Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore _______________-5

_______________-5

Published by 6032040001, 2018-09-04 03:20:22

Description: _______________-5

Search

Read the Text Version

บทที่ 5การแทนคา่ ข้อมลู ชนิดของข้อมลู และสญั ญาณการส่อื สารข้อมลู

การแทนค่าข้อมูล เนื่องจากการเข้ารหัสสาหรับอกั ขระบางตัวต้องใช้ไบต์มากกว่าหนึ่งไบต์ อักขระตัวเดียวจึงอาจมีการแสดงถึงโดยใชห้ นึ่งหรอื หลายไบต์ เมือ่ มีการสร้างข้อมลู ขน้ึ ในไฟล์หรอื เมอ่ื โอนย้ายข้อมูลระหว่างคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ I/O การแสดงถงึ ขอ้ มลู แบบภายนอกน้ีเรียกว่าการแสดงถึงอักขระ โค้ดไฟล์ หรือ โค้ดอกั ขระหลายไบต์การแสดงข้อมลู โคด้ อักขระแบบมลั ตไิ บต์ โค้ดอักขระแบบมัลติไบต์เป็นการแสดงถึงข้อมูลแบบภายนอก โดยไม่คานึงว่าข้อมูลนั้นเป็นอินพุตอักขระจากคีย์บอร์ด หรือไฟล์บนดิสก์ ภายในชุดโค้ดเดียวกัน จานวนของไบต์ ที่แสดงถึงโค้ดแบบมัลติไบต์ของอักขระอาจแตกต่างกันคุณต้องใช้ ฟงั ก์ชันการสนับสนุน multicultural สาหรับการประมวลผลอกั ขระเพอ่ื ให้มั่นใจถงึ ความเป็นอิสระของชดุ โคด้

การแสดงขอ้ มูลอกั ขระ WIDE โค้ดอกั ขระ wide มีการพฒั นาขึน้ เพ่ือให้สามารถประมวลผลอกั ขระหลายไบต์ แบบภายในได้อย่างมีประสิทธิภาพมากขึน้ ในระบบ การแสดงอักขระหลายไบต์จะถูกแปลงเป็นการแสดงภายใน ท่ีเหมือนกัน (โค้ดอักขระwide) เพ่ือให้อกั ขระทงั้ หมดมีความยาวเท่ากนั ภายในระบบ ด้วยการใช้รูปแบบภายในนี ้การประมวลผลอักขระ จึงสามารถทาในลกั ษณะท่ีเป็นอิสระจากชดุ โค้ด โค้ดอกั ขระ wide อ้างอิงถึงการแสดงภายในของอกั ขระแบบนี ้

ชนิดของขอ้ มูล1. ข้อมลู ประเภทข้อความ (Text) หมายถึง ข้อมลู ที่ไม่นามาคานวณ อาจเป็นตวั อกั ษร ตวั เลข เคร่ืองหมาย การใส่ข้อมลู ที่มีความยาวมากกว่าความกว้างของเซลล์ข้อความนนั้ จะถกู แสดงตอ่ ไปในเซลล์ท่ีอย่ทู างขวามือ ตราบใดที่เซลล์ทางขวามือนนั้ ยงั ไม่มขี ้อมลู ข้อมลู ชนิดนีจ้ ะถกู จดั ให้อยชู่ ิดซ้ายของเซลล์เสมอ2. ข้อมลู ประเภทตวั เลข (Numeric) ข้อมลู ที่นามาคานวณได้ ข้อมลู จะอยชู่ ิดขวา และไม่สามารถแสดงผลเกินความกว้างของเซลล์ได้ ถ้าความกว้างของเซลล์ไม่พอจะปรากฏเคร่ืองหมาย####### การแก้ไขโดยขยายความกว้างของเซลล์ออกไป3. ข้อมลู ประเภทวนั ที่ (Date) หมายถงึ ข้อมลู ท่ีประกอบด้วยวนั ท่ีและเดอื น เดือนและปี หรือวนั ท่ี เดือนและปี โดยเดอื นสามารถกาหนดได้ทงั้ แบบตวั เลข หรือตวั อกั ษร ข้อมลู ชนิดนีน้ าไปคานวณได้4. ข้อมลู ประเภทเวลา (Time) หมายถึงข้อมลู ท่ีประกอบด้วยชวั่ โมงและนาที โดยมีเครื่องหมาย : ข้อมลู ชนิดนีส้ ามารถนาไปคานวณได้5. ข้อมลู ประเภทสตู ร (Formular) ข้อมลู ประเภทนีค้ ือสมการคณิตศาสตร์ จะต้องใช้เคร่ืองหมายเทา่ กบั (=) นาหน้า

ความหมายของสญั ญาณอนาลอ็ ก สญั ญาณแอนะล็อก(Analog Signal) เป็นสญั ญาแบบต่อเน่ือง มีลกั ษณะเป็นคลื่นไซน์ (SineWave) โดยที่แต่ละคล่ืนจะมีความถ่ีและความเข้มของสญั ญาณที่ต่างกัน เม่ือนาสญั ญาณข้อมูลเหล่านีม้ าผ่านอปุ กรณ์รับสญั ญาณและแปลงสญั ญาณและแปลงสญั ญาณก็จะได้ข้อมลู ท่ีต้องการ เฮิรตซ์ (Hertz) คือหน่วยวดัความถี่ของสญั ญาณข้อมลู แบบแอนะล็อก วิธีวดั ความถ่ีจะนบั จานวนรอบของสญั ญาณท่ีเกิดขึน้ ภายใน 1 วินาที เช่นความถี่ 60 Hz หมายถงึ ใน 1 วินาที สญั ญาณมีการเปลี่ยนแปลงระดบั สญั ญาณ 60 รอบ

ความหมายของสญั ญาณติจิตอล สญั ญาณดจิ ิทลั (Digital Signal) สญั ญาณดิจิทลั เป็นสญั ญาณแบบไม่ตอ่ เนื่อง รูปสญั ญาณของสญั ญาณมีความเปลยี่ นแปลงท่ีไมป่ ะตดิ ปะต่ออยา่ งสญั ญาณแอนะลอ็ ก ในการส่อื สารด้วยสญั ญาณดจิ ิทลั ข้อมลู ในคอมพิวเตอร์ซงึ่ เป็นเลขฐานสอง (0และ1) จะถกู แทนด้วยสญั ญาณดจิ ิทลั Bit Rate เป็นอตั ราความเร็วในการสง่ ข้อมลูแบบดิจิทลั วธิ ีวดั ความเร็วจะนบั จานวนบิตข้อมลู ที่สง่ ได้ในชว่ งระยะเวลา 1 วนิ าที เช่น 14,400 bps หมายถึง มีความเร็วในการสง่ ข้อมลู จานวน 14,4001 บติ ในระยะเวลา 1 วินาที

สญั ญาณรบกวนและขอ้ ผดิ พลาด5.5 สญั ญาณรบกวนและข้อผิดพลาด สญั ญาณรบกวน (Noice) เป็นผลกระทบอีกด้านหนึ่งท่ีทาให้สญั ญาณข้อมลู เกิดความสูญเสีย โดยสญั ญาณรบกวนมีอยหู่ ลายชนิด ประกอบด้วย3.1 เทอร์มลั นอยส์ (Thermal Noice) เป็นสญั ญาณรบกวนท่ีเกิดจากความร้อนหรืออณุ หภมู ิ ซง่ึ เป็นสิ่งที่หลีกเลี่ยงไม่ได้ เนื่องจากเป็นผลมาจากการเคลื่อนท่ีของอิเล็กตรอนบนลวดตวั นา โดยหากอุณหภูมิสงู ขึน้ ระดับของสญั ญาณรบกวนก็จะสงู ขนึ ้ ตาม สญั ญาณรบกวนชนิดนีไ้ ม่มีรูปแบบที่แน่นอน และอาจมีการกระจายไปทว่ั ย่านความถี่ตา่ งๆสาหรับการปอ้ งกนั อาจทาด้วยการใช้อปุ กรณ์กรองสญั ญาณ (Filters) สาหรับสญั ญาณแอนะลอ็ ก หรืออปุ กรณ์ปรับสญั ญาณ (Regenerate) สาหรับสญั ญาณดิจิตอล

3.2 อิมพลั ส์นอยส์ (Impluse Noice) เป็นเหตกุ ารณ์ที่ทาให้คลื่นสญั ญาณโดง่ (Spikes) ขนึ ้ อย่างผิดปกตอิ ย่างรวดเร็ว จดั เป็นสญั ญาณรบกวนแบบไม่คงที่ ตรวจสอบได้ยาก เนื่องจากอาจเกิดขึน้ ในช่วงเวลาสนั้ ๆ แล้วหายไป ส่วนใหญ่เกิดจากการรบกวนของส่ิงแวดล้อมภายนอกแบบทนั ทีทนั ใด เช่น ฟ้าแลบ ฟ้าผ่า หรือสายไฟกาลงั สงู ท่ีตงั้ อย่ใู กล้และหากสญั ญาณรบกวนแบบอิมพลั ส์นอยส์เข้าแทรกแซงกบั สญั ญาณดิจิตอล จะทาให้สญั ญาณต้นฉบบั บางสว่ นถกู ลบล้างหายไปจนหมด และไม่สามารถก้กู ลบั มาได้การป้องกนั สญั ญาณรบกวนชนิดนี ้ทาได้ด้วยการใช้อปุ กรณ์กรองสญั ญาณพิเศษท่ีใช้สาหรับสญั ญาณแอนะล็อก หรืออปุ กรณ์ประมวลผลสญั ญาณดิจิตอลที่ใช้สาหรับสญั ญาณดิจิตอล

3.3 ครอสทอล์ก (Crosstalk)เป็นเหตกุ ารณ์ท่ีเกิดจากการเหนี่ยวนาของสนามแม่เหล็กไฟฟ้าท่ีเข้าไปรบกวนสญั ญาณข้อมลู ท่ีสง่ ผา่ นเข้าไปในสายส่ือสาร เช่น สายค่บู ิดเกลียวที่ใช้กบั สายโทรศพั ท์ มกั ก่อให้เกิดสัญญาณ ครอสทอล์กได้ง่ายเนื่องจากในระบบสง่ สญั ญาณท่ีมสี ายสง่ หลายเส้น และติดตงั้ บนระยะทางไกลๆ เม่ือมีการน าสายเหลา่ นีม้ ดั รวมกนั จะทาให้เกิดการเหนี่ยวนาทางไฟฟา้ มีโอกาสท่ีสญั ญาณในแตล่ ะเส้นจะรบกวนซงึ่ กนั และกนั เช่น การได้ยินเสียงพดู คยุ ของคสู่ ายอื่น ขณะที่เราพดู คยุ โทรศพั ท์สาหรับการปอ้ งกนั สามารถทา ได้ด้วยการใช้สายสญั ญาณที่มีฉนวนหรือมีชีลด์เพื่อปอ้ งกนั สญั ญาณรบกวน

3.4 เอกโค (Echo) เป็นสญั ญาณท่ีถกู สะท้อนกลบั (Reflection) โดยเมื่อสญั ญาณที่สง่ ไปบนสายโคแอกเชียลเดินทางไปยงั สดุ ปลายสาย และเกิดการสะท้อนกลบั โหนดใกล้เคยี งก็จะได้ยิน และนกึ ว่าสายสง่ สญั ญาณขณะนนั้ ไม่วา่ ง ทาให้ต้องรอส่งข้อมลู แทนท่ีจะสามารถสง่ ข้อมลู ได้ทนั ทีสาหรับการปอ้ งกนั ทาได้โดยใช้ อปุ กรณ์ท่ีเรียกว่า เทอร์มิเนเตอร์ (Terminator) เช่น ในระบบเครือข่ายท้องถิ่นที่ใช้สายโคแอกเชียลเป็นสายสื่อสาร จะต้องใช้เทอร์มิเนเตอร์ปิดที่ปลายสายทงั้ สองฝ่ัง เพื่อทาหน้าท่ีดดู ซบั สญั ญาณไมใ่ ห้สะท้อนกลบั มา

3.5 จิตเตอร์ (Jitter)เป็นเหตกุ ารณ์ที่ความถี่ของสญั ญาณได้มีการเปล่ียนแปลงไปอย่างต่อเนื่อง ซ่ึงก่อให้เกิดการเล่ือนเฟสไปเป็นค่าอ่ืนๆ อย่างต่อเนื่องด้วยสาหรับการป้องกันสามารถทาได้ด้วยการเลือกใช้ช่วงวงจรอิเล็กทรอนิกส์ที่มีคณุ ภาพ หรืออาจใช้อปุ กรณ์รีพีตเตอร์

แนวทางในการปอ้ งกันขอ้ ผิดพลาด ในการส่งผ่านขอ้ มูลทกุ ระบบจาเปน็ ตอ้ งมกี ารป้องกันสญั ญาณรบกวน โดยเทคนิคดังต่อไปน้ีจะชว่ ยลดสัญญาณรบกวนได้1. ใชส้ ายเคเบลิ ชนดิ ท่ีมีฉนวนป้องกันสัญญาณรบกวน ซึ่งเป็นเทคนิคหนึ่งที่ช่วยลดการแทรกแซงคลื่น แม่เหล็กไฟฟ้า และครอสทอล์กได้เป็นอยา่ งดี2. สายโทรศัพท์ควรอยู่ในสภาวะท่ีเหมาะสม เช่น มีอุปกรณ์กรองสัญญาณที่ช่วยลดสัญญาณท่ีไม่ สม่าเสมอ ซ่ึงบริษัทท่ีรับผิดชอบโครงข่ายโทรศัพทส์ ามารถจัดหาให้ได้ หรือใช้สายเช่าความเรว็ สงู (Lease Line)ที่จะช่วยลดข้อผิดพลาดจากการสง่ ผ่านขอ้ มลู ระยะไกลได้3. ใช้อุปกรณ์ใหม่ท่ีมีประสิทธิภาพและทันสมัยกว่า เพ่ือทดแทนอุปกรณ์เดิมท่ีหมดอายุการใช้งานประสิทธิภาพต่าถึงอุปกรณ์จะมีราคาแพงแต่ก็ไดผ้ ลของการสง่ ผา่ นข้อมูลท่ีดีข้นึ4. เมื่อต้องการเพ่ิมระยะทางในการส่งข้อมูลดิจิตอล ให้ใช้รีพีตเตอร์ หรือใช้แอมพลิไฟเออร์ หากส่งข้อมูลแอนะล็อก ซึ่งอุปกรณ์ดังกล่าวจะช่วยเพม่ิ ระยะทาง และมสี ่วนชว่ ยลดขอ้ ผิดพลาดของสัญญาณลงได้5. พิจารณาข้อกาหนดและข้อจากัดของสายสัญญาณแต่ละชนิด เช่น UTP สามารถเชื่อมโยงได้ไม่เกิน 100 เมตร และส่งข้อมูลด้วยอัตราความเรว็ สูงสุดท่ี 100 Mbps


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook