Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 23 หลักการทรงงาน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หั

23 หลักการทรงงาน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หั

Published by thapma20.3, 2021-09-24 01:22:40

Description: 23 หลักการทรงงาน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หั

Search

Read the Text Version

โครงการสง่ เสริมการเรยี นรตู้ ามรอยพอ่ หลวง ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔ เทศบาลตาบลทบั มา อาเภอเมอื งระยอง จงั หวดั ระยอง

23 หลกั การทรงงาน พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยู่หัว ในหลวง รัชกาลที่ 9 ในหลวงรัชกาลท่ี 9 ทรงเป็นพระมหากษัตริย์ที่นอกจากจะทรงด้วยทศพิธราชธรรมแล้ว ทรงยังเป็น พระราชาที่เป็นแบบอย่างในการดาเนินชีวิต และการทางานแก่พสกนิกรของพระองค์และนานา ประเทศอีกด้วย ผู้คนต่างประจักษ์ถึงพระอัจฉริยภาพของพระองค์ และมีความสานึกในพระมหา กรณุ าธิคณุ เป็นล้นพ้นอันหาที่สดุ มิได้ ซึ่งแนวคิดหรอื หลักการทรงงานของในหลวงรัชกาลท่ี 9 มีความ น่าสนใจทส่ี มควรนามาประยุกตใ์ ชก้ ับชวี ติ การทางานเป็นอย่างย่ิง หากท่านใดต้องการปฏิบัติตามรอย เบอ้ื งพระยคุ ลบาท ทา่ นสามารถนาหลกั การทรงงานของพระองค์ไปปรบั ใช้ใหเ้ กดิ ประโยชน์ได้ ดงั น้ี หลกั การทรงงาน ในหลวงรัชกาลที่ 9 1. จะทาอะไรตอ้ งศึกษาข้อมูลใหเ้ ปน็ ระบบ ทรงศึกษาข้อมูลรายละเอียดอย่างเป็นระบบจากข้อมูลเบื้องต้น ท้ังเอกสาร แผนที่ สอบถาม จากเจ้าหน้าที่ นักวชิ าการ และราษฎรในพื้นท่ีให้ได้รายละเอียดท่ีถูกต้อง เพื่อนาข้อมูลเหล่าน้ันไปใช้ ประโยชน์ได้จรงิ อยา่ งถกู ตอ้ ง รวดเรว็ และตรงตามเป้าหมาย

2. ระเบดิ จากภายใน จะทาการใดๆ ต้องเร่ิมจากคนท่ีเก่ียวข้องเสียก่อน ต้องสร้างความเข้มแข็งจากภายในให้เกิด ความเข้าใจและอยากทา ไม่ใช่การสั่งให้ทา คนไม่เข้าใจก็อาจจะไม่ทาก็เป็นได้ ในการทางานนั้น อาจจะตอ้ งคุยหรือประชุมกับลูกนอ้ ง เพื่อนร่วมงาน หรือคนในทีมเสียก่อน เพื่อให้ทราบถึงเป้าหมาย และวธิ ีการต่อไป 3. แกป้ ญั หาจากจดุ เลก็ ควรมองปัญหาภาพรวมก่อนเสมอ แต่เม่ือจะลงมือแก้ปัญหาน้ัน ควรมองในสิ่งท่ีคนมักจะ มองขา้ ม แลว้ เร่มิ แกป้ ัญหาจากจดุ เลก็ ๆ เสียกอ่ น เมอ่ื สาเรจ็ แล้วจงึ ค่อยๆ ขยบั ขยายแก้ไปเรื่อยๆ ทีละ จดุ เราสามารถเอามาประยุกต์ใชก้ ับการทางานได้ โดยมองไปที่เป้าหมายใหญ่ของงานแต่ละชิ้น แล้ว เริ่มลงมือทาจากจุดเล็กๆ ก่อน ค่อยๆ ทา ค่อยๆ แก้ไปทีละจุด งานแต่ละชิ้นก็จะลุลวงไปได้ตาม เป้าหมายที่วางไว้ “ถ้าปวดหัวคิดอะไรไม่ออก ก็ต้องแก้ไขการปวดหัวน้ีก่อน มันไม่ได้แก้อาการจริง แตต่ อ้ งแก้ปัญหาท่ีทาใหเ้ ราปวดหวั ใหไ้ ด้เสียกอ่ น เพือ่ จะใหอ้ ยู่ในสภาพทด่ี ไี ด้…” 4. ทาตามลาดับขัน้ เริ่มต้นจากการลงมือทาในส่ิงท่ีจาเป็นก่อน เมื่อสาเร็จแล้วก็เร่ิมลงมือสิ่งท่ีจาเป็นลาดับต่อไป ด้วยความรอบคอบและระมัดระวัง ถ้าทาตามหลักนี้ได้ งานทุกส่ิงก็จะสาเร็จได้โดยง่าย… ในหลวง รัชกาลที่ 9 ทรงเรม่ิ ตน้ จากสิง่ ท่ีจาเปน็ ท่ีสดุ ของประชาชนเสียก่อน ได้แก่ สุขภาพสาธารณสุข จากน้ัน จึงเป็นเรื่องสาธารณูปโภคขั้นพื้นฐาน และสิ่งจาเป็นในการประกอบอาชีพ อาทิ ถนน แหล่งน้าเพื่อ การเกษตร การอปุ โภคบรโิ ภค เน้นการปรบั ใช้ภูมปิ ัญญาท้องถิน่ ทรี่ าษฎรสามารถนาไปปฏิบัติได้ และ เกดิ ประโยชน์สูงสดุ “การพฒั นาประเทศจาเป็นตอ้ งทาตามลาดับขั้น ต้องสร้างพ้ืนฐาน คือความพอมี พอกิน พอใช้ของประชาชนส่วนใหญ่เป็นเบ้ืองต้นก่อน ใช้วิธีการและอุปกรณ์ท่ีประหยัด แต่ถูกต้อง ตามหลักวิชา เม่ือได้พ้ืนฐานท่ีม่ันคงพร้อมพอสมควร สามารถปฏิบัติได้แล้วจึงค่อยสร้างเสริมความ เจริญและฐานะเศรษฐกิจขั้นท่ีสูงข้ึนโดยลาดับต่อไป…” พระบรมราโชวาทของในหลวงรัชกาลท่ี 9 เมอื่ วนั ที่ 18 กรกฎาคม 2517

5. ภูมสิ งั คม ภมู ศิ าสตร์ สังคมศาสตร์ การพัฒนาใดๆ ต้องคานึงถึงสภาพภูมิประเทศของบริเวณนั้นว่าเป็นอย่างไร และสังคมวิทยา เก่ียวกับลักษณะนิสัยใจคอคน ตลอดจนวัฒนธรรมประเพณีในแต่ละท้องถ่ินท่ีมีความแตกต่างกัน “การพัฒนาจะต้องเป็นไปตามภูมิประเทศทางภูมิศาสตร์และภูมิประเทศทางสังคมศาสตร์ ในสังคม วทิ ยา คือนิสัยใจคอของคนเรา จะไปบังคับให้คนอื่นคิดอย่างอื่นไม่ได้ เราต้องแนะนา เข้าไปดูว่าเขา ตอ้ งการอะไรจริงๆ แลว้ ก็อธิบายใหเ้ ขาเขา้ ใจหลักการของการพัฒนานีก้ ็จะเกิดประโยชนอ์ ย่างยง่ิ ” 6. ทางานแบบองค์รวม ใชว้ ธิ คี ดิ เพ่อื การทางาน โดยวิธคี ิดอย่างองคร์ วม คือการมองสิง่ ตา่ งๆ ท่ีเกิดอย่างเป็นระบบครบ วงจร ทกุ สิง่ ทุกอย่างมีมติ ิเช่ือมตอ่ กนั มองสิง่ ที่เกดิ ข้นึ และแนวทางแก้ไขอย่างเชอ่ื มโยง

7. ไม่ติดตารา เมอื่ เราจะทาการใดนั้น ควรทางานอย่างยืดหยนุ่ กบั สภาพและสถานการณ์นนั้ ๆ ไม่ใช่การยึดติด อยู่กับแค่ในตาราวิชาการ เพราะบางที่ความรู้ท่วมหัว เอาตัวไม่รอด บางครั้งเรายึดติดทฤษฎีมาก จนเกนิ ไปจนทาอะไรไม่ได้เลย สิง่ ที่เราทาบางครั้งต้องโอบอ้อมต่อสภาพธรรมชาติ ส่ิงแวดล้อม สังคม และจติ วิทยาด้วย 8. รจู้ กั ประหยดั เรยี บง่าย ได้ประโยชน์สูงสดุ ในการพฒั นาและช่วยเหลอื ราษฎร ในหลวงรัชกาลท่ี 9 ทรงใช้หลักในการแก้ปัญหาด้วยความ เรียบง่ายและประหยัด ราษฎรสามารถทาได้เอง หาได้ในท้องถิ่นและประยุกต์ใช้สิ่งท่ีมีอยู่ในภูมิภาค นน้ั มาแก้ไข ปรบั ปรงุ โดยไม่ต้องลงทุนสูงหรือใชเ้ ทคโนโลยีทยี่ ุ่งยากมากนกั ดังพระราชดารัสตอนหน่ึง ว่า “…ให้ปลกู ป่าโดยไมต่ ้องปลูกโดยปล่อยใหข้ ึ้นเองตามธรรมชาติจะไดป้ ระหยัดงบประมาณ…” 9. ทาใหง้ ่าย ทรงคิดค้น ดัดแปลง ปรับปรุงและแก้ไขงาน การพัฒนาประเทศตามแนวพระราชดาริไปได้ โดยง่าย ไม่ยุง่ ยากซับซ้อนและทส่ี าคัญอย่างย่งิ คอื สอดคล้องกบั สภาพความเปน็ อยูข่ องประชาชนและ ระบบนิเวศโดยรวม “ทาใหง้ ่าย”

10. การมสี ว่ นร่วม ทรงเปน็ นักประชาธิปไตย ทรงเปิดโอกาสให้สาธารณชน ประชาชนหรือเจ้าหน้าที่ทุกระดับได้ มาร่วมแสดงความคิดเห็น “สาคัญท่ีสุดจะต้องหัดทาใจให้กว้างขวาง หนักแน่น รู้จักรับฟังความ คิดเห็น แม้กระทั่งความวิพากษ์วิจารณ์จากผู้อื่นอย่างฉลาดน้ัน แท้จริงคือ การระดมสติปัญญาละ ประสบการณ์อนั หลากหลายมาอานวยการปฏิบตั ิบรหิ ารงานให้ประสบผลสาเร็จทส่ี มบรู ณน์ นั่ เอง” 11. ต้องยดึ ประโยชนส์ ่วนรวม ในหลวงรัชกาลท่ี 9 ทรงระลึกถึงประโยชน์ของส่วนรวมเป็นสาคัญ ดังพระราชดารัสตอนหนึ่ง ว่า “…ใครตอ่ ใครบอกว่า ขอใหเ้ สียสละส่วนตัวเพื่อสว่ นรวม อันน้ฟี งั จนเบื่อ อาจราคาญดว้ ยซ้าว่า ใคร ต่อใครมาก็บอกว่าขอให้คิดถึงประโยชน์ส่วนรวม อาจมานึกในใจว่า ให้ๆ อยู่เร่ือยแล้วส่วนตัวจะได้ อะไร ขอให้คิดว่าคนท่ีให้เป็นเพ่ือส่วนรวมนั้น มิได้ให้ส่วนรวมแต่อย่างเดียว เป็นการให้เพ่ือตัวเอง สามารถท่จี ะมสี ว่ นรวมท่จี ะอาศัยได้…” 12. บรกิ ารท่ีจดุ เดยี ว ทรงมพี ระราชดาริมากวา่ 20 ปแี ลว้ ให้บริหารศูนย์ศึกษาการพัฒนาหลายแห่งท่ัวประเทศโดย ใช้หลักการ “การบริการรวมท่ีจุดเดียว : One Stop Service” โดยทรงเน้นเร่ืองรู้รักสามัคคีและการ ร่ ว ม มื อ ร่ ว ม แ ร ง ร่ ว ม ใ จ กั น ด้ ว ย ก า ร ป รั บ ล ด ช่ อ ง ว่ า ง ร ะ ห ว่ า ง ห น่ ว ย ง า น ที่ เ กี่ ย ว ข้ อ ง

13. ใชธ้ รรมชาตชิ ่วยธรรมชาติ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลท่ี 9 ทรงเข้าใจถึงธรรมชาติและต้องการให้ประชาชน ใกล้ชิดกับทรัพยากรธรรมชาติ ทรงมองปัญหาธรรมชาติอย่างละเอียด โดยหากเราต้องการแก้ไข ธรรมชาตจิ ะต้องใช้ธรรมชาติเขา้ ช่วยเหลอื เราด้วย 14. ใชอ้ ธรรมปราบอธรรม ทรงนาความจริงในเร่ืองธรรมชาติและกฎเกณฑ์ของธรรมชาติมาเป็นหลักการแนวทางปฏิบัติ ในการแก้ไขปัญหาและปรับปรุงสภาวะท่ีไม่ปกติเข้าสู่ระบบที่ปกติ เช่น การบาบัดน้าเน่าเสียโดยให้ ผักตบชวา ซ่ึงมตี ามธรรมชาติให้ดูดซึมส่ิงสกปรกปนเปอ้ื นในน้า 15. ปลูกป่าในใจคน การจะทาการใดสาเร็จต้องปลูกจิตสานึกของคนเสียก่อน ต้องให้เห็นคุณค่า เห็นประโยชน์กับ ส่ิงทจ่ี ะทา…. “เจ้าหน้าท่ีป่าไม้ควรจะปลูกต้นไม้ลงในใจคนเสียก่อน แล้วคนเหล่าน้ันก็จะพากันปลูก ตน้ ไม้ลงบนแผ่นดนิ และจะรักษาตน้ ไม้ดว้ ยตนเอง” 16. ขาดทนุ คือกาไร หลักการในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลท่ี 9 ท่ีมีต่อพสกนิกรไทย “การให้” และ “การเสยี สละ” เป็นการกระทาอนั มีผลเป็นกาไร คือความอยู่ดีมีสุขของราษฎร

17. การพ่ึงพาตนเอง การพัฒนาตามแนวพระราชดาริ เพื่อการแก้ไขปัญหาในเบ้ืองต้นด้วยการแก้ไขปัญหาเฉพาะ หน้า เพื่อให้มีความแข็งแรงพอที่จะดารงชีวิตได้ต่อไป แล้วขั้นต่อไปก็คือ การพัฒนาให้ประชาชน สามารถอย่ใู นสังคมไดต้ ามสภาพแวดล้อมและสามารถ พ่งึ ตนเองได้ในที่สดุ 18. พออยูพ่ อกิน ให้ประชาชนสามารถอยู่อย่าง “พออยู่พอกิน” ให้ได้เสียก่อน แล้วจึงค่อยขยับขยายให้มีขีด สมรรถนะทกี่ า้ วหน้าต่อไป 19. เศรษฐกิจพอเพียง เปน็ ปรัชญาท่ใี นหลวงรัชกาลท่ี 9 พระราชทานพระราชดารสั ช้ีแนะแนวทางการดาเนินชีวิต ให้ดาเนิน ไปบน “ทางสายกลาง” เพื่อให้รอดพ้นและสามารถดารงอยู่ได้อย่างมั่นคงและย่ังยืนภายใต้กระแส โลกาภิวตั น์และการเปลย่ี นแปลงต่างๆ ซึ่งปรัชญานี้สามารถนาไปประยกุ ต์ใชไ้ ดท้ ั้งระดับบคุ คล องค์กร และชุมชน

20. ความซ่อื สตั ย์สจุ ริต จรงิ ใจต่อกนั ผู้ท่ีมีความสุจริตและบริสุทธิ์ใจ แม้จะมีความรู้น้อย ก็ย่อมทาประโยชน์ให้แก่ส่วนรวมได้ มากกวา่ ผทู้ ี่มีความรมู้ าก แตไ่ มม่ คี วามสุจริต ไม่มีความบรสิ ุทธิ์ใจ 21. ทางานอย่างมคี วามสุข ทางานต้องมคี วามสขุ ดว้ ย ถา้ เราทาอย่างไม่มคี วามสุขเราจะแพ้ แต่ถ้าเรามีความสุขเราจะชนะ สนุกกบั การทางานเพียงเท่าน้ัน ถือว่าเราชนะแล้ว หรือจะทางานโดยคานึงถึงความสุขที่เกิดจากการ ไดท้ าประโยชนใ์ หก้ บั ผู้อ่นื กส็ ามารถทาได้ “…ทางานกบั ฉัน ฉันไม่มอี ะไรจะให้ นอกจากการมีความสุข รว่ มกัน ในการทาประโยชนใ์ หก้ ับผูอ้ นื่ …” 22. ความเพียร การเริ่มต้นทางานหรือทาส่ิงใดน้ันอาจจะไม่ได้มีความพร้อม ต้องอาศัยความอดทนและความ มุง่ มั่น ดงั เชน่ พระราชนพิ นธ์ “พระมหาชนก” กษัตรยิ ์ผเู้ พยี รพยายามแมจ้ ะไม่เหน็ ฝง่ั ก็จะว่ายน้าต่อไป เพราะถา้ ไม่เพียรว่ายกจ็ ะตกเป็นอาหารปู ปลาและไมไ่ ดพ้ บกับเทวดาทชี่ ว่ ยเหลอื มใิ ห้จมน้า 23. รู้ รัก สามคั คี รู้ คอื ร้ปู ัญหาและรู้วธิ ีแก้ปญั หานั้น รัก คอื เม่อื เรารู้ถงึ ปญั หาและวิธีแก้แล้ว เราต้องมีความรัก ที่จะลงมอื ทา ลงมอื แกไ้ ขปญั หาน้ัน สามัคคี คือ การแกไ้ ขปัญหาต่างๆ ไม่สามารถลงมือทาคนเดียวได้ ต้องอาศัยความร่วมมอื ร่วมใจกัน


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook