่
สารบญั ข คานา หนา้ สารบญั ก แบบรายงานด้านนวัตกรรมและและเทคโนโลยีเพื่อการเรียนการสอนยอดเยี่ยม ข 1 1. ชื่อรางวลั ทเ่ี สนอขอ 1 2. หนว่ ยงานตน้ สังกัด 1 3. ผลการทดสอบทางการศึกษาขน้ั พื้นฐานระดับชาติ (O-NET) ของนกั เรยี นในทกุ 1 ระดบั ชัน้ ทสี่ อบ 1 4. การรับรองมาตรฐานการศึกษา 1 5. การไดร้ บั รางวลั /การยกย่องเชิดชูเกยี รติ 2 องค์ประกอบท่ี 1 ดา้ นการบรหิ ารงานตามบทบาท/ภารกิจของสถานศึกษา 2 6 ตวั ช้วี ดั ท่ี 1 ด้านคณุ ภาพผเู้ รียน 8 ตัวชี้วดั ที่ 2 ด้านครูและบุคลากรทางการศกึ ษา 11 ตวั ชี้วดั ท่ี 3 ดา้ นกายภาพ 16 ตวั ชี้วดั ท่ี 4 ดา้ นการบรหิ ารจดั การ 18 ตัวช้วี ดั ที่ 5 ด้านสือ่ และเทคโนโลยเี พอื่ การสอน 20 ตัวชว้ี ัดที่ 6 ดา้ นความสัมพนั ธก์ บั ชุมชนและหนว่ ยงานอ่ืน 20 องคป์ ระกอบท่ี 2 ด้านนวตั กรรมและเทคโนโลยเี พ่ือการเรียนการสอน 23 ตวั ชว้ี ัดท่ี ๑ ความเปน็ มาของนวตั กรรม 26 ตัวช้วี ดั ที่ ๒ กระบวนการพัฒนานวตั กรรม 33 ตัวชว้ี ัดท่ี 3 การออกแบบนวตั กรรม 41 ตัวชี้วัดที่ 4 การดาเนินการพัฒนานวตั กรรม 41 ตัวชี้วดั ท่ี 5 การมีสว่ นรว่ มในการพฒั นานวตั กรรม 46 ตวั ชว้ี ดั ที่ 6 ผลที่เกดิ จากการนานวตั กรรมไปใช้ ตวั ชี้วัดท่ี 7 ประโยชน์ของนวัตกรรมในการแก้ปญั หาหรือพฒั นาคณุ ภาพของ 46 48 กลมุ่ เป้าหมาย 48 ตัวชี้วดั ที่ 8 การใชท้ รัพยากรในการพฒั นานวัตกรรม 48 ตัวชี้วัดท่ี 9 การเรยี นร้รู ว่ มกันในการพฒั นานวตั กรรม 50 ตวั ชี้วดั ท่ี 10 ลกั ษณะของนวัตกรรมท่ีนาไปใช้ 51 ตัวชว้ี ัดที่ ๑1 การยอมรับนวตั กรรม 52 ภาคผนวก 53 เอกสารอา้ งอิง สาเนารายงานผลการทดสอบ O-NET ปกี ารศึกษา 2560 (สทศ.) 54 เอกสารอา้ งองิ สาเนาผลการประเมินคุณภาพภายนอกรอบ ๓ (สมศ.) 78 เอกสารอา้ งองิ สาเนาค่าไฟฟ้าโรงเรยี นฯยอ้ นหลัง 3 ปี เอกสารอ้างองิ สาเนาเกยี รติบัตร/โลร่ างวัล 3 ปีการศกึ ษาที่ผา่ นมา เอกสารอ้างอิง ภาพกิจกรรมผลงานของสถานศึกษา
สารบัญ (ต่อ) ค เอกสารอา้ งองิ ภาพความสาเรจ็ ของการนานวัตกรรม 3School Model หน้า เอกสารอา้ งอิง ภาพความสาเร็จของระบบสารสนเทศภายในโรงเรยี นฯ 90 เอกสารอา้ งอิง ภาพกจิ กรรมต่างๆของโรงเรียนฯ 93 เอกสารอ้างอิง ภาพการประหยัดพลงั งานของโรงเรยี นฯ 96 เอกสารอา้ งองิ การดาเนนิ งานตามนโยบายของกระทรวงศึกษาธิการ 97 เอกสารอ้างองิ ภาพสง่ิ แวดล้อมภายในโรงเรยี นฯ 98 เอกสารอ้างอิง ภาพกจิ กรรมความรว่ มมือกับชมุ ชนและสังคม 99 100
กศ.พศ. ๙/6๑ แบบรายงานด้านนวตั กรรมและเทคโนโลยีเพื่อการเรยี นการสอนยอดเยี่ยม เพือ่ รบั รางวัลทรงคณุ คา่ สพฐ. (OBEC AWARDS) ประจาปี 2561 ระดับภาคเหนือ (การศกึ ษาพเิ ศษ) ๑. ชอื่ รางวัลทเี่ สนอขอ สถานศกึ ษายอดเยยี่ ม ชอื่ สถานศึกษา โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จังหวัดเชียงใหมํ ประเภท หนวํ ยงานยอดเยีย่ ม สงั กัด สงั กัดสานกั บริหารการศกึ ษาพิเศษ โรงเรยี นการศึกษาสงเคราะห์ ๒. หน่วยงานต้นสงั กดั สานักบริหารงานการศกึ ษาพเิ ศษ ส่วนราชการ สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน กระทรวงศกึ ษาธกิ าร ๓. ผลการทดสอบทางการศกึ ษาข้นั พืน้ ฐานระดับชาติ (O-NET) ของนักเรยี น 3.1 คะแนนเฉลย่ี ของทุกวชิ าทีส่ อบ (O-NET) ของปีการศึกษา 2560 - ระดบั ชนั้ ประถมศึกษาปีท่ี 6 ผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาติ (O-NET) ระดับชัน้ ประถมศึกษาปที ี่ 6 ประจาปกี ารศึกษา 2560 ระดับ/รายวิชา ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ คณิตศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ โรงเรียน 47.00 21.79 31.43 36.00 จงั หวัด 46.71 37.66 37.05 39.25 สงั กัด สศศ. 37.41 26.37 27.63 31.81 ประเทศ 46.58 36.34 37.12 39.12 (เอกสารอ๎างองิ จาก ผลการทดสอบ O-NET สทศ. ปีการศึกษา 2560 ภาคผนวก หน๎า 51) ๔. การรับรองมาตรฐานการศกึ ษา โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ ๓๑ จังหวัดเชียงใหมํ มีผลการประเมินคุณภาพภายนอกรอบ ๓ ของสถานศกึ ษา ผลการประเมินอยํใู น ระดับ ดี คะแนนท่ไี ด้ 82.89 (เอกสารอ๎างองิ จาก ผลการประเมินคุณภาพภายนอกรอบ ๓ สมศ. ภาคผนวก หนา๎ 52) ๕. การได้รับรางวลั /การยกยอ่ งเชดิ ชเู กยี รติ โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ ๓๑ จังหวัดเชียงใหมํ สังกัดสานักบริหารงานการศึกษาพิเศษ ไดร๎ บั รางวลั /ยกยอํ ง เชิดชเู กียรติ 3 ปกี ารศึกษาทผี่ ํานมาผลงานปรากฏดงั น้ี
๒ ผลงานของสถานศึกษา 1. โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 จังหวัดเชียงใหมํ ได๎รับรางวัลรองชนะเลิศอันดับ 2 การ ประกวดโรงเรียนสืบสานพระราชดาริสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ในระดับ จงั หวัด ประจาปีการศกึ ษา 2558 จากหนวํ ยงานโครงการแผนํ ดนิ ทอง มณฑลทหารบกที่ 33 2. โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 มีผลการปฏิบัติงานที่ดีและเป็นเลิศ (Best Practie : BP) ระดับเขตพ้ืนท่ีการศึกษา ด๎านการน๎อมนาหลักปรัญญาเศรษฐกิจพอเพียงสูํสถานศึกษา “สถานศึกษาพอเพียงต๎นแบบ ปี 2559”ตามประกาศของสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษา เชยี งใหมํ เขต 6 ศนู ย์สถานศึกษาพอเพียง มูลนธิ ิยุวสถิรคุณ 3. โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 ไดร๎ บั เกียรติบัตรเพื่อแสดงวาํ ไดส๎ ํงเสริมกิจกรรมรณรงค์ การใช๎ส่ือออนไลน์อยํางปลอดภัยสาหรับเด็กและเยาวชน ประจาปี 2559 หนํวยงานปราบปราม อาชญากรรมทางอนิ เตอร์เนต็ ฯ ภาค 5 4. โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จงั หวดั เชยี งใหมํ ผํานการประเมินเป็น “ศูนย์การเรียนร๎ู ตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง ดา๎ นการศึกษา ปีการศึกษา 2560 จากกระทรวงศึกษาธิการ 5. โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวัดเชียงใหมํ ได๎รับโลํและเกียรติบัตรรางวัลเสมา ป.ป.ส. ประเภทผลงานดีเดํน ระดับเงิน โครงการสถานศึกษาสีขาว ปลอดยาเสพติดและอบายมุข ปี การศกึ ษา ๒๕๕๙ จากกระทรวงศกึ ษาธิการ 6. โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวัดเชียงใหมํ ได๎รับการรับรองมาตรฐานโรงเรียน สํงเสรมิ สุขภาพระดับทอง ประจาปี 2560 จากกรมอนามยั 7. โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวัดเชียงใหมํ ได๎รับรางวัลระบบการดูแลชํวยเหลือ นักเรียน ประจาปี ๒๕๖๑ ประเภทสถานศึกษา (โรงเรียนการศึกษาสงเคราะห์) ระดับทอง จาก สานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พ้นื ฐาน กระทรวงศึกษาธกิ าร 8. โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวัดเชียงใหมํ ได๎รับรางวัล MOE AWARDS ปี การศึกษา 2559 ผลงานระดับดีเดํน ประเภทสถานศึกษา สาขาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง จากกระทรวงศึกษาธกิ าร 9. โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวัดเชียงใหมํได๎เข๎ารับการประเมินและคัดเลือกใน โครงการคัดเลือกนักเรียนและสถานศึกษาเพื่อรับรางวัลพระราชทาน ประเภทสถานศึกษา ระดับ มัธยมศึกษา ขนาดกลาง ประจาปีการศกึ ษา 2561 เป็นตัวแทนระดบั จงั หวัด (เอกสารอา๎ งอิงจาก สาเนาเกียรติบัตร ภาคผนวก หน๎า 54) องคป์ ระกอบที่ 1 ด้านการบรหิ ารงานตามบทบาท/ภารกจิ ของสถานศึกษา ตัวช้ีวัดท่ี 1 ด้านคุณภาพผู้เรยี น โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ ๓๑ จังหวัดเชียงใหมํ เป็นโรงเรียนประเภทอยูํประจา จัด การศึกษาขั้นพ้ืนฐานสาหรับผ๎ูด๎อยโอกาสมุํงพัฒนาการเรียนการสอนที่มุํงสํูผลสัมฤทธิ์ด๎านผ๎ูเรียนเป็น สาคัญ เสริมสร๎างทักษะด๎านอาชีพ มีการดารงชีวิตบนวิถีความพอเพียงตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง ผ๎ูเรียนมีความสามารถในการเรียนร๎ูด๎วยตนเอง มีทักษะประสบการณ์ ท่ีพึ่งตนเองได๎ การ บริหารจัดการศึกษาสาหรับผู๎ด๎อยโอกาสของโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ ๓๑ จังหวัดเชียงใหมํ จึง มํุงเนน๎ ใหผ๎ ู๎เรยี นไดเ๎ กดิ การเรยี นร๎ดู ๎วยตนเอง เป็นผม๎ู ีความรู๎ มคี วามสามารถ และมีทักษะประสบการณ์
๓ ด๎านวิชาสามัญพื้นฐานและวิชาชีพ ให๎มีทักษะการดารงชีวิต อยํูในสังคมได๎อยํางมีความสุข ดังน้ันการ บริหารจัดการศึกษาได๎กาหนดเป็นแผนการปฏิบัติงานประจาปีที่มีกลยุทธ์การบริหารงานเพื่อสร๎าง เสริม การบริหารจัดการศึกษาที่มีความสอดคล๎องกับนโยบายและยุทธศาสตร์ของสานักงาน คณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน นโยบายและยุทธศาสตร์ของสานักบริหารงานการศึกษาพิเศษ ไปสกูํ ารปฏบิ ตั ิงานทีด่ ีเลิศ (Best Practices) ของสถานศกึ ษาแบบตํอเนอื่ ง 1.1 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นของนักเรยี น โดยรวมสูงกวา่ คะแนนเฉล่ียรวมทุกวิชา ของปกี ารศึกษาทผ่ี ่านมา คะแนนเฉลีย่ รวม คะแนนเฉลีย่ รวม กลุม่ สาระวิชาฯ ปกี ารศึกษา ปกี ารศึกษา สูงขึน้ 255๙ 25๖๐ คณิตศาสตร์ 81.24 81.22 +0.98 วทิ ยาศาสตร์ 87.45 89.24 +1.79 ภาษาไทย 86.65 88.35 +1.70 ภาษาตาํ งประเทศ 82.11 81.25 -0.86 สังคมศึกษา 92.89 93.24 +0.35 การงานอาชพี ฯ 90.15 91.88 +1.73 สขุ ศกึ ษาและพลศึกษา 91.66 92.12 +0.46 ศิลปศึกษา 90.45 90.87 +0.42 คะแนนเฉล่ียรวม 87.70 88.52 +0.82 จากตารางพบวาํ ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนของนักเรียน โดยรวมคะแนนเฉล่ียรวม ปีการศึกษา 2560 สงู กวําคะแนนเฉล่ียรวม ปีการศึกษา 2559 อยูทํ ่ี +0.82 โดยมีวชิ าที่สงู กวําปที ี่ ผาํ นมา คือ คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ ภาษาไทย สงั คมศกึ ษา การงานอาชพี ฯ สขุ ศกึ ษาและพลศึกษา และศิลปศึกษา 1.2 ผูเ้ รียน ร้อยละ 97 มีสุขภาพกายและสุขภาพจติ ทดี่ ี โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวัดเชียงใหมํ ได๎มีการดาเนินการทดสอบ สมรรถภาพทางกายของนักเรียนทุกคน ด๎วยแบบทดสอบสมรรถภาพทางกายท่ีสัมพันธ์กับสุขภาพ สาหรบั เด็กไทย และมีการตรวจสอบสขุ ภาพนักเรียน มาตรฐานและตวั บ่งช้ี จานวนท่ีผ่านดขี ึ้นไป รอ้ ยละ มาตรฐานที่ 1 ตวั บ่งช้ีที่ 1.1 มีสขุ นิสยั ในการดูแลสขุ ภาพและออกกาลังกายสม่าเสมอ 873 98.64 ตัวบง่ ชี้ท่ี 1.2 มีน้าหนัก สํวนสูง และมีสมรรถภาพทางกาย ตามเกณฑ์ มาตรฐาน 875 98.87 ตัวบ่งชีท้ ่ี 1.3 ปูองกนั ตนเองจากสิ่งเสพตดิ ใหโ๎ ทษและหลีกเลี่ยงตนเอง 857 96.77 จากสภาวะท่ีเสย่ี งตํอความรุนแรงโรค ภยั อบุ ัติเหตุและป๎ญหาทางเพศ ตวั บ่งชี้ท่ี 1.4 เห็นคุณคาํ ในตนเอง มีความมน่ั ใจ กลา๎ แสดงออกอยําง เหมาะสม 816 92.10 ตวั บ่งช้ที ี่ 1.5 มมี นุษยสัมพนั ธท์ ี่ดีและใหเ๎ กียรตผิ อู๎ ่นื 846 95.50 ตวั บง่ ชท้ี ี่ 1.6 สร๎างผลงานจากเขา๎ รํวมกจิ กรรมด๎านศลิ ปะ ดนตร/ี นาฏศลิ ป์กีฬา/นนั ทนาการ ตามจินตนาการ 857 96.70 ตวั บง่ ชี้ที่ 1.7 มีทักษะการดารงชีวติ ในโรงเรยี นประจา 868 98.00
๔ 1.3 ผ้เู รยี น รอ้ ยละ 98 มีคณุ ธรรม จรยิ ธรรม และคา่ นยิ มอนั พึงประสงค์ มาตรฐานและตวั บง่ ช้ี จานวนทผี่ ่านดขี ึน้ ไป รอ้ ยละ มาตรฐานท่ี 2 ตัวบ่งชี้ที่ 2.1 มีคุณลกั ษณะทีพ่ ึงประสงค์ ตามหลกั สูตร 874 98.63 ตวั บ่งช้ที ี่ 2.2 เออ้ื อาทรผู๎อ่นื และกตญั ํู กตเวทีตํอผู๎มีพระคุณ 863 97.40 ตัวบง่ ชท้ี ี่ 2.3 ยอมรับความคิดและวฒั นธรรมท่แี ตกตาํ ง 855 96.50 ตวั บ่งชีท้ ่ี 2.4 ตระหนกั รู๎คุณคํา รวํ มอนรุ ักษ์และพฒั นาส่ิงแวดล๎อม 872 98.36 1.4 ผู้เรยี น ร้อยละ 88.40 มที กั ษะการสอื่ สารเป็นอยา่ งดี มาตรฐานและตัวบ่งช้ี จานวนที่ผ่านดขี ้นึ ไป ร้อยละ มาตรฐานที่ 4 88.40 ตัวบง่ ชท้ี ี่ 4.1 สรปุ ความคิดจากเรือ่ งท่ีอํานฟง๎ และดู และสอื่ สารโดย การพดู หรือเขยี นตามความคิดของตนเอง 783 1.5 ผเู้ รียน ร้อยละ 87 มีความใฝ่รู้ มที ักษะในการแสวงหาความรู้ และพัฒนา ตนเองอย่างตอ่ เนอื่ งมาตรฐานและตวั บง่ ช้ี จานวนที่ผ่านดขี นึ้ ไป รอ้ ยละ มาตรฐานท่ี 3 ตัวบ่งชท้ี ี่ 3.1 มีนสิ ยั รักการอํานและแสวงหาความรดู๎ ๎วยตนเองจาก หอ๎ งสมุด แหลํงเรยี นร๎ู และส่ือตาํ ง ๆ รอบตัว 736 83 ตวั บ่งชี้ท่ี 3.2 มีทักษะในการอาํ น ฟง๎ ดู พูด เขยี น และตั้งคาถามเพ่ือ 745 84 ค๎นคว๎าหาความร๎ูเพ่ิมเติม ตัวบ่งชี้ที่ 3.3 เรยี นรร๎ู วํ มกนั เปน็ กลมุํ แลกเปล่ยี นความคดิ เหน็ เพ่ือการ เรียนรูร๎ ะหวํางกนั 798 90 ตัวบ่งชท้ี ่ี 3.4 ใชเ๎ ทคโนโลยี ในการเรียนรูแ๎ ละนาเสนอผลงาน 789 89 1.6 ผู้เรียน ร้อยละ 88.20 มีทักษะการคิดอย่างเป็นระบบ ตัดสินใจแก้ปัญหา ได้ อยา่ งสมเหตุ สมผล มาตรฐานและตวั บง่ ชี้ จานวนทผ่ี ่านดีขึ้นไป รอ้ ยละ มาตรฐานท่ี 4 ตวั บง่ ชท้ี ่ี 4.1 สรุปความคิดจากเรอ่ื งทอ่ี ํานฟง๎ และดู และสอ่ื สารโดย การพดู หรือเขยี นตามความคิดของตนเอง 783 88.40 ตัวบ่งชท้ี ี่ 4.2 นาเสนอวธิ ีคดิ วธิ ีการแกป๎ ญ๎ หา ดว๎ ยภาษา หรอื วธิ กี าร 752 84.91 ของตนเอง ตัวบ่งช้ีที่ 4.3 กาหนดเปาู หมายคาดการณ์ตดั สินใจแกป๎ ญ๎ หาโดยมี เหตผุ ลประกอบ 772 87.16 ตัวบ่งชี้ที่ 4.4 มีความคดิ ริเริ่ม และสร๎างสรรคผ์ ลงานด๎วยความ 818 92.34 ภาคภูมิใจ
๕ 1.7 ผเู้ รยี น รอ้ ยละ 96 มที ักษะในการทางานและสามารถทางานรว่ มกบั ผู้อื่นได้ มาตรฐานและตัวบง่ ช้ี จานวนท่ผี า่ นดีข้นึ ไป รอ้ ยละ มาตรฐานท่ี 6 ตวั บ่งชที้ ี่ 6.1 วางแผนการทางานและดาเนินการจนสาเร็จ 810 91.44 ตัวบ่งชี้ที่ 6.2 ทางานอยาํ งมีความสขุ มงํุ มนั่ พัฒนางานและภูมใิ จใน ผลงานของตนเอง 868 98.00 มาตรฐานท่ี 6ตวั บง่ ช้ที ี่ 6.3 ทางานรํวมกับผอู๎ นื่ ได๎ 840 94.77 ตัวบ่งชท้ี ่ี 6.4 มคี วามรู๎สึกที่ดตี อํ อาชีพสุจริตและหาความรเ๎ู กี่ยวกับ อาชพี ที่ ตนเองสนใจ 859 97.00 (เอกสารอา๎ งอิง ภาคผนวก หนา๎ 52) 1.8 ผเู้ รยี นมคี วามสามารถในการแข่งขัน ไดร้ ับรางวัลดเี ดน่ ในด้าน และระดับต่างๆ ผลงานนกั เรยี น - ระดบั ประเทศ/ระดบั ชาต/ิ ระดบั โลก 1. เด็กชายชัยณรงค์ วงศ์ดารงวิวัฒน์ ได๎รับรางวัลชนะเลิศอันดับ ๑ ประเภทวิ่ง ๑,๕๐๐ เมตร อนุชนชาย ในการแขํงขันชิงชนะเลิศแหํงประเทศไทยและนานาชาติ ชิงถ๎วยพระราชทาน ครั้งท่ี ๖๓ ประจาปี ๒๕๖๐ 2. เด็กชายชัยณรงค์ วงศ์ดารงวิวัฒน์ ได๎เป็นตัวแทนของประเทศไทยรํวมการแขํงขันกีฬา Gross Country Paris 2018 ISF World of Participation ณ ประเทศฝรั่งเศส 3. เด็กชายปิติภัทร เสรีประชาคม ได๎ผํานเข๎ารอบชิงชนะเลิศ การแขํงขันกรีฑา โครงการ สํงเสริมกิจกรรมทางกายด๎วยกรีฑาสาหรับเด็ก Kid’s Athletics Thailand 2016 ใน ณ วันที่ ตุลาคม 2559 โรงเรยี นกีฬาจงั หวดั สุพรรณบรุ ี จังหวดั สพุ รรณบรุ ี 4. นายชัยณรงค์ วงค์ดารงวิวัฒน์ ได๎รับรางวัลชนะเลิศ ประเภท วิ่ง 5,000 เมตร (ชาย) สถิติ 17.33.70 นาที ในการแขํงขันกีฬาเยาวชนแหํงชาติ ภาค 5 ครั้งที่ 34 “แมํระมิงค์เกมส์” ระหวาํ งวันท่ี 15 – 25 พฤศจิกายน 2560 5. นักเรยี นได๎รบั รางวัลรองชนะเลศิ อนั ดับ 3 การแขํงขนั หุํนยนต์ยุวชนชิงแชมป์ประเทศไทย ในปกี ารศึกษา 2560 - ระดับจังหวดั /ระดบั ภาค 1. ได๎รับเกยี รติบตั รรางวัลชนะเลิศ การแขํงขันวอลเลย์บอลหญิงระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย /ระดบั ประกาศนบี ตั รวิชาชพี วนั ตอํ ตา๎ นยาเสพติดโลก (ทาดีเพื่อพํอสานตํอก๎ป๎ญหายาเสพติด) จังหวัด เชยี งใหมํ ประจาปี 2560 3. เดก็ หญิงเบญ็ ญญาภา นนั ทวเิ ชยี รชม และคณะ รบั รางวัลเหรียญเงิน การแขํงขันโครงงาน คุณธรรม ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนตน๎ จากการแขงํ ขนั ศลิ ปหตั ถกรรม ครง้ั ท่ี 67 ระดบั ภาคเหนือ 4. เด็กหญิงปวีณา แซํเฮ๎อ รับรางวัลเหรียญทอง การแขํงขันเดี่ยวซออู๎ ระดับประถมศึกษา ตอนปลาย จากการแขํงขนั ศลิ ปหัตถกรรมนกั เรียน ครงั้ ท่ี 67 ภาคเหนอื 5. นางสาวกัญญณัฐ เชาว์ป๎ญญาสกลุ ได๎รบั รางวลั ตน๎ แบบคนดีศรีเชียงใหมํ ประจาปี 2561 6. นายวัชรพล พวกกลา๎ กุศล ไดร๎ ับรางวัล ตน๎ แบบคนดีศรเี ชยี งใหมํ ประจาปี 2561 7. นางสาวอมหวาน กิจสาราญกร ไดร๎ บั รางวัล ตน๎ แบบคนดีศรีเชียงใหมํ ประจาปี 2561
๖ - ระดับเขตพน้ื ที่การศึกษา กลมุ่ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย 1. สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี พระราชทาน รางวัลรองชนะเลิศ อันดับ 1 การประกวดหนังสือเลํมเล็ก “มรดกทะเลไทย” จากสถาบันวิจัยทรัพยากรทางน้า จฬุ าลงกรณ์ มหาวิทยาลัย กลมุ่ สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ 1. ได๎รับรางวัลเหรียญทอง กิจกรรมการแขํงขันสร๎างสรรค์ผลงานคณิตศาสตร์ โดยใช๎ Program GSP ระดบั ชัน้ ม.4-6 สานกั งานเขตพน้ื ท่ีการศึกษาประถมศึกษา เชียงใหมํ เขต 6 กลมุ่ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์ 1. ได๎รบั รางวัลเหรียญทอง กจิ กรรมการแขงํ ขันอัจฉริยภาพทางวทิ ยาศาสตร์ ระดับชั้น ม.1-3 สานักงานเขตพ้ืนทีก่ ารศึกษาประถมศกึ ษา เชียงใหมํ เขต 6 กล่มุ สาระการเรยี นรู้ภาษาต่างประเทศ 1. ได๎รับรางวัลเหรียญทอง อันดับ 1 กิจกรรมการแขํงขันพูดภาษาอังกฤษ ( Impromptu Speech ) ระดับชัน้ ม.4-6 สานกั งานเขตพืน้ ท่กี ารศึกษาประถมศกึ ษา เชยี งใหมํ เขต 6 กลุ่มสาระการเรยี นรู้สงั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม 1. ได๎รับรางวัล เหรียญทอง กิจกรรมการแขํงขันการประกวดมารยาทไทย ระดับชั้น ม.1-3 สานักงานเขตพื้นที่การศกึ ษาประถมศึกษา เชียงใหมํ เขต 6 กลมุ่ สาระการเรียนรู้ศิลปะ 1. รางวัลเกียรติบัตร การประกวดศิลปกรรม ปตท.เยาวชนภาคเหนือ ครั้งท่ี 16 ประจาปี พ.ศ. 2558 “อนาคต...ออกแบบได๎ : Image of the Future” บริษทั ปตท.จากัด (มหาชน) รวํ มกบั มหาวิทยาลัยเชยี งใหมํ กล่มุ สาระการเรียนรู้สุขศกึ ษาและพละศึกษา 1. รางวัลชนะเลศิ การแขงํ ขนั Kid’s Athletics ประเภทรุนํ อายุ 7-8 ปสี มาคมกีฬา กรฑี า แหงํ ประเทศไทย ในพระบรมราชูปถมั ภ์ กลุม่ สาระการเรียนรู้การงานอาชพี และเทคโนโลยี 1. ไดร๎ ับรางวลั เหรยี ญทอง การแขํงขันโครงงานอาชีพ ระดับชั้น ม.1-3 สานกั งานเขตพื้นท่ี การศึกษา ประถมศกึ ษา เชยี งใหมํ เขต 6 (เอกสารอ๎างองิ ภาคนวก หน๎า 70) ตัวชีว้ ดั ท่ี 2 ด้านครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษา โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวัดเชียงใหมํ มีจานวนครูและบุคลากรทางการ ศึกษา ประจาปีการศกึ ษา 2561 จานวน 90 คน ขา๎ ราชการครูจานวน ๒7 คน พนกั งานราชการ ๓๙ คน และบคุ ลากรทางการศึกษาอื่นๆ จานวน ๒4 คน จากผลการประเมินคุณภาพภายในจากต๎นสังกัด ปีการศึกษา 2561 พบวําครูท้ังหมด 6๕ คน ของโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวัดเชียงใหมํ ปฏิบัติงานตามบทบาทหน๎าที่อยํางมี ประสทิ ธภิ าพและเกดิ ประสทิ ธิผล ดังนี้ 2.1 ครู จานวน 65 คน คิดเป็นร้อยละ 100 มีทักษะการจัดกระบวนการเรียนรู้ท่ี เน้นผูเ้ รียนเป็นสาคัญอย่ใู นระดบั คุณภาพ ดี – ดเี ยย่ี ม
๗ 2.2 ครู จานวน ๖๕ คน คิดเป็นร้อยละ 100 มีความมุ่งม่ันในการปฏิบัติงานเพื่อ พฒั นาผูเ้ รยี นและสถานศกึ ษาและเปน็ แบบอยา่ งทด่ี ีในการปฏบิ ตั งิ าน 2.3 ครู จานวน 65 คน คิดเป็นร้อยละ 100 มีการวัดและประเมินผลที่มุ่งเน้นการ พฒั นาผู้เรียนด้วยวธิ กี ารท่ีหลากหลาย 2.4 ครูจานวน ๕๒ คน คิดเป็น ร้อยละ 80.00 มีการพัฒนาสื่อนวัตกรรม นาภูมิ ปัญญาท้องถ่นิ และแหล่งเรยี นรมู้ าใช้ในการจัดกระบวนการเรียนรู้ 2.5 ครูและบุคลากรทางการศึกษาได้รับการส่งเสริมการประเมินวิทยฐานะ หรือ สวัสดกิ ารอยา่ งทั่วถึง 1.) รองผ๎ูอานวยการสถานศึกษา ได๎รับการเล่ือนตาแหนํงเป็นผ๎ูอานวยการ สถานศึกษา จานวน 1 คน 2.) ครไู ด๎รับการเลือ่ นตาแหนํงเป็นรองผอ๎ู านวยการสถานศกึ ษา จานวน 1 คน 3.) ครูไดร๎ ับการประเมินวิทยฐานะชานาญการ จานวน 10 คน 4.) พนกั งานราชการได๎รบั การเลอื่ นตาแหนํงเปน็ ครูผู๎ชวํ ย จานวน 7 คน 5.) ครูได๎รบั สวัสดกิ ารเรื่องทอ่ี ยูอํ าศยั อาหาร และสงํ เสริมใหข๎ วัญกาลังใจในการ ปฏบิ ัตงิ าน เนือ่ งในโอกาสตาํ งๆ เชนํ งานมงคล งานอวมงคล และการทาบญุ ในโอกาสตํางๆ ตลอดท้งั ปี 2.6 ครูและบุคลากรทางการศกึ ษาได้รับการพฒั นาในดา้ นตา่ งๆ อย่างตอ่ เนอ่ื ง 1.) ครูไดร๎ ับการพัฒนาโดยการอบรมตามเกณฑ์ทุกคน 2.) ครูได๎รับการพฒั นาโดยการศกึ ษาดูงาน จานวน 65 คน คิดเปน็ รอ๎ ยละ 100 2.7 ครูและบุคลากรทางการศึกษามีผลงานทางด้านการวิจัยและนาผลของการวิจัย ไปพัฒนาผู้เรียนอย่างได้ผล ปีการศึกษาละ 2 เร่ือง ทุกคน คิดเป็นร้อยละ 100 และผู้เรียนมี ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยรวมสูงกว่าคะแนนเฉล่ียรวมทุกวิชาของปีการศึกษาที่ผ่านมา ร้อยละ 100 1.) ครไู ดน๎ าเสนอผลงานวชิ าการ ประเภท วจิ ยั ชนั้ เรยี น ในปี พ.ศ.2560 ดงั น้ี พ.ศ.2560 ท่ี รางวลั จานวน ( 65 คน) รอ้ ยละ 1. ดีเยี่ยม 22 33.85 2. ดีมาก 25 38.46 3. ดี 18 27.89 รวม 65 100.00 2) ครูการศึกษาพิเศษ นาเสนอ ผลงานวิจัยการจัดการศึกษาสาหรับนักเรียนท่ีมี ความบกพรอํ งทางการเรยี นรู๎ จานวน 2 คน 1. นางพิรุฬห์ลกั ษณ์ เจริญเดช ตาแหนํง ครูชานาญการ นาเสนองานวิจัย หัวข้อ การพัฒนาทักษะการอํานและการเขียน โดยใช๎ชุดฝึกหมวดคาที่นามาใช๎ในชีวิตประจาวัน ณ ศูนย์การศกึ ษาพเิ ศษ เขต 8 จงั หวดั เชียงใหมํ 2. นางสาวพิมพ์พิชมญซุ์ สุมายอง ตาแหนํง พนักงานราชการ นาเสนอ งานวิจัย หัวข้อ การพัฒนาทักษะการเรียนร๎ู เรื่อง สระอาสาหรับเด็กท่ีมีความบกพรํองทางการเรียนร๎ู ของนกั เรยี น ชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี 3 โดยแบบฝึกทักษะ ณ โรงแรมบยี อนด์ สวีท กรุงเทพ “การประชุม นาเสนอผลงานวิจัยใน ชั้นเรียนสาหรับผ๎ูเรียนที่มีความต๎องการจาเป็นพิเศษของครูในโรงเรียนศึกษา สงเคราะห”์
๘ 2.8 ครูและบุคลากรทางการศกึ ษาท่มี ีความสามารถไดร้ บั การยกย่องเชดิ ชเู กียรติและ ได้รับรางวัลดีเด่นทางดา้ นและระดบั ต่างๆ ดังนี้ 1. นายวิเศษ ฟองตา รองผ๎ูอานวยการโรงเรียน รับรางวัลรองผ๎ูอานวยการดีเดํน ประจาปี 2560 จาก กลุมํ สถานศกึ ษาสงั กดั สานกั บรหิ ารงานการศกึ ษาพเิ ศษ กลมํุ 6 2. นายวิเศษ ฟองตา รองผ๎อู านวยการโรงเรียน รับรางวัล“ต๎นแบบคนดีศรีเชียงใหมํ ประจาปี 2561” จากโครงการสร๎างปลกุ กระแสการพัฒนาคนและสังคมในระดับจุลภาค 3. นายวิเศษ ฟองตา ได๎รับรางวัล ต๎นแบบคนดีศรีเชียงใหมํประจาปี 2561 ให๎ไว๎ ณ วนั ที่ 18 สงิ หาคม พ.ศ.2561 จากจังหวัดเชยี งใหมํ 4. นางสาวรัตติกาล ยศสุข หัวหน๎ากลุํมงานนโยบายและแผน รับรางวัลสตรี ผ๎ูแนะ แนวด๎านอาชีพดีเดํน (เนื่องในวันสตรีสากล) ประจาปี 2561 จากสานักงานจัดหางานจังหวัดเชียงใหมํ กรมสวสั ดกิ ารและคุ๎งครองแรงงาน กระทรวงแรงงาน 5. นางสาวรัตติกาล ยศสุข หัวหน๎ากลํุมงานนโยบายและแผน รับรางวัล“ต๎นแบบ คนดีศรีแผํนดิน ประจาปี 2559” จากโครงการสร๎างปลุกกระแสการพัฒนาคนและสังคมในระดับ จลุ ภาค 6. นางสาวรัตติกาล ยศสุข หัวหน๎ากลุํมงานนโยบายและแผน รับรางวัล “ครูดีศรี ราชประชานเุ คราะห์ ประจาปี 2559” จากมูลนธิ ริ าชประชานเุ คราะห์ ในระดับจุลภาค 7. นางพิกุล เหมืองคา หัวหน๎ากลุํมบริหารบุคคล รับรางวัล“ต๎นแบบคนดีศรี แผนํ ดิน ประจาปี 2561” จากโครงการสร๎างปลกุ กระแสการพฒั นาคนและสังคมในระดบั จลุ ภาค 8. นางสาวณัฐธนัญา บุญถงึ ได๎รับเกยี รติบตั ร ผู๎ทมี่ ีผลการปฏบิ ัตทิ ี่เป็นเลิศระดับภาค ปี 2559 ด๎านพัฒนาการเรียนรู๎ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ศูนย์สถานศึกษาพอเพียง มลู นิธิยวุ สถริ คณุ 9. นางจิตตานาถ เทพวงศ์ ครู ได๎รับโลํและเกียรติบัตรรางวัลเสมา ป.ป.ส. ประเภท ผลงานดีเดํน ระดับเงิน โครงการสถานศึกษาสีขาว ปลอดยาเสพติดและอบายมุข ปีการศึกษา 2559 จากกระทรวงศกึ ษาธิการ (เอกสารอ๎างองิ ภาคนวก หน๎า 67) ตัวชว้ี ดั ท่ี 3 ด้านกายภาพ โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวัดเชียงใหมํ ตั้งอยูํเลขท่ี 99 หมูํ 10 ตาบลชํางเคิ่ง อาเภอแมํแจํม จังหวัดเชียงใหมํ มีพ้ืนท่ีทั้งหมด จานวน ๒๒๖ ไรํ เป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดกลาง (โรงเรียนด๎อยโอกาส) จัดการเรียนการสอนต้ังแตํช้ันประถมศึกษาปีที่ 1 ถึงช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 6 มี จานวนนกั เรยี นท้งั หมด 797 คน
๙ 3.1 จานวนอาคารเรยี นและอาคารประกอบเพียงพอกับการใช้งาน โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จงั หวัดเชยี งใหมํ ได๎ดาเนนิ การพฒั นาอาคารเรยี นและ สภาพแวดลอ๎ มอยาํ งตํอเนื่อง ดงั นี้ 1.) อาคารเรยี น จานวน 5 หลัง จานวน 50 หอ๎ งเรียน 2.) อาคารฝกึ งาน จานวน 2 หลงั 3.) อาคารโรงอาหารหอประชมุ 101ล./27(พเิ ศษ) จานวน 1 หลงั 4.) อาคารประกอบอ่ืนๆ จานวน 45 หลัง ได๎แกํ โรงหุงต๎ม (จานวน 1 หลัง) , หอนอนมาตรฐาน 26 พร๎อมครุภัณฑ์ (จานวน 11 หลัง) , โรงอาบน้านักเรียน (จานวน 12 หลัง) , ห๎องน้า–ห๎องส๎วม (จานวน 12 หลัง) , อาคารพยาบาล (จานวน 2 หลัง) , โรงยิม (จานวน 1 หลัง) , หอประชุม (จานวน ๒ หลัง) , หอสมุด (จานวน 1 ห๎อง) , บ๎านพักครู แบบ 207 (จานวน 1 หลัง) , บ๎านพักครู แบบ 203/32 (จานวน 3 หลัง) และ บ๎านพักภารโรง (จานวน 3 หลัง) แฟลต นักการ (จานวน 1 หลัง), แฟลต ข๎าราชการครู (จานวน 2 หลัง) อาคารสถานที่ได๎รับการดแู ละและปรับปรุงให๎ พรอ๎ มใช๎งาน ปลอดภัย และสวยงาม 5.) ส่ิงกํอสร๎างอื่น ได๎แกํ เสาธง , สนามบาสเกตบอล , สนามกีฬามาตรฐาน , โรง ยมิ เนเซ่ียม และ สนามฟตุ ซอล พร๎อมโครงหลังคา ๖.) ห๎องเรียนอาคารเรียนเสริมหลักสูตรอยํางครอบคลุม เชํน ห๎องเรียนนาฎศิลป์ , ห๎องเรียนดนตรีไทยสากล , ห๎องเรียนดนตรีพื้นเมือง , ห๎องศิลปะ , ห๎องเรียนปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ จานวน 3 ห๎อง, อาคารฝึกงานอุตสาหกรรม , อาคารฝึกงานคหกรรม , ห๎องสมุดมีชีวิต , อาคาร ศูนยบ์ รกิ ารสนบั สนนุ สาหรับนักเรยี นทม่ี คี วามต๎องการจาเป็นพิเศษทางการศึกษา (Student Support Servie : SSS) , ศนู ยก์ ารเรียนรู๎ ภาควิชาธุรกิจการโรงแรม เป็นตน๎ ๗.) ปรับปรุงบ๎านพักครู , ห๎องสานักงาน ,ห๎องพักครู ห๎องน้า-ห๎องส๎วมของคณะครู และ นกั เรียนห๎องอาหารสาหรบั คณะครูและบุคลากรทางการศึกษา ใหเ๎ พียงพอกบั ความต๎องการ เปน็ ต๎น 3.2 ระบบสาธารณูปโภคอยู่ในสภาพใชก้ ารได้ดี สถานศึกษามีการจัดหาระบบไฟฟูา โดยมีการขยายเขตไฟฟูา มีการประหยัด พลังงานโดยใช๎หลอดไป LED แทนหลอดตะเกียบท้ังโรงเรียน และใช๎ระบบแผงโซลาร์เซลล์ ประปา ภูเขา ต้ังแตํเร่ิมต๎น และมีการจัดทาระบบประปาภูเขา สาหรับใช๎ในงานภูมิทัศน์ทั่วถึงบริเวณของ สถานศึกษา มีระบบน้าด่ืมคุณภาพ โดยได๎รับการสนับสนุนจาก กรมทรัพยากรน้าบาดาล กระทรวง ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดล๎อม โครงการสารวจและพฒั นาแหลํงน้าบาดาลเพื่อสนับสนุนระบบน้า ด่ืมสะอาดใหก๎ ับโรงเรียนท่วั ประเทศ ทกุ ห๎องเรียนมีพัดลมติดต้ังและไฟฟูาแสงสวํางอยํางเพียงพอ และ ในหอ๎ งประชุมมีการติดตงั้ เคร่ืองปรับอากาศเพอื่ ลดความร๎อนเพื่อเอ้ือตอํ การเรียนรู๎ของนักเรียน และใช๎ สาหรบั บรกิ ารหนวํ ยงาน ชมุ ชนในการจัดอบรมสัมมนา เปน็ การให๎บรกิ ารอาคารสถานที่ 3.3 จดั สภาพแวดล้อมและภูมิทัศน์ท่รี ม่ ร่ืนสวยงามเอ้ือต่อการเรียนรู้และเปน็ แหล่ง เรยี นรู้ สถานศึกษามีการจัดสภาพแวดล๎อมที่เป็นระเบียบสวยงามและสะอาด ภูมิทัศน์มี ความสวยงามและมีแหลํงเรียนรู๎ให๎กับผ๎ูเรียนและชุมชน เชํน สนามเด็กเลํน , สวนเกษตรทฤษฎีใหมํ , สวนพฤกษศาสตร์ ฐานการเรียนร๎ูของศูนยก์ ารเรียนรต๎ู ามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ศูนย์ศึกษาวิถี
๑๐ ชีวิตคนเมืองแจํม เป็นต๎น ซ่ึงได๎รับคาชื่นชมจากผู๎ท่ีมาติดตํองานอยํางตํอเนื่อง (เอกสารอ๎างอิง ภาพถาํ ย ภาพผนวก หน๎า 99) 3.4 จดั สภาพแวดล้อม อาคารและอุปกรณ์ต่างๆ เปน็ ระเบยี บเรียบร้อยโดยคานึงถึง ความปลอดภยั เปน็ สาคัญ สถานศึกษามีการวางแผนจัดวางอาคารที่มีความจาเป็นสอดคล๎องกันโดยจัดวาง อาคารเรียนอยูํใกล๎กัน และจัดวางอาคารเรียนเสริมหลักสูตรอยํูบริเวณรอบๆ จะมีการจัดทาร้ัวรอบ ขอบชิดชัดเจน จึงมีความปลอดภัยกับเด็ก มีความสะอาดและปลอดภัย (เอกสารอ๎างอิง ภาพถําย ภาพผนวก หน๎า 99 ) 3.5 มขี อ้ กาหนด/มาตรการในการประหยัดพลังงาน สถานศึกษามีการจัดวางมาตรการการประหยัดพลังงานโดยการประชุมครูและ บุคลากรอยํางชัดเจน และมีการนิเทศกากับติดตามท้ังในท่ีประชุมและบันทึกแจ๎งเวียนอยํางตํอเนื่อง รวมท้ังตดิ ตัง้ ปูายนิเทศไว๎ในสานักงาน ห๎องเรียน ห๎องน้า ในด๎านการใช๎ไฟฟูา การใช๎น้าประปา การใช๎ วัสดุอุปกรณ์ครุภัณฑ์ที่ต๎องดูแลให๎อยูํในสภาพดี ไมํปลํอยปละละเลยจนผุพังการลดการใช๎ เคร่ืองปรับอากาศและใช๎พัดลม มีการเปลี่ยนหลอดไฟท้ังหมดเป็นหลอดไฟประหยัดพลังงาน LED แทนหลอดตะเกยี บเดมิ และยังติดต้ังระบบโซลาร์เซลล์ตามเสาไฟและอาคาร เพ่ือลดคําไฟท่ีสิ้นเปลือง พร๎อมยงั เป็นการประหยัดพลงั งาน ท้ังยังมีการจัดการอบรมเพ่ือสร๎างความตระหนักและเป็นแมํขํายใน การกระจายความร๎ู รวมทงั้ สร๎างแนวปฏิบัติตามมาตรการการประหยัดพลังงานไปยังผ๎ูเรียนและชุมชน ได๎นาเอาเทคโนโลยีสารสนเทศเข๎ามาใช๎บริหารจดั การในกลํมุ งานกิจการนักเรียน , งานธุรการ เพื่อลด การใช๎กระดาษ อีกทั้งการลดซื้อหมึกคอมพิวเตอร์โดยการเติมหมึกแทน สํงเสริมสนับสนุนให๎นักเรียน นาเศษวัสดุเหลือใช๎มาสร๎างสิ่งประดิษฐ์เป็นของใช๎ หรือของประดับ เชํน การทาดอกไม๎จากเปลือก ข๎าวโพด และยังมีมาตรการให๎นักเรียนแยกขยะ การกาจัดเศษอาหารจากโรงครัวโดยสร๎างโรงเล้ียง ไสเ๎ ดือนดนิ เปน็ ตน๎ (เอกสารอ๎างอิง ภาพถําย ภาพผนวก หน๎า 97 ) 3.6 มีผลท่ีเกดิ จากการปฏิบัตติ ามขอ้ กาหนด/มาตรการในการประหยดั พลังงาน สถานศึกษาสามารถลดคําใช๎จํายคําไฟลงมากในปี 2561 (อ๎างอิงจาก คําไฟฟูา 3 ปีย๎อนหลัง ภาคผนวก หน๎า 53) และคําใช๎จํายในการซ้ือกระดาษลงได๎ในระดับหน่ึง เนื่องจากนาเอา เทคโนโลยีสารสนเทศ มาใช๎ในบริหารงานกลุํมกิจการนักเรียน และงานธุรการโรงเรียน สามารถนา งบประมาณที่ลดได๎ไปจัดกิจกรรมอ่ืนๆ ได๎อยําง มีประสิทธิภาพมากขึ้นสถานศึกษาไมํมีหน้ี สาธารณูปโภค เน่ืองจากการชํวยกันประหยัดกันท้ังระบบ ครูและบุคลากรตระหนักและประหยัดจน เป็นนิสัย นักเรียนมีรายได๎เนื่องจากมีการคัดแยกขยะ นาไปขาย , และจาหนํายผลิตภัณฑ์จากการ ประดิษฐ์ และ มีปุ๋ยท่ีเกิดจากการเลี้ยงไส๎เดือนดิน สิ่งสาคัญที่เกิดกับผ๎ูเรียนคือ การร๎ูจักคุณคําและ ประโยชน์ของสิ่งของตําง ๆ สามารถนากลับมาใช๎ได๎หรือใช๎ให๎เกิดประโยชน์ได๎ และลดป๎ญหา สง่ิ แวดล๎อมเป็นพษิ ได๎ดว๎ ย .
๑๑ ตัวช้วี ดั ที่ 4 ด้านการบรหิ ารจัดการ 4.1 การกาหนดวสิ ัยทศั น์ พันธกจิ รว่ มกนั สถานศึกษาได๎จัดประชุมปฏิบัติการทาแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา โดยผ๎ูมีสํวน เก่ียวข๎องได๎รํวมกันกาหนดวิสัยทัศน์ พันธกิจให๎สอดคล๎องกับผลการวิเคราะห์สถานภาพของ สถานศกึ ษา ขอ๎ กฎหมายตามระเบยี บราชการ ขนบธรรมเนียมประเพณี การวิเคราะห์สังเคราะห์ข๎อมูล สารสนเทศตามนโยบายของรัฐ จุดเน๎นของต๎นสังกัด การเปล่ียนแปลงด๎านสังคม เศรษฐกิจการเมือง ระดับนานาชาติ ระดับภูมิภาคอาเซียน ระดับประเทศ และระดับท๎องถ่ิน รวมถึงแผนพัฒนาการจัด การศึกษาสาหรับเด็กด๎อยโอกาส และแผนพัฒนาคุณภาพชีวิต เด็กด๎อยโอกาส เป็นกรอบทิศทางการ พัฒนาหรือปรับปรุงคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา นาเสนอคณะกรรมการสถานศึกษาเพื่อใช๎เป็น แนวทางการพฒั นาการศกึ ษาโดยกาหนดวสิ ัยทัศน์และพันธกจิ ดงั นี้ วสิ ยั ทัศน์ (ปกี ารศกึ ษา 2559-2562) ภายในปี พ.ศ.2562 โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จงั หวดั เชียงใหมํ มรี ะบบการจดั การศึกษาท่ีมคี ุณภาพ มคี รูมืออาชพี ผเู๎ รียนมีคุณลกั ษณะตามหลกั สตู ร และเปน็ ศนู ย์การเรียนร๎ตู าม หลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง พนั ธกจิ (ปีการศกึ ษา 2555-2562) 1. พฒั นาระบบการจัดการศึกษาให๎มปี ระสิทธภิ าพ 2. พฒั นาและสงํ เสรมิ ให๎ครเู ป็นครูมืออาชพี 3. พฒั นาและสํงเสริมให๎ผูเ๎ รยี นมีคุณลกั ษณะตามหลักสตู ร 4. พฒั นาสถานศกึ ษาใหเ๎ ป็นศนู ย์การเรียนร๎ูตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง 4.2 การปฏบิ ตั ิงานตามพนั ธกจิ ขอสถานศกึ ษาเปน็ ไปในทางเดียวกนั ตามเปา้ หมายที่ กาหนดไว้ สถานศึกษากาหนดการดาเนินงานตามพันธกิจโดยจัดทาแผนปฏิบัติการประจาปี ที่ สอดคลอ๎ งกับแผนพฒั นาการศึกษาเพ่ือให๎บรรลเุ ปูาหมายการจัดการศึกษา โดยสร๎างความเข๎าใจกับทุก กลุํมงาน ในการนาพันธกิจสํูการปฏิบัติในรูปของงาน โครงการ และกิจกรรมที่สนองมาตรฐาน การศึกษา ให๎คาแนะนาแกํครูและบุคลากรทางการศึกษาของสถานศึกษา บริหารงานให๎เป็นไปตาม กฎกระทรวงวําด๎วย ระบบ หลักเกณฑ์ และวิธีการประกันคุณภาพการศึกษา เพื่อให๎บรรลุ วิสัยทัศน์ พันธกิจ เปูาหมาย อัตลักษณ์ เอกลักษณ์ ของสถานศึกษา โดยนาวงจรคุณภาพ PDCA , หลักการ บริหารจัดการโดยใช๎โรงเรียนเป็นฐาน (School Based Manaement : SMB )และ ได๎คิดนวัตกรรม การบริหารงานภายในโรงเรียนเพ่ือให๎การบริหารงานประสบความสาเร็จ อยํางมีประสิทธิภาพ โดยใช๎ โมเดลการบริหารคือ TEAM+ Model มาใช๎ในการขับเคล่ือน ติดตาม ตรวจสอบให๎เป็นไปในทิศทาง เดียวกันโดยใช๎ตัวชี้วัด และการประเมินผลภาคเรียนละ 1 คร้ัง โรงเรียนได๎รับการประกาศจาก สานกั งานเขตพ้ืนทก่ี ารศกึ ษา ประถมศกึ ษาเชียงใหมํ เขต 6 ให๎เป็นสถานศึกษาท่ีมีผลการปฏิบัติงานท่ี ดีและเป็นเลิศ (Best Practice : BP) ระดับเขตพ้ืนที่การศึกษา ด๎านการน๎อมนาหลักปรัชญาของ เศรษฐกจิ พอเพียงสํูสถานศกึ ษา “สถานศึกษาพอเพยี งต๎นแบบ ปี 2559” และ ผํานการคัดเลือกเป็น สถานศึกษาพอเพียงที่มีผลงานการปฏิบัติที่เป็นเลิศ ระดับภูมิภาค ภาคเหนือ ปี 2559 และ ระดับประเทศ ปี 2559 โดยศูนย์สถานศึกษาพอเพยี ง มูลนิธิยวุ สถิรคณุ
๑๒ 4.3 การบรหิ ารงานงบประมาณโปร่งใส่ ตรวจสอบได้ สถานศึกษามีโครงสร๎างการบริหารที่จัดเจน ตรวจสอบได๎ มีการจัดทาแผนพัฒนา คุณภาพการศึกษา และแผนปฏิบัติงานประจาปี ชัดเจน มีเจ๎าหน๎าท่ีแผนงานของแตํละฝุายเป็นผ๎ู ควบคุมการขอใช๎งบประมาณให๎ตรงกับแผนงาน และแตํงตั้งเจ๎าหน๎าท่ีการเงิน ทั้งหมด จานวน 4 คน แบงํ หนา๎ ทีก่ นั ทางาน เพ่อื สามารถตอบสอบการปฏิบัติงาน แตํงต้ังเจ๎าหนา๎ ทพ่ี ัสดุ จานวน 5 คน เพ่ือให๎ ปฏบิ ัติงานด๎านการจัดซ้ือจัดจ๎างให๎เป็นไปตามระเบียบของพัสดุ นอกจากนั้นยังแตํงตั้ง คณะกรรมการ ตรวจสอบภายใน ให๎ดาเนินการติดตาม ตรวจสอบบัญชี การเงินของโรงเรียน ให๎เป็นไปตามระเบียบ ของการเงินและให๎ทันตามมาตรการเรํงรดั การเบกิ จํายในแตํละไตรมาส สถานศึกษากาหนดโครงสร๎างการบริหารงาน แบํงออกเป็น 10 กลํุมงาน คือ 1) กลํุมสํงเสริมกิจการนักเรียน 2) กลํุมงานวินัยนักเรียน 3) กลํุมงานตามนโยบาย 4) กลํุมนโยบายและ แผน 5) กลุํมอานวยการ 6) กลุํมอาคารสถานที่ 7) กลํุมบริหารงานบุคคล 8) กลํุมบริหารงานบุคคล 9) กลมุํ งานสํงเสริมวิชาการ และ 10) กลมํุ การเงินและสินทรพั ย์ จดั สรรงบประมาณดาเนินกิจกรรม / งาน / โครงการ ตามสัดสํวนที่กาหนดให๎โดยเน๎นผ๎ูเรียนเป็นสาคัญ ใช๎แผนปฏิบัติการประจาปี ขับเคล่ือนการดาเนินงานโดยแผนงานและสารสนเทศกลุํมงานมีระบบการควบคุมงานและการกากับ ตดิ ตามผลการดาเนนิ งานทุกไตรมาส ทาให๎การบริหารงบประมาณโปรงํ ใส ตรวจสอบได๎ บริหารจัดการ ได๎อยาํ งมปี ระสทิ ธภิ าพ 4.4 ผู้บรหิ ารมภี าวะผนู้ าและมคี วามสามารถในการบรหิ ารจดั การได้อยา่ งมี ประสิทธภิ าพ ผูบ๎ ริหารไดพ๎ ัฒนาตนเองอยํางสมา่ เสมอ มวี ิสยั ทัศน์ ภาวะผ๎ูนา ความคิดริเร่ิม และมี เจตคติท่ีดีตํอการจัดการศึกษาสาหรับเด็กด๎อยโอกาส บริหารงานโดยยึดหลักธรรมาภิบาล เน๎นการมี สํวนรํวมดว๎ ยวงจรคณุ ภาพของเดมมิง่ ในการบริหารจดั การสถานศกึ ษา ดงั น้ี 1. การวางแผนพัฒนาการศึกษา มีการจัดทาแผนพัฒนาการศึกษา ใช๎หลักการมี สํวนรํวมของผู๎มีสวํ นได๎สํวนเสีย ด๎วยการ SWOT Analysis เพื่อนาข๎อมูลมาจัดทาแผนพัฒนาคุณภาพ การศึกษา แผนปฏิบัติการประจาปี โดยสอดคล๎องกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหํงชาติ แผนพัฒนาการศึกษาแหํงชาติ นโยบายทุกรดับและภารกิจของสาถนศึกษา จัดทาปฏิทินการ ดาเนินงานประจาภาคเรยี นและดาเนนิ การตามโครงการและกิจกรรมทีร่ ะบไุ วใ๎ นปฏิทิน 2. จัดทาโครงสร๎างการบริหารสถานศึกษา โดยกระจากอานาจให๎แกํ รอง ผ๎ูอานวยการ 1 ทําน หัวหน๎ากลํุมงานแบํงออกเป็น 10 กลํุมงาน หัวหน๎างาน และหัวหน๎ากลุํมสาระ การเรยี นรู๎ มีระบบควบคมุ ภายในเพ่ือบริหารความเสี่ยงทเ่ี ข๎มแข็ง
๑๓ 3. การบริหารงานวิชาการ จัดทาหลักสูตรสถานศึกษาจากการมีสํวนรํวมของทุก ฝุาย เพื่อสนองความต๎องการของผ๎ูเรียน และสนองนโยบาย เชํน การบูรณากรหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง เป็นตน๎ มีการประเมินการใชห๎ ลักสตู รและพัฒนาทกุ ปีการศึกษา และยังมีการบูรณา การสวนพฤกษศาสตร์ในโรงเรียนเข๎ากบั กิจกรรมการเรียนการสอน ในการจัดการเรียนร๎ู เริ่มจากการวิเคราะห์หลักสูตรสํูคาอธิบายรายวิชาการ กาหนดการสอน แผนการวัดผลและประเมินผล แผนการจัดการเรียนร๎ู โดยคานึงถึงทฤษฎีการสอน กรณีป๎ญหาจัดทาวิจัยในช้ันเรียน โดยโรงเรียนสํงเสริมให๎ครูใช๎ส่ือเทคโนโลยีสารสนเทศและแหลํง เรียนร๎ูเป็นเครื่องมือสาคัญในการถํายทอดความรู๎ สถานศึกษาจัดให๎ทุกห๎องเรียนมี โทรทัศน์ และ wireless สาหรับให๎ครูใช๎เป็นสื่อการเรียนการสอน จัดให๎มีแหลํงเรียนร๎ูที่หลากหลายสนองความใฝุร๎ู ใฝเุ รยี นของนกั เรียนด๎วยตนเอง 4. การบริหารงานงบประมาณ ได๎จัดสรรงบประมาณตามสัดสํวนจุดเน๎นในการ พัฒนา ดังนี้ จัดให๎กลุํมบริหารงานวิชาการร๎อยละ 23, กลุํมงานอานวยการร๎อยละ 14, กลุํม บริหารงานบุคคลร๎อยละ 4, กลํุมบริหารงานกิจการนักเรียนร๎อยละ 15, กลํุมการเงินและสินทรัพย์ ร๎อยละ 9 งบสาธารณปู โภคร๎อยละ 25 และงบกลางสารองจํายร๎อยละ 10 5. การบริหารงานบุคคล ได๎จัดครูให๎สอนตรงตามวิชาเอก มีโครงการพัฒนา บคุ ลากรทางวชิ าการ และการพฒั นาวิชาชีพ สํงเสริมสนับสนุนให๎ศึกษาตํอในระดับสูงข้ึน เชํนปริญญา โทและปรญิ ญาเอก เป็นต๎น 6. การบริหารงานทั่วไป ได๎พัฒนาอาคารสถานท่ี หอนอน ห๎องน้า ห๎องส๎วมให๎ สะอาด สวยงาม นาํ ใช๎ จัดระบบสาธารณูปโภคใหเ๎ พียงพอ และปลอดภยั ทุกคนอยูอํ ยาํ งมีความสุข 7. การบรหิ ารงานกจิ การระบบดูแลชํวยเหลือนักเรียนเป็นหัวใจสาคัญของการดูแล นักเรยี นประจา ทุกคนคือ “คนในครอบครัวเดยี วกัน” เราอยูรํ วํ มกันตลอด 24 ช่ัวโมง ร๎ูอุปนิสัย ใจคอ กันดี จงึ สามารถดูและให๎ทกุ คนมคี วามสขุ ตามอัตภาพ นาเทคโนโลยีสารสนเทศเข๎ามาใช๎บริหารจัดการ ด๎านข๎อมูลสารสนเทศของกลุํมงานกิจการเพ่ือลดภาระของครู ทาให๎ได๎ข๎อมูลสารสนเทศที่รวดเร็ว ถูกต๎อง และท่ีสามารถนาไปใช๎ในการวางแผนพัฒนาระบบได๎อยํางมปี ระสิทธภิ าพ 8. การเป็นผู๎นาด๎านการบริหารการศึกษา โดยใช๎ : TEAM+ MODEL เป็นรูปแบบที่ ใช๎ในการบริหารในโรงเรียน มี SBM ในการวางเปูาหมายการพัฒนา ใช๎วงจรคุณภาพของเดมมิ่ง PDCA ในการบวนการทางาน และใช๎ TEAM+ MODEL ในการทาให๎งานเกิดประสิทธิภาพและ ประสทิ ธิผลสูงสดุ เปน็ ตน๎ ทาให๎นักเรียน ผู๎ปกครอง ชุมชน หนํวยงานท้ังภาครัฐและเอกชน มีความพึงพอใจ ผลการบริหารจัดการศึกษาอยํางมีประสิทธภิ าพจนมีผลเปน็ ท่ปี ระจักษ์ มผี ลการประเมินภายในจากต๎น สังกดั ในภาพรวมอยูใํ นระดับดเี ยี่ยมตดิ ตํอกนั มาตลอดจนสํงผลใหผ๎ บู๎ ริหารได๎รับรางวลั ตํางๆ ดังนี้ ผลงานท่ีเกดิ ข้นึ กบั ผู้บรหิ าร 1. นางวิลาวัลย์ ยอดผํานเมือง ผ๎ูอานวยการสถานศึกษา ได๎รับเกียรติบัตร ผู๎ท่ีมีผล การปฏิบัติที่เป็นเลิศระดับประเทศ ปี 2559 ด๎านพัฒนาการเรียนรู๎ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพยี ง ศูนย์สถานศึกษาพอเพยี ง มูลนิธิยุวสถริ คุณ 2. นางวิลาวัลย์ ปาลี ผู๎อานวยการโรงเรียน ได๎รับรางวัล “ต๎นแบบคนดีศรีแผํนดิน ประจาปี 2560” จากโครงการสร๎างปลกุ กระแสการพฒั นาคนและสังคมในระดบั จลุ ภาค
๑๔ 3. นางวิลาวัลย์ ปาลี ผ๎ูอานวยการโรงเรียนรับรางวัลผู๎อานวยการสถานศึกษาดีเดํน ประจาปี 2560 ได๎รบั จากกลุมํ สถานศึกษาสงั กดั สานักบรหิ ารงานการศกึ ษาพิเศษกลํุม 6 4. นางวิลาวัลย์ ปาลี ผ๎ูอานวยการโรงเรียน ได๎รับรางวัลผ๎ูอานวยการสถานศึกษา ดเี ดนํ ได๎รับจากสมาคมผู๎บรหิ ารโรงเรียนมธั ยมศกึ ษาแหํงประเทศ-ไทย กระทรวงศึกษาธิการ 5. นางวิลาวัลย์ ปาลี ผู๎อานวยการโรงเรียน ได๎รับรางวัลเกียรติวันครู พ.ศ. 2562 “คุณธรรมนาครูไทย สร๎างเด็กไทยหัวใจซ่ือตรง” เนื่องในวันครู คร้ังท่ี 63 ประจาปี พ.ศ. 2562 จังหวดั เชียงใหมํ 6. นางวิลาวัลย์ ปาลี ผ๎อู านวยการโรงเรียน ได๎รับคัดเลอื กเป็น Super Leader รุํนท่ี 3 ประจาปี พ.ศ. 2562 เป็นผู๎มีสมรรถนะแหํงความพยายาม มํุงม่ันเรียนร๎ูอยํางมืออาชีพ จนเกิดการ พัฒนาและประสบผลสาเร็จตํอการปฏิรูปการศึกษาเชียงใหมํ ได๎รับจากภาคีเชียงใหมํเพื่อการปฏิรูป การศกึ ษา รวํ มกับ องค์การบริหารสํงจังหวัดเชียงใหมํ 7. นายวิเศษ ฟองตา รองผ๎ูอานวยการโรงเรียน รับรางวัลรองผ๎ูอานวยการดีเดํน ประจาปี 2560 ได๎รับจากกลุมํ สถานศกึ ษาสงั กดั สานักบรหิ ารงานการศึกษาพเิ ศษ กลํุม 6 8. นายวิเศษ ฟองตา รองผ๎ูอานวยการโรงเรยี น รับรางวัล“ต๎นแบบคนดีศรีเชียงใหมํ ประจาปี 2561” จากโครงการสรา๎ งปลุกกระแสการพัฒนาคนและสังคมในระดบั จลุ ภาค 9. นายวิเศษ ฟองตา ได๎รับรางวัล ต๎นแบบคนดีศรีเชียงใหมํ ประจาปี 2561 ให๎ไว๎ ณ วันท่ี 18 สิงหาคม พ.ศ.2561 (เอกสารอ๎างอิง ภาคผนวก หนา๎ 60) 4.5 มผี ลการปฏบิ ตั งิ านตามนโยบายของหน่วยงานบังคับบัญชา สถานศึกษานานโยบาย จุดเน๎นของสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน สานกั บริหารงานการศกึ ษาพเิ ศษ มาปฏบิ ัตหิ ลากหลายโครงการจนบรรลุวัตถุประสงค์ ได๎แกํ โครงการ ทวศิ ึกษา, โครงการจัดการศึกษาทักษะอาชีพเพ่ือการมีงานทา , โครงการสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน , โครงการการน๎อมนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาใช๎สถานศึกษา เป็นต๎น (เอกสารอ๎างอิง ภาพถําย ภาคผนวก หน๎า 98) 4.6 การจดั ระบบนเิ ทศ ตดิ ตาม ประเมินและพฒั นางานอยา่ งสมา่ เสมอ สถานศึกษากาหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา แผนพัฒนาการจัด การศึกษา จัดระบบบริหารและสารสนเทศ การติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษาและพัฒนา คุณภาพการศึกษา การประเมินคุณภาพภายในมาตรฐานการจดั การศกึ ษา จัดทารายงานประจาปีและ พัฒนาคุณภาพการศึกษาอยํางตํอเนื่อง บริหารงานให๎เป็นไปตามความในกฎกระทรวงวําด๎วยระบบ หลักเกณฑ์ และวิธีการประกันคุณภาพการศึกษา และกฎกระทรวงอื่นๆ ที่เกี่ยวข๎องจัดเป็นระบบ หลักเกณฑ์ และวิธีการประกันคุณภาพการศึกษา และกฎกระทรวงอื่นๆ ที่เก่ียวข๎องจัดเป็นระบบ นิเทศ ติดตาม ประเมินและพัฒนากิจกรรม / งาน / โครงการงานทุกระดับทุกสิ้นไตรมาส โดยมี ผ๎ูทรงคุณวุฒิจากสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานรํวมเป็นคณะกรรมการติดตาม ตรวจสอบโดยสถานศึกษาทุกปีการศึกษา พร๎อมรับการกากับติดตามโดยหนํวยงานต๎นสังกัดและ หนวํ ยงานภายนอก นาขอ๎ เสนอแนะพฒั นาระบบบรหิ ารจดั การศกึ ษาให๎มีประสิทธภิ าพ
๑๕ 4.7 บรรยากาศการทางานเป็นมิตร เออ้ื อาทรกับผรู้ ่วมงานและผรู้ ับบริการ สถานศึกษาจัดบรรยากาศการทางานท่ีเอ้ือตํอผ๎ูรํวมงานและผ๎ูรับบริการตามหลัก ธรรมาภิบาล และการบริหารแบบมุํงเนน๎ ผลสัมฤทธิ์ ตามพันธกิจ พัฒนาครูและบุคลากรโดยใช๎คํานิยม รํวม (Share Value) ด๎านคุณธรรมจริยธรรม ความร๎ูความสามารถตามสมรรถนะ และเจตคติท่ี สอดคลอ๎ งกบั การศึกษาสาหรบั เดก็ ด๎อยโอกาส จัดพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา รวมทั้งบริการสนับสนุน ตํางๆ เพ่ือพัฒนาผูเ๎ รียนให๎มีศักยภาพ พัฒนาระบบการประเมินผลเนน๎ สมรรถนะและผลการปฏิบัติงาน ตามมาตรฐานสร๎างวัฒนธรรมการทางานและพัฒนาบุคลากร การบริหารคุณภาพโดยเน๎นการมีสํวน รวํ มระหวาํ งสถานศึกษา ผปู๎ กครอง ชุมชน ทาใหผ๎ ๎ูเกี่ยวขอ๎ งตระหนักในบทบาทหน๎าท่ีและเอื้ออาทรตํอ กนั 4.8 จานวนผเู้ รียนทอ่ี อกกลางค่ันน้อยๆ ไม่เกนิ รอ้ ยละ 3 นักเรยี นโรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จงั หวัดเชียงใหมํ มีนักเรียนออกกลางคัน ตลอดทงั้ ปีการศกึ ษา 2559 และ ปีการศกึ ษา 2560 คิดเปน็ รอ๎ ยละ ดังนี้ ปกี ารศกึ ษา จานวนนกั เรียน จานวนนักเรยี น คิดเป็นรอ้ ยละ ทัง้ หมด (คน) ออกกลางคนั (คน) 2559 880 2 0.23 2560 851 4 0.47 4.9 จานวนผูเ้ รยี นท่ีจบหลกั สูตรการศกึ ษาขัน้ พ้ืนฐาน ไม่นอ้ ยกว่าร้อยละ 95 ในปีการศึกษา 2560 โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวัดเชียงใหมํ เป็น สถานศึกษาที่จัดการศึกษา ที่มีผู๎เรียนที่มีผลการประเมินที่บรรลุตามแผนการจัดการเรียนการศึกษา ร๎อยละ 100 (ทัง้ ๓ ระดับ) 4.10 การได้รับรางวลั ดีเด่นของสถานศึกษาในด้านและระดบั ต่างๆ ผลงานทเ่ี กดิ กบั โรงเรียน 1. โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 มีผลการปฏิบัติงานที่ดีและเป็นเลิศ (Best Practie : BP) ระดับเขตพื้นที่การศึกษา ด้านการน้อมนาหลักปรัญญาเศรษฐกิจพอเพียงสู่ สถานศึกษา “สถานศึกษาพอเพียงต้นแบบ ปี 2559”ตามประกาศของสานักงานเขตพ้ืนท่ี การศึกษาประถมศกึ ษาเชยี งใหมํ เขต 6 ศนู ยส์ ถานศกึ ษาพอเพยี ง มลู นิธยิ วุ สถิรคณุ 2. โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวัดเชียงใหมํ ผํานการประเมินเป็น “ศูนย์ การเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ด๎านการศึกษา ปีการศึกษา 2560 จาก กระทรวงศกึ ษาธกิ าร 3. โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวัดเชียงใหมํ ได๎รับรางวัล MOE AWARDS ปีการศึกษา 2559 ผลงานระดับดีเด่น ประเภทสถานศึกษา สาขาหลักปรัชญาของ เศรษฐกจิ พอเพยี ง จากกระทรวงศึกษาธกิ าร 4. โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 จงั หวัดเชียงใหมํ ได๎รบั โลแํ ละเกยี รติบัตรรางวัล เสมา ป.ป.ส. ประเภทผลงานดีเด่น ระดับเงิน โครงการสถานศึกษาสีขาว ปลอดยาเสพติดและ อบายมุข ปกี ารศึกษา ๒๕๕๙ จากกระทรวงศึกษาธิการ
๑๖ 5. โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวัดเชียงใหมํ ได๎รับการรับรองมาตรฐาน โรงเรยี นส่งเสริมสขุ ภาพระดับทอง จากกรมอนามยั กระทรวงสาธารณสุข 6. โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวัดเชียงใหมํ ได๎รับรางวัลระบบการดูแล ช่วยเหลือนักเรียน ประจาปี ๒๕๖๑ ประเภทสถานศึกษา (โรงเรียนการศึกษาสงเคราะห์) ระดับ ทอง จากสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน กระทรวงศึกษาธกิ าร 7. โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวัดเชียงใหมํ ได๎เข๎ารับการประเมินและ คัดเลือกในโครงการคัดเลือกนักเรียนและสถานศึกษาเพ่ือรับรางวัลพระราชทาน ประเภทสถานศึกษา ระดับมธั ยมศึกษา ขนาดกลาง ประจาปีการศกึ ษา 2561 เปน็ ตัวแทนระดับจงั หวัด 8. โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวัดเชียงใหมํ ได๎รับรางวัลโรงเรียนต๎นแบบ ศนู ย์เรียนร๎ตู ามแนวพระราชดารปิ รชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง มอบโดยศูนย์ศึกษาการพัฒนาห๎วยฮํอง ไครอ๎ นั เนือ่ งมาจากพระราชดาริ 9. โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวัดเชียงใหมํ ได๎รับรางวัลรองชนะเลิศ อันดบั 2 การประกวดโรงเรยี นสบื สานพระราชดาริสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ในระดับจังหวดั ประจาปี 2558 จากหนํวยงานโครงการแผํนดนิ ทอง มณฑลทหารบกที่ 33 10. สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี พระราชทาน รางวัลรอง ชนะเลิศ อนั ดับ 3 ระดับประเทศ การแขํงขนั Thailand Robofest Junion 2016 จากสถาบันการ จัดการปญ๎ ญาภิวัฒน์ (เอกสารอา๎ งองิ ภาคผนวก หนา๎ 54) ตัวช้วี ดั ท่ี 5 ด้านสื่อและเทคโนโลยีเพือ่ การสอน 5.1 ความพอเพียงและทนั สมยั ของอปุ กรณท์ างเทคโนโลยีเพอ่ื การเรยี นการสอน โรงเรียนฯมีเทคโนโลยีสารสนเทศท่ีทันสมัย เพื่อใช๎ในกิจกรรมการเรียนการสอน และเพียงพอตํอการใช๎งาน โดยจัดให๎มีห๎องคอมพิวเตอร์ จานวน 3 ห๎องเรียน ทุกห๎องมีการเชื่อมตํอ เครอื ขาํ ยอนิ เตอร์เน็ต เพ่อื ให๎นักเรียนได๎ศึกษาค๎นคว๎าได๎อยํางอิสระ พร๎อมยังมีห๎องคอมพิวเตอร์สืบค๎น อินเตอร์เน็ตท่ีใหมํและทันสมัยไว๎ให๎บริการนักเรียน จัดให๎มีห๎องบริการแมํขําย (ห๎อง Server) เพื่อ รองรบั การใช๎งานอินเตอร์เน็ต ให๎มีประสิทธิภาพ ยิ่งขึ้น ภายในห๎องเรียนทุกห๎องเรียน จัดให๎มีอุปกรณ์ สอื่ การเรียนการสอนทท่ี ันสมัย เชํน โทรทัศน์สี ขนาด 4๖ นิ้ว เพ่ือนามาเช่ือมตํอกับคอมพิวเตอร์ เพ่ือ กอํ ใหเ๎ กดิ ประสิทธิภาพในการเรียนการสอนมากย่ิงข้ึน ทุกห๎องมีการจัดระบบเครือขํายอินเตอร์เน็ต ให๎ หอ๎ งเรียนทุกหอ๎ งสามารถใช๎งานอนิ เตอรเ์ น็ต เพื่อการสืบค๎นเนื้อหา หรือ ส่ือการเรียนสาหรับครูประจา วิชา มีเคร่ืองเสียงเพ่ือให๎ครูได๎ใช๎เป็นส่ือในการจัดการเรียนการสอนให๎นําสนใจแลสนุกสนาน อาคาร สถานที่อยูํในสภาพใช๎การได๎ดี จัดสภาพแวดล๎อมและภูมิทัศน์ที่รํมร่ืน สวยงาม เอ้ือตํอการเรียนรู๎ พร๎อมท้ังเป็นแหลํงเรียนร๎ูให๎ผ๎ูเรียน โดยคานึงถึงความปลอดภัย มีข๎อกาหนด และมาตรการในการ ประหยดั พลงั งาน เพื่อสงํ ผลใหส๎ ถานศึกษามคี าํ ใช๎จาํ ยด๎านพลงั งานลดน๎อยลง 5.2 การสง่ เสริมพฒั นาการใชส้ ื่อเทคโนโลยีแกค่ รูผสู้ อน โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 จังหวัดเชยี งใหมํจัดให๎มีการอบรม ประชุมสัมมนา และสํงเสริมให๎ครูประจาวิชาทุกระดับช้ัน ใช๎เทคโนโลยีในการเรียนการสอน เชํน การใช๎ระบบบริการ จัดการงานกิจการนักเรียน ในการเช็คช่ือนักเรียนหน๎าเสาธง เป็นต๎น สนับสนุนให๎ครูประจาวิชาใช๎ คอมพิวเตอร์ และเครือขํายอินเตอร์เน็ตเป็นส่ือในการเรียนการสอน โดยการจัดให๎มี โทรทัศน์สี และ ระบบเครือขาํ ยอนิ เตอร์เนต็ เชอื่ มตอํ ทกุ ห๎องเรียน และยังนาเอาโครงการจดั การเรียนการสอนรายวิชา
๑๗ สะสมหนวํ ยกจิ เตรียมอาชีวศึกษา (Pre-Ved.) โดยทาบันทึกข๎อตกลงความรํวมมือทางวิชาการระหวําง วิทยาลัยเทคโนโลยีชรินรัตน์ลาพูน กับโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวัดเชียงใหมํ เรียนผําน ระบบออนไลน์ (เอกสารอา๎ งองิ จาก ภาพถําย ภาคหนวก หน๎า 98) 5.3 การพัฒนาและนาส่ือเทคโนโลยีมาใชใ้ นการปฏบิ ัติงานด้านต่างๆของสถานศกึ ษา โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวัดเชียงใหมํ ได๎จัดทักษะกระบวนการเรียนรู๎ ที่เน๎นผ๎ูเรียนเป็นสาคัญ คณะครูมีความมํุงม่ันในการปฏิบัติงานเพ่ือพัฒนาผ๎ูเรียนและสถานศึกษา เป็น แบบอยํางท่ีดีในการปฏิบัติงาน มีการวัดและประเมินผลที่มํุงเน๎นการพัฒนาผู๎เรียนด๎วยวิธีการที่ หลากหลาย มีการพัฒนาส่ือนวัตกรรมที่ทันสมัยให๎นักเรียนได๎เรียนร๎ูและสัมผัสของจริง นาภูมิป๎ญญา ท๎องถ่ิน และแหลํงเรียนร๎ูมาใช๎ในการจัดการเรียนการสอนให๎แกํผู๎เรียน สร๎างนวัตกรรมใหมํเพ่ือใช๎ใน งานกจิ การนักเรยี น เพ่ือลดการใช๎กระดาษในการเช็คยอดจานวนนักเรียน ในการทากิจกรรมประจาวัน และงานธุรการผ๎ูบริหาร ใช๎ได๎พัฒนาระบบสารสนเทศเข๎ามาใช๎ในการบริหารงานสารบัญของ สถานศึกษารํวมถึงใช๎ โปรแกรม Adobe Acrobat และ E mail ในการเกษียนหนังสือราชการ และ อนุมัติเร่ืองตําง ๆ และ ใช๎ Application Line ในการแจ๎งเรื่องดํวน และการส่ือสารประชาสัมพันธ์ใน หนํวยงาน ทาให๎การส่ือสารรวดเร็ว การบริหารคลํองตัว ทางานได๎ทุกท่ี ทุกเวลา ที่สาคัญประหยัด กระดาษ ผลการจาการใช๎เทคโนโลยีเข๎ามาใช๎ในการบริหาร ทาให๎มีผ๎ูบริหารหลายโรงเรียนมาเรียนรู๎ และนาไปใช๎ (เอกสารอา๎ งองิ จาก ภาพถาํ ย ภาคหนวก หนา๎ 93) 5.4 การมีผลงานวจิ ยั หรือการประดิษฐ์และสร้างสรรคน์ วัตกรรมใหม่ ผูบ๎ ริหารและสถานศกึ ษาไดม๎ กี ารพัฒนานวัตกรรมมาใช๎เพื่อแก๎ป๎ญหาในองค์กรและ เป็นแบบอยํางแกผํ ูอ๎ นื่ ได๎ ดังนี้ ท่ี นวัตกรรม ผลงานวิจยั 1. ระบบสารสนเทศงานกิจการนกั เรียน ลดพฤติกรรมเสี่ยง ของนกั เรยี น 2. ระบบสารสนเทศงานวชิ าการ ตารางสอน รายวิชา ขอ๎ มลู รายวิชา 3. ระบบสารบรรณอเิ ล็กทรอนิกส์ รับ – สํง เอกสารธรุ การ ภายในโรงเรยี น 4. ระบบสารสนเทศธนาคารขยะโรงเรียน คานวณปริมาณการซื้อขายขยะ 5. ชั้นหนงั สืออิเลก็ ทรอนกิ ส์ ค๎นคว๎าข๎อมูลหนงั สือตํางๆ 6. ระบบสารสนเทศกิจกรรมในโรงเรยี น ประชาสัมพนั ธ์การจัดกิจกรรมในโรงเรียน 7. ระบบสารสนเทศสหกรณ์โรงเรียน ตรวจเชค็ รายการสนิ ค๎า รายรับ-รายจาํ ย (เอกสารอา๎ งองิ ภาคผนวก หนา๎ 93) 5.5 การได้รบั รางวัลดเี ดน่ ทางดา้ นนวัตกรรมและเทคโนโลยี โรงเรียนราชประชานุเคราหะ 31 จังหวัดเชยี งใหมํ ได๎คิดค๎นนาเทคโนโลยีมาใช๎ คือ โปรแกรม Checkin.rpk31school ในการบริหารจัดการสถานศึกษา เก่ียวกับงานกิจการนักเรียน งาน วิชาการ งานเอกสารท่ีใช๎รํวมกันภายในโรงเรียน ทาให๎การส่ือสารรวดเร็ว การบริหารงานได๎คลํองตัว ทางานได๎ทุกที่ ทุกเวลา ที่สาคัญประหยัดเรื่องใช๎กระดาษอยํางสิ้นเปลือง และยังได๎มีการนาโปรแกรม Checkin.rpk31school ที่ทางโรงเรยี นได๎คิดค๎น เผยแพรํสูํโรงเรียนอ่ืนได๎ใช๎งาน ดงั น้ี 1. โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 21 จังหวัดแมํฮํองสอน 2. โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 22 จงั หวดั แมํฮํองสอน
๑๘ 3. โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 25 จงั หวดั แพรํ 4. โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 26 จังหวดั ลาพูน 5. โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 30 จังหวัดเชยี งใหมํ 6. โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 34 จังหวดั แมํฮํองสอน 7. โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 56 จงั หวัดนาํ น 8. โรงเรียนศึกษาสงเคราะห์เชียงใหมํ 9. โรงเรยี นศึกษาสงเคราะหแ์ มํจัน 10. โรงเรียนศึกษาสงเคราะห์จติ ตอ์ ารีฯ โครงการระบบการดูแลชํวยเหลือนักเรียน โดยใช๎เทคโนโลยีสารสนเทศ ( ICT ) กลุํม เครือขํายสํงเสริมประสิทธิภาพการจัดการศึกษาโรงเรียนศึกษาสงเคราะห์ ภาคเหนือ วันท่ี 2 – 4 พฤษภาคม พ.ศ.2561 (เอกสารอา๎ งอิงจาก ภาพถําย ภาคผนวก หนา๎ 98) ตวั ชวี้ ัดที่ 6 ด้านความสัมพันธ์กับชุมชนและหนว่ ยงานอ่ืน 6.1 การใหบ้ รกิ ารอาคารสถานท่ี แหล่งเรียนรแู้ ก่ชุมชน เขตพน้ื ทีก่ ารศกึ ษาและ หนว่ ยงานอ่นื โรงเรยี นราชประชานุเคราหะ 31 จังหวัดเชียงใหมํ ต้ังอยํูในเขตพื้นที่บริการ ตาบล ชาํ งเค่ิง อาเภอแมํแจมํ จังหวัดเชียงใหมํ ตั้งอยูํบนพ้ืนที่สูง ผ๎ูเรียนท่ีมารับบริการการศึกษามาจากพ้ืนท่ี บริการในเขตอาเภอแมแํ จํมและอาเภอใกล๎ๆ เป็นนักเรียนอยูํประจาทั้งหมด และสํวนมากเป็นนักเรียน ชนชาตพิ นั ธ์ นบั ถอื ศาสนาพุทธและครสิ ต์ ผ๎ูปกครองสํวนใหญํมีรายได๎น๎อย สภาพชุมชนมีความสัมพันธ์ กับสถานศึกษาเป็นอยํางดี โรงเรียนใช๎หลัก บวร คือ บ๎าน วัด โรงเรียน และยังมีเครือขํายของ หนํวยงานราชการหรอื องคก์ รเอกชน มูลนธิ ิ ตาํ ง ๆ เข๎ามาใช๎บริการอาคารสถานท่ี และแหลํงเรียนร๎ูใน โรงเรยี น อยํางมากมาย เชนํ 1.) ให๎ความรํวมมือด๎าน การจัดกิจกรรมรํวมกันระหวํางสถานศึกษา การอบรม การประชุมสัมมนา การศกึ ษาดงู าน หรอื การใหบ๎ รกิ ารด๎านอาคารสถานท่ี 2.) การให๎ความอนุเคราะห์ด๎านวิชาการ การศึกษาดูงานจากหนํวยงานภายนอก สถานศึกษาในการจัดการเรียนการสอน การบริหารงานดา๎ นตํางๆ 3.) การให๎บริการแกํชุมชน ได๎แกํ การนานักเรียนรํวมงานประเพณีตําง ๆ ของชุม ชม อาเภอ การนานักเรียนออกจิตอาสา พัฒนาตามวัด โรงเรียน โรงพยาบาล หนํวยงานราชการ ใน อาเภอแมํแจํม ซง่ึ ไดร๎ บั ความชื่อชมจากชมุ ชน หวั หน๎าสํวนราชการเปน็ อยาํ งดมี าตลอด 6.2 การมีส่วนร่วมของผ้ปู กครอง คณะกรรมการสถานศกึ ษาและชุมชน ในการ พัฒนาดา้ นตา่ งๆของสถานศึกษา ๑) การมสี ํวนรวํ มของผู๎ปกครอง ผ๎ูปกครองใหค๎ วามรํวมมือในทุกด๎านท่ีโรงเรยี น ร๎องขอ เชนํ การรํวมกิจกรรมตาํ ง ๆ ของโรงเรยี น กิจกรรมเปดิ ดอย กอยบา๎ น, กจิ กรรมประชมุ ผูป๎ กครอง ,กจิ กรรมผู๎ปกครองสมั พนั ธ์ เป็นต๎น ๒) การมสี ํวนรวํ มของคณะกรรมการสถานศึกษา มีสํวนรํวมในการวางแผน ให๎ คาปรกึ ษา พัฒนาสถานศึกษา รํวมถึงสนับสนนุ ระดมทนุ วิทยากร ในการอบรมนักเรียน
๑๙ ๓) ชุมชน รวํ มพฒั นาแหลํงเรียนรใู๎ นโรงเรียน สนบั สนนุ รถยนต์ในการนานักเรียน เข๎ารํวมกจิ กรรม และเรียนร๎ูแหลํงเรยี นร๎ูภายนอก ผลจากการบรหิ ารของผูบ๎ รหิ ารสถานศกึ ษาทาให๎มภี าคีเครืออยาํ งมาก ทัง้ หนํวยงานรัฐ เอกชน มลู นิธิ และชุมชนเขา๎ มาชวํ ยในการพัฒนาสถานศึกษาให๎มีคุณภาพ จนเปน็ ที่ ยอมรับและมชี ื่อเสยี งมาโดยตลอด (เอกสารอา๎ งองิ จาก ภาพถาํ ย ภาคผนวก หน๎า 100) 6.3 การมีสว่ นร่วมในกจิ กรรมต่างๆของชุมชน เขตพนื้ ท่ีการศึกษาและหน่วยงานอ่ืน นักเรียน ผบ๎ู รหิ ารสถานศึกษา คณะครูและบุคลากรทางการศึกษา เข๎ารํวมกิจกรรม ของหนํวยงาน อาเภอ และชุมชนอยํางสม่าเสมอ เชํน งานรัฐพิธีตําง ๆ งานประเพณีในเทศกาลตํางๆ รํวมถึงการมีสํวนรํวมในการแก๎ไขป๎ญหาของอาเภอแมํแจํม เชํนป๎ญหาหมอกควัน ไฟปุา สถานศึกษา ได๎รับเลือกใหเ๎ ปน็ สถานท่ีในการจัดกิจกรรมรณรงค์ลดป๎ญหาหมอกควันไฟปุา อีกทั้งสถานศึกษายังได๎ มีสํวนรํวมในการแก๎ไขป๎ญหา โดยจัดกิจกรรมการเรียนการสอนให๎สอดคล๎องกับการแก๎ไขป๎ญหา จน สํงผลให๎ได๎รับรางวัลสถานศึกษาท่ีมีผลการปฏิบัติงานท่ีเป็นเลิศ ของศูนย์สถานศึกษาพอเพียง มูลนิธิ ยวุ สถิรคุณ ทง้ั ระดับภาคเหนือ และ ระดับประเทศ ในปี 2559 ครูและผ๎ูบริหารได๎รับเชิญรํวมเป็น กรรมการในการติดตามประเมินโรงเรียนในเขตพ้ืนท่ี เชํน ติดตามประเมินความยังยืนของโรงเรียนใน ฝ๎น และ รํวมเป็นคณะกรรมประเมิน สถานศึกษาพอเพียงต๎นแบบ อีกท้ัง โรงเรียนราชประชานุ เคราะห์ 31 จังหวัดเชียงใหมํ ได๎รับเชิญให๎เข๎ารวํ มกิจกรรมทุกๆ กจิ กรรมของอาเภอ เป็นตน๎ 6.4 การสร้างเครือข่ายระหว่างโรงเรียนและชุมชนในการพัฒนาการศึกษา 1) โรงเรยี นมีเครือขํายในการพัฒนาการศึกษา โดยโรงเรียนเปดิ สอนทวิศึกษา และ ทาบันทึกข๎อตกลงกับวิทยาลัยอาชีวศึกษาจานวน 2 แหํง คือ วิทยาลัยการอาชีพจอมทอง และ วิทยาลยั เทคโนโลยีการเกษตรเชียงใหมํ เปิด หลักสูตรทวิศึกษา (ปวช.) จานวน 6 สาขา ดังน้ี สาขา บัญชี สาขาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ สาขาการโรงแรม สาขาอุตสาหกรรม (ไฟฟูากาลัง) สาขา อุตสาหกรรม(ชํางเช่ือม) และ สาขาเกษตรศาสตร์ ได๎รับความรํวมมือจากมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิ โรฒ(มศว.)ในการมาจัดคํายกิจกรรมและการพัฒนาด๎านการศึกษา และยังได๎ทาบันทึกข๎อตกลงความ รํวมมือทางวิชาการกับวิทยาลัยเทคโนโลยีชรินรัตน์ลาพูน เปิดโครงการจัดการเรียนการสอนรายวิชา สะสมหนํวยกจิ เตรยี มอาชวี ศึกษา (Pre-VEd.) ใหก๎ บั นกั เรยี นระดบั ชน้ั มัธยมศึกษาปที ี่ 1-6 2) โรงเรียน วัด โรงพยาบาล หนํวยงานราชการท้ังเอกชน และภาครัฐ ยังเป็น เครือขํายสนับสนุกการพัฒนาการศึกษาท่ีตํอกัน เชํน อุทยานแหํงชาติดอยอินทนนท์ สถานีเกษตร หลวงอินทนนท์ สถานีเกษตรหลวงเชียงใหมํ(สาขายํอยแมํจอนหลวง) สถานีเกษตรหลวงเชียงใหมํ (สาขายํอยขุนวาง) สถานีรายงานดอยอินทนนท์ พระมหาธาตุ สนับสนุน เคร่ืองยนต์ ต๎นไม๎ กล๎า ดอกไม๎ และวิทยากรในการอบรมนักเรียน มูลนิธิไทยรักษ์ปุา สนับสนุนงบประมาณในการฝึกอาชีพ ให๎กับนักเรยี น ฯลฯ เป็นตน๎ ๓) เข๎ารํวมเป็นเครือขํายโรงเรียนประถมศึกษา สังกัด สพป.ชม.เขต ๖ (กลุํม เครือขํายสามัคคี) ในการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของนักเรียนชั้นประถมศึกษาท้ังด๎านวิชาการ กีฬา และกิจกรรมอ่ืนๆ ๔) เข๎ารํวมเป็นเครือขํายโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัด สพม.๓๔ เชียงใหมํ (กลุํม เครือขํายอินทนนท)์ ในการพัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษาของนักเรยี นชนั้ ประถมศกึ ษาทงั้ ด๎านวชิ าการ ๕) เครือขํายองค์กรปกครองสํวนท๎องถ่ินในการสนับสนุน เครื่องจักรกล และ บุคลากร และความรวํ มมือในการจัดกิจกรรมตําง ๆ
๒๐ องค์ประกอบท่ี 2 ด้านนวตั กรรมและเทคโนโลยเี พอ่ื การเรียนการสอน ชื่อนวัตกรรม การสรา๎ งอัตลักษณผ์ ๎เู รียนโดยใช๎ 3School Model ของโรงเรียนราชประชานุเคราะห์- 31 จังหวัดเชยี งใหมํ ชือ่ ผู้พัฒนานวตั กรรม นางวิลาวัลย์ ปาลี ผู๎อานวยการโรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 - จงั หวดั เชียงใหมํ ตัวชี้วดั ท่ี ๑ ความเปน็ มาของนวตั กรรม การพัฒนาประเทศให๎มีความเจริญก๎าวหน๎าทํามกลางยุคกระแสโลกาภิวัตน์ที่มีการ เปลี่ยนแปลงอยํางรวดเร็ว ท้ังทางด๎านเศรษฐกิจ สังคม การเมือง การศึกษา วัฒนธรรม เทคโนโลยี ฯลฯ กลไกหลักท่ีสาคัญของการพัฒนาคือ คนที่มีคุณภาพ การพัฒนาศักยภาพของคนจึงเป็นสิ่งท่ี สาคัญที่สดุ โดยเฉพาะภาคการศึกษาท่เี ปน็ ภาคสวํ นสาคัญทีเ่ ก่ยี วข๎องโดยตรงกับการพัฒนาคุณภาพคน ของประเทศ สํงผลให๎เกิดการการปฏิรูปการเรียนร๎ูในหลายๆ สํวนเพื่อให๎ได๎คุณลักษณะผู๎เรียนท่ีพึง ประสงค์ คือ ผ๎ูเรียนท่ีเป็นคนดี คนเกํงและคนมีความสุข (นิชาวดี ตานีเห็งและคณะ,2559) ในสํวน ของการศึกษา อัตลักษณ์ หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นของผ๎ูเรียนตามปรัชญา ปณิธาน พันธกิจ และ วัตถุประสงค์ของการจัดต้ังสถานศึกษาท่ีได๎รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการสถานศึกษาและ หนํวยงานต๎นสังกัด ทุกสถานศึกษาไมํวําเล็กใหญํ เหมือนกันหมดทั้งประเทศจะมีปรัชญา ปณิธาน วิสัยทัศน์ พันธกิจ เปูาหมาย วัตถุประสงค์ อัตลักษณ์สถานศึกษา จึงหมายถึง ลักษณะเฉพาะของ สถานศึกษา ที่มีความโดดเดํนเป็นเอกลักษณ์ของสถานศึกษา และอัตลักษณ์ของสถานศึกษาเน๎นไปที่ การกาหนดภาพความสาเร็จ (Image of Success) ท่ีต๎องการให๎เกิดกับผ๎ูเรียน หรือเป็นลักษณะหรือ คณุ สมบตั ิโดดเดํนของนักเรียนที่สาเร็จการศึกษาจากสถานศึกษาแหํงน้ันซ่ึงคุณลักษณะหรือคุณสมบัติ โดดเดํนของนักเรียนก็คือคุณภาพผู๎เรียนที่สถานศึกษากาหนด คุณภาพการจัดการศึกษาสะท๎อนจาก คุณภาพผ๎เู รยี นท่ีกาหนดตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขั้นพ้นื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 ในมาตรฐาน คณุ ลักษณะท่ีพงึ ประสงคข์ องผเู๎ รยี น นอกจากนนั้ สถานศึกษาแตํละแหํงท่ีมีบริบทตํางกันให๎กาหนดการ พัฒนาคณุ ลักษณะของผ๎ูเรียนท่ีเป็นอัตลักษณ์เฉพาะของตนเอง ตามบริบทของสถานศึกษา และความ โดดเดํนตามทสี่ ถานศึกษาต๎องการให๎เกิดกับผู๎เรียน โดยผํานการจัดกิจกรรมโครงการที่เป็นจุดเน๎นของ สถานศึกษาท่ีได๎รับการยอมรับจากบุคคลท้ังในระดับชุมชนและในวงกว๎าง สํงผลสะท๎อนเป็นคุณ ลักษณะเฉพาะของผู๎เรียน ดังนั้นผ๎ูท่ีมีสํวนเก่ียวข๎องในการจัดการศึกษาของสถานศึกษาจึงต๎องให๎ ความสาคัญ และจัดการศึกษาอยํางมีคุณภาพรวมถึงได๎รับการรับรองคุณภาพของสถานศึกษาตาม มาตรฐานและการประกันคุณภาพการศึกษา ซึ่งกาหนดในพระราชบัญญัติการศึกษาแหํงชาติ พ.ศ. 2542 แกไ๎ ขเพม่ิ เตมิ (ฉบบั ท่ี 2) พ.ศ. 2545 หมวด 6 วาํ ด๎วยเรอื่ งมาตรฐานและการประกันคุณภาพ การศึกษา มาตรา 47 ให๎มีระบบการประกันคุณภาพการศึกษาเพ่ือพัฒนาคุณภาพและมาตรฐาน การศึกษาทุกระดับ ประกอบด๎วย ระบบการประกันคุณภาพภายใน และระบบการประกันคุณภาพ ภายนอก มาตรา 48 ให๎หนํวยงานต๎นสังกัดและสถานศึกษาจัดให๎มีระบบการประกันคุณภาพภายใน สถานศึกษาและให๎ถือวําการประกันคุณภาพในเป็นสํวนหน่ึงของกระบวนการบริหารการศึกษาที่ต๎อง ดาเนินการอยํางตํอเนื่อง และมาตรา 49 ให๎มีสานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพ การศกึ ษา มฐี านะเปน็ องคก์ ารมหาชนทาหน๎าท่ีพัฒนาเกณฑ์ วิธีการประเมินคุณภาพภายนอก และทา การประเมินผลการจัดการศึกษาเพื่อให๎มีการตรวจสอบคุณภาพของสถานศึกษา โดยคานึงถึงความมํุง
๒๑ หมายและหลักการ และแนวการจัดการศึกษาในแตํละระดับ (ทองพรรณ ป๎ญญาอุดมกุลและคณะ ,2557) โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวัดเชียงใหมํ เป็นโรงเรียนท่ีกํอตั้งขึ้นโดยมี วัตถุประสงค์ของการจัดตั้งเพ่ือรับเด็กด๎อยโอกาสท่ีมีความเป็นอยูํด๎อยกวําเด็กปกติทั่วไป ได๎แกํเด็ก ยากจนมากเป็นพิเศษ (ครอบครัวมีรายได๎ไมํเกิน ๒๐,๐๐๐ บาทตํอปี) เด็กกาพร๎า เด็กถูกทอดท้ิง เด็ก ในชนกลํุมน๎อย เด็กถูกทาร๎ายทารุณ เด็กท่ีได๎รับผลกระทบจากโรคเอดส์ เด็กเรํรํอน แรงงานเด็ก เด็ก ในสถานพินจิ และค๎ุมครองเด็กและเยาวชนฯลฯ ในเขตพนื้ ทอี่ าเภอแมํแจํม อาเภอฮอด อาเภอจอมทอง อาเภอดอยเตํา อาเภออมก๋อย และอาเภอดอยหลํอ โดยโรงเรียนเน๎นการพัฒนา 3 ทักษะ คือทักษะ วชิ าการ ทักษะอาชีพ และทักษะการดารงชวี ิต อกี ท้ังโรงเรยี นยังเสริมสร๎างให๎นักเรียนมีคุณลักษณะอัน พึงประสงค์ตรงตามอัตลักษณ์ของโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวัดเชียงใหม่ “สุขภาพดี คุณธรรมเด่น เป็นจิตอาสา” เพื่อให๎นักเรียนมีสุขภาพท่ีดี มีคุณธรรม มีนิสัยที่เป็นจิตอาสาชํวยเหลือ ชุมชนและสงั คม และยังเกยี่ วกับการบริหารจัดการของสถานศกึ ษาซ่งึ ถอื วาํ มีบทบาทสาคัญที่สุด ป๎จจัย การขับเคล่ือนภายในสถานศึกษาทเี่ หมาะสมกบั แตลํ ะบรบิ ทของสถานศึกษาคือสิ่งสาคัญท่ีจะทาให๎การ พัฒนาใหบ๎ รรลผุ ลตามเปาู หมายได๎ (นลินี ทวีสิน, ๒๕๔๙) โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวัดเชียงใหมํ จึงได๎พัฒนานวัตกรรมท่ีชํวยใน การสรา๎ งอัตลักษณ์ผู๎เรียนในสถานศึกษา ในช่ือวํา “3School Model” โดยมีกระบวนการขับเคลื่อน การดาเนนิ งานท้งั 3 โรงเรยี น ประกอบดว๎ ย โรงเรยี นเพชร โรงเรียนจิตอาสา และโรงเรียนคุณธรรม ภายใต๎กรอบแนวคดิ ป๎จจยั สาคัญทสี่ งํ เสรมิ การสร๎างอัตลักษณ์ผู๎เรียนให๎บรรลุเปูาหมาย และได๎คานึงถึง ความเหมาะสมกับบริบทของสถานศึกษาเป็นสาคัญ โดยออกแบบนวัตกรรมให๎สอดคล๎องกับสภาพ บริบทของโรงเรียนเป็นสาคัญ เพื่อสร๎างอัตลักษณ์ผู๎เรียนในโรงเรียน อันจะสํงผลตํอการพัฒนา คณุ ภาพการจัดการศึกษาของโรงเรยี นและสํงผลผเู๎ รยี นใหม๎ ีคุณภาพตามเปูาหมาย จดุ มงุ่ หมายของการศกึ ษา ๑. เพ่ือพัฒนารปู แบบการสรา๎ งอัตลกั ษณ์ผ๎เู รยี น โดยใช๎ 3School Model ๒. เพื่อนา 3School Model ไปใชใ๎ นการสร๎างอัตลักษณ์ผู๎เรียน ตามแนวทางการดาเนินงาน โรงเรียนเพชร โรงเรียนจิตอาสา และโรงเรียนคุณธรรมของโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวัด เชยี งใหมํ 3. เพือ่ ประเมินความพงึ พอใจในการนา 3School Model ไปใช๎ในการสร๎างอตั ลกั ษณ์ผเ๎ู รียน ขอบเขตการศึกษา ๑. ขอบเขตด๎านประชากรและกลํมุ ตัวอยําง ๑.๑ ประชากรที่ใชใ๎ นการศึกษาครง้ั นีป้ ระกอบด๎วย ๑.๑.๑ ผบ๎ู รหิ ารสถานศกึ ษาและครผู ๎ูสอน จานวน 88 คน ๑.๑.๒ คณะกรรมการสถานศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน จานวน ๑๕ คน ๑.๑.๓ นกั เรยี น จานวน 797 คน ๑.๑.๔ ผู๎ปกครองนักเรียน จานวน 797 คน ๑.๒ กลุํมตวั อยาํ งทีใ่ ชใ๎ นการศึกษาครง้ั นี้ การศึกษาคร้งั นี้เป็นการศึกษาเชงิ คณุ ภาพและการศึกษาเชงิ ปริมาณ การศึกษาเชิงคุณภาพเกบ็ รวบรวมข๎อมูลจากกลุมํ ประชากรท่เี ก่ยี วข๎อง สวํ นการศกึ ษาเชิงปรมิ าณด๎าน
๒๒ ความพึงพอใจทมี่ ีตํอการสรา๎ งอตั ลกั ษณ์ผเู๎ รยี น โดยใช๎ 3School Model เก็บรวบรวมข๎อมลู จากกลํมุ ตวั อยํางได๎มาโดยวธิ กี ารสุมํ ตัวอยาํ งแบบงาํ ย (Simple ramdom sampling) จานวนกลุํมตวั อยํางตาม ตารางเครจซแี่ ละมอร์แกน (Krejcie & Morgan, ๑๙๗๐ อ๎างใน ธรี วฒุ ิ เอกะกลุ , ๒๕๔๓) ประกอบด๎วย ๑.๒.๑ ผบ๎ู รหิ ารและครูผ๎สู อน จานวน 73 คน ๑.๒.๒ คณะกรรมการสถานศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน จานวน 10 คน ๑.๒.๓ นักเรยี นโรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวัดเชยี งใหมํ จานวน ๒60 คน ๑.๒.๔ ผูป๎ กครองนักเรยี นโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวัด เชียงใหมํ จานวน ๒60 คน ๒. ขอบเขตด๎านเนื้อหา สภาพและผลการดาเนินการสรา๎ งอัตลักษณ์ผู๎เรียน โดยใช๎ 3School Model ของ โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 จงั หวดั เชียงใหมํ กาหนดขอบขํายการศกึ ษาผลการดาเนินงานโดย ประเมินผลผลิตและผลลพั ธ์ท่ีเกิดจากการนานวัตกรรมไปใช๎ ดังนี้ ด๎านผลผลติ ประเมนิ ผลการดาเนนิ งานจาก ประเดน็ ตอํ ไปน้ี - ผลการสรา๎ งอัตลกั ษณ์ผเู๎ รียน ตามเปาู หมายการดาเนนิ งานโรงเรยี น สงํ เสรมิ สุขภาพระดับเพชร การมจี ติ อาสาตํอสวํ นรวมและสังคม การดาเนินโครงการศนู ย์การเรียนรู๎ ตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง การพัฒนาระบบดูแลชวํ ยเหลือนกั เรยี น การดาเนนิ โครงการ สถานศกึ ษาสขี าว ปลอดยาเสพตดิ และอบายมุข - อตั ลกั ษณ์ผเ๎ู รียน พิจารณาจากการที่มีสขุ ภาพดี มีคณุ ธรรมเดนํ เป็นจิต อาสา - ความพึงพอใจที่มีตํอการสร๎างอตั ลักษณ์ผูเ๎ รียน โดยใช๎ 3School Model ด๎านผลลพั ธ์ ประเมนิ ผลการดาเนินงานจากประเดน็ ดังน้ี - ผลของการการดาเนนิ งานโรงเรยี นสํงเสริมสขุ ภาพระดบั เพชร - ผลของกิจกรรมจิตอาสาตํอสํวนรวมและสงั คม - ผลของการดาเนนิ โครงการศูนยก์ ารเรยี นรู๎ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพยี ง การพฒั นาระบบดูแลชวํ ยเหลือนกั เรยี น การดาเนินโครงการสถานศึกษาสีขาว ปลอดยาเสพ ติดและอบายมุข - ผลงานหรือรางวัลเกยี รตยิ ศทไี่ ด๎รบั ๓. ขอบเขตด๎านระยะเวลา ในการศึกษาครั้งนใ้ี ชร๎ ะยะเวลาศกึ ษาในปกี ารศกึ ษา ๒๕60 ถงึ ปกี ารศึกษา 2561 นิยามศพั ท์เฉพาะ ๑. อัตลกั ษณข์ องผเู๎ รียน หมายถงึ การท่ีผู๎เรียนมีสขุ ภาพดี มีคณุ ธรรมเดํน และเป็นจิต อาสา ซง่ึ คณะผูบ๎ ริหาร ครูและนักเรียนรวํ มกันกาหนดข้ึนเปน็ พฤติกรรมบํงชีเ้ ชงิ บวกท่ีเป็นเปาู หมายใน การสรา๎ งอัตลักษณ์ของผ๎เู รียน โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 จงั หวัดเชยี งใหมํ ๒. 3School Model หมายถึง รูปแบบการดาเนินงานตามโรงเรียนท้ัง 3 โรงเรียน ประกอบด๎วย 1.โรงเรียนเพชร 2.โรงเรียนจิตอาสา และ3.โรงเรียนคุณธรรม ท่ีเป็นกระบวนการ
๒๓ ขับเคล่ือนในการสร๎างอัตลักษณ์ของผู๎เรียนในโรงเรียน ซ่ึงผู๎ศึกษาได๎พัฒนาขึ้นโดยยึดหลักความ สอดคล๎องกบั สภาพบรบิ ทของโรงเรยี นเป็นสาคัญ 3. โรงเรยี นเพชร หมายถึง โดยโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวัดเชียงใหมํ ผําน การคัดเลือกให๎เป็นโรงเรียนสํงเสริมสุขภาพระดับเพชร ได๎มีการพัฒนาสถานศึกษาท่ีเอ้ือตํอผ๎ูเรียนใน ด๎านสุขภาวะท่ีดี สร๎างให๎ผู๎เรียนเป็นคนที่มีสุขภาพดี ตามมาตรฐานของโรงเรียนสํงเสริมสุขภาพระดับ เพชร 3 มาตรฐาน 19 ตวั ช้ีวดั 4. โรงเรียนจิตอาสา หมายถึง กิจกรรมที่สํงเสริมด๎านจิตอาสาของผ๎ูเรียน 2 ประการ ประกอบดว๎ ย กจิ กรรมภายในสถานศกึ ษา และกิจกรรมภายนอกสถานศึกษา 5. โรงเรียนคุณธรรม หมายถึง การดาเนินงานสํงเสริมคุณธรรมในสถานศึกษา ประกอบด๎วย ศูนย์การเรียนรู๎ตามหลักปรัชญาของเศรษกิจพอเพียงด๎านการศึกษา การดาเนินงาน ระบบการดแู ลชวํ ยเหลือนกั เรียน และโครงการสถานศกึ ษาสขี าว ปลอดยาเสพตดิ และอบายมุข 6. ผลของการดาเนินการสร๎างอัตลักษณ์ของผู๎เรียนโดยใช๎ 3School Model ของ โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จังหวัดเชียงใหมํ หมายถึง สภาพการสร๎างอัตลักษณ์ของผ๎ูเรียน โดย พิจารณาจาก ผลการสร๎างอัตลักษณ์ของผู๎เรียนตามตัวช้ีวัดโรงเรียนเพชร โรงเรียนจิตอาสา และ โรงเรียนคุณธรรม ผลการประเมินอัตลักษณ์ของผู๎เรียน ความพึงพอใจของผ๎ูมีสํวนเกี่ยวข๎องที่มีตํอการ สรา๎ งอตั ลักษณ์ของผเ๎ู รียน อตั ลักษณเ์ ปาู หมายของผูเ๎ รียนและผลงานหรือรางวัลเกียรติยศท่ีได๎รบั 7. ความพึงพอใจที่มีตํอการสร๎างอัตลักษณ์ของผู๎เรียนโดยใช๎ 3School Model ของ โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวัดเชียงใหมํ หมายถึง ความร๎ูสึก ความคิดเห็นของผ๎ูท่ีมีสํวน เก่ียวข๎อง ได๎แกํ ผู๎บริหาร ครู คณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ผ๎ูปกครองและนักเรียนท่ีมีการ สรา๎ งอตั ลกั ษณข์ องผ๎ูเรยี นโดยใช๎ 3School Model 8. ผเ๎ู รยี น หมายถงึ นกั เรียนของโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวัดเชียงใหมํ ท่ี กาลงั ศกึ ษาในปีการศกึ ษา ๒๕60-2561 ประโยชนข์ องการศึกษา ๑. ได๎รปู แบบการดาเนนิ การสร๎างอตั ลกั ษณ์ผู๎เรยี นที่มีคุณภาพ ๒. สร๎างอตั ลกั ษณ์ผ๎ูเรยี นของโรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 จงั หวดั เชียงใหมํ ๓. ผลการศึกษาใช๎เป็นองค์ความร๎ู เป็นแนวทางในการวางแผนและการขยายผลการ พฒั นารูปแบบในการสร๎างอัตลกั ษณ์ผ๎เู รียน และการพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาให๎มีประสิทธิภาพ มากย่ิงขนึ้ ตัวชีว้ ดั ท่ี ๒ กระบวนการพัฒนานวตั กรรม กระบวนการพัฒนานวัตกรรม 3School Model และนาไปใช๎ในการดาเนินการเพื่อ สรา๎ งอัตลกั ษณ์ผเ๎ู รียน ของโรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จงั หวัดเชียงใหมํ ได๎นาวงจร PDCA มาใช๎ มีขน้ั ตอนกระบวนการพัฒนานวัตกรรม ดังน้ี 2.1 การวางแผนการดาเนนิ งาน (Plan) 2.1.๑ การสารวจสภาพป๎ญหา ความต๎องการ ในการสร๎างอัตลักษณ์ผู๎เรียน โดย การวิเคราะห์สภาพป๎จจุบัน สารวจพฤติกรรมด๎านสุขภาพ คุณธรรม และจิตอาสาท่ีพึงประสงค์และ พฤติกรรมที่เป็นป๎ญหาที่เกิดขึ้นในสถานศึกษา เรียงลาดับความสาคัญและความต๎องการจาเป็นในการ แก๎ป๎ญหา พบวําพฤติกรรมด๎านสุขภาพ การแสดงออกด๎านคุณธรรมจริยธรรม และการเป็นจิตอาสา
๒๔ ของผ๎เู รยี นมีความสาคัญและจาเป็นต๎องได๎รับการแก๎ไข กาหนดเปน็ อัตลกั ษณ์เป้าหมาย ๓ ด้าน ได้แก่ มีสุขภาพดี มคี ณุ ธรรมเด่น และเป็นจติ อาสา 2.๑.๒ กาหนดขอบขํายอัตลกั ษณแ์ ละพฤตกิ รรมตัวช้ีวัดทต่ี อ๎ งการสรา๎ ง โดย ผบู๎ รหิ าร ครแู ละนกั เรียนรวํ มกันวิเคราะห์เพอ่ื กาหนดพฤติกรรมบงํ ชเ้ี ชิงบวกท่ีเปน็ ตวั ชีว้ ัดในอัตลกั ษณ์ แตํละด๎านของผูเ๎ รียน 2.๑.๓ วเิ คราะหส์ ภาพป๎จจุบันของโรงเรยี น ศึกษาแนวคิด ทฤษฏี เอกสารและ งานวจิ ยั ทเ่ี กยี่ วข๎อง โดยผบ๎ู ริหาร/ครู คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพ้ืนฐาน และตวั แทนผ๎ูปกครอง เครอื ขําย รํวมกันวิเคราะห์เพ่ือกาหนดแผนงานสร๎างอัตลกั ษณผ์ เ๎ู รียน 2.๑.๔ ออกแบบนวัตกรรมรูปแบบการสรา๎ งอัตลักษณ์ผู๎เรียน ใหเ๎ หมาะสมกบั สภาพปญ๎ หาและสภาพบรบิ ทและแผนงานโรงเรียนทัง้ 3 ไดแ๎ กํ โรงเรยี นเพชร โรงเรียนจิตอาสา และ โรงเรียนคณุ ธรรม โดยสรา๎ งนวตั กรรมการปฏบิ ัติในชื่อวาํ “3School Model” 2.2 การดาเนนิ งาน (DO) การดาเนินงานนวัตกรรม 3School Model เพื่อการสร๎างอัตลักษณ์ให๎ผู๎เรียนมี “สุขภาพดี คุณธรรมเดํน เป็นจิตอาสา” โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวัดเชียงใหมํ ได๎มี กระบวนการดาเนินงานภายใต๎รูปแบบ TEAM+ Model ซ่ึงเป็นรูปแบบการบริหารจัดการหลักของ สถานศึกษา โดยใช๎นวัตกรรม 3School Model ในการขับเคลื่อนการสร๎างอัตลักษณ์ให๎ผู๎เรียน ซึ่ง กระบวนการขับเคลอ่ื น 3School Model ซง่ึ ประกอบด๎วยรายละเอียด ดังนี้ 2.2.1 โรงเรียนเพชร โดยโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวัดเชียงใหมํ ผําน การคัดเลือกให๎เป็นโรงเรียนสํงเสริมสุขภาพระดับเพชร ได๎มีการพัฒนาสถานศึกษาที่เอ้ือตํอผ๎ูเรียนใน ด๎านสุขภาวะที่ดี สร๎างให๎ผ๎ูเรียนเป็นคนท่ีมีสุขภาพดี ตามมาตรฐานของโรงเรียนสํงเสริมสุขภาพระดับ เพชร 3 มาตรฐาน 19 ตัวชวี้ ัด 2.2.2 โรงเรียนจติ อาสา ประกอบดว๎ ย ๑) กิจกรรมภายในสถานศึกษา ประกอบด๎วยกิจกรรมที่จัดขึ้นภายใน สถานศึกษา ซ่ึงได๎กาหนดไว๎ในแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาและแผนปฏิบัติการประจาปี โดยมี เปูาหมายเพ่ือสํงเสริมและเสริมสร๎างมีจิตอาสา ได๎แกํ กิจกรรมพัฒนาวันเสาร์, กิจกรรมพัฒนาผ๎ูเรียน, กิจกรรมวันสาคัญ, กิจกรรมพัฒนาหอนอน, กิจกรรมจิตอาสา, กิจกรรมห๎องเรียนสีขาว, กิจกรรมทาดี ดว๎ ยหัวใจ ฯลฯ 2) กิจกรรมภายนอกสถานศึกษา เป็นกิจกรรมท่ีโรงเรียนและชุมชนรํวมกัน ปฏิบัติเพื่อเสริมสร๎างอัตลักษณ์ให๎ผู๎เรียน ได๎แกํ จิตอาสาพัฒนาชุมชน, ดนตรี นาฏศิลป์เพ่ือชุมชน, กจิ กรรมสัมพันธช์ ุมชน ฯลฯ 2.2.3 โรงเรียนคุณธรรม ประกอบด๎วย 1) ศูนย์การเรียนรู๎ตามหลักปรัชญาของเศรษกิจพอเพียง ด๎านการศึกษา เน่อื งจากการขบั เคลอื่ นสถานศึกษาให๎เป็นศูนย์การเรียนรู๎ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ด๎าน การศึกษาน้ัน นักเรียน ผู๎บริหาร ครูและบุคลากรของโรงเรียน ต๎องปฏิบัติตนตามหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง(2 : 3 : 4 : 3) คือ 2 เง่ือนไข : ความร๎ู คุณธรรม, 3 หลักการ : พอประมาณ มี เหตุผล มีภูมิค๎ุมกัน, 4 มิติ : วัตถุ สังคม ส่ิงแวดล๎อม วัฒนธรรม, 3 ศาสตร์ : สากล ภูมิป๎ญญา พระราชา ปจ๎ จุบันโรงเรียนเปน็ ศนู ย์การเรยี นรู๎ตามหลักปรัชญาของเศรษกจิ พอเพยี ง ดา๎ นการศกึ ษา
๒๕ 2) สถานศึกษาสีขาว โดยโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวัด เชียงใหมํ มีการพัฒนาสถานศึกษาตามเกณฑ์สถานศึกษาสีขาว 5 มาตรฐาน 17 ตัวช้ีวัด จนได๎รับ รางวัลรางวลั เชดิ ชูเกียรติ เสมา ป.ป.ส. ประเภทผลงานดเี ดํน ระดบั ทอง ของการประเมินสถานศึกษาสี ขาว ปลอดยาเสพติดและอบายมุข ปกี ารศึกษา ๒๕60 3) ระบบการดูแลชํวยเหลือนักเรียน โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวัดเชียงใหมํ ได๎ดาเนินการชํวยเหลือและพัฒนานักเรียน โดยใช๎ WBM : Web Base Management ชํวยในการดาเนินงานระบบการดูแลชํวยเหลือนักเรียนเพ่ือความรวดเร็วในการกากับ ติดตาม ตรวจสอบ โดยดาเนินกิจกรรมทักษะการดารงชีวิตให๎แกํผ๎ูเรียน จนได๎รับโลํรางวัลระบบการ ดูแลชํวยเหลือนักเรียน ประจาปี 2561 ประเภทสถานศึกษา (โรงเรียนการศึกษาสงเคราะห์) ระดับ ดีเดํน และเกียรติบัตรรางวัลระบบการดูแลชํวยเหลือนักเรียน ประจาปี 2561 ประเภทสถานศึกษา (โรงเรยี นการศึกษาสงเคราะห)์ ระดับทอง 2.๓ การนิเทศ กากับ ตดิ ตามและประเมินผลการดาเนนิ งาน( Check ) การรํวมกันกาหนด ตัวช้ีวัดความสาเร็จ (KPI:Key Performance Indicator )โดย กาหนดตั้งแตํระดับบุคคลและโรงเรียน จนเป็นตัวบํงชี้เดียวกันทั้งระดับบุคคลและโรงเรียน จัดระบบ การนิเทศกากับติดตามแบบกัลยาณมิตรพร๎อมทั้งสร๎างขวัญกาลังใจให๎กับบุคลากร และการ ประเมินผลการดาเนินการสร๎างอัตลักษณ์ผ๎ูเรียน โดยใช๎ 3School Model โดยประเมินผลผลิตและ ผลลัพธท์ เ่ี กิดจากการนานวตั กรรมไปใช๎ ดังน้ี 2.3.1 ด้านผลผลิต ประเมินผลการดาเนนิ งานจาก ประเด็นตอํ ไปน้ี 1) ผลการสร๎างอตั ลกั ษณผ์ ู๎เรียนตามเปาู หมาย จากการดาเนนิ งานโรงเรยี น สํงเสรมิ สขุ ภาพระดับเพชร การมจี ติ อาสาตํอสํวนรวมและสังคม การดาเนินโครงการศนู ย์การเรยี นร๎ู ตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง การพัฒนาระบบดูแลชวํ ยเหลอื นักเรยี น การดาเนนิ โครงการ สถานศึกษาสขี าว ปลอดยาเสพติดและอบายมุข 2) อัตลักษณผ์ ๎เู รยี น พจิ ารณาจากผเ๎ู รียนมีสุขภาพดี มคี ุณธรรมเดนํ เป็นจติ อาสา 3) ความพงึ พอใจท่ีมีตอํ การสรา๎ งอตั ลักษณผ์ เู๎ รยี น โดยใช๎ 3School Model 2.3.2 ด้านผลลัพธ์ ประเมินผลการดาเนนิ งานจากประเด็น ดงั นี้ 1) ผลของการการดาเนนิ งานโรงเรียนสงํ เสรมิ สขุ ภาพระดับเพชร 2) ผลของกิจกรรมจติ อาสาตํอสํวนรวมและสงั คม 3) ผลของการดาเนนิ โครงการศนู ยก์ ารเรียนร๎ูตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจ พอเพยี ง การพัฒนาระบบดแู ลชํวยเหลือนักเรียน การดาเนินโครงการสถานศึกษาสีขาว ปลอดยาเสพ ตดิ และอบายมุข 4) ผลงานหรอื รางวลั เกียรตยิ ศที่ได๎รบั 2.๔ การรายงานผลการดาเนินงาน( Action ) 2.4.1 รายงานผลการดาเนินการพร๎อมท้ังเสนอแนะแนวทางการปรับปรุงพัฒนา โดยจัดทาเป็นรายผลการดาเนินการโครงการกิจกรรม รายงานสารสนเทศของโรงเรียน และรายงาน ผลการใชน๎ วตั กรรม 3School Model 2.4.2 การทบทวนคุณภาพ โดยนาผลการพฒั นา ป๎ญหาและขอ๎ เสนอแนะมาใช๎เป็น ขอ๎ มูลสารสนเทศในการวางแผนพฒั นาในการดาเนนิ การครงั้ ตํอไปอยาํ งเป็นระบบ
๒๖ ตวั ช้ีวดั ที่ 3 การออกแบบนวัตกรรม 3.๑ แนวคดิ และทฤษฎีท่นี ามาเปน็ พ้นื ฐานในการออกแบบนวตั กรรม ในการออกแบบนวตั กรรม 3School Model เพอ่ื ใช๎ในการสร๎างอัตลักษณผ์ เู๎ รียน ผศู๎ กึ ษาไดศ๎ ึกษาแนวคิดและทฤษฏีทเ่ี ก่ียวข๎องเพ่ือนามาเป็นพน้ื ฐานในการออกแบบนวัตกรรม ดงั นี้ ๑. นวตั กรรมและการพฒั นานวตั กรรม ๑.๑ ความหมายของนวตั กรรม ๑.๒ ประเภทของนวัตกรรมการศกึ ษา ๑.๓ แนวทางพัฒนากระบวนการบริหาร ๑.๔ ข้นั ตอนการพัฒนานวัตกรรม ๒. หลักการบรหิ ารสถานศึกษา ๓. อัตลักษณแ์ ละการสร๎างอตั ลักษณ์ของผเู๎ รียน ๒.๑ ความหมายของอัตลกั ษณ์ ๒.๒ แนวคิดทฤษฏีเกีย่ วกับอัตลักษณ์ ๒.๓ การสรา๎ งอตั ลักษณ์ของผู๎เรียน ๔. งานวจิ ัยทีเ่ ก่ยี วข๎อง ๑. นวตั กรรมและการพัฒนานวัตกรรม ๑.๑ ความหมายของนวัตกรรม จากการศกึ ษาเอกสารที่เก่ียวข๎องสรุปได๎วํา นวัตกรรม หมายถึง สิ่งใหมํท่ีเกิดจากการใช๎ ความรู๎ ความคิด กระบวนการหรือวิธีการทางานใหมํ การเปลี่ยนแปลง กิจกรรม ความคิด การมีหรือ การปรับปรุง องค์การ รูปแบบการบริหารจัดการศึกษาหรือกิจกรรมที่โรงเรียนพัฒนาข้ึนจึงหมายรวม ในคาวาํ นวตั กรรมดว๎ ย ๑.๒ ประเภทของนวัตกรรมการศึกษา นวตั กรรมที่นามาใชใ๎ นทางการศกึ ษา ทั้งการกระทาใหมํใดๆ การสรา๎ งส่งิ ใหมๆํ รวมทง้ั การพฒั นาดัดแปลงจากสิ่งใดๆ เพอ่ื ใชใ๎ นการเรยี นการสอน ขอแบํงเปน็ ๕ ประเภท คอื ๑.๒.๑ นวตั กรรมดา๎ นส่อื การสอน ๑.๒.๒ นวัตกรรมด๎านการวัดและการประเมนิ ผล ๑.๒.๓ นวัตกรรมด๎านวธิ ีการจัดการเรียนการสอน ๑.๒.๔ นวัตกรรมดา๎ นการบรหิ ารจัดการ ๑.๒.๕ นวัตกรรมทางดา๎ นหลกั สตู ร ๑.๓ แนวทางการพัฒนากระบวนการบริหาร TEAM+ Model ๑.๓.๑ การพัฒนารูปแบบการนเิ ทศเชิงระบบ เพอ่ื พัฒนาการเรียนการสอนของครู ระดบั การศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ๑.๓.๒ การบรหิ ารแบบรวํ มมอื รํวมใจ เพื่อการพัฒนางานวชิ าการ ระดับประถม- ศกึ ษา ๑.๓.๓ การบริหารด๎วยวฎั จักรเดมงิ่ เพื่อการพฒั นาคุณภาพงานวชิ าการ ๑.๓.๔ การพัฒนาการบริหารแบบ TOPSTAR เพื่อพัฒนาคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ของนักเรียน
๒๗ ๑.๓.๕ การพฒั นากระบวนการกัลยาณมิตรวิจยั เพอ่ื เพ่มิ ทกั ษะการทาวิจยั ในชั้นเรียน ของครู ๑.๓.๖ การบริหารงานกิจการนักเรียนแบบรํวมแรงรํวมใจ เพื่อการแก๎ป๎ญหายาเสพ- ติดในสถานศึกษา ๑.๓.๗ การพฒั นาการนิเทศภายในแบบรอ๎ ยเปอรเ์ ซน็ ต์ เพ่อื การเขยี นแผนการจัดการ เรียนรูข๎ องครูระดับการศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน ๑.๓.๘ การพัฒนารูปแบบการบริหารโดยใชช๎ มุ ชนเป็นฐาน เพ่ือพัฒนาจิตสานึก ประชาธปิ ไตยในสถานศึกษาข้ันพืน้ ฐาน สาหรับนักเรียนชํวงช้นั ท่ี ๑ ๑.๓.๙ การพัฒนาการบริหารแบบ ASTEAM เพื่อ การประกันคุณภาพภายใน โรงเรียนระดบั การศึกษาขัน้ พื้นฐาน ๑.๓.๑๐ การพฒั นากระบวนการบรหิ ารแบบพาคดิ พาทา เพ่อื การทาวจิ ยั ของ ครูระดับการศกึ ษาขั้นพนื้ ฐาน ฯลฯ ๑.๔ ขัน้ ตอนการพัฒนานวัตกรรม ขั้นตอนการวิจัยเชงิ การพฒั นา (Research and Development) โดยท่ัวไปมกั กาหนดเป็น ๓ ขัน้ ตอนดังน้ี ข้ันที่ ๑ การสรา้ งและหาประสทิ ธิภาพ โดยดาเนินการในขนั้ ตอนย่อยๆ ดังนี้ - ศกึ ษาเอกสารและงานวิจัยที่เก่ียวข๎อง - ยกราํ งนวตั กรรม (สอ่ื วิธีการสอน หลกั สูตร การวดั และการประเมนิ และกระบวนการบริหาร) - เสนอผเู๎ ช่ียวชาญ - หาประสทิ ธภิ าพ E๑/E๒ ข้ันที่ ๒ ศึกษาผลการนาไปใช้ - นาไปใชก๎ บั กลมํุ ตวั อยําง/กลมุํ เปูาหมาย - ทาการทดสอบผลและประเมินผลการใชโ๎ ดย - เปรยี บเทียบกอํ นใช๎ และหลังใช๎ ( ใช๎ t-test แบบ t-pair) ข้นั ท่ี ๓ ประเมนิ ผล - ใชแ๎ บบวัดความพงึ พอใจ แบบวัดทศั นคติ แบบวดั ความคิดเห็น หรือใช๎ รูปแบบประเมนิ ใดๆ เพอื่ การประเมนิ ผลการใชน๎ วัตกรรมน้ัน กล่าวโดยสรุป ข้ันตอนการพัฒนานวัตกรรมคือ เริ่มต๎นด๎วยการสร้างหรือการ พัฒนา ซ่งึ หมายถึงการยกรํางนวัตกรรมขนึ้ มาใหมํ หรือการพัฒนาวตั กรรมที่มีอยูํแล๎วให๎ดีข้ึน จากนั้นสูํ ข้ันตอนการนานวัตกรรมไปใช้ หมายถึง การนานวัตกรรมไปใช๎กับกลุํมเปูาหมาย เพ่ือรับรองผลวํามี ผลการใช๎อยํูในระดับดี โดยยืนยันจากผลการทดสอบ และในข้ันตอนสุดท้ายคือ การประเมินผลการ ใช้นวัตกรรม หมายถึงการสอบถามความคิดเห็น หรือความพึงพอใจท่ีมีตํอนวัตกรรมนั้นๆ วําดีมี ประโยชน์ มีคุณคํา สามารถนาไปใช๎ได๎เป็นอยํางดี โดยยืนยันจากเครื่องมือการวัดและประเมินผล นวตั กรรมน้ัน
๒๘ ๒. หลกั การบริหารสถานศกึ ษา ๒.๑ ความหมายและหลกั สาคญั การบริหารโดยใชโ้ รงเรยี นเปน็ ฐาน จาการศกึ ษาเอกสารทเี่ กยี่ วข๎อง อาจกลําวได๎วาํ การบรหิ ารโดยใช๎โรงเรยี นเป็นฐาน หมายถึง การบรหิ ารจัดการศึกษาของสถานศึกษาตามความตอ๎ งการจาเป็นของโรงเรยี นและท๎องถ่ินโดย การมีสวํ นรํวมของผม๎ู สี ํวนได๎เสีย (Stakeholders) ไดแ๎ กํ คณะกรรมการสถานศกึ ษา ประกอบดว๎ ย ผูบ๎ รหิ ารสถานศึกษา ครู ผป๎ู กครอง สมาชิกในชุมชน นกั เรียน และองค์กรอนื่ ๆ หลักสาคัญของการบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานไว้ ดงั น้ี ๑. หลักการกระจายอานาจ (Decentralization) เปน็ การกระจายอานาจการจดั การศึกษาไปยงั สถานศกึ ษา โดยเช่ือวําโรงเรยี นเป็นหนํวยสาคัญในการเปลีย่ นแปลงและพฒั นา การศกึ ษา ๒. หลักการมสี ํวนรวํ ม (Participation or Coollaboration or Involvement) เปิด โอกาสให๎ผูเ๎ ก่ยี วข๎องและผูม๎ ีสํวนได๎สํวนเสียมสี ํวนรํวมบริหาร ตดั สินใจและรํวมจดั การศึกษา ๓. หลักการคืนอานาจจดั การศกึ ษาใหป๎ ระชาชน (Return Power to People) มี การคืนอานาจให๎ท๎องถิ่นและประชาชนได๎จัดการศกึ ษาเอง โดยมสี ิทธิจดั การศกึ ษาไดห๎ รือเขา๎ รํวมเปน็ คณะกรรมการโรงเรยี น ๔. หลักการบรหิ ารตนเอง (Self-manegement) โดยให๎โรงเรียนมีอานาจหน๎าทแี่ ละ ความรบั ผิดชอบในการดาเนนิ งาน ซึง่ อาจดาเนินการได๎หลากหลายวิธี ๕ .หลกั การตรวจสอบและถวํ งดุล (Check and Balance) สวํ นกลางมหี น๎าที่กาหนด นโยบายและควบคุมมาตรฐาน มีองค์กรอสิ ระทาหนา๎ ทตี่ รวจสอบคณุ ภาพการบรหิ ารจัดการศึกษา ๓. อัตลกั ษณ์และการสร้างอัตลกั ษณ์ของผเู้ รียน ๓.๑ ความหมายของอตั ลักษณ์ ราชบัณฑิตยสถานได๎บัญญัติศัพท์คาวํา Identity วํา เอกลักษณ์ มีความหมายวํา ลกั ษณะทเ่ี หมอื นกนั หรอื มรี ํวมกัน(คาศัพท์บัญญัติ,2537:71 และพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.2542,2546) ในวงการสงั คมศาสตรย์ ุคปจ๎ จบุ นั มกี ารใช๎คาวํา อัตลักษณ์ แทนคาวํา เอกลักษณ์ โดย มีผ๎ูให๎ความหมาย อัตลักษณ์ ดงั นี้ พจนานุกรม The Concise Dictionary of Psychology ได๎ให๎ความหมาย Identity หมายถงึ ลักษณะเฉพาะทีส่ าคญั ฝ๎งแนํนในตัวบุคคล เป็นพ้ืนฐานที่หลอมรวมเป็นบุคลิกภาพ สะทอ๎ นภาพลักษณข์ องบคุ คล (Statt, 1998) McCall (1987:134 อ๎างถึงใน ฤดี นยิ มรตั น์, 2554: 4) ได๎ให๎ความหมายของ อัต ลกั ษณ์ วํา เป็นลักษณะอยํางใดอยํางหนึ่งในตัวบุคคล หรือชนชาติใดชนชาติหน่ึงท่ีทาให๎บุคคลน้ันร๎ูตัว วํา เขาเป็นบุคคลเป็นตัวเขาเองแตกตํางจากคนอ่ืน และทาให๎คนอ่ืนร๎ูจักวําเป็นใคร อัตลักษณ์ของ ตนเองจงึ มคี วามสาคัญเพราะเปน็ เคร่ืองรักษาบุคคลแตลํ ะคนใหม๎ ีความเปน็ ตวั ของตวั เองโดยแทจ๎ ริง ดวงเดือน พันธุมนาวินและดุจเดือน พันธุมนาวิน (2538: 77) ได๎กลําวถึง อัต ลักษณ์ วาํ เป็นโครงสร๎างของบคุ ลิกภาพของบุคคลท่ีเกิดจากการรู๎จักตน การยอมรับตนวํามีลักษณะท่ี คงที่และตํอเนื่องมาตั้งแตํเด็กจนถึงผู๎ใหญํ ในขณะเดียวกันบุคคลก็เข๎าใจบทบาท หน๎าท่ีของตนตามท่ี สังคมและวัฒนธรรมกาหนด และรับร๎ูลักษณะความรู๎ ความสามารถ ความต๎องการของตนได๎
๒๙ สอดคล๎องกับสังคมและคนรอบข๎างทาให๎เกิดความมั่นใจในตนเองที่สามารถทาทุกอยํางได๎ดีตาม มาตรฐานตนเองและสังคมไปพร๎อมกนั อภิญญา เฟื่องฟูสกุล (2546: 1-2) กลําววํา อัตลักษณ์แปรเปลี่ยนตามบริบทของ วฒั นธรรมยุคโลกาภิวัตน์ ซ่ึงเทคโนโลยีการสื่อสารทาให๎มิติเวลาเรํงเร็วข้ึน มิติพื้นท่ีหดแคบเข๎ามา เกิด การเคลอ่ื นไหวทางวัฒนธรรม อยาํ งรวดเร็ว หลากหลายและซับซอ๎ น การเปลี่ยนแปลงน้ีสํงผลให๎ผู๎คนมี กระบวนการสรา๎ งตัวตนและอัตลักษณ์จากการผสมผสานองค์ประกอบทางวฒั นธรรมทซ่ี บั ซ๎อน ฉัตรทิพย์ สุวรณชินและพนมพร จันทรป๎ญญา (2559: 269) ได๎ให๎ความหมาย อัต ลักษณ์ หมายถึง ลักษณะเฉพาะ หรือลักษณะที่เหมือนกันของบุคคล กลุํมบุคคลท่ีสามารถบํงบอก ความแตกตํางและสรา๎ งความจาจาได๎ ซ่ึงเปน็ ผลมาจากการยอมรับและเข๎าใจบทบาทหน๎าท่ีตนเองผําน กระบวนการปฏิสัมพันธ์และการยอมรับจากผู๎อื่นหรือสังคม ฉัตรทิพย์ สุวรณชินและพนมพร จันทร ป๎ญญา, 2559: 269) ๓.๒ แนวคิดทฤษฏีเก่ียวกับอตั ลกั ษณ์ สาหรับอัตลักษณ์ผู๎เรียน หมายถึง คุณลักษณะของผ๎ูเรียนท่ีพึงประสงค์ ซึ่งเกิดขึ้น ตามปรัชญาปณิธาน วิสัยทัศน์ พันธกิจและวัตถุประสงค์ของการจัดต้ังสถานศึกษา เป็นคุณลักษณะ เฉพาะที่โดดเดํนของผ๎ูเรียนแตํละสถานศึกษา(ชาญณรงค์ พรรํุงโรจน์, 2557: 6) จุดรํวมที่สาคัญใน การนิยาม อัตลักษณ์ของนักวิชาการ อัตลักษณ์เป็นเร่ืองการกาหนด ความเหมือน (similarity) และ ความแตกตําง (difference) ระหวํางคนและสิ่งของ ความเหมือนและความตํางเกี่ยวข๎องกับการมี ปฏิสมั พันธ์ทางสังคมหรือเป็นผลมาจากการเป็นสมาชิกกลุํม (Brown, 2004 อ๎างถึงใน สุภัชฌาน์ ศรี เอ่ียม, 2559: 187) โดยมีการแบํงอัตลักษณ์เป็น 2 ประเภท (Smith, 2006: 85-88; Erikson, 1968 อ๎างถึงใน ฉัตรทิพย์ สุวรณชินและพนมพรจันทรป๎ญญา, 2559: 27) คือ 1) อัตลักษณ์บุคคล (Individual Identity) เก่ียวข๎องกับมิติภายในบุคคลได๎แกํ อารมณ์ ความรู๎สึกนึกคิด ซ่ึงบุคคลมีตํอ ตนเอง เป็นการให๎ความหมายหรือเปลี่ยนแปลงความหมายเกี่ยวกับตนเองผํานกระบวนการที่บุคคล สัมพันธ์กับโลก ซ่ึง Goffman นักสังคมวิทยาได๎จาแนกอัตลักษณ์บุคคลตามทฤษฎีสังคมของ Erik H. Erikson แบํงเป็น 2 มิติคือ ส่ิงท่ีบุคคลมองตัวตนของตนเองที่มีลักษณะเฉพาะและแตกตํางจากผ๎ูอ่ืน เรียกวํา Ego Identity และ ภาพหรือลักษณะเฉพาะของบุคคลในสายตาผู๎อื่น เรียกวํา Personal Identity และ 2) อัตลักษณ์ทางสังคม (Social Identity) ประกอบด๎วยสองสํวนคือ อัตลักษณ์ ลักษณะท่ีสังคมเรียกร๎องและคาดหวังจากบุคคล (Virtual Identity) และส่ิงท่ีเป็นอัตลักษณ์ที่แท๎จริง ของบคุ คลนั้น (Actual Social Identity) นอกจากน้ีฉัตรทิพย์ สุวรรณชินและพนมพร จันทรป๎ญญา (2558: 267) ได๎ กลําวถึง การศึกษาในระดับการศึกษาข้ันพื้นฐานเป็นกระบวนการสาคัญในการสร๎างอัตลักษณ์ของ ผเ๎ู รียนให๎มคี ณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์สอดคล๎องกับความต๎องการสถานศึกษา และสามารถดาเนินชีวิต อยูํรํวมกับผู๎อื่นในสังคมได๎อยํางมีความสุข อัตลักษณ์ของผ๎ูเรียนถือเป็นอัตลักษณ์บุคคล (Individual Identity) ซึ่งเกี่ยวข๎องกับมิติภายในที่บุคคลร๎ูจักและรับรู๎เก่ียวกับตนเอง และอัตลักษณ์ทางสังคม (Social Identity) เก่ียวข๎องกับการมีปฏิสัมพันธ์ทางสังคมของบุคคล นาไปสูํการจาแนกประเภทอัต ลักษณ์ของผู๎เรยี นในระดบั การศกึ ษาข้ันพื้นฐานแบํงเป็นอัตลักษณ์ 2 ประเภท ได๎แกํ 1) อัตลักษณ์ทาง วิชาการ (Acdemy Identity) และ อัตลักษณ์ทางวิชาชีพ (Professtional Identity) สาหรับการ สร๎างอัตลักษณ์ของผ๎ูเรียนน้ันมีความสัมพันธ์อยํางใกล๎ชิดกับกระบวนการเรียนรู๎ และสภาพแวดล๎อม การเรยี นร๎ู ซึ่งป๎จจัยที่เกย่ี วข๎องกบั การบรหิ ารการศึกษาท้งั ด๎านผ๎เู รียน ด๎านผู๎สอน ดา๎ นวธิ กี ารสอน ด๎าน
๓๐ หลักสตู ร และด๎านผู๎บริหาร รวมท้ังป๎จจัยท่ีเกี่ยวข๎องกับการบริหารจัดการทั้งด๎านสภาพแวดล๎อม และ ด๎านระบบประกันคุณภาพการศึกษาท่ีมีประสิทธิภาพ จะเป็นป๎จจัยสาคัญที่ชํวยให๎ผู๎เรียนเกิดการ เรียนรแ๎ู ละสงํ ผลใหผ๎ ๎ูเรยี นมอี ตั ลกั ษณต์ ามที่สถานศกึ ษากาหนดได๎อยํางสาเรจ็ อัตลักษณ์ (Identity) หมายถึง ผลท่ีเกิดข้ึนกับผู๎เรียนตามปรัชญา ปณิธานวิสัยทัศน์ พันธกิจ และวัตถุประสงค์ของการจัดตั้งสถานศึกษาที่ได๎รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการ สถานศึกษาและหนํวยงานต๎นสังกัด “อัตลักษณ์” เป็นตัวบํงช้ีท่ีเป็นผลสืบเนื่องมาจากการประเมิน สมส.ในสองรอบที่ผํานมาที่ได๎มีการตรวจสอบปรัชญาปณิธาน วิสัยทัศน์ พันธกิจของสถานศึกษา วํามี การกาหนดไว๎หรือไมํเทํานั้น ซึ่งในทางปฏิบัติทุกสถานศึกษาจะต๎องกาหนดไว๎ต้ังแตํเมื่อกํอตั้ง สถานศกึ ษา สํวนการประเมนิ ภายนอกรอบสามจะประเมินผลวําตัวผ๎ูเรียนวํามีคุณลักษณะเป็นไป ตาม สาระที่กาหนดไว๎ในปรัชญา ปณิธาน วิสัยทัศน์พันธกิจหรือไมํ เชํน หากสถานศึกษากาหนดปรัชญาไว๎ วํา \"ความร๎ูคํูคุณธรรม\" บัณฑิตท่ีจบมาต๎องมีความร๎ูเป็นคนดีมีจิตสาธารณะ หรือหากกาหนดไว๎วํา \"อดทน มํุงมนั่ ส๎งู าน\" ผ๎เู รียนที่สาเร็จการศึกษาแล๎วมีลักษณะอดทนต้ังใจ มํุงม่ัน และสู๎งาน จึงจัดวําวํา บรรลุอัตลักษณ์ โดยอาจจัดประชุมรับฟ๎งความคิดเห็นจากประชาคมภายในสถานศึกษา หรือทาแบบ สารวจความคิดเหน็ จากบุคลากรภายใน ตํอคุณลักษณะของผู๎เรียนท่ีสะท๎อนปรัชญา ปณิธานวิสัยทัศน์ พันธกิจที่กาหนดหรือไมํ สาหรับการให๎ระดับคะแนนการประเมินของ สมส. จะประเมินตามระดับ ผลกระทบที่ดีตํอชุมชนท๎องถ่ิน และระดับการยอมรับจากชุมชนหรือหนํวยงานภายนอก ผลท่ีได๎จาก การดาเนินการจะสํงผลดีให๎สถานศึกษา คณะ และสาขา ได๎ทบทวนพิจารณาและดาเนินการตํอไป อยํางมเี ปูาหมายชัดเจน ชจู ุดเดํนหรือจดุ ตาํ งของสถานศึกษาให๎คนท่ัวไปได๎รับทราบและรู๎จักตัวตนของ สถานศึกษาคณะหรือสาขามากขึ้น ซึ่งอัตลักษณ์ของสถาบัน คณะ หรือสาขาจะเหมือนกันหรือไมํก็ได๎ ท้ังน้ีขั้นตอนการกาหนดอัตลักษณ์ ควรมีการวิเคราะห์สภาพแวดล๎อม ความเป็นมาของสถานศึกษา และเจตนารมณ์ในการจัดต้ังสถานศึกษา แล๎วกาหนดอัตลักษณ์ท่ีผู๎สาเร็จการศึกษาจะต๎องมีกํอนที่จะ สาเร็จการศกึ ษา ทผ่ี าํ นการประชาพจิ ารณ์รํวมกนั ระหวํางผูเ๎ กยี่ วข๎อง โดยมกี ิจกรรมการสํงเสริม พัฒนา และประเมนิ อยํางเปน็ ระบบ (สานักงานรับรองมาตรฐานและประเมนิ คุณภาพการศึกษา,2556) ๓.๓ การสรา้ งอตั ลักษณ์ผู้เรียน 1. สร๎างความตระหนักและความเข๎าใจเกี่ยวกับการสร๎างอัตลักษณ์ของ สถานศึกษาให๎กบั ผูเ๎ กี่ยวข๎องและชุมชน 1.1 สรา๎ งความตระหนกั ใหค๎ รู บคุ ลากรเกี่ยวกับบทบาทในการสร๎างอัต ลกั ษณ์ของสถานศกึ ษา 1.2 สร๎างองคค์ วามร๎ูเกยี่ วกับการสรา๎ งอตั ลกั ษณข์ องสถานศกึ ษา 2. ปรับโครงสรา๎ งและนโยบายเก่ียวกับการสร๎างอตั ลักษณ์ของสถานศกึ ษา 2.1 ปรับโครงสรา๎ งและนโยบายของสถานศกึ ษา 2.2 สรา๎ งความรํวมมือกับผ๎ูเกี่ยวข๎องและชุมชนในการกาหนดนโยบาย วสิ ยั ทศั น์ พันธกิจ เปาู ประสงค์ เพอื่ ปรบั แผนกลยทุ ธ์ และแผนการบรหิ ารงบประมาณ 3. ปรับกระบวนการทางาน โดยใช๎ระบบขอ๎ มลู สารสนเทศ 3.1 ปรับระบบการบริหารขอ๎ มูลสารสนเทศ 3.2 ปรบั กระบวนการทางาน โดยใช๎ระบบข๎อมูลสารสนเทศ 3.3 ปรบั ปรุงระบบการนิเทศกิจกรรมพฒั นาอตั ลักษณ์ของสถานศึกษา
๓๑ 3.4 พัฒนาระบบการตรวจสอบผลการดาเนินงาน ตามเปูาหมาย ของ สถานศึกษา 4. ปรบั ปรงุ คุณภาพผเ๎ู รยี น 4.1 ปรับปรงุ หลักสตู รให๎สอดคล๎องกับสภาพความตอ๎ งการของชมุ ชน 4.2 พัฒนาคุณภาพของผู๎เรียนตามหลักสูตรสถานศึกษาเพื่อการ สรา๎ งอตั ลกั ษณ์ของสถานศึกษา 4.3 พัฒนาลักษณะโดดเดํนเพื่อเสริมสร๎างอัตลักษณ์ของสถานศึกษา ดว๎ ยหลักกัลยาณมิตร 5. ปรับปรุงส่ือ แหลงํ เรียนรู๎ท่เี ออ้ื ตํอการสรา๎ งอัตลักษณข์ องสถานศึกษา 5.1 พัฒนาการผลติ และใช๎ส่ือการเรียนร๎ู 5.2 ปรบั ปรุงและพัฒนาแหลงํ เรยี นรู๎ 6. สรา๎ งเครอื ขํายการพฒั นา และการประชาสมั พันธ์ 6.1 สรา๎ งเครือขํายการพฒั นาอัตลกั ษณข์ องสถานศึกษา 6.2 พัฒนาระบบการประชาสมั พันธ์อัตลกั ษณ์ของสถานศึกษา (ทองพรรณ ป๎ญญาอุดมกุลและคณะ,2557) ๔. งานวิจัยทีเ่ ก่ียวข้อง ทองพรรณ ปัญญาอุดมกุล และคณะ (2557) ศึกษาเก่ียวกับกลยุทธ์การสร๎างอัต ลักษณข์ องสถานศึกษาขน้ั พน้ื ฐานขนาดเล็ก ในเขตภาคเหนือตอนบน ด๎านสภาพแวดล๎อมภายนอก อยูํ ในระดับมาก ด๎านสภาพแวดล๎อมภายใน อยํูในระดับ ปานกลาง และสภาพป๎จจุบันในการสร๎างอัต ลักษณ์ของสถานศึกษา ทั้ง 5 ด๎าน ได๎แกํ การกาหนดอัตลักษณ์ องค์ประกอบของอัตลักษณ์ การ ปฏบิ ัตติ ามอตั ลักษณ์ การประเมินอัตลักษณ์ และการธารงรกั ษาอัตลักษณ์ อยูํในระดับมากทุกด๎าน (2) กลยทุ ธก์ ารสร๎างอัตลักษณ์ของสถานศกึ ษาข้ันพ้นื ฐานขนาดเล็กในเขตภาคเหนือตอนบน ประกอบด๎วย 6 กลยุทธ์ ดังน้ี กลยุทธ์ท่ี 1 ปรับโครงสร๎างและนโยบายเก่ียวกับการสร๎างอัตลักษณ์ของสถานศึกษา กลยุทธ์ท่ี 2 ปรบั ปรงุ คุณภาพผู๎เรยี น กลยทุ ธ์ที่ 3 ปรับปรุงสอ่ื แหลํงเรยี นร๎ูท่ีเอ้อื ตํอการสร๎างอัตลักษณ์ ของสถานศึกษา กลยุทธ์ท่ี 4 สร๎างเครือขํายการพัฒนา และการประชาสัมพันธ์ กลยุทธ์ ที่ 5 สร๎าง ความตระหนักและความเข๎าใจเก่ียวกับการสร๎างอัตลักษณ์ของสถานศึกษาให๎กับผู๎เก่ียวข๎องและชุมชน กลยุทธ์ที่ 6 ปรับกระบวนการทางาน โดยใช๎ระบบข๎อมูลสารสนเทศ (3) การตรวจสอบกลยุทธ์การ สรา๎ งอตั ลักษณ์ของสถานศกึ ษาข้นั พ้นื ฐานขนาดเลก็ ในเขตภาคเหนือตอนบน พบวํา กลยุทธ์น้ันมีความ เหมาะสมและมคี วามเป็นไปได๎ในระดบั มาก เมทินี ราพึงสุข (2557) การวิจัยครั้งน้ีมีวัตถุประสงค์เพ่ือ 1) สังเคราะห์อัตลักษณ์ และจัดประเภทอัตลักษณ์ของนักเรียนในสถานศึกษาท่ีได๎รับการประเมินภายนอกรอบสาม 2) วิเคราะห์เปรียบเทียบอัตลักษณ์ของนักเรียนในสถานศึกษาท่ีมีขนาด ระดับ สังกัด ที่ต้ังและภูมิภาค แตกตํางกัน 3) ศึกษาความสัมพันธ์ระหวํางอัตลักษณ์ของนักเรียนท่ีสถานศึกษากาหนดและคุณภาพ ของผ๎ูเรียนท่ีเกิดข้ึน และ 4) ศึกษาแนวทางการดาเนินงานของสถานศึกษาท่ีมีการปฏิบัติท่ีดี ดาเนินการวิจัยแบบผสมวิธี ในรูปแบบแผนเชิงอธิบาย (explanatory design) ประกอบด๎วย 2 ขั้นตอน คือ ข้ันตอนแรก ศึกษาข๎อมูลเชิงปริมาณ ศึกษากับสถานศึกษาที่มีการกาหนดอัตลักษณ์ครบ ท้ังสามด๎าน (เกํง ดี และมีความสุข) จานวน 1,175 โรงเรียน โดยใช๎แบบบันทึกข๎อมูลจากฐานข๎อมูล ของ สมศ. และวิเคราะห์ข๎อมูลโดยใช๎คําเฉลี่ย ข้ันตอนท่ีสองศึกษาข๎อมูลเชิงคุณภาพ ศึกษากับ
๓๒ สถานศึกษาท่ีมีการปฏิบัติที่ดี จานวน 6 โรงเรียน วิเคราะห์ข๎อมูลเชิงคุณภาพโดยวิธีการจาแนก ประเภทข๎อมูล typological analysis ผลการวจิ ยั ทสี่ าคญั สรุปได๎ดังน้ี 1. สถานศึกษามีการกาหนดอัต ลักษณ์ของนักเรยี นในด๎านความดีมากท่ีสุด คิดเป็นร๎อยละ 34.21 รองลงมาคือด๎านความเกํง คิดเป็น ร๎อยละ 10.98 และด๎านมีความสุข คิดเป็นร๎อยละ 17.10 2. สถานศึกษาที่มีขนาด ระดับ สังกัด ท่ีตั้ง และภมู ภิ าคแตกตาํ งกัน มีการกาหนดอตั ลกั ษณข์ องนกั เรยี นไมแํ ตกตํางกันและเป็นอัตลักษณ์ด๎าน ความดีมากที่สุด 3. คุณภาพของผ๎ูเรียนที่เกิดข้ึนมีความสอดคล๎องหรือสัมพันธ์กับอัตลักษณ์ตามท่ี สถานศึกษากาหนด 4. แนวทางการดาเนินงานของสถานศึกษาที่มีการปฏิบัติท่ีดี พบวําทุกโรงเรียนมี การดาเนินงานเพ่ือพัฒนาอัตลักษณ์ของนักเรียนในแตํละด๎านอยํางเป็นระบบโดยประกอบไปด๎วย ข้ันตอนหลัก 4 ข้ันตอนคือขั้นตอนการวางแผน (Plan) การดาเนินการแก๎ไขป๎ญหา (Do) การ ตรวจสอบและเปรียบเทียบผล (Check) และการปรับปรุงแก๎ไข (Action) ตัวอยํางการดาเนินงานที่ เน๎นอัตลักษณ์ด๎านความดี เชํน โครงการสํงเสริมคุณธรรมจริยธรรม โครงการวันแมํ วันพํอ เน๎นอัต ลักษณ์ด๎านความเกงํ เชนํ โครงการสํงเสรมิ นิสัยรักการอาํ น กิจกรรมกีฬาสี เน๎นอัตลักษณ์ด๎านความสุข เชํน โครงการเศรษฐกิจพอเพียง โครงการออมทรัพย์ วนั เพ็ญ อมรสนิ , สมบตั ิ ท้ายเรือคา และประสาท เนืองเฉลมิ (2556) ศึกษาวิจัย เร่ือง การศึกษาอัตลักษณ์นิสิตมหาวิทยาลัยมหาสารคาม วัตถุประสงค์ของงานวิจัย เพ่ือศึกษาอัต ลักษณ์นิสิตมหาวิทยาลัยมหาสารคาม กลํุมตัวอยํางท่ีใช๎ในการวิจัย ได๎แกํ นิสิตมหาวิทยาลัย มหาสารคาม ปีการศึกษา 2555 จานวน 1,500 คน โดยการสํุมแบบแบํงชั้น เคร่ืองมือในการเก็บ รวบรวมขอ๎ มูล ได๎แกํ แบบสอบถามการศึกษาอตั ลักษณ์นสิ ติ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม สถิติท่ีใช๎ในการ วิเคราะห์ ได๎แกํ ร๎อยละ คําเฉล่ีย และสํวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบวํา 1) อัตลักษณ์นิสิ ต มหาวิทยาลัยมหาสารคาม โดยภาพรวมอยํูในระดับมากเม่ือพิจารณาเป็นรายด๎าน พบวํา การศึกษาอัต ลักษณ์นิสิตมหาวิทยาลัยมหาสารคามอยูํในระดับมากทุกด๎าน ได๎แกํ ด๎านคุณธรรม จริยธรรม ด๎าน ความรับผิดชอบตํอสังคม และด๎านความสามัคคี 2) อัตลักษณ์นิสิตกลํุมมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ โดยรวมแตกตํางกันอยํางมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05 เม่ือพิจารณาเป็นรายด๎านพบวํา ด๎าน คุณธรรม จริยธรรม ด๎านความรับผิดชอบตํอสังคม และด๎านความสามัคคีแตกตํางกันอยํางมีนัยสาคัญ ทางสถิติท่ีระดับ .05 3) อัตลักษณ์นิสิตกลํุมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีโดยรวมแตกตํางกันอยํางมี นัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05 เมื่อพิจารณาเป็นรายด๎าน พบวํา ด๎านคุณธรรมจริยธรรม ด๎านความ รับผิดชอบตํอสังคม และด๎านความสามัคคี แตกตํางกันอยํางมีนัยสาคัญทางสถิติท่ีระดับ .05 4) อัต ลักษณ์นิสิตกลุํมวิทยาศาสตร์สุขภาพ โดยรวมแตกตํางกันอยํางมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ.05 เมื่อ พิจารณาเป็นรายด๎าน พบวํา ด๎านคุณธรรม จริยธรรม และด๎านความสามัคคี แตกตํางกันอยํางมี นยั สาคัญทางสถติ ทิ ่ีระดับ .05
๓๓ ตวั ช้ีวดั ที่ 4 การดาเนนิ การพัฒนานวัตกรรม การสรา๎ งนวตั กรรม 3School Model และนาไปใช๎ในการดาเนินการเพอ่ื สรา๎ งอัตลักษณ์ ผู๎เรยี น ของโรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จังหวัดเชยี งใหมํ มขี ้นั ตอนการดาเนินงาน ดงั นี้ วเิ คราะหส์ ภาพปจ๎ จุบัน สารวจสภาพป๎ญหาด๎านอัตลกั ษณ์ จัดลาดับความสาคญั ความต๎องการพัฒนา ศกึ ษาเอกสาร งานวิจยั / แนวทางการสรา๎ งอัตลกั ษณ์ วางแผนเพือ่ ออกแบบนวัตกรรมให๎เหมาะสม กบั สภาพปญ๎ หาและบรบิ ทของโรงเรียน กระบวนการขบั เคลื่อนการสร้างอัตลกั ษณผ์ ู้เรยี น โดยใช้ 3School Model ผลผลติ ผลลพั ธ์ ปรับปรุงแก๎ไข/พฒั นา No Yes รปู แบบการสร้างอัตลักษณ์ 3School Model แผนภาพแสดงกระบวนการสรา้ งนวตั กรรม 3School Model
๓๔ ขน้ั ตอนการดาเนนิ การพัฒนา ขั้นท่ี ๑ การวางแผนการดาเนินงาน (Plan) ๑.๑ การสารวจสภาพป๎ญหา ความต๎องการ ในการสร๎างอัตลักษณ์ผ๎ูเรียน โดยการ วิเคราะห์สภาพป๎จจุบัน สารวจพฤติกรรมด๎านสุขภาพ คุณธรรม และจิตอาสาที่พึงประสงค์และ พฤติกรรมทเี่ ปน็ ป๎ญหาท่ีเกิดข้ึนในสถานศึกษา เรียงลาดับความสาคัญและความต๎องการจาเป็นในการ แก๎ป๎ญหา พบวําพฤติกรรมด๎านสุขภาพ การแสดงออกด๎านคุณธรรมจริยธรรม และการเป็นจิตอาสา ของผเู๎ รียนมีความสาคัญและจาเป็นต๎องได๎รับการแก๎ไข กาหนดเป็นอัตลักษณ์เปูาหมาย ๓ ด๎าน ได๎แกํ มีสขุ ภาพดี มคี ุณธรรมเดํน และเป็นจติ อาสา ๑.๒ กาหนดขอบขํายอัตลกั ษณ์และพฤตกิ รรมตัวช้ีวดั ทตี่ ๎องการสรา๎ ง โดยผ๎ูบรหิ าร ครู และนกั เรียนรวํ มกันวเิ คราะหเ์ พ่ือกาหนดพฤตกิ รรมบงํ ชเี้ ชิงบวกทีเ่ ป็นตวั ชี้วดั ในอัตลกั ษณ์แตลํ ะดา๎ น ของผเู๎ รียน ซง่ึ สรปุ ขอบขาํ ยพฤตกิ รรมบํงชที้ ี่ตอ๎ งการพัฒนาได๎ดงั น้ี ตารางที่ ๒ ขอบขํายอตั ลักษณ์เปูาหมายและพฤตกิ รรมบงํ ชเ้ี ชิงบวกท่ตี ๎องการสร๎างให๎เกิดกบั ผเ๎ู รยี น อตั ลักษณ์เป้าหมาย พฤตกิ รรมบ่งชเี้ ชิงบวก ๑. สุขภาพดี นักเรยี น ๒. คณุ ธรรมเดน่ 1. ผเ๎ู รียนมสี ุขนิสัยในการดแู ลสุขภาพและออกกาลังกาย สม่าเสมอ ๓. เป็นจิตอาสา 2. มีน้าหนกั สํวนสูง และมสี มรรถภาพทางกายตามเกณฑ์มาตรฐาน 3. ปูองกันตนเองจากสิ่งเสพติดให๎โทษและหลีกเล่ียงตนเองจากสภาวะที่ เสย่ี งตอํ ความรนุ แรงโรค ภัย อบุ ตั ิเหตแุ ละป๎ญหาทางเพศ 4. ผเู๎ รียนได๎รบั การดแู ลตามมาตรฐานการดแู ลนกั เรียนประจา 5. ผู๎เรยี นได๎รบั การดูแลตามมาตรฐานงานโภชนาการ 1. มวี นิ ยั ตํอตนเอง 2. มคี วามซ่ือสัตยต์ ํอตนเองแล๎วผ๎ูอ่นื 3. มีความสามัคคี 4. มคี วามขยนั และอดทน 5. มคี วามกตญั ํูตํอผม๎ู ีพระคุณ 6. เป็นผม๎ู ีความมัธยัสถ์ อดออม 7. ฟ๎งความคิดเหน็ ของบุคคลอื่นอยํางเขา๎ ใจ 1. เสยี สละประโยชน์สวํ นตนเพอื่ ประโยชน์สํวนรวม 2. รํวมกจิ กรรมตําง ๆของโรงเรยี นดว๎ ยความเตม็ ใจ 3. รํวมกจิ กรรมจติ อาสาทั้งภายในและภายนอกสถานศกึ ษา 4. ใหค๎ วามชวํ ยเหลือซ่ึงกันและกันดว๎ ยความเต็มใจ ๑.๓ วิเคราะห์สภาพปจ๎ จุบันของโรงเรยี น ศึกษาแนวคิด ทฤษฏี เอกสารและงานวจิ ยั ที่ เก่ยี วข๎อง โดยผ๎บู ริหาร ครูคณะกรรมการสถานศกึ ษาขนั้ พ้ืนฐาน และตัวแทนผูป๎ กครองเครอื ขําย รํวมกันวเิ คราะห์เพอ่ื กาหนดแผนงานสรา๎ งอตั ลกั ษณผ์ เ๎ู รยี น ดังนี้
๓๕ ตารางท่ี ๓ แผนงานสรา๎ งอตั ลักษณผ์ ู๎เรยี น โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 จงั หวดั เชียงใหมํ วสิ ยั ทัศน์ ภายในปี พ.ศ.2562 โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 มีระบบการจดั การศึกษาท่ีมีคณุ ภาพ มคี รูมืออาชพี ผเู้ รยี นมีคณุ ลักษณะตามหลักสตู ร และเป็นศนู ย์การเรยี นรู้ตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพีย เป้าประสงค์ ๑. มีการขบั เคลอื่ นโรงเรยี นทั้ง 3 ได๎แกํ โรงเรียนเพชร โรงเรยี นจิตอาสา และโรงเรยี นคณุ ธรรม ในการสรา๎ งอตั ลกั ษณใ์ หผ๎ ๎ูเรียนอยํางเป็นระบบ ๒. มพี ฤติกรรมทไี่ มํพงึ ประสงค์ในโรงเรียนลดลง ๓. มีพฤติกรรมทีพ่ ึงประสงคใ์ นโรงเรียนเพม่ิ ข้นึ ๔. มีกลไก ความรํวมมือจากทุกฝาุ ยที่มีสวํ นเก่ยี วข๎อง ๕. มภี าคีเครือขาํ ย สนับสนุน สงํ เสรมิ ใหเ๎ กดิ อตั ลักษณ์กบั ผ๎ูเรียน วัตถปุ ระสงค์ ๑. เพื่อพัฒนากระบวนการดาเนนิ งานโรงเรียนท้งั 3 ได๎แกํ โรงเรียนเพชร โรงเรียนจิตอาสา และโรงเรียนคณุ ธรรม ๒. เพื่อสรา๎ งนกั เรยี นให๎มอี ตั ลักษณ์ตามสถานศึกษากาหนด ๓. เพ่ือพัฒนาสภาพแวดล๎อมใหเ๎ ออ้ื ตํอการพฒั นาอตั ลกั ษณ์ผเู๎ รียน ยุทธศาสตร์การ 1. พฒั นานกั เรยี น ดาเนินงาน 2. พัฒนาสภาพแวดล๎อม อตั ลกั ษณ์เป้าหมาย ๑. สขุ ภาพดี ๒. คุณธรรมเดน่ ๓. เปน็ จิตอาสา แผนปฏิบตั ิ 1. แผนการดาเนินงานโรงเรยี นสงํ เสรมิ สขุ ภาพระดับเพชร 2. แผนการดาเนินงานโรงเรียนคุณธรรม 3. แผนการดาเนินงานโรงเรียนจิตอาสา ตวั ชีว้ ดั ในการ ๑. มีกระบวนการขับเคล่อื นการสรา๎ งอัตลักษณผ์ ู๎เรียนทง้ั สถานศกึ ษา สรา้ งอตั ลกั ษณ์ ๒. นกั เรียนมีพฤติกรรมที่พงึ ประสงคด์ า๎ นสุขภาพ คุณธรรม และจติ อาสา ผู้เรยี น เพมิ่ ขึ้น ๓. นกั เรยี นทีม่ ีพฤตกิ รรมไมํพึงประสงค์ดา๎ นสุขภาพ คุณธรรม และจติ อาสาลดนอ๎ ยลง 4. มกี ระบวนการมีสํวนรวํ มจากผป๎ู กครอง คณะกรรมการสถานศึกษา และชมุ ชน 5. มภี าคเี ครือขาํ ยความรวํ มมือในการสร๎างอตั ลักษณ์ผเ๎ู รยี น ๑.๔ ออกแบบนวัตกรรมรูปแบบการสร๎างอัตลักษณ์ผู๎เรียน ให๎เหมาะสมกับสภาพ ป๎ญหาและสภาพบริบทและแผนงานโรงเรียนทั้ง 3 ได๎แกํ โรงเรียนเพชร โรงเรียนจิตอาสา และ โรงเรียนคุณธรรม โดยสร๎างนวตั กรรมการปฏบิ ัตใิ นช่ือวาํ “3School Model”
๓๖ ขน้ั ที่ ๒ การดาเนนิ งาน (DO) โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวัดเชียงใหมํ ได๎สร๎างนวัตกรรม 3School Model และนาไปใช๎ในการดาเนนิ การเพ่อื สร๎างอัตลักษณ์ผู๎เรียน ดงั นี้ กระบวนการขบั เคล่อื นการสร้างอัตลักษณ์ผเู้ รียน โดยใช้ 3School Model นวัตกรรม 3School Model รูปแบบการสร๎างอัตลักษณ์ให๎ผู๎เรียนมี “สุขภาพดี คณุ ธรรมเดนํ เปน็ จิตอาสา” โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จังหวัดเชียงใหมํ มีวัตถุประสงค์เพ่ือนา นวัตกรรม 3School Model มาประยุกต์ใช๎ในการบริหารจัดการและการดาเนินงานให๎สอดคล๎องกับ บริบทและสภาพป๎ญหาของโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวัดเชียงใหมํ โดยใช๎เทคนิค กระบวนการวงจรคุณภาพของเดมมิ่ง PDCA ในกระบวนการดาเนินงาน ภายใต๎รูปแบบ TEAM+ Model ซง่ึ เป็นรูปแบบการบริหารจัดการหลักของสถานศึกษา โดยใช๎นวัตกรรม 3School Model ใน การสรา๎ งอตั ลักษณ์ใหผ๎ ู๎เรยี น ซง่ึ นวัตกรรม 3School Model ประกอบด๎วยสวํ นสาคญั ๒ สํวน ไดแ๎ กํ สว่ นที่ ๑ TEAM เปน็ การบริหารจัดการเพ่อื ใหก้ ารดาเนินงานพฒั นาสถานศึกษา เพื่อสร้าง สรา้ งอตั ลักษณ์ให้ผ้เู รียนจนประสบความสาเรจ็ มีองคป์ ระกอบดงั น้ี T : Trainer หมายถึง หวั หนา้ กลมุ่ งาน เนอื่ งจากโรงเรียนมรี องผ๎ูอานวยการจานวน 1 ทําน ฉะนน้ั การดาเนนิ งานแตํละด๎านอาจทาให๎ เกิดความลําช๎า สํงผลให๎งานไมํราบรื่นและไมํเป็นไปตามเปูาหมาย ดังน้ีจึงมีการกระจายอานาจการ บริหารงานในสถานศึกษา โดยการนาครูและบุคลากรท่ีมีความรู๎ ประสบการณ์ข้ึนมาเป็นหัวหน๎า คณะทางาน ซึง่ ได๎จดั ทาโครงสร๎างการบริหารงานภายในสถานศกึ ษาแบํงออกเป็น 10 กลํุมงาน คือ 1) กลํุมสํงเสริมกิจการนักเรียน 2)กลํุมงานวินัยนักเรียน 3) กลุํมการเงินและสินทรัพย์ 4) กลุํมนโยบาย และแผน 5) กลํุมอานวยการ 6) กลุํมอาคารสถานที่ 7) กลํุมบริหารงานบุคคล 8) กลุํมบริหารงาน บุคคล 9) กลุํมงานสํงเสริมวิชาการ และ 10) กลุํมงานตามนโยบาย โดยมีการวางแผนรํวมกันอยําง เป็นระบบเพื่อนาไปสํูการปฏิบัติที่มีเปูาหมายตรงตามวัตถุประสงค์ของงาน เพ่ือให๎เกิดประสิทธิภาพ และประสิทธผิ ลมากทีส่ ดุ ทง้ั ด๎านผเ๎ู รยี น สถานศกึ ษา ครแู ละบุคลากรของโรงเรยี น E : Environment หมายถงึ แหล่งเรยี นรู้/สง่ิ แวดล้อม เป็นการพัฒนาแหลํงเรียนรู๎ในสถานศึกษา เพื่อให๎เป็นอุทยานการเรียนรู๎และทาให๎เกิด สง่ิ แวดลอ๎ มทเ่ี อือ้ ตํอการเรยี นรู๎วถิ ีพอเพียง และใชแ๎ หลํงเรยี นรู๎ สิ่งแวดล๎อมในสถานศึกษาพัฒนาผู๎เรียน เกิดนสิ ยั ท่ีเป็นคนที่มีสุขภาพดี เปน็ คนทม่ี ีคณุ ธรรมเดํน และเป็นคนท่ีมีจิตอาสา พร๎อมทั้งยังสามารถใช๎
๓๗ สถานศึกษาเป็นที่สาหรับผู๎เรียน บุคลากร ชุมชน สถานศึกษา และหนํวยงานตําง ๆ ได๎มาศึกษาหา ความรูไ๎ ดท๎ ุกท่ีภายในสถานศึกษา ซง่ึ เป็นไปตามเอกลักษณ์ของโรงเรียนคือ “อุทยานการเรยี นร๎ู” A : Active Learning หมายถึง การเรยี นรูแ้ บบลงมอื ทาจรงิ เป็นการจดั การเรยี นการสอนแบบบรู ณาการเสรมิ สรา๎ งอตั ลักษณ์ให๎ผู๎เรียนเข๎ากับทุกรายวิชาที่ จัดการเรียนการสอน ทาให๎ผู๎เรียนได๎มีบทบาทในการแสวงหาความรู๎จากอุทยาการเรียนรู๎ และเรียนร๎ู อยาํ งมีปฏิสมั พนั ธ์ จนเกิดความร๎คู วามเข๎าใจนาไปประยกุ ต์ใช๎ได๎สามารถวิเคราะห์ สังเคราะห์ ประเมิน คํา หรือสร๎างสรรค์ส่ิงตํางๆ สามารถพัฒนาตนเองเต็มความสามารถ และยังชํวยในการปลูกฝ๎งให๎ นกั เรยี นมอี ตั ลกั ษณต์ ามสถานศึกษากาหนด M1 : Man หมายถงึ การบริหารบคุ ลากร ครูและบุคลากรภายในสถานศึกษา ซึ่งถือวําเป็นป๎จจัยหลักท่ีสาคัญที่สุด เพราะการพัฒนา หรือการดาเนินงานตําง ๆ ต๎องอาศัยความรํวมมือจากครูและบุคลากรทุกคนในสถานศึกษา ทั้งในด๎าน นความคิด การวางแผน การดาเนนิ การ โดยมีการจัดหน๎าทปี่ ฏิบัติงานของครูและบุคลากรให๎เหมาะสม กับงานตรงตามความสามารถของแตํละบุคคล พร๎อมท้ังยังได๎รับความรํวมมือท่ีดีจากภาคีเครือขําย ผู๎ปกครองและชุมชนในรูปแบบตําง ๆ เชํน จากคณะกรรมการสถานศึกษา ฯลฯ จนทาให๎เกิดการผล การพฒั นาองคก์ รอยาํ งมปี ระสิทธิภาพสูงสุด M2 : Money หมายถงึ การบริหารงบประมาณ การบริหารจัดการงบประมาณมีการวางแผนปฏิบัติการเกี่ยวกับการใช๎งบประมาณ จัดทา มาตรฐานภาระงานงบประมาณ มกี ารชแ้ี จงใหค๎ รูและบุคลากรทางการศึกษาทราบ การมอบหมายงาน ให๎รับผิดชอบโดยคานึงถึงความร๎ูความสามารถและความต๎องการของสถานศึกษา ใช๎งบประมาณตรง ตามกรอบและวัตถุประสงค์ ถูกต๎องตามระเบียบ มีระบบควบคุม ตรวจสอบภายใน รายงานการใช๎ งบประมาณเป็นป๎จจุบัน และมีการประเมินผลและนาผลไปปรับปรุง และในการจัดตั้งคาขอ งบประมาณของแตํละปี สถานศึกษาได๎รับการจัดสรรงบประมาณในทุกด๎านอยํางเพียงพอ สามารถ วางแผนบริหารงบประมาณไดอ๎ ยํางมีประสิทธิภาพ M3 : Materials หมายถึง การบรหิ ารทรัพยากร มีการบริหารทรัพยากรอยํางคุ๎มคํา โดยมีการวางแผนการทรัพยาการที่เป็นวัสดุ อุปกรณ์ตาม ความจาเปน็ และความเหมาะสม สถานศึกษาได๎จัดสรรทรัพยากรในทุกๆด๎านอยํางเพียงพอ ลดจานวน ที่ใช๎เกินความความจาเป็นออกให๎มากที่สุด เพ่ือท่ีจะมาชํวยในการพัฒนาองค์กรหรือสถานศึกษาให๎มี ความกา๎ วหน๎าในทุกดา๎ น M4 : Management หมายถงึ กระบวนการจัดการ เปน็ กระบวนการจัดการบริหารงานในสถานศึกษา เพือ่ ให๎การดาเนินงานท้ังหมดเป็นไปอยํางมี ประสิทธิภาพ และเกิดประสิทธิผลอยํางเต็มท่ี โดยมีระบบการนิเทศ กากับติดตามที่เป็นระบบอยําง ตํอเน่ือง ซึ่งเป็นป๎จจัยที่สาคัญชํวยให๎สถานศึกษาพัฒนาไปในทิศทางที่ต๎องการ ทั้งน้ีโดยท่ีผู๎ปกครอง ชุมชน และหนํวยงานท่ีเก่ียวข๎อง มีบทบาทสาคัญเป็นอยํางย่ิงตํอการดาเนินงานเพื่อบรรลุผลตาม เปูาหมาย ส่วนท่ี ๒ Plus (+) ได้แก่ กระบวนการขับเคลื่อนการสร้างอัตลักษณ์ผู้เรียน 3School Model ของโรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวดั เชียงใหม่
๓๘ ในการสรา๎ งอตั ลกั ษณ์ใหผ๎ ู๎เรียนมสี ขุ ภาพดี คุณธรรมเดนํ เป็นจติ อาสา ของโรงเรียนราชประชา นุเคราะห์ 31 จังหวัดเชียงใหมํ นอกจากการดาเนินงานท้ัง 4 องค์ประกอบ (TEAM) แล๎ว กระบวนการดาเนินงานเป็นป๎จจัยสาคัญท่ีนาไปสํูการประสบความสาเร็จใน การสร๎างอัตลักษณ์ให๎ ผเ๎ู รียน ซ่ึงในการดาเนินงานใช๎กระบวนการขับเคล่ือน 3School Model ซึ่งประกอบด๎วยรายละเอียด ดังนี้ โรงเรียนเพชร โดยโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวัดเชียงใหมํ ผํานการคัดเลือกให๎ เป็นโรงเรียนสํงเสริมสุขภาพระดับเพชร ได๎มีการพัฒนาสถานศึกษาที่เอ้ือตํอผ๎ูเรียนในด๎านสุขภาวะที่ดี สร๎างใหผ๎ ๎เู รยี นเปน็ คนท่มี ีสุขภาพดี ตามมาตรฐานของโรงเรยี นสํงเสริมสุขภาพระดับเพชร 3 มาตรฐาน 19 ตัวชีว้ ดั โรงเรียนจิตอาสา 2 ประการ ประกอบด๎วย กิจกรรมภายในสถานศึกษา และกิจกรรม ภายนอกสถานศึกษา ดงั นี้ ๑) กิจกรรมภายในสถานศึกษา ประกอบดว๎ ยกจิ กรรมท่ีจดั ข้ึนภายในสถานศึกษา ซึ่ง ได๎กาหนดไว๎ในแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาและแผนปฏิบัติการประจาปี โดยมีเปูาหมายเพ่ือสํงเสริม และเสรมิ สรา๎ งอตั ลกั ษณ์ให๎ผ๎ูเรยี นมสี ขุ ภาพดี คุณธรรมเดํน เปน็ จิตอาสา ได๎แกํ กิจกรรมพัฒนาวันเสาร์ , กิจกรรมพัฒนาผ๎ูเรียน, กิจกรรมวันสาคัญ, กิจกรรมพัฒนาหอนอน, กิจกรรมจิตอาสา, กิจกรรม ห๎องเรยี นสขี าว, กจิ กรรมทาดดี ๎วยหวั ใจ ฯลฯ 2) กิจกรรมภายนอกสถานศึกษา เป็นกิจกรรมท่ีโรงเรียนและชุมชนรํวมกันปฏิบัติ เพ่ือเสริมสร๎างอัตลักษณ์ให๎ผ๎ูเรียน ได๎แกํ จิตอาสาพัฒนาชุมชน, ดนตรี นาฏศิลป์เพื่อชุมชน, กิจกรรม สัมพันธช์ ุมชน ฯลฯ โรงเรียนคุณธรรม 3 ประการ ประกอบด๎วย ศูนย์การเรียนรู๎ตามหลักปรัชญาของเศรษกิจ พอเพียง ด๎านการศึกษา การดาเนินงานระบบการดูแลชํวยเหลือนักเรียน และโครงการสถานศึกษาสี ขาว ปลอดยาเสพตดิ และอบายมขุ 1) ศูนย์การเรียนร๎ูตามหลักปรัชญาของเศรษกิจพอเพียง ด๎านการศึกษา เนื่องจาก การขับเคล่ือนสถานศึกษาใหเ๎ ปน็ ศนู ยก์ ารเรยี นรตู๎ ามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ด๎านการศึกษา นั้น นักเรียน ผ๎ูบริหาร ครูและบุคลากรของโรงเรียน ต๎องปฏิบัติตนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง(2 : 3 : 4 : 3) คือ 2 เงื่อนไข : ความรู๎ คุณธรรม, 3 หลักการ : พอประมาณ มีเหตุผล มี ภูมิค๎ุมกัน, 4 มิติ : วัตถุ สังคม สิ่งแวดล๎อม วัฒนธรรม, 3 ศาสตร์ : สากล ภูมิป๎ญญา พระราชา ป๎จจุบนั โรงเรียนเป็นศูนยก์ ารเรียนรตู๎ ามหลกั ปรัชญาของเศรษกจิ พอเพยี ง ดา๎ นการศกึ ษา 2) สถานศึกษาสีขาว โดยโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวัดเชียงใหมํ มีการ พัฒนาสถานศึกษาตามเกณฑ์สถานศึกษาสีขาว 5 มาตรฐาน 17 ตัวชี้วัด จนได๎รับรางวัลรางวัลเชิดชู เกียรติ เสมา ป.ป.ส. ประเภทผลงานดีเดนํ ระดบั ทอง ของการประเมินสถานศึกษาสีขาว ปลอดยาเสพ ตดิ และอบายมขุ ปีการศกึ ษา ๒๕60 3) ระบบการดูแลชํวยเหลือนักเรียน โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวัด เชยี งใหมํ ไดด๎ าเนนิ การชํวยเหลือและพัฒนานักเรียน โดยใช๎ WBM : Web Base Management ชํวย ในการดาเนินงานระบบการดูแลชํวยเหลือนักเรียนเพื่อความรวดเร็วในการกากับ ติดตาม ตรวจสอบ โดยดาเนนิ กิจกรรมทกั ษะการดารงชีวิตให๎แกํผู๎เรียน เป็นการฝึกให๎นักเรียนปฏิบัติตนในสุขลักษณะที่ดี มีภาวะความเป็นผน๎ู าผ๎ูตามท่ีดี ดาเนินตามหลักโภชนาการที่ดี รักในการออกกาลังกายดูแลตนเองให๎มี สุขภาพกายดีสุขภาพจิตสดใส เข๎าถึงอาชีพในชุมชนท๎องถิ่นไมํลืมชาติกาเนิดของตน พัฒนาตนเองใน
๓๙ เรื่องกีฬา ศิลปะ ดนตรี นาฏศิลป์ ทาให๎นักเรียนเกิดการผํอนคลายในการดารงชีวิตในสังคม กิจกรรม พํอครูแมํครู คูํคิด คูํใจ ทุกวันจันทร์ถึงวันศุกร์ ลูกนักเรียนจะพบปะพูดคุยแลกเปลี่ยนความคิดกับพํอ ครูแมํครูท่ีปรึกษา อยํางใกล๎ชิด จนได๎รับโลํรางวัลระบบการดูแลชํวยเหลือนักเรียน ประจาปี 2561 ประเภทสถานศกึ ษา (โรงเรยี นการศึกษาสงเคราะห์) ระดับดีเดํน และเกียรติบัตรรางวัลระบบการดูแล ชวํ ยเหลือนกั เรียน ประจาปี 2561 ประเภทสถานศึกษา (โรงเรยี นการศึกษาสงเคราะห)์ ระดับทอง ข้ันท่ี ๓ การนิเทศ กากับ ติดตามและประเมนิ ผลการดาเนินงาน( Check ) การรํวมกันกาหนด ตัวชี้วัดความสาเร็จ (KPI:Key Performance Indicator )โดย กาหนดต้ังแตํระดับบุคคลและโรงเรียน จนเป็นตัวบํงช้ีเดียวกันท้ังระดับบุคคลและโรงเรียน จัดระบบ การนิเทศกากับติดตามแบบกัลยาณมิตรพร๎อมท้ังสร๎างขวัญกาลังใจให๎กับบุคลากร และการ ประเมินผลการดาเนินการสร๎างอัตลักษณ์ผู๎เรียน โดยใช๎ 3School Model โดยประเมินผลผลิตและ ผลลัพธ์ทีเ่ กดิ จากการนานวัตกรรมไปใช๎ ดงั นี้ ด้านผลผลติ ประเมนิ ผลการดาเนินงานจาก ประเดน็ ตอํ ไปน้ี - ผลการสร๎างอตั ลักษณ์ผ๎ูเรียน ตามเปาู หมายการดาเนนิ งานโรงเรยี น สงํ เสริมสขุ ภาพระดับเพชร การมจี ติ อาสาตํอสํวนรวมและสังคม การดาเนินโครงการศูนย์การเรยี นรู๎ ตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง การพฒั นาระบบดูแลชํวยเหลอื นักเรียน การดาเนนิ โครงการ สถานศกึ ษาสีขาว ปลอดยาเสพตดิ และอบายมขุ - อัตลกั ษณผ์ เู๎ รียน พิจารณาจากผ๎เู รยี นมสี ุขภาพดี มคี ุณธรรมเดนํ เปน็ จิต อาสา - ความพงึ พอใจท่ีมีตํอการสร๎างอัตลักษณ์ผู๎เรียน โดยใช๎ 3School Model ด้านผลลพั ธ์ ประเมนิ ผลการดาเนินงานจากประเด็น ดังน้ี - ผลของการการดาเนนิ งานโรงเรยี นสงํ เสริมสุขภาพระดบั เพชร - ผลของกจิ กรรมจติ อาสาตํอสวํ นรวมและสังคม - ผลของการดาเนนิ โครงการศูนย์การเรียนรต๎ู ามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจ พอเพียง การพัฒนาระบบดูแลชํวยเหลอื นักเรียน การดาเนินโครงการสถานศึกษาสีขาว ปลอดยาเสพ ติดและอบายมุข - ผลงานหรอื รางวัลเกยี รติยศทไ่ี ด๎รบั ข้ันตอนวิธีดาเนินการประเมินผลการดาเนนิ งาน 1. การประเมนิ อัตลักษณ์ของผเู้ รียน ดาเนินการดงั น้ี ๑) ประเมินอัตลักษณ์ของผู๎เรียนกํอนและหลังนานวัตกรรมไปใช๎ โดยใช๎แบบ ประเมินอัตลักษณ์ของผู๎เรียนท่ีผ๎ูศึกษาสร๎างข้ึน เป็นแบบประเมินระดับคุณภาพของผู๎เรียนตาม พฤตกิ รรมบงํ ช้เี ชงิ บวกของอตั ลกั ษณ์เปาู หมายทกี่ าหนดรํวมกันไว๎ในข้ันตอนของการวางแผน โดยแบบ ประเมินเป็นระดับคะแนน ๕ ระดับหาคาํ เฉล่ีย และคําเบย่ี งเบนมาตรฐาน เปรียบเทียบกับเกณฑ์ระดับ คณุ ภาพ โดยแปลความหมายตามเกณฑ์ ดังน้ี คําเฉลย่ี ๔.๕๑ – ๕.๐๐ หมายถงึ มีคณุ ภาพระดับดมี าก คําเฉลยี่ ๓.๕๑ – ๔.๕๐ หมายถึง มีคณุ ภาพระดับดี คาํ เฉลย่ี ๒.๕๑ – ๓.๕๐ หมายถึง มีคณุ ภาพระดับปานกลาง คาํ เฉลย่ี ๑.๕๑ – ๒.๕๐ หมายถึง มีคุณภาพระดับพอใช๎ คาํ เฉลย่ี ๑.๐๐ – ๑.๕๐ หมายถึง มคี ณุ ภาพระดับปรบั ปรุง
๔๐ ๒) เปรยี บเทยี บคาํ เฉลีย่ ของผลการประเมนิ คุณธรรมจรยิ ธรรมของนักเรยี นกํอน และหลังใชน๎ วตั กรรม 3School Model 2. การศึกษาความพึงพอใจท่ีมตี ่อการสรา้ งอัตลักษณผ์ ูเ้ รียน โดยใช้ 3School Model ดาเนินการ ดงั นี้ นาแบบสอบถามความพึงพอใจท่ีมีตํอการสร๎างอัตลักษณ์ผ๎ูเรียน โดยใช๎ 3School Model ไปเก็บรวบรวมจากกลํุมตัวอยําง นาผลมาวิเคราะห์หาคําเฉลี่ย และคําเบี่ยงเบน มาตรฐาน เปรยี บเทยี บกับเกณฑ์ระดบั ความพึงพอใจ โดยแปลความหมายตามเกณฑ์ ดงั น้ี (บญุ ชม ศรสี ะอาด, ๒๕๔๕ : ๑๐๓) คาํ เฉลีย่ ๔.๕๑ – ๕.๐๐ หมายถึง มคี วามพงึ พอใจระดบั มากทสี่ ุด คาํ เฉลี่ย ๓.๕๑ – ๔.๕๐ หมายถงึ มีความพึงพอใจระดับมาก คําเฉลีย่ ๒.๕๑ – ๓.๕๐ หมายถงึ มีความพึงพอใจระดบั ปานกลาง คําเฉลี่ย ๑.๕๑ – ๒.๕๐ หมายถึง มคี วามพึงพอใจระดบั น๎อย คําเฉลี่ย ๑.๐๐ – ๑.๕๐ หมายถงึ มคี วามพงึ พอใจระดบั น๎อยทส่ี ดุ ขนั้ ที่ ๔ การรายงานผลการดาเนนิ งาน( Action ) - รายงานผลการดาเนินการพรอ๎ มท้ังเสนอแนะแนวทางการปรับปรุงพัฒนาโดยจัดทา เป็นรายผลการดาเนินการโครงการกิจกรรม รายงานสารสนเทศของโรงเรียน และรายงานผลการใช๎ นวตั กรรม - การทบทวนคุณภาพ โดยนาผลการพัฒนา ป๎ญหาและข๎อเสนอแนะมาใช๎เป็นข๎อมูล สารสนเทศในการวางแผนพฒั นาในการดาเนนิ การครง้ั ตอํ ไปอยํางเป็นระบบ สรุป สาระสาคัญของ 3School Model เป็นนวัตกรรมการสร๎างอัตลักษณ์ผ๎ูเรียนให๎มี “สุขภาพดี คุณธรรมเดํน เป็นจิตอาสา” ของโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวัดเชียงใหมํ มีวัตถุประสงค์เพ่ือนานวัตกรรม 3School Model มาประยุกต์ใช๎ในการบริหารจัดการและการ ดาเนินงานให๎สอดคล๎องกับบริบทและสภาพป๎ญหาของโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวัด เชียงใหมํ โดยใช๎เทคนิคกระบวนการวงจรคุณภาพของเดมมิ่ง PDCA ในกระบวนการดาเนินงาน ซึ่งมี รูปแบบการบริหารจัดการหลักของสถานศึกษา คือ TEAM+ Model เป็นป๎จจัยท่ีสํงผลตํอการ ดาเนินงาน โดยใช๎นวัตกรรม 3School Model ในการสร๎างอัตลักษณ์ให๎ผ๎ูเรียน ซ่ึงนวัตกรรม 3School Model ต๎องอาศัยกลไกลสาคัญ (+ : Plus) กระบวนการขับเคลื่อนอัตลักษณ์ผู๎เรียน ซึ่ง ประกอบด๎วย โรงเรียนทั้ง 3 โรงเรียน 1.โรงเรียนเพชร เป็นการดาเนินงานโรงเรียนสํงเสริมสุขภาพ ระดับเพชร 3 มาตรฐาน 19 ตัวช้ีวัด 2.โรงเรียนจิตอาสา เป็นการดาเนินงานกิจกรรมอาสาของ ผู๎เรียนทั้งภายในและภายนอกสถานศึกษา และ3.โรงเรียนคุณธรรม เป็นการดาเนินโครงการศูนย์การ เรียนรู๎ตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง การพัฒนาระบบดูแลชํวยเหลือนักเรียน และการดาเนิน โครงการสถานศึกษาสีขาว ปลอดยาเสพติดและอบายมุข ซึ่งรูปแบบการบริหารจัดการหลักของ สถานศึกษา TEAM+ Model + นวัตกรรมการสร๎างอัตลักษณ์ผ๎ูเรียน โดยใช๎ 3School Model คือ นวัตกรรมที่ถูกนาไปใช๎เพ่ือสร๎างอัตลักษณ์ผู๎เรียน ของโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวัด เชียงใหมํ ตามแนวทางการดาเนนิ งานโรงเรยี นเพชร โรงเรยี นจติ อาสา และโรงเรยี นคุณธรรม ตัวชี้วัดที่ 5 การมสี ว่ นร่วมในการพฒั นานวตั กรรม จากขัน้ ตอนของการสรา๎ งนวตั กรรมพบวาํ 3School Model เกดิ จากผมู๎ สี วํ นเกี่ยวข๎องทง้ั ใน และนอกหนวํ ยงานมีสํวนรวํ มในการวางแผน การดาเนนิ การ การประเมินและการสรุปผล ดงั น้ี
๔๑ ขั้นตอนการวางแผน ผบ๎ู ริหาร ครู นกั เรยี น รํวมกนั วิเคราะหส์ ภาพสภาพป๎จจุบัน สารวจพฤติกรรมท่ีพงึ ประสงค์ และพฤติกรรมท่ีเป็นปญ๎ หาทเี่ กิดขึน้ ในโรงเรียน เรียงลาดบั ความสาคัญและความต๎องการจาเป็นในการ แกป๎ ๎ญหา รวํ มกนั กาหนดเปาู หมาย กาหนดยทุ ธศาสตร์ในการสรา๎ งอตั ลักษณ์ผู๎เรยี น กาหนดแผนการ สร๎างอตั ลักษณผ์ ๎เู รียน โดยนาเสนอผํานความเหน็ ชอบของคณะกรรมการสถานศึกษาและภาคี เครอื ขํายผ๎ปู กครองกํอนดาเนินการ ขั้นการดาเนินการ ในกระบวนการดาเนนิ การใช๎หลกั การมีสํวนรํวม ดงั นั้นทกุ ขนั้ ตอน ทุกกิจกรรมทีจ่ ัดจงึ มีผ๎ทู ่ี เกี่ยวข๎องท้ังผบ๎ู ริหาร ครู นักเรียน ผู๎ปกครอง ชมุ ชนและหนํวยงานราชการตําง ๆ ทมี่ ีสํวนเกี่ยวขอ๎ งใน การดาเนินการสร๎างอตั ลักษณ์ผูเ๎ รยี น ขน้ั การประเมินและสรปุ ผล การประเมนิ ผลนวตั กรรมเปน็ การศกึ ษาและรวบรวมขอ๎ มูลจากกลํุมผเู๎ กย่ี วข๎อง ได๎แกํ ผูบ๎ รหิ าร ครู นักเรยี น ผู๎ปกครองนักเรียนและคณะกรรมการสถานศกึ ษา ท่มี สี ํวนใหก๎ ารประเมนิ และ สรุปรายงานผลการดาเนนิ งานให๎ผู๎มีสวํ นเกีย่ วข๎องทราบ ตวั ชว้ี ดั ท่ี 6 ผลที่เกิดจากการนานวัตกรรมไปใช้ การสร๎างอัตลักษณ์ผู๎เรียน โดยใช๎ 3School Model ของโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวัดเชียงใหมํ มีวัตถุประสงค์เพ่ือนานวัตกรรมใช๎ในการสร๎างอัตลักษณ์ของผู๎เรียน ซึ่งผลการ ดาเนินงานพบวํานวัตกรรม 3School Model สามารถนาไปใช๎ในการสร๎างอัตลักษณ์ของผ๎ูเรียน โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวัดเชียงใหมํได๎ตามวัตถุประสงค์ที่กาหนดไว๎ จึงขอนาเสนอผล การนานวัตกรรมไปใช๎ในการสร๎างอัตลักษณ์ของผ๎ูเรียนตามวัตถุประสงค์ของการสร๎างนวัตกรรม โดย แบํงผลท่เี กิดจากการนานวัตกรรมไปใช๎ ใน ๒ ดา๎ น ไดแ๎ กํ ด๎านผลผลติ และด๎านผลลพั ธ์ ดังนี้ ตอนท่ี ๑ ผลการดาเนินงานดา้ นผลผลิต ๑.๑ ผลการดาเนนิ งานตามเป้าหมายของการดาเนินงานโรงเรียนฯ จากการรวบรวมข๎อมูลจากการสังเกต สัมภาษณ์ผู๎เกี่ยวข๎องและรวบรวมข๎อมูลจาก รายงานผลการดาเนินงานท่ีเก่ียวข๎อง สังเคราะห์เป็นผลการดาเนินงานการสร๎างอัตลักษณ์ของผ๎ูเรียน ตามแนวทางการดาเนินงานโรงเรียนเพชร โรงเรียนจิตอาสา และโรงเรียนคุณธรรม พบวําโรงเรียน สามารถดาเนนิ งานบรรลุเปาู หมายตามตวั บงํ ชท้ี ่ีได๎กาหนดไว๎ในแผนงานสร๎างอัตลกั ษณผ์ เ๎ู รียน โรงเรียน ราชประชานเุ คราะห์ 31 จังหวัดเชยี งใหมํ ดงั นี้ ๑) มกี ารขบั เคล่อื นโรงเรยี นทั้ง 3 ไดแ๎ กํ โรงเรยี นเพชร โรงเรียนจิตอาสา และโรงเรียนคณุ ธรรม ในการสรา๎ งอตั ลกั ษณ์ให๎ผู๎เรยี นอยาํ งเป็นระบบ ๒) มีพฤติกรรมที่ไมํพงึ ประสงค์ในโรงเรยี นลดลง ๓) มพี ฤติกรรมท่ีพึงประสงค์ในโรงเรยี นเพ่ิมขนึ้ ๔) มกี ลไก ความรวํ มมือจากทุกฝุายที่มสี วํ นเกีย่ วข๎อง ๕) มีภาคีเครือขําย สนับสนนุ สํงเสรมิ ให๎เกิดอตั ลกั ษณก์ ับผ๎เู รยี น ๑.๒ ผลการประเมินอตั ลกั ษณ์ของผู้เรยี น จากการประเมินอัตลักษณ์ของผู๎เรียนตามอัตลักษณ์เปูาหมายและพฤติกรรมบํงชี้เชิง บวก โดยกลุํมตัวอยํางเป็นผู๎ประเมินนักเรียนมีผลการประเมินกํอนและหลังดาเนินการใช๎นวัตกรรม 3School Model ดังนี้
๔๒ ตารางท่ี ๔ เปรียบเทียบผลการประเมินอัตลักษณ์ของผ๎ูเรียนกํอนและหลังใช๎นวัตก รรม 3School Model อตั ลกั ษณเ์ ป้าหมาย/ ก่อนใชน้ วตั กรรม หลังใชน้ วัตกรรม พฤตกิ รรมบ่งชี้ 3School Model 3School Model ๑.การมีสขุ ภาพดี X S.D แปรผล X S.D แปรผล ๑.๑ ผเ๎ู รยี นมสี ขุ นสิ ัยในการดูแลสุขภาพ 2.88 0.80 ปานกลาง 4.62 0.57 ดีมาก และออกกาลังกาย สมา่ เสมอ ๑.๒ มนี า้ หนกั สํวนสงู และมีสมรรถภาพ 2.70 0.79 ปานกลาง 4.38 0.81 ดี ทางกายตามเกณฑ์มาตรฐาน ๑.๓ ปอู งกนั ตนเองจากส่ิงเสพติดให๎โทษ 2.78 0.61 ปานกลาง 4.44 0.71 ดี และหลีกเลีย่ งตนเองจากสภาวะที่เส่ียงตํอ ความรนุ แรงโรค ภัย อบุ ัตเิ หตุและปญ๎ หา ทางเพศ ๑.๔ ผ๎ูเรียนได๎รับการดูแลตามมาตรฐาน 3.19 0.54 ปานกลาง 4.56 0.75 ดมี าก การดแู ลนกั เรียนประจา ๑.๕ ผเู๎ รียนได๎รับการดูแลตามมาตรฐาน 3.23 0.49 ปานกลาง 4.60 0.52 ดีมาก งานโภชนาการ รวมเฉล่ยี 2.96 0.65 4.52 0.67 ดมี าก ๒. การมีคุณธรรม ๒.๑ มวี นิ ัยตํอตนเอง 2.90 0.84 ปานกลาง 4.40 0.78 ดี ๒.๒ มีความซอื่ สตั ยต์ ํอตนเองแล๎วผ๎อู ื่น 3.14 0.77 ปานกลาง 4.47 0.65 ดี 2.๓ มีความสามัคคี 2.97 0.71 ปานกลาง 4.52 0.63 ดมี าก 2.๔ มีความขยนั และอดทน 2.66 0.65 ปานกลาง 4.37 0.79 ดี 2.5 มีความกตัญํูตํอผู๎มีพระคณุ 2.93 0.25 ปานกลาง 4.60 0.59 ดมี าก 2.6 เป็นผม๎ู คี วามมัธยสั ถ์ อดออม 3.05 0.60 ปานกลาง 4.36 0.69 ดี 2.7 ฟ๎งความคิดเหน็ ของบุคคลอืน่ อยําง 3.16 0.58 ปานกลาง 4.38 0.79 ดี เข๎าใจ รวมเฉลย่ี 2.97 0.63 4.44 0.70 ดี ๓. มีจติ อาสา ๓.๑ เสียสละประโยชนส์ วํ นตนเพื่อ 2.95 0.40 ปานกลาง 4.38 0.78 ดี ประโยชน์สวํ นรวม ๓.๒ รวํ มกิจกรรมตาํ ง ๆของโรงเรียนดว๎ ย 3.01 0.66 ปานกลาง 4.41 0.68 ดี ความเตม็ ใจ ๓.๓ รวํ มกจิ กรรมจติ อาสาทงั้ ภายในและ 2.93 0.65 ปานกลาง 4.67 0.47 ดมี าก ภายนอกสถานศึกษา ๓.๔ ใหค๎ วามชวํ ยเหลอื ซึ่งกันและกนั ดว๎ ย 2.81 0.66 ปานกลาง 4.84 0.37 ดีมาก ความเตม็ ใจ รวมเฉลย่ี 2.92 0.59 ปานกลาง 4.58 0.58 ดีมาก ภาพรวม เฉลย่ี ท้ัง ๓ ด้าน 2.96 0.62 ปานกลาง 4.50 0.66 ดีมาก
๔๓ จากตารางที่ ๔ พบวําโดยภาพรวมผลการประเมินอัตลักษณ์รวมเฉลี่ยอยูํในระดับดี ( X = 4.50,S.D. = 0.66) สูงกวําผลการประเมินอัตลักษณ์กํอนใช๎นวัตกรรมท่ีมีผลการประเมินอยํูในระดับ ปานกลาง ( X = 2.96,S.D. = 0.62) เม่ือพิจารณารายด๎าน พบวําหลังใช๎นวัตกรรมผ๎ูเรียนมีอัต ลักษณ์เรียงลาดับจากระดับมากไปน๎อยได๎ดังน้ี คือ ด๎านมีจิตอาสา ( X =4.58,S.D. = ๐.๖6) ด๎าน การมสี ขุ ภาพดี ( X = 4.52,S.D. = 0.67) และดา๎ นการมคี ุณธรรม( X = ๔.44,S.D. = ๐.70) ๑.๓ ความพึงพอใจทมี่ ีตอ่ การสรา้ งอตั ลักษณผ์ เู้ รียน โดยใช้ 3School Model ตารางที่ ๕ ความพึงพอใจของผ๎ูมีสํวนเก่ียวข๎องท่ีมีตํอการสร๎างอัตลักษณ์ผู๎เรียน โดยใช๎ 3School Model ของโรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 จงั หวัดเชียงใหมํ ประเด็นการประเมิน ผบู้ ริหารและครู คณะกรรมการ ผ้ปู กครอง ความพึงพอใจการใช้นวตั กรรม สถานศึกษา ตามตวั บ่งชี้ X S.D แปรผล X S.D แปรผล X S.D แปรผล 1. นวัตกรรมนี้มีความสอดคล๎องกับ 4.63 0.51 มากทส่ี ดุ 4.70 0.48 มากทส่ี ุด 4.77 0.47 มากที่สดุ สภาพป๎ญหาและความจาเป็นของ สถานศกึ ษา 2. นวตั กรรมนีม้ ีการพัฒนาโดยอาศัย 4.71 0.46 มากทส่ี ุด 4.60 0.52 มากที่สุด 4.59 3.19 มากทส่ี ุด แนวคดิ และหลักการรองรบั อยาํ ง สมเหตสุ มผล 3. มกี ารกาหนดเปูาหมายของการ 4.81 0.40 มากทส่ี ดุ 4.80 0.42 มากทส่ี ุด 4.66 0.56 มากทส่ี ุด พัฒนานวตั กรรมทช่ี ัดเจน 4. การออกแบบกจิ กรรมทกุ กจิ กรรมมี 4.82 0.39 มากทส่ี ดุ 4.30 0.67 มาก 4.57 0.55 มากทส่ี ุด ความสอดคล๎องกัน 5. มีการดาเนนิ งานตามกิจกรรมครบ 4.60 0.52 มากทีส่ ดุ 4.50 0.71 มากทส่ี ดุ 4.26 0.63 มาก ทุกข้ันตอน 6. มีการสํงเสริมดา๎ นการมสี ํวนรวํ มใน 4.73 0.45 มากที่สดุ 4.20 0.79 มาก 4.70 0.46 มากทส่ี ุด การวางแผนท้ังภายในและภายนอก 7. มีการกากับตดิ ตามการทางานอยาํ ง 4.70 0.46 มากทส่ี ดุ 4.40 0.70 มาก 4.77 0.42 มากท่ีสุด เป็นระบบ และตํอเน่ือง 8. นวัตกรรมสามารถพฒั นากลุมํ เปูาหมาย 4.64 0.51 มากที่สดุ 4.80 0.42 มากทส่ี ุด 4.81 0.40 มากทส่ี ุด ไดต๎ รงตามวตั ถปุ ระสงค์และครบถว๎ น 9. มีการบริหารจัดการทรพั ยากรตาม 4.68 0.50 มากทีส่ ุด 4.60 0.52 มากที่สุด 4.57 0.57 มากที่สุด กจิ กรรมท่ีวางไว๎อยาํ งคมุ๎ คาํ เหมาะสม และสอดคลอ๎ งกับบรบิ ทของ สถานศกึ ษา 10. กระบวนการในการพฒั นานวัตกรรม 4.41 0.68 มาก 4.30 0.67 มาก 4.61 0.53 มากที่สุด กระต๎นุ ให๎บุคลากรในสถานศึกษาได๎ แลกเปล่ยี นเรยี นรร๎ู วํ มกนั 11. มีการเผยแพรปํ ระชาสมั พนั ธ์ 4.67 0.47 มากทส่ี ดุ 4.30 0.48 มาก 4.69 0.46 มากท่ีสุด นวตั กรรมทั้งภายในและภายนอก และสามารถเปน็ แบบอยาํ งทดี่ ไี ด๎ 12.ความพงึ พอใจตอํ นวัตกรรมในภาพรวม 4.84 0.37 มากทส่ี ดุ 4.80 0.42 มากท่ีสดุ 4.82 0.39 มากท่สี ุด รวมเฉลยี่ 4.69 0.48 มากทส่ี ุด 4.53 0.57 มากทส่ี ดุ 4.65 0.72 มากที่สุด จากตารางท่ี ๕ พบวํา เม่ือพิจารณาจากรายด๎านทุกด๎านมีระดับความพึงพอใจอยูํในระดับมาก ที่สุด โดยเรียงลาดับคําเฉลี่ยระดับความพึงพอใจมากท่ีสุด คือ ความพึงพอใจของผ๎ูบริหารและครู ( X =
๔๔ ๔.69, S.D. = ๐.48) รองลงมา คือ ความพึงพอใจของผู๎ปกครอง ( X = ๔.65, S.D. = ๐.72) และความพึงพอใจคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ( X = 4.53, S.D. = ๐.57) ตอนท่ี ๒ ผลการดาเนินงานด้านผลลัพธ์ ด๎านผลลัพธ์ ท่ีเกิดจากการนานวัตกรรมไปใช๎อาจไมํใชํผลที่เกิดจากการใช๎นวัตกรรม โดยตรงแตํเมื่อส้ินปีการศึกษาหลังจากดาเนินงานการสร๎างอัตลักษณ์ผ๎ูเรียน โดยใช๎ 3School Model แลว๎ พบวําสํงผลตอํ คณุ ภาพของผู๎เรยี นในดา๎ นอน่ื ๆ ในระยะยาว ดงั น้ี ๒.๑ ผลสัมฤทธ์ิการดาเนินงาน ๒.1.1 โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวัดเชียงใหมํ ผํานการคัดเลือกให๎ เป็นโรงเรียนสํงเสริมสุขภาพระดับเพชร ได๎มีการพัฒนาสถานศึกษาที่เอ้ือตํอผ๎ูเรียนในด๎านสุขภาวะที่ดี สรา๎ งให๎ผ๎เู รยี นเป็นคนทมี่ สี ขุ ภาพดี ตามมาตรฐานของโรงเรยี นสํงเสริมสุขภาพระดับเพชร 3 มาตรฐาน 19 ตัวชี้วัด ซึง่ ครอบคลมุ อัตลกั ษณ์เปูาหมายดา๎ นสุขภาพดี ประกอบด๎วย ๑) ผ๎เู รยี นมีสขุ นิสัยในการดูแลสขุ ภาพและออกกาลงั กาย สมา่ เสมอ ๒) มนี ้าหนกั สํวนสงู และมสี มรรถภาพทางกายตามเกณฑม์ าตรฐาน ๓) ปูองกันตนเองจากส่ิงเสพติดให๎โทษและหลีกเลี่ยงตนเองจากสภาวะที่ เส่ียงตอํ ความรนุ แรงโรค ภยั อบุ ตั ิเหตุและปญ๎ หาทางเพศ ๔) ผ๎เู รียนไดร๎ บั การดแู ลตามมาตรฐานการดแู ลนักเรยี นประจา ๕) ผู๎เรียนได๎รับการดแู ลตามมาตรฐานงานโภชนาการ จากผลการดาเนินงานโรงเรียนสํงเสริมสุขภาพระดับเพชรน้ัน สํงผลให๎ ผเ๎ู รยี นมสี ุขภาพอยํูในระดับดี และผลความพงึ พอใจอยูใํ นระดบั มาก 2.1.2 โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวัดเชียงใหมํ ได๎ดาเนินการโรงเรียน จิตอาสา จัดกิจกรรมจิตอาสาภายในสถานศึกษา และกิจกรรมภายนอกสถานศึกษา ทาให๎ผู๎เรียนมี ความสุขพร๎อมท้ังสร๎างนิสัยให๎ผู๎เรียนกล๎าแสดงออกและมีจิตอาสา จนเป็นท่ียอมรับจากคุณครู ผปู๎ กครอง ชุมชนและสังคม ซงึ่ การดาเนนิ งานโรงเรียนจิตอาสา สามารถครอบคลุมอัตลักษณ์เปูาหมาย ด๎านจิตอาสา ประกอบดว๎ ย ๑) เสยี สละประโยชน์สวํ นตนเพ่ือประโยชนส์ วํ นรวม ๒) รํวมกจิ กรรมตําง ๆของโรงเรยี นดว๎ ยความเต็มใจ ๓) รํวมกจิ กรรมจิตอาสาทง้ั ภายในและภายนอกสถานศกึ ษา ๔) ใหค๎ วามชวํ ยเหลือซึ่งกันและกนั ด๎วยความเตม็ ใจ จากผลการดาเนินงานโรงเรียนจิตอาสาที่มีการจัดกิจกรรมทั้งภายในและ ภายนอกสถานศึกษาให๎แกผู๎เรียนน้ัน สํงผลให๎ผู๎เรียนมีจิตอาสาอยํูในระดับดี และผลความพึงพอใจอยํู ในระดับมาก 2.1.3 โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวัดเชียงใหมํ ผํานการประเมนิ เป็น “ศนู ย์การเรียนรูต๎ ามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ดา๎ นการศกึ ษา ปีการศึกษา 2560 จาก กระทรวงศกึ ษาธกิ าร 2.1.4 โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวัดเชียงใหมํ มีการพัฒนา สถานศึกษาตามเกณฑ์สถานศึกษาสีขาว 5 มาตรฐาน 17 ตัวช้ีวัด จนได๎รับรางวัลรางวัลเชิดชูเกียรติ เสมา ป.ป.ส. ประเภทผลงานดีเดนํ ระดบั ทอง ของการประเมินสถานศึกษาสีขาว ปลอดยาเสพติดและ อบายมุข ปีการศึกษา ๒๕60
๔๕ 2.1.5 โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวัดเชียงใหมํ ได๎รับโลํรางวัลระบบ การดูแลชํวยเหลือนักเรียน ประจาปี 2561 ประเภทสถานศึกษา (โรงเรียนการศึกษาสงเคราะห์) ระดับดีเดํน และเกียรติบัตรรางวัลระบบการดูแลชํวยเหลือนักเรียน ประจาปี 2561 ประเภท สถานศกึ ษา (โรงเรียนการศกึ ษาสงเคราะห)์ ระดบั ทอง จากผลการดาเนินงานในหัวข๎อ 2.1.3 – 2.1.5 เป็นการดาเนินงานในโรงเรียน คุณธรรมที่ประกอบด๎วย 1.ศูนย์การเรียนร๎ูตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ด๎านการศึกษา 2. สถานศึกษาสีขาว ปลอดยาเสพติดและอบายมุข 3.ระบบการดูแลชํวยเหลือนักเรียนดีเดํน ซึ่งการ ดาเนนิ งานโรงเรยี นคุณธรรม สามารถครอบคลมุ อัตลักษณ์เปูาหมายด๎านคุณธรรมเดนํ ประกอบดว๎ ย ๑) มีวินัยตํอตนเอง ๒) มคี วามซื่อสตั ยต์ อํ ตนเองแลว๎ ผอ๎ู ืน่ ๓) มคี วามสามัคคี ๔) มคี วามขยันและอดทน 5) มคี วามกตัญํตู ํอผ๎มู ีพระคุณ 6) เปน็ ผมู๎ คี วามมธั ยัสถ์ อดออม 7) ฟง๎ ความคิดเห็นของบุคคลอืน่ อยาํ งเขา๎ ใจ จากผลการดาเนินงานโรงเรียนคุณธรรม ท่ีมีการดาเนินงานตามศูนย์การ เรียนรู๎ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ด๎านการศึกษา สถานศึกษาสีขาว ปลอดยาเสพติดและ อบายมุข และระบบการดูแลชํวยเหลือนักเรียนดีเดํนน้ัน สํงผลให๎ผ๎ูเรียนมีคุณธรรมอยูํในระดับดี และ ผลความพงึ พอใจอยใูํ นระดบั มาก ๒.๒ รางวัลเกยี รติยศทไ่ี ด้รบั จากการสร๎างอตั ลักษณผ์ ๎เู รยี น โดยใช๎ 3School Model สงํ ผลให๎ไดร๎ บั รางวัลท่ี เก่ยี วขอ๎ งกบั ด๎านสขุ ภาพ ด๎านคณุ ธรรม และดา๎ นจิอาสาในระดบั ประเทศ ระดบั เขตพน้ื ท่ีและระดับ จงั หวัด ดังนี้ 1. โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวัดเชียงใหมํ ผํานการคัดเลือกใหเ๎ ป็น โรงเรียนสงํ เสรมิ สุขภาพระดับเพชร ไดม๎ ีการพฒั นาสถานศึกษาท่ีเอื้อตํอผ๎เู รยี นในด๎านสขุ ภาวะทดี่ ี สร๎างใหผ๎ เู๎ รยี นเปน็ คนทม่ี ีสุขภาพดี ตามมาตรฐานของโรงเรียนสํงเสรมิ สุขภาพระดับเพชร 3 มาตรฐาน 19 ตัวช้วี ัด 2. โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จงั หวดั เชียงใหมํ ผํานการประเมินเปน็ “ศูนย์ การเรยี นร๎ตู ามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ดา๎ นการศึกษา ปีการศึกษา 2560 จาก กระทรวงศึกษาธิการ 3. โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จังหวดั เชยี งใหมํ ไดร๎ ับรางวัล MOE AWARDS ปีการศึกษา 2559 ผลงานระดับดเี ดนํ ประเภทสถานศึกษา สาขาหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง จากกระทรวงศึกษาธกิ าร 4. โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวดั เชยี งใหมํ มีผลการปฏบิ ัตงิ านท่ดี ีและ เป็นเลศิ (Best Practie : BP) ระดับเขตพนื้ ท่ีการศึกษา ดา๎ นการน๎อมนาหลกั ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี ง สํูสถานศกึ ษา “สถานศกึ ษาพอเพียงตน๎ แบบ ปี 2559”ตามประกาศของสานักงานเขตพ้ืนทกี่ ารศึกษา ประถมศึกษาเชียงใหมํ เขต 6 ศนู ย์สถานศึกษาพอเพยี ง มูลนธิ ิยุวสถริ คุณ
๔๖ 5. โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวดั เชยี งใหมํ ไดร๎ ับโลํและเกียรตบิ ตั รรางวลั เสมา ป.ป.ส. ประเภทผลงานดเี ดนํ ระดับเงิน โครงการสถานศึกษาสีขาว ปลอดยาเสพติดและอบายมุข ปกี ารศึกษา ๒๕๕๙ จากกระทรวงศึกษาธกิ าร 6. โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จงั หวัดเชยี งใหมํ ไดร๎ ับโลรํ างวัลระบบการดูแล ชวํ ยเหลอื นักเรียน ประจาปี 2561 ประเภทสถานศึกษา (โรงเรียนการศกึ ษาสงเคราะห์) ระดบั ดีเดนํ และเกียรตบิ ตั รรางวัลระบบการดูแลชวํ ยเหลอื นักเรียน ประจาปี 2561 ประเภทสถานศึกษา (โรงเรียนการศึกษาสงเคราะห์) ระดับทอง ตัวชี้วดั ท่ี 7 ประโยชน์ของนวตั กรรมในการแก้ปัญหาหรือพัฒนาคณุ ภาพของกล่มุ เป้าหมาย 3School Model เป็นรปู แบบนวัตกรรมที่ออกแบบมาใหส๎ อดคลอ๎ งกบั สภาพบรบิ ท ของสถานศึกษาท่ีผํานกระบวนการวิเคราะห์สภาพป๎ญหา ความต๎องการและสภาพบริบทของ สถานศึกษาจากผ๎ูมีสํวนเกี่ยวข๎องทั้ง ผู๎บริหาร ครู นักเรียน ผ๎ูปกครองและคณะกรรมการสถานศึกษา ขั้นพ้ืนฐาน จึงมีความเหมาะสมสอดคล๎องกับสภาพป๎ญหาและสภาพบริบท ทาให๎สามารถนาไปใช๎ใน การสร๎างอัตลักษณ์ผ๎ูเรียนกับกลุํมเปูาหมายอยํางครบถ๎วนตรงตามจุดประสงค์ สํงผลให๎เกิดการ เปลี่ยนแปลงในทางที่ดีข้ึนท้ังด๎านผ๎ูบริหาร ครูผู๎สอน ด๎านนักเรียนและด๎านสภาพแวดล๎อม มี กระบวนการขับเคลื่อนโรงเรียนทั้ง 3 โรงเรียน ได๎แกํ โรงเรียนเพชร โรงเรียนจิตอาสา และโรงเรียน คุณธรรมท่ีเป็นระบบ มีพฤติกรรมท่ีไมํพึงประสงค์ในโรงเรียนลดลง มีพฤติกรรมที่พึงประสงค์ใน โรงเรียนเพ่ิมขึ้น เกิดกลไก ความรํวมมือจากทุกฝุายที่มีสํวนเกี่ยวข๎อง มีภาคีเครือขําย สนับสนุน สํงเสริมให๎ผู๎เรียนมีสุขภาพดี คุณธรรมเดํน เป็นจิตอาสา และยังสํงผล ได๎รับรางวัลจากหนํวยงานท้ัง ระดับจังหวัด ระดับเขตพ้ืนที่และระดับประเทศ นอกจากน้ียังพบวํานวัตกรรมดังกลําวสามารถ เป็น แนวทางสาหรับการสร๎างอัตลักษณ์ให๎กับผ๎ูเรียน และเป็นแนวทางในการดาเนินงานตามโครงการ โรงเรียนสํงเสริมสุขภาพระดับเพชร โรงเรียนคุณธรรม และโรงเรียนจิตอาสาให๎แกํโรงเรียนตําง ๆ ซึ่ง จะเห็นได๎จากการที่โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวัดเชียงใหมํ ได๎รับคัดเลือกให๎เป็นโรงเรียน สํงเสริมสุขภาพระดับเพชร และเป็นศูนย์การเรียนร๎ูตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ด๎าน การศึกษา โดยได๎เผยแพรํ ขยายผลและเป็นแหลํงศึกษาดูงานให๎กับหนํวยงาน และสถานศึกษาตําง ๆ มากมาย ซ่ึงเป็นคุณประโยชน์ที่เกิดจากการนานวัตกรรม 3School Model มาใช๎ในการสร๎างอัต ลักษณผ์ เู๎ รียน ในโรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จงั หวดั เชียงใหมํ ได๎อยํางมปี ระสิทธภิ าพ ตัวช้วี ัดที่ 8 การใชท้ รัพยากรในการพัฒนานวตั กรรม ในการพัฒนานวตั กรรม 3School Model เปน็ การประยุกต์ใชท๎ รัพยากรท่ีมอี ยูํ พจิ ารณาตามหลกั บริการจดั การสถานศึกษา TEAM+ Model ดงั น้ี 8.1 T : Trainer หมายถึง หัวหน้ากลุ่มงาน มีการกระจายอานาจการบริหารงาน ในสถานศกึ ษา โดยการนาครูและบุคลากรท่ีมีความรู๎ ประสบการณ์ขึ้นมาเป็นหัวหน๎าคณะทางาน โดย มีการวางแผนรํวมกันอยํางเป็นระบบเพ่ือนาไปสํูการปฏิบัติที่มีเปูาหมายตรงตามวัตถุประสงค์ของงาน เพื่อให๎เกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผลมากท่ีสุด ทั้งด๎านผู๎เรียน สถานศึกษา ครูและบุคลากรของ โรงเรียน 8.2 E : Environment หมายถึง แหล่งเรียนรู้/สิ่งแวดล้อม เป็นการพัฒนาแหลํง เรียนรู๎ในสถานศึกษา เพ่ือให๎เป็นอุทยานการเรียนรู๎และทาให๎เกิดสิ่งแวดล๎อมที่เอ้ือตํอการเรียนร๎ูวิถี พอเพียง และใช๎แหลํงเรียนร๎ู ส่ิงแวดล๎อมในสถานศึกษาพัฒนาผู๎เรียนเกิดนิสัยท่ีเป็นคนที่มีสุขภาพดี
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105