Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

Published by thapma20.3, 2021-09-24 01:31:58

Description: ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

Search

Read the Text Version

โ ค ร ง ก า ร เ ส ริ ม ส ร้ า ง ก า ร เ รี ย น รู้ ต า ม ร อ ย พ่ อ ห ล ว ง ป ร ะ จา ปี ง บ ป ร ะ ม า ณ พ . ศ . 2 5 6 4 ก อ ง ก า ร เ จ้ า ห น้ า ท่ี เ ท ศ บ า ล ตา บ ล ทั บ ม า อา เ ภ อ เ มื อ ง ร ะ ย อ ง จั ง ห วั ด ร ะ ย อ ง

ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง เศรษฐกจิ พอเพยี ง เป็นปรชั ญาชถ้ี งึ แนวการดารงอยู่และปฏบิ ัตติ นของประชาชนในทกุ ระดบั ต้ังแต่ระดับครอบครวั ระดับ ชุมชน จนถึงระดับรฐั ทั้งในการพัฒนาและบริหารประเทศใหด้ าเนินไปในทางสายกลาง โดยเฉพาะการพฒั นาเศรษฐกิจ เพอ่ื ให้ก้าวทันต่อ โลกยคุ โลกาภวิ ตั น์ ความพอเพียง หมายถึง ความพอประมาณ ความมเี หตุผล รวมถงึ ความจาเป็นท่ีจะต้องมีระบบภูมคิ ุ้มกันในตัวท่ีดี พอสมควร ตอ่ การกระทบใดๆ อนั เกดิ จากการเปลย่ี นแปลงท้ังภายในภายนอก ทง้ั นี้ จะตอ้ งอาศัยความรอบรู้ ความรอบคอบ และความ ระมัดระวังอยา่ งย่ิงในการนาวชิ าการต่างๆ มาใช้ในการวางแผนและการดาเนินการ ทุกขั้นตอน และขณะเดยี วกัน จะตอ้ งเสรมิ สรา้ ง พ้ืนฐานจิตใจของคนในชาติ โดยเฉพาะเจ้าหน้าทข่ี องรัฐ นักทฤษฎี และนกั ธรุ กิจในทุกระดับ ให้มสี านึกในคณุ ธรรม ความซือ่ สัตย์สจุ รติ และใหม้ คี วามรอบรทู้ ีเ่ หมาะสม ดาเนนิ ชีวติ ด้วยความอดทน ความเพียร มีสติ ปัญญา และความรอบคอบ เพ่ือใหส้ มดุลและพร้อมต่อการ รองรบั การเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วและกวา้ งขวาง ทัง้ ด้านวัตถุ สังคม ส่ิงแวดล้อม และวัฒนธรรมจากโลกภายนอกได้เปน็ อย่างดี

ความหมายของเศรษฐกิจพอเพียง จึงประกอบด้วยคุณสมบัติ ดังน้ี ๑. ความพอประมาณ หมายถึง ความพอดที ่ีไม่น้อยเกินไปและไม่มากเกนิ ไป โดยไมเ่ บียดเบียนตนเองและผู้อื่น เชน่ การผลติ และการ บรโิ ภคท่อี ยู่ในระดบั พอประมาณ ๒. ความมเี หตผุ ล หมายถึง การตัดสินใจเก่ียวกับระดับความพอเพียงนั้น จะตอ้ งเป็นไปอยา่ งมเี หตุผล โดยพิจารณาจากเหตุปจั จยั ท่ี เกี่ยวขอ้ ง ตลอดจนคานึงถึงผลท่ีคาดว่าจะเกิดข้ึนจากการกระทานน้ั ๆ อยา่ งรอบคอบ ๓. ภูมคิ ุ้มกัน หมายถึง การเตรยี มตัวใหพ้ รอ้ มรับผลกระทบและการเปล่ียนแปลงดา้ นต่างๆ ทจี่ ะเกดิ ข้ึน โดยคานึงถงึ ความเปน็ ไปได้ของ สถานการณ์ตา่ งๆ ท่คี าดวา่ จะเกิดข้ึนในอนาคต โดยมี เงื่อนไข ของการตัดสนิ ใจและดาเนินกิจกรรมตา่ งๆ ให้อยใู่ นระดบั พอเพียง ๒ ประการ ดังน้ี ๑. เง่ือนไขความรู้ ประกอบด้วย ความรอบรูเ้ ก่ยี วกบั วิชาการตา่ งๆ ทเี่ ก่ยี วขอ้ งรอบด้าน ความรอบคอบท่ีจะนาความรู้เหล่าน้นั มา พิจารณาให้เชือ่ มโยงกัน เพอื่ ประกอบการวางแผนและความระมัดระวงั ในการปฏิบัติ ๒. เง่ือนไขคณุ ธรรม ท่จี ะตอ้ งเสริมสรา้ ง ประกอบด้วย มคี วามตระหนกั ใน คณุ ธรรม มีความซือ่ สัตย์สุจริตและมีความอดทน มคี วามเพียร ใชส้ ตปิ ญั ญาในการดาเนินชวี ิต

แนวทางการทาการเกษตรแบบเศรษฐกิจพอเพียงเนน้ หาขา้ วหาปลากอ่ นหาเงนิ หาทอง คือ ทามาหากนิ ก่อนทามาคา้ ขายโดยการ สง่ เสรมิ : 1.การทาไร่นาสวนผสมและการเกษตรผสมผสานเพื่อให้เกษตรกรพัฒนาตนเองแบบเศรษฐกิจพอเพยี ง 2.การปลกู พืชผกั สวนครวั ลดคา่ ใช้จา่ ย 3.การทาป๋ยุ หมกั ปุ๋ยคอกและใชว้ สั ดเุ หลือใชเ้ ป็นปัจจยั การผลติ (ปุ๋ย)เพือ่ ลดคา่ ใช้จ่ายและบารงุ ดิน 4.การเพาะเหด็ ฟางจากวสั ดุเหลือใชใ้ นไรน่ า

5.การปลูกไมผ้ ลสวนหลงั บา้ น และไมใ้ ช้สอยในครวั เรือน 6.การปลกู พืชสมนุ ไพร ชว่ ยสง่ เสริมสุขภาพอนามยั 7.การเล้ยี งปลาในรอ่ งสวน ในนาข้าวและแหล่งน้า เพอ่ื เป็นอาหารโปรตีนและรายไดเ้ สริม 8.การเลยี้ งไก่พ้ืนเมือง และไก่ไข่ ประมาณ 10-15 ตวั ตอ่ ครัวเรือนเพ่อื เปน็ อาหารในครัวเรือน โดยใช้เศษอาหาร รา และปลายข้าวจาก ผลผลติ การทานา ขา้ วโพดเลีย้ งสัตว์จากการปลูกพืชไร่ เปน็ ต้น 9.การทากา๊ ซชีวภาพจากมูลสัตว์ พระราชดารัสโดยยอ่ เกย่ี วกบั เศรษฐกิจพอเพยี งในวันฉลองสริ ิราชสมบตั คิ รบ 60 ปี พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงเขา้ พระราชหฤทยั ในความเป็นไปของเมืองไทยและคนไทยอย่างลกึ ซง้ึ และกวา้ งไกล ไดท้ รง วางรากฐานในการพัฒนาชนบท และชว่ ยเหลอื ประชาชนใหส้ ามารถพ่ึงตนเองได้มีความ \" พออยู่พอกิน\" และมีความอสิ ระทจี่ ะอยู่ได้ โดยไม่ตอ้ งติดยึดอยู่กบั เทคโนโลยีและความเปลย่ี นแปลงของกระแสโลกาภิวัฒน์ ทรงวเิ คราะห์ว่าหากประชาชนพึ่งตนเองได้แลว้ ก็จะมี ส่วนช่วยเหลอื เสริมสร้างประเทศชาตโิ ดยสว่ นรวมได้ในที่สุด พระราชดารสั ท่ีสะทอ้ นถึงพระวิสัยทศั นใ์ นการสรา้ งความเขม้ แข็งในตนเอง ของประชาชนและสามารถทามาหากินใหพ้ ออยู่พอกินได้ ดังนี้ \"….ในการสรา้ งถนน สร้างชลประทานใหป้ ระชาชนใช้นนั้ จะต้องชว่ ยประชาชนในทางบุคคลหรือพัฒนาใหบ้ ุคคลมีความรู้และอนามยั แขง็ แรง ดว้ ยการให้การศึกษาและการรักษาอนามัย เพอื่ ใหป้ ระชาชนในทอ้ งท่ีสามารถทาการเกษตรได้ และค้าขายได้…\"

ในสภาวการณป์ จั จุบนั ซ่ึงเกิดความถดถอยทางเศรษฐกิจอย่างรุนแรงข้ึนนี้จึงทาให้เกิดความเข้าใจไดช้ ดั เจนในแนวพระราชดาริ ของ \"เศรษฐกิจพอเพยี ง\" ซ่ึงไดท้ รงคิดและตระหนักมาชา้ นาน เพราะหากเราไมไ่ ปพ่ีงพา ยึดติดอยู่กับกระแสจากภายนอกมาก เกินไป จนได้ครอบงาความคดิ ในลักษณะดัง้ เดิมแบบไทยๆไปหมด มแี ต่ความทะเยอทะยานบนรากฐานที่ไม่ม่นั คงเหมอื นลักษณะฟอง สบู่ วกิ ฤตเศรษฐกิจเช่นน้อี าจไม่เกิดขึน้ หรอื ไม่หนักหนาสาหสั จนเกิดความเดือดรอ้ นกันถ้วนทว่ั เช่นนี้ ดังนัน้ \"เศรษฐกจิ พอเพียง\" จึง ไดส้ ื่อความหมาย ความสาคญั ในฐานะเป็นหลกั การสังคมที่พงึ ยึดถือ

ในทางปฏบิ ตั ิจุดเรมิ่ ต้นของการพฒั นาเศรษฐกิจพอเพยี งคือ การฟน้ื ฟูเศรษฐกิจชุมชนทอ้ งถิ่น เศรษฐกิจพอเพียงเปน็ ทง้ั หลกั การ และกระบวนการทางสังคม ตั้งแต่ขนั้ ฟ้ืนฟูและขยายเครอื ข่ายเกษตรกรรมยั่งยนื เป็นการพัฒนาขดี ความสามารถในการผลิตและบริโภค อยา่ งพออยู่พอกนิ ขึ้นไปถึงขั้นแปรรูปอุตสาหกรรมครัวเรอื น สร้างอาชพี และทักษะวชิ าการทหี่ ลากหลายเกิดตลาดซื้อขาย สะสม ทนุ ฯลฯ บนพื้นฐานเครือขา่ ยเศรษฐกิจชมุ ชนน้ี เศรษฐกิจของ 3 ชาติ จะพฒั นาขึ้นมาอยา่ งม่ันคงท้งั ในด้านกาลงั ทนุ และตลาด ภายในประเทศ รวมท้ังเทคโนโลยซี ึง่ จะค่อยๆ พัฒนาข้นึ มาจากฐานทรพั ยากรและภูมปิ ญั ญาท่มี ีอยูภ่ ายในชาติ และท้งั ท่จี ะพึงคัดสรร เรียนรูจ้ ากโลกภายนอก เศรษฐกิจพอเพยี งเปน็ เศรษฐกิจท่ีพอเพียงกบั ตวั เอง ทาให้อยู่ได้ ไม่ตอ้ งเดือดรอ้ น มีสง่ิ จาเปน็ ทท่ี าได้โดยตวั เองไม่ต้องแข่งขนั กบั ใคร และมเี หลอื เพื่อชว่ ยเหลอื ผู้ที่ไม่มอี นั นาไปสกู่ ารแลกเปลย่ี นในชุมชน และขยายไปจนสามารถที่จะเปน็ สนิ ค้าส่งออก เศรษฐกิจพอเพียงเป็น เศรษฐกิจระบบเปิดที่เร่มิ จากตนเองและความร่วมมอื วิธีการเช่นนี้จะดึงศักยภาพของ ประชากรออกมาสร้างความเข้มแข็งของครอบครัว ซ่งึ มีความผพู้ นั กบั “จติ วิญญาณ” คอื “คุณคา่ ” มากกว่า “มูลคา่ ”

ในระบบเศรษฐกิจพอเพียงจะจัดลาดับความสาคญั ของ “คุณค่า” มากกว่า “มลู คา่ ” มลู ค่านนั้ ขาดจิตวญิ ญาณ เพราะเป็นเศรษฐกจิ ภาค การเงนิ ท่เี นน้ ทจ่ี ะตอบสนองต่อความต้องการทไี่ มจ่ ากดั ซ่ึงไรข้ อบเขต ถ้าไม่สามารถควบคมุ ได้การใช้ทรพั ยากรอยา่ งทาลายล้างจะ รวดเร็วขึ้นและปัญหาจะตามมา เป็นการบริโภคทกี่ ่อใหเ้ กิดความทุกข์หรอื พาไปหาความทกุ ข์ และจะไม่มีโอกาสบรรลุวตั ถุประสงค์ในการ บริโภค ท่จี ะก่อให้ความพอใจและความสุข (Maximization of Satisfaction) ผู้บริโภคต้องใช้หลกั ขาดทนุ คอื กาไร (Our loss is our gain) อยา่ งนี้จะควบคุมความตอ้ งการท่ีไม่จากัดได้ และสามารถจะลดความต้องการลงมาได้ ก่อใหเ้ กิดความพอใจและความสขุ เทา่ กบั ได้ ตระหนักในเรือ่ ง “คุณคา่ ” จะช่วยลดค่าใช้จ่ายลงได้ ไม่ต้องไปหาวธิ ที าลายทรัพยากรเพื่อใหเ้ กิดรายไดม้ าจัดสรรส่งิ ท่เี ปน็ “ความอยากท่ี ไม่มีทส่ี น้ิ สุด” และขจัดความสาคญั ของ “เงิน” ในรูปรายได้ทเ่ี ป็นตวั กาหนดการบริโภคลงไดร้ ะดบั หนึง่ แลว้ ยงั เป็นตัวแปรทีไ่ ปลดภาระ ของกลไกของตลาดและการพงึ่ พิงกลไกของตลาด ซึง่ บคุ คลโดยท่วั ไปไม่สามารถจะควบคุมได้ รวมทัง้ ได้มีสว่ นในการปอ้ งกนั การบริโภค เลียนแบบ (Demonstration Effects) จะไมท่ าให้เกดิ การสญู เสยี จะทาใหไ้ มเ่ กิดการบริโภคเกิน (Over Consumption) ซ่งึ กอ่ ให้เกดิ สภาพเศรษฐกิจดี สงั คมไม่มีปัญหา การพัฒนาย่ังยืน การบรโิ ภคทฉี่ ลาดดังกล่าวจะช่วยปอ้ งกันการขาดแคลนแม้จะไมร่ ่ารวยรวดเรว็ แต่ ในยามปกติกจ็ ะทาให้ร่ารวยมากข้ึน ในยามทกุ ข์ภัยกไ็ ม่ขาดแคลนและสามารถจะฟืน้ ตัวไดเ้ รว็ กวา่ โดยไม่ตอ้ งหวังความช่วยเหลอื จาก ผู้อน่ื มากเกินไปเพราะฉะน้ันความพอมพี อกินจะสามารถอุ้มชูตวั ได้ ทาให้เกิดความเข้มแข็งและความพอเพียงนั้นไม่ได้หมายความว่า ทุก ครอบครวั ตอ้ งผลิตอาหารของตัวเองจะตอ้ งทอผ้าใส่เองแต่มีการแลกเปลยี่ นกนั ไดร้ ะหว่างหม่บู า้ นเมอื งและแมก้ ระท่ังระหวา่ งประเทศ ท่ี สาคญั คอื การบรโิ ภคน้ันจะทาใหเ้ กิดความร้ทู ่จี ะอยู่ร่วมกบั ระบบ รกั ธรรมชาติ ครอบครวั อบอ่นุ ชุมชนเข้มแข็ง เพราะไม่ต้องท้งิ ถิ่นไปหา งานทา เพื่อหารายได้มาเพื่อการบรโิ ภคทีไ่ ม่เพยี งพอ

ประเทศไทยอุดมไปดว้ ยทรพั ยากรและยงั มีพอสาหรับประชาชนไทยถา้ มกี ารจัดสรรท่ดี ี โดยยดึ \" คณุ ค่า \" มากกว่า \" มลู ค่า \" ยึด ความสมั พันธ์ของ “บุคคล” กบั “ระบบ” และปรับความต้องการที่ไมจ่ ากัดลงมาใหไ้ ดต้ ามหลกั ขาดทุนเพ่ือกาไร และอาศัยความรว่ มมือ เพื่อให้เกิดครอบครวั ทเ่ี ข้มแข็งอนั เป็นรากฐานท่ีสาคัญของระบบสงั คม การผลติ จะเสียคา่ ใชจ้ า่ ยลดลงถ้ารูจ้ ักนาเอาสิ่งทมี่ อี ยูใ่ นขบวนการธรรมชาติมาปรุงแต่ง ตามแนวพระราชดารใิ นเรื่องต่าง ๆ ท่ีกลา่ ว มาแลว้ ซึ่งสรปุ เปน็ คาพูดที่เหมาะสมตามท่ี ฯพณฯ พลเอกเปรม ตนิ ณสูลานนท์ ทวี่ ่า “…ทรงปลกู แผน่ ดนิ ปลกู ความสขุ ปลดความทุกข์ ของราษฎร” ในการผลติ น้นั จะต้องทาด้วยความรอบคอบไม่เหน็ แก่ได้ จะต้องคดิ ถึงปัจจัยที่มีและประโยชนข์ องผูเ้ ก่ียวข้อง มิฉะน้นั จะเกิด ปัญหาอย่างเช่นบางคนมีโอกาสทาโครงการแตไ่ มไ่ ด้คานึงว่าปจั จยั ต่าง ๆ ไมค่ รบ ปัจจัยหนึ่งคือขนาดของโรงงาน หรือเครอื่ งจกั รที่ สามารถท่จี ะปฏบิ ัตไิ ด้ แต่ข้อสาคญั ทส่ี ดุ คอื วัตถุดิบ ถา้ ไม่สามารถท่จี ะให้ค่าตอบแทนวัตถุดบิ แก่เกษตรกรท่เี หมาะสม เกษตรกรก็จะไม่ ผลิต ย่ิงถ้าใช้วตั ถุดิบสาหรับใชใ้ นโรงงาน้นั เป็นวตั ถุดิบทจ่ี ะต้องนามาจากระยะไกล หรอื นาเขา้ กจ็ ะย่งิ ยาก เพราะวา่ วัตถุดิบท่นี าเข้านั้น ราคาย่งิ แพง บางปวี ตั ถุดิบมบี รบิ รู ณ์ ราคาอาจจะตา่ ลงมา แตเ่ วลาจะขายส่งิ ของที่ผลิตจากโรงงานก็ขายยากเหมอื นกัน เพราะมีมากจึงทา ใหร้ าคาตก หรอื กรณีใชเ้ ทคโนโลยที างการเกษตร เกษตรกรรู้ดีวา่ เทคโนโลยที าให้ต้นทุนเพ่มิ ข้ึน และผลผลิตที่เพม่ิ น้นั จะลน้ ตลาด ขายได้ ในราคาทีล่ ดลง ทาใหข้ าดทุน ต้องเปน็ หน้ีสิน การผลติ ตามทฤษฎใี หม่สามารถเปน็ ต้นแบบการคดิ ในการผลิตที่ดีได้ ดงั นี้ 1. การผลิตนน้ั มุ่งใชเ้ ปน็ อาหารประจาวนั ของครอบครัว เพื่อให้มพี อเพียงในการบริโภคตลอดปี เพอื่ ใชเ้ ป็นอาหารประจาวันและเพ่ือ จาหน่าย 2. การผลิตตอ้ งอาศัยปจั จัยในการผลิต ซงึ่ จะตอ้ งเตรียมให้พร้อม เชน่ การเกษตรต้องมีน้า การจัดให้มีและดูแหล่งน้า จะกอ่ ใหเ้ กิด ประโยชน์ทั้งการผลติ และประโยชนใ์ ชส้ อยอน่ื ๆ 3. ปจั จยั ประกอบอ่นื ๆ ทีจ่ ะอานวยใหก้ ารผลิตดาเนนิ ไปดว้ ยดี และเกดิ ประโยชนเ์ ชื่อมโยง (Linkage) ท่จี ะไปเสรมิ ใหเ้ กิดความย่ังยืนใน การผลิต จะต้องร่วมมือกนั ทุกฝ่ายทงั้ เกษตรกร ธุรกจิ ภาครัฐ ภาคเอกชน เพ่อื เชื่อมโยงเศรษฐกิจพอเพียงเข้ากับเศรษฐกิจการคา้ และ

ให้ดาเนินกจิ การควบคไู่ ปด้วยกนั ได้ การผลติ จะต้องตระหนักถึงความสัมพนั ธร์ ะหว่าง “บคุ คล” กบั “ระบบ” การผลิตน้ันต้องยึดม่นั ในเร่ืองของ “คุณคา่ ” ให้ มากกวา่ “มลู ค่า” ดังพระราชดารัส ซึ่งได้นาเสนอมากอ่ นหน้าน้ีท่ีว่า “…บารมีนน้ั คอื ทาความดี เปรยี บเทียบกบั ธนาคาร …ถา้ เราสะสมเงินให้มากเราก็สามารถทจ่ี ะใชด้ อกเบี้ย ใชเ้ งินท่ีเปน็ ดอกเบย้ี โดยไม่ แตะต้องทนุ แตถ่ ้าเราใช้มากเกิดไป หรอื เราไม่ระวงั เรากนิ เขา้ ไปในทนุ ทนุ มนั ก็นอ้ ยลง ๆ จนหมด …ไปเบิกเกินบญั ชีเขาก็ตอ้ งเอาเรอื่ ง ฟอ้ งเราใหล้ ้มละลาย เราอย่าไปเบิกเกนิ บารมีที่บ้านเมอื ง ท่ีประเทศไดส้ ร้างสมเอาไว้ตั้งแต่บรรพบรุ ุษของเราให้เกนิ ไป เราตอ้ งทาบ้าง หรอื เพ่ิมพนู ให้ประเทศของเราปกติมีอนาคตทมี่ ั่นคง บรรพบุรุษของเราแต่โบราณกาล ไดส้ ร้างบ้านเมอื งมาจนถึงเราแลว้ ในสมยั น้ีท่ีเรา กาลงั เสยี ขวัญ กลัว จะได้ไม่ต้องกลวั ถ้าเราไมร่ กั ษาไว้…” การจัดสรรทรัพยากรมาใช้เพือ่ การผลติ ท่คี านึงถึง “คุณค่า” มากกว่า “มลู คา่ ” จะกอ่ ให้เกิดความสมั พันธ์ ระหว่าง “บุคคล” กบั “ระบบ” เป็นไปอย่างยั่งยืน ไมท่ าลายทั้งทุนสังคมและทุนเศรษฐกิจ นอกจากน้ีจะต้องไมต่ ิดตารา สร้างความรู้ รัก สามคั คี และความรว่ มมอื รว่ มแรงใจ มองกาลไกลและมีระบบสนบั สนนุ ที่เป็นไปได้

พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยูห่ วั ทรงปลกู ฝงั แนวพระราชดารใิ หป้ ระชาชนยอมรับไปปฏบิ ัติอย่างต่อเนื่อง โดยให้วงจรการพัฒนาดาเนนิ ไป ตามครรลองธรรมชาติ กลา่ วคอื ทรงสร้างความตระหนักแก่ประชาชนให้รับรู้ (Awareness) ในทุกคราเม่อื เสดจ็ พระราชดาเนินไปทรง เยีย่ มประชาชนในทกุ ภูมิภาคต่าง ๆ จะทรงมีพระราชปฏิสันถารใหป้ ระชาชนได้รับทราบถึงสิง่ ท่ีควรรู้ เชน่ การปลกู หญ้าแฝกจะช่วย ป้องกนั ดินพังทลาย และใช้ปุ๋ยธรรมชาติจะช่วยประหยัดและบารุงดนิ การแก้ไขดินเปรีย้ วในภาคใตส้ ามารถกระทาได้ การ ตัดไม้ทาลาย ปา่ จะทาให้ฝนแล้ง เปน็ ตน้ ตัวอย่างพระราชดารสั ที่เก่ยี วกับการสรา้ งความตระหนักให้แกป่ ระชาชน ได้แก่ “….ประเทศไทยนี้เปน็ ท่ีทเ่ี หมาะมากในการต้ังถ่ินฐาน แต่วา่ ต้องรักษาไว้ ไมท่ าให้ประเทศไทยเป็นสวนเป็นนากลายเป็นทะเลทราย ก็ ป้องกัน ทาได้….” ทรงสร้างความสนใจแกป่ ระชาชน (Interest) หลายทา่ นคงได้ยินหรือรับฟัง โครงการอันเน่ือง มาจากพระราชดารใิ นพระบาทสมเด็จพระ เจ้าอยู่หัวทม่ี ีนามเรยี กขานแปลกหู ชวนฉงน น่าสนใจติดตามอยู่เสมอ เชน่ โครงการแก้มลงิ โครงการแกล้งดิน โครงการเส้นทางเกลือ โครงการน้าดไี ลน่ า้ เสยี หรอื โครงการนา้ สามรส ฯลฯ เหลา่ นี้ เป็นตน้ ล้วนเชญิ ชวนให้ ติดตามอย่างใกลช้ ิด แตพ่ ระองคก์ จ็ ะมพี ระราชาธิบายแต่ละโครงการอย่างละเอยี ด เปน็ ที่เขา้ ใจง่ายรวดเร็วแก่ประชาชนทง้ั ประเทศ ใน ประการตอ่ มา ทรงใหเ้ วลาในการประเมินค่าหรือประเมนิ ผล (Evaluate) ด้วยการศกึ ษาหาข้อมูลต่าง ๆ ว่าโครงการอนั เนือ่ งมาจาก พระราชดาริของพระองค์น้ันเป็นอย่างไร สามารถนาไปปฏิบตั ไิ ด้ในส่วนของตนเองหรือไม่ ซงึ่ ยังคงยดึ แนวทางท่ีใหป้ ระชาชนเลือกการ พฒั นาด้วยตนเอง ท่วี ่า “….ขอให้ถือว่าการงานท่จี ะทาน้นั ตอ้ งการเวลา เป็นงานที่มีผ้ดู าเนนิ มาก่อนแลว้ ท่านเปน็ ผทู้ ีจ่ ะเขา้ ไปเสรมิ กาลงั จึงต้องมีความอดทนท่ี จะเขา้ ไปรว่ มมือกบั ผอู้ ่นื ตอ้ งปรองดองกับเขาใหไ้ ด้ แมเ้ ห็นว่ามีจดุ หนงึ่ จุดใดตอ้ งแก้ไขปรับปรุงกต็ อ้ งค่อยพยายามแก้ไขไปตามท่ีถูกที่ ควร….”

ในขัน้ ทดลอง (Trial) เพอ่ื ทดสอบว่างานในพระราชดาริทีท่ รงแนะนานน้ั จะได้ผลหรือไม่ซึ่งในบางกรณีหากมีการทดลองไม่แนช่ ัดกท็ รง มกั จะมิให้เผยแพร่แกป่ ระชาชน หากมผี ลการทดลองจนแน่พระราชหฤทัยแล้วจึงจะออกไปสู่สาธารณชนได้ เช่น ทดลองปลกู หญ้าแฝก เพื่ออนุรกั ษ์ดนิ และนา้ นัน้ ได้มีการคน้ ควา้ หาความเหมาะสมและความเป็นไปได้จนทว่ั ท้งั ประเทศว่าดียง่ิ จงึ นาออกเผยแพร่แก่ประชาชน เป็นต้น ขัน้ ยอมรบั (Adoption) โครงการอันเน่อื งมาจากพระราชดารนิ ัน้ เมือ่ ผ่านกระบวนการมาหลายข้นั ตอน บ่ม เพาะ และมกี ารทดลองมา เปน็ เวลานาน ตลอดจนทรงให้ศนู ย์ศึกษาการพัฒนาอนั เนื่องมาจากพระราชดารแิ ละสถานทอ่ี ื่น ๆ เป็นแหล่งสาธิตทีป่ ระชาชนสามารถ เข้าไปศกึ ษาดไู ด้ถึงตัวอย่างแห่งความสาเรจ็ ดังนน้ั แนวพระราชดารขิ องพระองค์จึงเปน็ สิ่งที่ราษฎรสามารถพิสูจน์ได้ว่าจะได้รบั ผลดตี ่อ ชีวิต และความเปน็ อยขู่ องตนไดอ้ ยา่ งไร แนวพระราชดารทิ ัง้ หลายดังกล่าวขา้ งตน้ นี้ แสดงถึงพระวิริยะอุตสาหะท่พี ระบาทสมเด็จพระเจ้าอยหู่ วั ทรงทุม่ เทพระสติปญั ญา ตรากตรา พระวรกาย เพื่อคน้ คว้าหาแนวทางการพฒั นาใหพ้ สกนกิ รทัง้ หลายไดม้ ีความร่มเยน็ เปน็ สขุ สถาพรยงั่ ยืนนาน นบั เป็นพระมหากรณุ าธคิ ณุ อันใหญ่หลวงทีไ่ ดพ้ ระราชทานแก่ปวงไทยตลอดเวลามากกวา่ 50 ปี จงึ กล่าวไดว้ า่ พระราชกรณียกจิ ของพระองคน์ น้ั สมควรอย่างย่งิ ท่ีทวย ราษฎรจักไดเ้ จริญรอยตามเบือ้ งพระยุคลบาท ตามทท่ี รงแนะนา สง่ั สอน อบรมและวางแนวทางไว้เพือ่ ให้เกิดการอยูด่ ีมสี ุขโดยถ้วนเชน่ กนั โดยการพฒั นาประเทศจาเปน็ ต้องทาตามลาดบั ขึ้นตอนตอ้ งสร้างพื้นฐาน คือ ความพอมี พอกิน พอใช้ ของประชาชนส่วนใหญเ่ ป็น เบอ้ื งต้นก่อน โดยใช้วธิ ีการและอปุ กรณ์ที่ประหยัด แตถ่ ูกต้องตาหลักวชิ าการ เพอ่ื ได้พืน้ ฐานทม่ี ่ันคงพร้อมพอสมควรและปฏิบตั ไิ ด้แลว้ จงึ ค่อยสรา้ งค่อยเสรมิ ความเจริญ และฐานะทางเศรษฐกิจขึ้นทส่ี งู ขึ้นไปตามลาดับ จะก่อใหเ้ กดิ ความย่ังยนื และจะนาไปสคู่ วามเข้มแขง็ ของครอบครวั ชมุ ชน และสงั คม สุดทา้ ยเศรษฐกจิ ดี สังคมไม่มีปัญหา การพัฒนาย่งั ยนื

ประการทีส่ าคญั ของเศรษฐกิจพอเพียง 1. พอมีพอกนิ ปลกู พืชสวนครัวไว้กินเองบา้ ง ปลูกไม้ผลไว้หลงั บ้าน 2-3 ตน้ พอท่ีจะมีไว้กนิ เองในครวั เรอื น เหลือจงึ ขายไป 2. พออยู่พอใช้ ทาใหบ้ า้ นน่าอยู่ ปราศจากสารเคมี กลนิ่ เหม็น ใช้แตข่ องท่ีเปน็ ธรรมชาติ (ใช้จลุ ินทรีย์ผสมนา้ ถพู ้นื บ้าน จะสะอาดกวา่ ใช้ นา้ ยาเคมี) รายจา่ ยลดลง สขุ ภาพจะดขี ้ึน (ประหยัดค่ารักษาพยาบาล) 3. พออกพอใจ เราต้องรู้จักพอ รู้จักประมาณตน ไม่ใครอ่ ยากใคร่มเี ช่นผ้อู ่ืน เพราะเราจะหลงติดกับวตั ถุ ปญั ญาจะไมเ่ กิด \" การจะเปน็ เสอื นน้ั มนั ไมส่ าคัญ สาคัญอยู่ท่ีเราพออยพู่ อกิน และมีเศรษฐกิจการเปน็ อยู่แบบพอมพี อกนิ แบบพอมพี อกนิ หมายความว่า อ้มุ ชูตัวเองได้ ให้มีพอเพียงกบั ตัวเอง \" \"เศรษฐกิจพอเพียง\" จะสาเรจ็ ได้ดว้ ย \"ความพอดีของตน\"


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook