2011Design Guidelines for Jaroen Rat Road,WatkateChiang Mai, Thailandแนวทางการออกแบบสถาปัตยกรรมยา่ นถนนเจรญิ ราษฏร์จัดทำ�โดย: ธนิต ชมุ แสง และคณะสนบั สนุนโดย: สถาบันศกึ ษานโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ แผนงานสร้างเสรมิ นโยบายสาธารณะที่ดี (นสธ.)
แนวทางการออกแบบสถาปตั ยกรรมยา่ นถนนเจรญิ ราษฏร์จัดท�ำ โดย: ธนิต ชมุ แสง และคณะสนับสนุนโดย: สถาบันศกึ ษานโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลยั เชยี งใหม่ แผนงานสร้างเสรมิ นโยบายสาธารณะท่ีดี (นสธ.)
แนวทางการออกแบบสถาปตั ยกรรมยา่ นถนนเจรญิ ราษฏร์คณะผูจ้ ัดทำ�: นายธนิต ชมุ แสง ผจู้ ัดการโครงการ สถาปนกิ และนักผงั เมอื ง นายขวญั ชยั สธุ รรมซาว สถาปนิก นายรณชยั ขันปญั ญา สถาปนิก นายมานพ นลิ สนธิ สถาปนิก นายณัฐพล จันทรวงศ ์ สถาปนิก นางสาวจริยา เรืองเดช สถาปนิก นายศกั ด์ิชยั ทองพนั ชั่ง วศิ วกรโยธาสนบั สนุนโดย: สถาบันศึกษานโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ แผนงานสร้างเสรมิ นโยบายสาธารณะท่ีดี (นสธ.)ปีทีพ่ ิมพ:์ ตุลาคม 2554ออกแบบ/จดั พมิ พ์: ล๊อคอนิ ดีไซนเ์ วิร์ค 053-213558
ค�ำ นำ�จากผู้อำ�นวยการแผนงาน นสธ. “สถาปตั ยกรรมเปน็ สงิ่ บง่ บอกและสะทอ้ นถงึ อารยธรรม ประวตั ศิ าสตร์ ความเปน็ มา ขนบธรรมเนยี มประเพณขี องพนื้ ถนิ่ นนั้ การอนรุ กั ษร์ กั ษารปู แบบทางสถาปตั ยกรรมเปน็ สว่ นส�ำ คญั ทจ่ี ะถา่ ยทอดเรอ่ื งราวถงึ ความเปน็ มาของทอ้ งถน่ิ …” ธนติ ชมุ แสง และคณะ แผนงานสรา้ งเสรมิ นโยบายสาธารณะทด่ี ี (นสธ.) สถาบนั ศกึ ษานโยบายสาธารณะ มหาวทิ ยาลยั เชยี งใหม่ ภายใตก้ ารสนบั สนนุของสำ�นักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) เป็นแผนงานที่จัดตั้งข้ึนโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาวิจัยและพัฒนานโยบายสาธารณะเพอื่ สขุ ภาวะทด่ี ขี องสงั คม การด�ำ เนนิ งานดา้ นการจดั การผงั เมอื งและการใชป้ ระโยชนท์ ด่ี นิ ถอื เปน็ นโยบายสาธารณะด้านหน่ึงที่ทางแผนงานฯ สนใจและให้การสนับสนุนทางวิชาการมาอย่างต่อเน่ือง โดยเฉพาะบริเวณถนนเจริญราษฎร์ ย่านวัดเกตในเขตเทศบาลนครเชียงใหม่เป็นพื้นท่ีหนึ่งท่ีทางแผนงานฯ ได้มีความร่วมมือทางวิชาการกับภาคีเครือข่าย อันประกอบด้วยภาคประชาชนย่านวัดเกต และเทศบาลนครเชียงใหม่ ในการผลักดันนโยบายสาธารณะด้านการอนุรักษ์สถาปัตยกรรมท้องถ่ินตามแนวทางที่กำ�หนดไว้ในรา่ งผังเมืองรวมเชยี งใหม่จนมีความกา้ วหนา้ ตามลำ�ดับ คู่มือแนวทางการออกแบบสถาปัตยกรรมย่านถนนเจริญราษฎร์ ตำ�บลวัดเกต อำ�เภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่น้ี จัดทำ�ขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์เพ่ือเป็นเคร่ืองมือสนับสนุนการกำ�หนดกรอบและแนวทางการออกแบบอาคารใหม่ และการปรับปรุงอาคารเก่าให้สอดคล้องและเหมาะสมกับลักษณะทางสถาปัตยกรรมดั้งเดิมซึ่งเป็นเอกลักษณ์ของย่านวัดเกต ถือเป็นมาตรการหน่ึงในการผลักดนั นโยบายสาธารณะด้านการอนุรกั ษ์สถาปตั ยกรรมท้องถิ่นในเชงิ รุก ทางแผนงาน นสธ. ขอขอบคุณ คุณธนิต ชุมแสง และคณะนักวิจัย ผู้จัดทำ�คู่มือแนวทางการออกแบบสถาปัตยกรรมย่านถนนเจรญิ ราษฎร์ เทศบาลนครเชียงใหม่ ผ้แู ทนภาคประชาชนยา่ นวัดเกต และสว่ นราชการอ่นื ๆ ทเ่ี กย่ี วข้อง ท่ีใหค้ วามร่วมมอื กบัทางแผนงานฯ ด้วยดีเสมอมา ทางแผนงานฯ หวังเป็นอย่างยิ่งว่าคู่มือแนวทางการออกแบบสถาปัตยกรรมย่านถนนเจริญราษฎร์น้ีจะมีส่วนช่วยให้ทุกภาคส่วนเกิดความตระหนักถึงคุณค่า และร่วมกันอนุรักษ์สถาปัตยกรรมย่านวัดเกตให้คงอยู่เป็นเอกลักษณ์ของจงั หวัดเชียงใหม่ สบื ตอ่ ไป ศาสตราจารย์ ดร.มง่ิ สรรพ์ ขาวสอาด ผอู้ ำ�นวยการแผนงาน นสธ.
คำ�น�ำ จากนายกเทศมนตรนี ครเชียงใหม่ เมอื งเชยี งใหม่ เปน็ เมืองที่มีความสำ�คญั ทางประวตั ศิ าสตร์ ท่ีสงั่ สมและสบื ทอดมรดกทางวัฒนธรรมและวิถชี ีวิตทีม่ เี อกลกั ษณ์เฉพาะตนมายาวนานมากกว่า 700 ปี ทั้งภาษาพดู ภาษาเขียน การแต่งกาย และรปู ลกั ษณท์ างสถาปัตยกรรมของอาคารบ้านเรอื นรา้ นค้า โบราณสถาน และสถานท่ที ่มี ีความสำ�คญั ทางประวัติศาสตร์ ซึง่ ปจั จุบนั ยังคงเห็นอยู่ไดอ้ ย่างชัดเจนในบริเวณย่านท่ีมคี วามสำ�คัญทางประวัติศาสตร์ โดยเฉพาะย่านวัดเกตหรือย่านถนนเจริญราษฎร์ ย่านวัวลาย ย่านศรีสุพรรณ-นันทาราม ที่สร้างความภาคภูมิใจและยังคงมนต์เสน่ห์ตรงึ ใจแกผ่ พู้ บเห็นตลอดมา ผมขอชน่ื ชมกบั ยา่ นวดั เกตุ ทแี่ มว้ า่ กาลเวลาจะผา่ นมานานเทา่ ใด ยา่ นวดั เกตกส็ ามารถ ผา่ นเหตกุ ารณต์ า่ งๆ มากมายของกระแสโลกโลกาภวิ ตั นท์ ง้ั ทางดา้ นเศรษฐกจิ และสงั คมท่เี ข้ามากระทบต่อวฒั นธรรมและวิถีชีวติ ดง้ั เดมิ ของชุมชนได้อยา่ งกลมกลืน ไม่วา่ จะเป็นสถานประกอบการ โรงแรม รา้ นค้า และอาคารบ้านเรอื น ทย่ี งั คงดำ�รงรักษารูปลักษณท์ างสถาปตั ยกรรมที่มีความหลากหลายของกลมุ่ ชาตพิ นั ธ์ุ และมอี ตั ตลกั ษณเ์ ฉพาะตนไวไ้ ดเ้ ปน็ อยา่ งดแี ละเปน็ ทย่ี อมรบั ของสงั คม จนไดร้ บั รางวลั อนรุ กั ษศ์ ลิ ปสถาปตั ยกรรมดีเดน่ ประเภทชุมชนพนื้ ถิน่ ประจ�ำ ปี พ.ศ. 2548 จากการพจิ ารณาของสมาคมสถาปนกิ สยามในพระบรมราชูปถมั ภ์ เทศบาลนครเชยี งใหม่ ขอขอบคณุ สถาบนั ศกึ ษานโยบายสาธารณะ มหาวทิ ยาลยั เชยี งใหม่ ท่ีไดร้ ว่ มกบั ผทู้ รงคณุ วฒุ ิ นกั วชิ าการและย่านวัดเกต ท่ีได้จัดทำ�เอกสารแนวทางออกแบบสถาปัตยกรรมย่านถนนเจริญราษฎร์ เพ่ือใช้เป็นแนวทางการออกแบบของเจา้ ของอาคาร เจา้ ของทด่ี นิ สถาปนกิ นกั ออกแบบและหนว่ ยงานทเี่ กย่ี วขอ้ ง ไดต้ ระหนกั และใหค้ วามส�ำ คญั ในการออกแบบอาคารใหม่หรอื ปรบั ปรงุ อาคารเกา่ ใหส้ อดคลอ้ งและเหมาะสมกับลกั ษณะทางสถาปัตยกรรมที่มีเอกลกั ษณ์ของยา่ นสืบต่อไป นายทัศนยั บรู ณปุ กรณ์ นายกเทศมนตรนี ครเชยี งใหม่
สารบัญ6 ความเป็นมา8 ประวตั โิ ดยยอ่ ของยา่ นวัดเกต9 เปา้ หมายและวตั ถุประสงคแ์ นวทางการออกแบบอาคารหรอื สถาปตั ยกรรม18 ผังการส�ำ รวจและประเมนิ อาคาร20 แนวทางการออกแบบสถาปัตยกรรม (Design Guideline)21 การเรม่ิ ตน้ ปรับปรุงโดยท่วั ไป25 การปรับปรุงซอ่ มแซม อาคารท่ีมคี ุณคา่ แก่การอนรุ ักษ์31 การออกแบบปรับปรงุ ซ่อมแซมอาคารโดยทั่วไป41 การออกแบบอาคารหรือโครงการใหม่ในท่ีดินท่ีวา่ งเปล่า59 แนวทางการออกแบบส�ำ หรบั การจัดการสาธารณปู โภคและส่งิ อ�ำ นวยสะดวกบนถนนเจรญิ ราษฎร์69 ภาคผนวก
แนวทางออกแบบสถาปัตยกรรมยา่ นถนนเจริญราษฏร์ความเป็นมา เมืองเชียงใหม่ประสบกับปัญหาต่างๆ มุ่งจะสร้างความงามและความสะดวกแก่ ความเป็นมา ขนบธรรมเนียม ประเพณีเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมของเมือง ในช่วง ตัวเองโดยไม่ได้คำ�นึงถึงการอยู่รวมกัน ของพ้ืนถิ่นน้ัน การอนุรักษ์รักษารูปแบบระยะเวลาท่ีผ่านมา อาทิเช่น ปัญหาการ อย่างมีความสัมพันธ์กลมกลืนและเคารพ ทางสถาปัตยกรรมเป็นส่วนสำ�คัญที่จะคุกคามของมลภาวะ ความสับสนของ ซงึ่ กนั และกนั ต่อเมอื งและตอ่ เอกลกั ษณ์ ถ่ายทอดเรื่องราว ถึงความเป็นมาของรูปลักษณ์ของเมือง อาคารที่ไม่น่า ของเมอื งรวมทง้ั สิง่ แวดลอ้ มของเมือง ทอ้ งถิ่นชวนมอง การจัดการกับพื้นที่ว่าง สถาปัตยกรรมเป็นสิ่งบ่งบอกและ ยา่ นถนนเจรญิ ราษฎร์ หรอื ยา่ นวดั เกตสาธารณะ การครอบงำ�ของอาคาร สะท้อนถึงอารยะธรรม ประวัติศาสตร์ เป็นถนนท่ีตั้งอยู่ขนานกับแม่นํ้าปิงฝ่ังทิศต่อมุมมองสำ�คัญของเมือง และทัศนะอุจาด เป็นตน้ เมืองเชียงใหม่ได้ชื่อว่าเป็นเมืองที่มีค ว า ม สำ � คั ญ อั น ดั บ ส อ ง ร อ ง จ า กกรุงเทพมหานครซ่ึงเป็นเมืองหลวงของไทย และเป็นเมืองแห่งประวัติศาสตร์ท่ีสำ�คัญอันยาวนาน อีกทั้งมีศิลปวัฒนธรรมรวมทั้งสถาปัตยกรรมท่ีเป็นเอกลักษณ์เฉพาะท่ีโดดเด่น และส่ิงที่ไม่คาดหวังก็เกิดข้ึนในช่วงระยะเวลาหน่ึงของการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจค ว า ม ต้ อ ง ก า ร ข อ ง ป ร ะ ช า ช น แ ล ะนั ก ท่ อ ง เ ท่ี ย ว ซ่ึ ง ส่ ง ผ ล ทำ � ใ ห้ เ กิ ดก าร ส ร้ า ง อ า ค าร ถ า ว ร วั ต ถุ ต่ า ง ๆอาทิ เช่น อาคารร้านค้า โรงแรมคอนโดมิเนียม ข้ึนเพ่ือตอบสนองความต้องการของความเจริญดังกล่าวสิ่งก่อสร้างต่างๆ ส่วนใหญ่มีลักษณะท่ี6
แนวทางออกแบบสถาปัตยกรรมย่านถนนเจรญิ ราษฏร์ตะวันออกของเมืองเชียงใหม่และเป็นยา่ นหนง่ึ ทมี่ คี วามส�ำ คญั ตอ่ ประวตั ศิ าสตร์ของเมืองท่ีควรค่าต่อการอนุรักษ์รักษาไว้ในปัจจุบันสภาพพ้ืนท่ีประกอบด้วยอาคารหรือสถาปัตยกรรมที่ยังคงเหลือไว้เป็นอาคารด้ังเดิมที่มีคุณค่าต่อการอนุรักษ์อาคารทตี่ อ้ งการปรบั ปรงุ ซอ่ มแซม รวมทง้ัโครงการหรืออาคารใหม่ท่ีจะเกิดขึ้นในอนาคต อนึ่งหากไม่มีแนวทางสำ�หรับการออกแบบอาคารหรือสถาปัตยกรรม(Design Guidelines) ไม่ว่าจะเป็นการซอ่ มแซมอาคารดงั้ เดมิ ทมี่ คี ณุ คา่ หรอื การปรับปรุงอาคารทั่วไป รวมทั้งโครงการหรืออาคารที่จะเกิดขึ้นในอนาคตเหล่านั้นก็จะมีความเป็นไปได้ว่ารูปลักษณะของย่านวัดเกตหรือถนนเจริญราษฏร์จะเกิดความเปล่ียนแปลงโดยไม่เหลือสภาพของย่านที่มีความสำ�คัญต่อประวัติศาตร์เมืองเชยี งใหม่ใหล้ กู หลานได้ภาคภูมใิ จ ออกแบบอาคารนี้ ไม่ใช่เปน็ ลกั ษณะปรบั รวมทั้งสิ่งแวดล้อมของเมืองเชียงใหม่ ดังน้ัน แนวทางการออกแบบอาคาร เปลย่ี นจากด�ำ ใหเ้ ปน็ ขาว หรอื เปน็ ทางเลอื ก ให้ดีข้ึน ในระยะเวลาอัน ส้ัน หรือหรือสถาปัตยกรรม (Design Guidelines) บังคับท่ีเด็ดขาด หากแต่ว่าเป็นการทำ�ให้ ระยะเวลายาวของความสำ�เร็จนั้นข้ึนอยู่ฉบับนี้จะช่วยเป็นแนวทางสำ�หรับให้ เกดิ ความสมดลุ ความเปน็ ไปไดข้ องความ กับความสนใจและการมีส่วนร่วมของเจ้าของอาคาร เจ้าของท่ีดิน สถาปนิก มีคุณภาพท่ีดีและความเป็นอยู่ของคนกับ ผู้ท่ีมีหน้าที่รับผิดชอบท้ังเจ้าหน้าท่ีของรัฐนักออกแบบในส่วนต่างๆ ให้พิจารณาถึง ส่ิงแวดล้อม การอยู่รวมกันอย่างมีความ และประชาชนในยา่ นนเ้ี องการออกแบบ เพอื่ ใหเ้ หมาะสม สอดคลอ้ ง สัมพันธ์กลมกลืนและเคารพซึ่งกันและเคารพซึ่งกันและกัน และแนวทางการ กันต่อย่านและต่อเอกลักษณ์ของเมือง 7
แนวทางออกแบบสถาปัตยกรรมยา่ นถนนเจริญราษฏร์ประวตั โิ ดยย่อของยา่ นวัดเกต ของเรอื สนิ คา้ จากทต่ี า่ งๆ จนสง่ ผลใหย้ า่ น นาํ้ มนั ป๊ีบ เป็นตน้ วัดเกตกลายเป็นแหล่งพำ�นักของพ่อค้า ความเจริญรุ่งเรืองย่านวัดเกตยังคง หลากหลายเชื้อชาติ เช่น ชาวอังกฤษ ปรากฎหลักฐานให้เห็นจนทุกวันน้ี เข้ามาต้ังบริษัทบอร์เนียวค้าไม้สัก จากอาคารที่เคยเป็นที่อยู่อาศัยและบริษัท กลมุ่ หมอสอนศาสนาเขา้ มาตง้ั โรงพยาบาล ห้างร้านของชุมชนชาติต่างๆ ทุกวันนี้ แมคคอร์มิค โรงเรียนปรินส์รอแยล หากเราเดินเข้าไปในย่านน้ี เราจะพบ วทิ ยาลยั และโรงเรียนดาราวทิ ยาลยั ชาว ศาสนสถานท้ังของชาวพุทธ ชาวคริสต์ จีนเปิดร้านคา้ ขาย เช่น รา้ นกวงเอี้ย ของ อิสลาม และชาวซิกข์ พบบ้านเรือนที่ นายเซง่ โอก แซน่ ม้ิ ขายผ้าฝ้าย รา้ นค้าส่ง ยงั คงรปู แบบของสถาปตั ยกรรมทอ่ี ายรุ ว่ ม มีหลักฐานว่าชุมชนวัดเกตต้ังถ่ินฐาน ของแปะอยุ และร้านของจนี อ๊ทุ ่ขี ายสินค้า 100 ปี ทัง้ บ้านเรอื นทที่ �ำ ดว้ ยไม้สกั อย่างดีอาศัยอยู่ท่ีน่ีอย่างต่อเนื่องมาตั้งแต่ปลาย จากกรุงเทพฯ เช่น ผ้า ปลาทูเค็ม และ และอาคารกอ่ อิฐถือปนูสมัยการปกครองของพม่า (หรืออาจจะก่อนหน้าน้ัน) เน่ืองจากมีการกล่าวถึงการใช้ท่าเรือวัดเกตมาตั้งแต่ช่วงเวลาดั ง ก ล่ า ว ต่ อ เ นื่ อ ง ม า จ น ถึ ง ส มั ยรัตนโกสินทร์ เช่น เม่ือพระเจ้ากาวิละ(พ.ศ. 2317-2325) เสด็จกลับจากการเดินทางไปเข้าเฝ้ารชั กาลท่ี 1 ที่กรงุ เทพฯพระองคเ์ สดจ็ มาขึน้ ทีท่ า่ วดั เกต ย่านนี้เร่ิมมีความคึกคักมากมาตั้งแต่ช่วงปลายรัชกาลที่ 3–ต้นรัชกาลที่ 4เป็นต้นมา เม่ือการค้าทางเรือระหว่างเชียงใหม่และกรุงเทพฯ เติบโตมากขึ้นท่าวัดเกตกลายเป็นท่าเทียบเรือสำ�คัญ8
แนวทางออกแบบสถาปตั ยกรรมยา่ นถนนเจรญิ ราษฏร์เปา้ หมายและวัตถปุ ระสงคแ์ นวทางการออกแบบอาคารหรือสถาปตั ยกรรม• เพือ่ อนุรกั ษร์ ูปลักษณะทางสถาปตั ยกรรมทมี่ คี วามสำ�คญั ทางประวตั ิศาสตร์ แบบด้งั เดมิ ของยา่ นถนนเจรญิ ราษฎร์• เพื่อกำ�หนดกรอบและแนวทางการออกแบบอาคารใหม่และปรับปรุงอาคารเก่าให้สอดคล้องและเหมาะสมกับลักษณะทาง สถาปัตยกรรมทีม่ เี อกลักษณ์ของย่าน• เพื่อส่งเสรมิ ใหเ้ จา้ ของอาคารในยา่ นได้ตระหนกั ถึงการได้มีสว่ นรว่ มในการสรา้ งเอกลักษณ์ ท่ีมคี ุณค่าใหแ้ ก่ยา่ น• เพือ่ ป้องกนั การเกดิ อาคารทแ่ี ปลกปลอมทจี่ ะเกดิ ข้นึ มาในย่านอนรุ ักษแ์ หง่ นี้• เพ่ือส่งเสริมให้มีการจัดระบบสาธารณูปโภค ส่ิงอำ�นวยความสะดวก ในแนวถนนเจริญราษฎร์ ให้มีความสะดวกและมีระเบียบ มากยิง่ ข้นึ• เพอ่ื ส่งเสรมิ ใหย้ า่ นถนนเจรญิ ราษฎรเ์ ป็นแหล่งทอ่ งเท่ียวท่ียงั่ ยืนของจังหวัดเชียงใหม่ผู้ทเี่ ก่ียวข้องกบั การใช้แนวทางการออกแบบอาคาร (Design guidelines)• เจา้ ของท่ดี นิ หรือเจ้าของอาคารในย่านถนนเจริญราษฎร์ เพอ่ื ส�ำ หรบั เปน็ แนวทางในการออกแบบและตดั สนิ ใจในการออกแบบอาคารใหมแ่ ละปรบั ปรงุ อาคารเดมิ เพอ่ื ใหส้ อดคลอ้ งกบั อาคาร ด้ังเดิมในยา่ น• สถาปนิก นักออกแบบ และนกั พัฒนาทด่ี ิน เพื่อให้สถาปนิกนักออกแบบ และนักพัฒนาท่ีดินได้คำ�นึงถึงการออกแบบท่ีเคารพและสอดคล้องเหมาะสมกับบริบทด้ังเดิม ของย่าน ท้งั ปจั จุบันและในอนาคต• เจา้ หน้าทีข่ องรฐั ทเ่ี ก่ยี วขอ้ ง เพ่ือเป็นแนวทางในการแนะนำ�ผู้ยื่นขออนุญาตก่อสร้างดัดแปลง ต่อเติมอาคารในย่าน รวมท้ังเป็นแนวนโยบายของภาครัฐ ท่จี ะมีสว่ นร่วมเพือ่ ส่งเสริมเอกลกั ษณข์ องอาคารในย่านถนนเจรญิ ราษฎร์ และแนวทางการออกแบบสิง่ อ�ำ นวยความสะดวกตา่ งๆ ใหเ้ หมาะสม 9
แนวทางออกแบบสถาปตั ยกรรมย่านถนนเจริญราษฏร์ เทคนคิ การหาผู้ออกแบบ ออกแบบอาคารในย่าน เจา้ ของทด่ี นิ หรอื นกั พฒั นาทด่ี นิ ควรจะเลอื กผอู้ อกแบบโครงการในยา่ นถนนเจรญิ ราษฎร์ โดยคำ�นึงถึง • ผู้ออกแบบที่เข้าใจถึงงานออกแบบในเชิงอนุรักษ์ โดยเฉพาะสถาปัตยกรรมแบบ ลา้ นนา • ผู้ออกแบบทเี่ ขา้ ใจถึงรูปลกั ษณะสถาปัตยกรรมด้ังเดมิ ของยา่ นถนนเจรญิ ราษฎร์ • ผู้ออกแบบท่ีเข้าใจถึงการอยู่ร่วมกันระหว่างอาคารใหม่ อาคารปรับปรุงกับ อาคารดั้งเดิมหรอื อาคารอนรุ ักษ์ การใช้คู่มือแนวทางการออกแบบ • ตรวจสอบรูปแบบและองคป์ ระกอบต่างๆ ในคมู่ ือแนวทางการออกแบบ เพอื่ ใช้เปน็ แนวทางออกแบบอาคาร • แนวทางในการออกแบบในคู่มือน้ีไม่ได้กำ�หนดบังคับให้ต้องออกแบบตามรูปแบบ ที่มีไว้ เพียงแต่เป็นแนวทางเพ่ือให้มีความสอดคล้อง เหมาะสมกับบริบทด้ังเดิม ของย่าน ขอบเขตของโครงการ พนื้ ทโี่ ครงการครอบคลมุ พน้ื ทภ่ี ายในบรเิ วณถนนเจรญิ ราษฎร์ ต�ำ บลวดั เกต อ�ำ เภอเมอื ง จงั หวดั เชยี งใหม่ ตง้ั แตแ่ ยกเชงิ สะพานนวรฐั ถงึ แยกสะพานเฉลมิ พระเกยี รติ ความกวา้ ง นบั ต้งั แต่เส้นก่งึ กลางถนน ดา้ นทิศตะวันตกจดแมน่ าํ้ ปิง ทศิ ตะวันออก วดั ระยะออกไป ประมาณ 50 เมตร10
แนวทางออกแบบสถาปตั ยกรรมยา่ นถนนเจรญิ ราษฏร์อะไรคือลกั ษณะเฉพาะของยา่ นลักษณะโดยท่ัวไปของสถาปัตยกรรมของย่านถนนเจริญราษฎร์ ในช่วงระหว่างสะพานนวรัฐ-สะพานนครพิงค์ น้ันมีการใช้งานของอาคารส่วนใหญ่ในเชิงพาณิชยกรรม ตั้งแต่ในอดีตจนถึงปัจจุบัน มีการประกอบกิจการค้าขายสินค้า ของที่ระลึก หัตถกรรมของตกแต่งบ้าน ร้านอาหาร และอ่ืนๆ ผสมผสานกัน ส่วนต้ังแต่ช่วงสะพานนครพิงค์-สะพานเฉลิมพระเกียรติ ส่วนใหญ่เป็นย่านท่พี กั อาศัยลกั ษณะเฉพาะจุดทีต่ งั้ ของย่าน• เป็นยา่ นไดร้ ับรางวัลพระราชทานจากสมเดจ็ พระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราช กมุ ารี โดยการคดั เลอื กจากสมาคมสถาปนกิ สยาม ในพระบรมราชปู ถมั ภ์ เปน็ รางวลั อนรุ กั ษ์ศิลปะสถาปตั ยกรรมดเี ด่น ประเภทชุมชนท้องถน่ิ ประจ�ำ ปี 2548• อาคารหลายอาคารได้รับรางวัลอนุรักษ์ดีเด่น จากกรรมาธิการสถาปนิกล้านนา สมาคมสถาปนกิ สยาม ในพระบรมราชปู ถมั ภ์ เชน่ อาคารรา้ นเดอะแกลลอรี่ อาคาร รา้ นวลิ าสินี เปน็ ตน้• เป็นถนนที่ขนานเลียบตลอดแม่น้ําปิงทางด้านทิศตะวันออกของเมืองเชียงใหม่ บางจดุ สามารถเขา้ ถงึ แมน่ ้ําได้• อาคารส่วนใหญ่จะขนานชิดกับแนวถนนเจริญราษฎร์ ตามการวางอาคารแบบ ดง้ั เดิมทีม่ ีวัตถุประสงค์ทจี่ ะให้ผู้คนท่เี ดินผ่านไปผ่านมาได้เข้าถงึ อาคารไดส้ ะดวก• เปน็ ย่านทีเ่ ปน็ จดุ ทีม่ ีนักทอ่ งเทยี่ วทงั้ ชาวไทยและตา่ งประเทศนิยมเข้าเยยี่ มเยือน• มีร้านจำ�หนา่ ยสนิ คา้ ของทรี่ ะลกึ ของตกแตง่ บ้าน ตลอดจนร้านคา้ ตา่ งๆ ทีน่ า่ สนใจ• อาคารสว่ นใหญย่ งั คงมกี ารอนรุ กั ษท์ มี่ อี ายุ50-100 ปี ลกั ษณะของอาคารแบบดง้ั เดมิ อาคารรา้ นคา้ ส่วนใหญ่จะมคี วามสงู เพียง 1-2 ชัน้ มกี ารใชว้ สั ดพุ นื้ ถนิ่ อาทเิ ช่น ไม้ และอฐิ เป็นต้น 11
แนวทางออกแบบสถาปัตยกรรมยา่ นถนนเจริญราษฏร์• ผคู้ นในยา่ นมคี วามกระตอื รอื รน้ ในการรกั ษาเอกลกั ษณท์ างสถาปตั ยกรรมตลอดจน วิถชี วี ิต ขนบธรรมเนียมประเพณี• ในบรเิ วณเชงิ สะพานนวรฐั ดา้ นตรงขา้ มโบสถค์ รสิ ตจกั รท่ี 1 เชยี งใหม่ จดั ใหเ้ ปน็ พนื้ ท่ี สวนสาธารณะส�ำ หรับประชาชนสามารถประกอบกจิ กรรมต่างๆ• มีความหลากหลายของสถาปัตยกรรม ทั้งรูปแบบของศาสนสถานท้ังวัดพุทธ โบสถ์คริสเตียน มัสยิดอิสลาม และวัดซิกข์ รวมทั้งอาคารแบบผสมล้านนา จีน และตะวนั ตก รูปแบบของสถาปตั ยกรรม ของย่าน อาคารในย่านถนนเจริญราษฏร์ประกอบ ไปด้วยอาคารประเภทต่างๆ แยกออก ได้เป็น 3 ประเภทใหญ่ๆ ตามสภาพการ ใชง้ านไดด้ งั นี้ 1. อาคารเพ่อื การพาณชิ ยกรรม 2. อาคารเพื่อการพกั อาศัย 3. อาคารทางศาสนาและสาธารณะ12
แนวทางออกแบบสถาปัตยกรรมย่านถนนเจริญราษฏร์1พ.า อณาคิชายรกเพรรอื่ มการอาคารร้านค้าเรียกกันว่า “เฮือนแป”มีลักษณะคล้ายห้องแถวปลูกยาวติดต่อกันไปตามความยาวของถนนมีทั้งท่ีเป็นชั้นเดียวและสองชั้น ส่วนใหญ่ด้านหน้าที่ติดกับถนนจะเป็นส่วนค้าขาย ด้านหลังและช้นั บน จะเป็นสว่ นพกั อาศัย ลักษณะเช่นนี้พบเห็นท่ัวไปในย่าน อย่างไรก็ตามรูปแบบของอาคารพาณิชย์ก็ได้มีการแปรเปล่ียนไปจากเดิม อันเป็นผลสืบเน่ืองมาจากการผสมผสานระหวา่ งรปู แบบทอ้ งถนิ่กับรูปแบบต่างถิ่นท่ีเข้ามามีอิทธิพลใน เฮือนไม้ อาคารอฐิ แบบจีนแต่ละยุคสมัย จนเกิดเป็นอาคารพาณิชย์หลากหลายรปู แบบ ไดแ้ ก่ เปน็ รปู แบบทเ่ี กา่ แกท่ สี่ ดุ มโี ครงสรา้ งเปน็ เป็นลักษณะสถาปัตยกรรมท่ีเข้ามาพร้อม ไม้ยกพื้นสูงจากระดับถนนเล็กน้อยเพ่ือ กับคนจีนที่มาค้าขายในย่าน เม่ือมีการ ให้เหมาะสมกับลักษณะการค้าขายของ สรา้ งทางรถไฟในเชยี งใหม่ อาคารชนิดนี้ ชาวย่าน เรอื นไม้ในยุคแรกเรมิ่ นั้นท�ำ เปน็ เป็นอาคารก่ออิฐถือปูน สร้างติดดินตาม ห้องเดียวในอาคารหน่ึงหลังไม่ต่อเน่ือง ลักษณะท่ีคนจีนคุ้นเคยในการอยู่อาศัย ต่อมาจึงได้นิยมสร้างกันเป็นหลายห้อง และค้าขาย ด้านหน้าอาคารประดับด้วย ในอาคารแตล่ ะหลงั ในขณะเดยี วกนั ความ ลวดลายเซรามิกจีน ภายหลังมีการใช้ไม้ สูงของเรือนไม้ประเภทนี้มีต้ังแต่ช้ันเดียว เขา้ มาแทนทอี่ ฐิ ในการทำ�ผนงั ไปจนถึงสองชั้น หลังคาลาดชันมุงด้วย กระเบอื้ งดนิ ขอ หรอื ไมแ้ ป้นเกลด็ 13
แนวทางออกแบบสถาปัตยกรรมยา่ นถนนเจรญิ ราษฏร์หอ้ งแถวเปน็ อาคารสองชนั้ กอ่ อิฐฉาบปูน ลักษณะเดน่ ของหอ้ งแถวคอื ชน้ั ลา่ งดา้ นหนา้ อาคารจะจัดเป็นทางเดิน ช้ันบนจะมีระเบียงย่ืนออกมาประดับด้วยลายปูนป้ัน หรือลายฉลุไม้ โครงสร้างมีการใช้อิฐก่อรับน้ําหนัก หรือเป็นการผสมกันในรูปแบบครง่ึ ตึกคร่งึ ไม้14
แนวทางออกแบบสถาปตั ยกรรมย่านถนนเจรญิ ราษฏร์2. อาคารเพ่ือการพกั อาศยัในย่านนี้ มีอาคารเพ่ือการพักอาศัยอยู่หลายประเภทด้วยกัน จัดแบ่งตามสภาพการใช้งาน ชนดิ วสั ดกุ อ่ สร้างท่ีใช้และรูปแบบของอาคารได้ดงั นี้ เรือนไม้ เป็นอาคารพักอาศัยที่ทำ�จากไม้ หลังคา จ่ัวยาวและลาดชันเพื่อการระบายนํ้าฝน ตัวเรือนยกสูงจากพ้ืนดินประมาณ 0.50 เมตร การเจาะช่องหน้าต่าง ประตู ค่อนข้างจำ�กัด ท�ำ ให้รปู ทรงค่อนขา้ งป้อม และเต้ยี ซ่ึงเปน็ ลกั ษณะของบา้ นเรอื นใน ล้านนา เรือนไม้มีท้ังเป็นหลังเดี่ยว และ เป็นหมู่หลายหลังข้ึนอยู่กับขนาดของ ครอบครัวท่ีเป็นเจ้าของ โครงสร้างและ องค์ประกอบของอาคารทำ�ด้วยไม้ท้ังหลัง ผนังไม้มีทั้งท่ีเป็นผนังตั้งตรงและผนัง สว่ นบนขยายออก หลังคาเรอื นไม้มงุ ดว้ ย กระเบอ้ื งดนิ ขอ หรอื แปน้ เกลด็ 15
แนวทางออกแบบสถาปตั ยกรรมยา่ นถนนเจรญิ ราษฏร์เรือนแบบผสมเป็นเรือนท่ีสร้างข้ึนภายหลังจากที่ชาวอังกฤษและคนในบังคับเข้ามาค้าขาย และทำ�กิจการป่าไม้ในล้านนา จึงได้รับอิทธิพลของงานสถาปตั ยกรรมแบบยโุ รปและบางหลงั กผ็ สมกบั รปู แบบเรอื นลา้ นนาและศลิ ปะพมา่ ออกมาเปน็ อาคารไมท้ ง้ั หลงั หรอื ครงึ่ ตกึ ครง่ึ ไม้เปน็ ท่นี ิยมของคนช้ันสงู ในสมยั นั้น16
แนวทางออกแบบสถาปตั ยกรรมย่านถนนเจรญิ ราษฏร์3. อาคารทางศาสนาและสาธารณะอาคารที่ท�ำ ขน้ึ เป็นพิเศษ เพ่ือใชป้ ระกอบกิจการทางศาสนาในยา่ นนี้ เชน่ วัดเกตการาม โบสถค์ รสิ ตจกั รท่ี 1 และวัดซกิ ข์ เปน็ ต้น 17
แนวทางออกแบบสถาปัตยกรรมยา่ นถนนเจรญิ ราษฏร์ สะพานนครพงิ ค์ แมน่ ํ้าปงิ ถนนเจริญราษฎร์ แมน่ ํ้าปงิ สะพานนวรัฐ ผงั การส�ำ รวจ และประเมนิ อาคาร ชว่ งตั้งแต่สะพานนวรฐั ถงึ สะพานนครพงิ ค์ อาคารดง้ั เดมิ ทม่ี คี ุณค่าแก่การอนรุ ักษ์18
แนวทางออกแบบสถาปตั ยกรรมยา่ นถนนเจริญราษฏร์ สะพานเฉลิมพระเกยี รติ แม่น้าํ ปิง ถนนเจริญราษฎร์ แ ่มนํ้า ิปงผังการสำ�รวจ สะพานนครพงิ ค์และประเมินอาคารช่วงตงั้ แตส่ ะพานนครพงิ ค์ถึงสะพานเฉลิมพระเกียรติ อาคารดั้งเดมิ ท่ีมคี ณุ ค่าแกก่ ารอนรุ กั ษ์ 19
แนวทางออกแบบสถาปัตยกรรมยา่ นถนนเจริญราษฏร์แนวทางการออกแบบสถาปตั ยกรรม (Design Guideline)เพื่อให้การอนุรักษ์สถาปัตยกรรมในย่านถนนเจริญราษฎร์บรรลุไปตามวัตถุประสงค์ท่ีกล่าวไว้ในเบ้ืองต้น จึงจำ�เป็นต้องมีกรอบและแนวทางการออกแบบอาคารหรือสถาปัตยกรรมรวมท้ังสาธารณูปโภคและส่ิงอำ�นวยความสะดวก ดังน้ัน จึงได้จัดให้มีแนวทางการออกแบบทางสถาปัตยกรรม โดยแบง่ แยกเป็นสว่ นท่ีส�ำ คญั ต่างๆ ดังน้ี• แนวทางการออกแบบทางสถาปตั ยกรรมโดยทว่ั ไปสำ�หรบั อาคารในย่านถนนเจรญิ ราษฎร์• แนวทางการออกแบบสำ�หรับการจัดการสาธารณูปโภคและสิง่ อ�ำ นวยสะดวกบนถนนเจรญิ ราษฎร์ แเทสจนำ�ารหงวิญสทรถับรางาาอกปษาาัตคฎรยารอร์กอใรนกรยแม่าบโนดบถยนทนวั่ ไป แบ่งออกเปน็ 4 แนวทาง คือ 1. การเรม่ิ ตน้ ปรบั ปรุงโดยทั่วไป 2. ก า ร ป รั บ ป รุ ง ซ่ อ ม แ ซ ม อ า ค า ร ที่ มี คุณคา่ แกก่ ารอนุรักษ์ 3. การออกแบบปรบั ปรงุ ซอ่ มแซมอาคาร ท่ัวไป 4. การออกแบบอาคารหรือโครงการใหม่ ในทด่ี นิ ทว่ี ่างเปลา่20
แนวทางออกแบบสถาปัตยกรรมยา่ นถนนเจรญิ ราษฏร์ การเริ่มต้นปรบั ปรงุ โดยท่วั ไป คูม่ อื ในส่วนนสี้ ำ�หรับเจ้าของหรอื ผเู้ ช่าอาคารในยา่ นถนนเจริญราษฎร์ สถาปนิก นกั ออกแบบ 21
แนวทางออกแบบสถาปตั ยกรรมย่านถนนเจรญิ ราษฏร์การเร่มิ ต้นปรับปรุงโดยท่วั ไปการประดบั ตกแตง่ อาคารดว้ ยปา้ ยรา้ น การปลกู ไมด้ อกไมป้ ระดบั และการท�ำ ความสะอาด เปน็ การเรม่ิ ตน้ การด�ำ เนนิ การของเจา้ ของอาคารโดยมคี า่ ใชจ้ า่ ยไมม่ ากเกนิ ไป การท�ำ ปา้ ยรา้ นทเี่ หมาะสมเปน็ สว่ นส�ำ คญั ทจี่ ะเพมิ่ เสนห่ ด์ งึ ดดู แกผ่ พู้ บเหน็ ปา้ ยรา้ นทเ่ี หมาะสมนน้ัควรทีจ่ ะเรยี บง่าย อา่ นงา่ ย สอดคลอ้ งกับรูปแบบและลกั ษณะของธรุ กิจนน้ั ๆ22
แนวทางออกแบบสถาปตั ยกรรมยา่ นถนนเจริญราษฏร์สำ�หรับการปลูกไม้ดอกไม้ประดับก็เช่นกันเป็นการลงทุนท่ีไม่มากนัก เพื่อให้เกิดความงดงามแก่อาคารและย่าน เพียงแต่ให้ความสำ�คัญของชนิดพันธ์ุไม้ และกระถางหรือกระบะ ส�ำ หรับปลกู ใหม้ ีความสอดคลอ้ งและเหมาะสมกบั ตวั อาคาร การปลูกต้นไม้และไม้ประดับในส่วนหน้า อาคารและร้ัวของบ้านพกั อาศัย 23
แนวทางออกแบบสถาปัตยกรรมยา่ นถนนเจริญราษฏร์ การทำ�ความสะอาดอาคาร และการรือ้ ถอนส่ิงบดบังองคป์ ระกอบของอาคาร เพียงแค่ การขจัดสิ่งแปลกปลอมที่บดบังตัวอาคารเช่น ป้ายผ้าใบโฆษณาสินค้า ก็ทำ�ให้มุมมอง ของอาคารมีความน่าสนใจมากยง่ิ ขนึ้การซ่อมแซมส่วนต่างๆ ของอาคารให้มีความสมบูรณ์ รวมทงั้ การท�ำ ความสะอาดขจัดสิ่งสกปรกออกไปจากอาคาร24
แนวทางออกแบบสถาปตั ยกรรมย่านถนนเจรญิ ราษฏร์ การปรับปรุง ซอ่ มแซม อาคารทมี่ ีคุณคา่ แก่การอนรุ ักษ์ คมู่ อื ในสว่ นนี้สำ�หรับเจ้าของหรือผู้เชา่ อาคารในย่านถนนเจริญราษฎร์ สถาปนกิ นักออกแบบ ชา่ งต่างๆ 25
แนวทางออกแบบสถาปตั ยกรรมย่านถนนเจรญิ ราษฏร์การรักษารปู แบบของอาคารอนรุ กั ษ์• การซ่อมแซมอาคารอนุรักษ์นั้นควรจะต้องมีรูปแบบท่ีถูกต้องตามลักษณะของอาคารเดิม โดยคงไว้ซ่ึงรายละเอียดของอาคารเดิมไว้ใหไ้ ดม้ ากทส่ี ุด• รายละเอียดและองค์ประกอบของอาคารเดิม เช่น ลายฉลุไม้ เชิงชายบานประตู หนา้ ตา่ ง ทขี่ าดหายหรอื ช�ำ รดุ ไปควรท่ีจะซ่อมแซมหรือทดแทนเข้าไปใหม่โดยยึดถอื แนวทางของอาคารเดิมไว้• ในขณะเดียวกันหากรายละเอียดหรือองค์ประกอบของอาคารดังกล่าวเป็นส่ิงที่แปลกปลอม การตกแต่งโดยไม่ใช่ส่วนของอาคารเดิม เช่น ป้ายโฆษณา สว่ นตอ่ เติมอาคาร ไม่ควรน�ำ มาตดิ ตง้ัสว่ นความสงู และส่วนกว้างของอาคารการซ่อมแซมหรือการต่อเติมอาคารอนุรักษ์นั้น หากมีความจำ�เป็นต้องมีการต่อเติมควรต้องคำ�นึงถึงสัดส่วนความสูงและความกวา้ งของอาคารเดิมไวด้ ้วย26
แนวทางออกแบบสถาปัตยกรรมยา่ นถนนเจริญราษฏร์สัดสว่ นความสมดลุ ของรปู ทรงอาคารการพิจารณาถึงการปรับปรุงอาคารอนุรักษ์น้ัน นอกจากต้องดึงรายละเอียดของอาคารแล้วยังต้องคงสัดส่วนรูปทรงของอาคารเดิม เช่น รปู ทรงหลงั คา ระดบัความสูงของพ้ืนช้ันล่าง ช้ันบน ตำ�แหน่งของประตูหน้าตา่ ง เปน็ ตน้รปู ทรงของหลงั คารูปทรงหลังคาของอาคารอนุรักษ์ในย่านถนนเจริญราษฎร์ ส่วนใหญ่จะมีรูปทรงจ่ัว และทรงปั้นหยา 27
แนวทางออกแบบสถาปตั ยกรรมย่านถนนเจริญราษฏร์การตกแตง่ และปรับปรุงหนา้ อาคารบริเวณด้านหน้าอาคารช้ันบนควรเก็บรักษารูปแบบของอาคารเดิมไว้โดยปราศจากส่ิงแปลกปลอม มาปิดทับเช่น ป้ายโฆษณาต่างๆ และควรท่ีจะซอ่ มแซมสว่ นประกอบอาคารทช่ี ำ�รดุ เช่น เชิงชายไม้ฉลุ ผนงั เปน็ ต้น การตกแต่งและปรับปรุงด้านหน้า อาคารบรเิ วณช้ันล่าง • ควรปรับปรุงหรือตกแต่งโดยยึด รปู แบบของอาคารเดมิ • โดยทั่วไปวสั ดทุ ี่นำ�มาใช้ในการตกแตง่ จะเปน็ ประเภทไม้ เชน่ วงกบ บานประตู เสา เป็นตน้ • ประตูทางเข้าออกอาคารควรเป็น วงกบไม้ บานไม้ กับกระจก • ควรมีการประดับอาคารด้านหน้าด้วย กระถางไม้ประดบั เพอื่ ความสวยงามของ อาคารและยา่ น • ป้ายร้านค้าควรมีรูปแบบ ขนาดและ ความเหมาะสมกับขนาดและสัดส่วนของ อาคาร รวมทั้งไม่ปิดบังองค์ประกอบที่ ส�ำ คัญของอาคาร28
แนวทางออกแบบสถาปัตยกรรมย่านถนนเจรญิ ราษฏร์วสั ดแุ ละโทนสี• วัสดุไม้เป็นวัสดุหน่ึงที่ส่วนใหญ่ใช้ในอาคารอนุรักษ์ ดังน้ันการปรับปรุงซ่อมแซมควรท่ีจะใช้ช่างไม้ท่ีมีฝีมือและความเข้าใจในรายละเอียดของลวดลายต่างๆ• การใชว้ สั ดุสมัยใหม่ เชน่ วสั ดุทดแทนไม้ ไมเ้ ทยี ม การเลอื กน�ำ มาใชค้ วรค�ำ นงึ ถงึความเหมอื นให้ใกลเ้ คียงกบั ลายไม้จริง• อาคารส่วนใหญ่วัสดุไม้โทนสีเป็นสีธรรมชาติ (natural & earthtone) ส่วนผนังปูนจะใช้สีขาวและโทนสีธรรมชาติเชน่ กัน กนั สาดและสว่ นคลมุ ทางเดิน • กันสาดด้านหน้าของอาคารอนุรักษ์เป็นลักษณะกันสาดแบบถาวร โครงสร้างไม้ มงุ ด้วยกระเบื้องดนิ ขอและไมแ้ ปน้ เกล็ด • กันสาดท่ที ำ�ดว้ ยวสั ดุใหม่ เช่น ผา้ ใบ ควรใช้โทนสีธรรมชาติ ไม่ควรใชก้ นั สาดผา้ ใบ ท่ีมีสีสันฉูดฉาดหรอื ใชผ้ า้ ใบบงั แดดทีม่ โี ฆษณาสนิ ค้าต่างๆ 29
แนวทางออกแบบสถาปตั ยกรรมยา่ นถนนเจรญิ ราษฏร์แสงไฟประดับอาคาร• โคมไฟแขวนหรือโคมก่ิงติดตั้งบริเวณด้านหน้าหรือทางเข้าอาคาร ควรมีความเหมาะสมกับรูปแบบ รูปทรง ขนาดของอาคาร เช่น โคมทที่ �ำ จากวัสดุไม้ เปน็ ตน้• แสงสวา่ งจากหลอดไฟควรเปน็ หลอดที่ให้แสงชนดิ แสงสีอุ่น (Warm light) ซึง่ จะชว่ ยสง่ เสรมิ บรรยากาศของอาคารไม้ได้ดี30
แนวทางออกแบบสถาปตั ยกรรมยา่ นถนนเจรญิ ราษฏร์ การออกแบบ ปรับปรุง ซ่อมแซม อาคารโดยทัว่ ไป คมู่ ือในส่วนนี้ส�ำ หรบัเจ้าของหรอื ผเู้ ช่าอาคารในยา่ นถนนเจรญิ ราษฎร์ สถาปนกิ นักออกแบบ ชา่ งต่างๆ 31
แนวทางออกแบบสถาปัตยกรรมยา่ นถนนเจรญิ ราษฏร์การออกแบบปรับปรุง ซ่อมแซมอาคารโดยทวั่ ไปในย่านถนนเจริญราษฎร์มีอาคารท่ีมีรูปแบบอาคารหลากหลาย ท้ังแบบดั้งเดิมและแบบสมัยใหม่ แบบสมัยใหม่นั้นบางอาคารก็มีคุณค่า เหมาะสม ผสมกลมกลนื กบั อาคารดั้งเดมิ แต่กย็ งั มีอกี หลายอาคารทส่ี มควรไดร้ บั การปรับปรุง การออกแบบปรับปรุงอาคารโดยท่ัวไปนั้น ควรคำ�นึงถึงรูปแบบของการปรับปรุงที่เหมาะสม และสอดคล้องกับอาคารด้ังเดิมหรืออาคารอนุรักษ์ เพื่อเสริมสร้างบรรยากาศและลักษณะเฉพาะของย่าน สว่ นความสูงและส่วนกว้างของอาคาร • การซอ่ มแซมหรอื การตอ่ เตมิ อาคารทว่ั ไปนนั้ หากมคี วามจ�ำ เปน็ ตอ้ งมกี ารตอ่ เตมิ ควร ตอ้ งค�ำ นึงถึงสัดสว่ นความสูงและความกวา้ งของอาคาร ให้สอดคลอ้ งกับอาคารอนรุ กั ษ์ • การต่อเติม ดัดแปลงอาคารควรยึดตามกฎหมายควบคุมอาคาร เช่น เทศบัญญัติ เทศบาลนครเชียงใหม่ กฎกระทรวง กฎหมายผงั เมอื งรวม (ดูภาคผนวก) วสั ดุทีน่ �ำ มาก่อสร้าง วัสดุท่ีจะนำ�มาทำ�การก่อสร้างในส่วนของอาคารโดยทั่วไปควรเป็นวัสดุที่มีความม่ันคง แข็งแรง อาทิเช่น ปูน คอนกรีต เหล็ก ไม้ เป็นต้น แต่ในส่วนของรายละเอียด ส่วนประกอบอื่นๆ น้ัน ควรใช้วัสดุท่ีเหมาะสมและสอดคล้องกับอาคารด้ังเดิมในย่าน เชน่ โครงสรา้ งไม้ ปูนฉาบผนัง ผนงั ก่ออฐิ ไม้ฝา เป็นตน้32
แนวทางออกแบบสถาปตั ยกรรมย่านถนนเจริญราษฏร์สัดส่วนความสมดลุ ของรูปทรงอาคารการพิจารณาถึงการปรับปรุงอาคารโดยท่ัวไปก็เช่นกัน จะต้องดึงรายละเอียดของอาคารอนุรักษ์ ที่มีสัดส่วนรูปทรงของอาคาร เช่น รูปทรงหลังคา ระดับความสูงของพื้นช้นั ล่าง ชั้นบน ตำ�แหน่งของประตูหนา้ ต่าง นำ�มาปรับปรงุ ใชก้ บั อาคาร เปน็ ต้น ระยะถอยร่น ระยะถอยรน่ ของอาคารโดยทวั่ ไปควรทจี่ ะ รกั ษาระยะถอยรน่ เดมิ ของอาคารไว้ หรอื ถอยร่นตามเทศบัญญัติของเทศบาลนคร เชียงใหม่ (ในกรณีที่มีการร้ือถอน ปลูก สร้างใหมบ่ างสว่ น) ดูภาคผนวก รูปทรงของหลังคา ก า ร ป รั บ ป รุ ง ห รื อ เ พ่ิ ม เ ติ ม ห ลั ง ค า ในอาคารควรยึดถือตามรูปแบบของ ทรงหลังคาของอาคารอนุรักษ์ในย่าน ถนนเจรญิ ราษฎร์ สว่ นใหญจ่ ะมรี ปู ทรงจวั่ และทรงปนั้ หยา 33
แนวทางออกแบบสถาปตั ยกรรมย่านถนนเจรญิ ราษฏร์การตกแตง่ และปรบั ปรงุ ดา้ นหนา้ อาคารบรเิ วณชั้นลา่ ง• ควรปรบั ปรุงหรือตกแต่งโดยยดึ รูปแบบของอาคารอนรุ ักษ์ ซึ่งเปน็ อาคารส่วนใหญ่ในย่าน• โดยทัว่ ไปวสั ดทุ ี่นำ�มาใชใ้ นการตกแต่งจะเป็นประเภทไม้ เชน่ วงกบ บานประตู เสา เปน็ ต้น• ประตูทางเข้าออกอาคารควรเป็นวงกบไม้ บานไม้ กบั กระจก• ควรมีการประดบั อาคารด้านหน้าด้วยกระถางไมป้ ระดบั เพอื่ ความสวยงามของอาคารและย่าน• ป้ายรา้ นคา้ ควรมรี ปู แบบและมีขนาดเหมาะสมกับขนาดและสดั ส่วนของอาคาร รวมทงั้ ไมป่ ดิ บงั องคป์ ระกอบท่สี ำ�คญั ของอาคาร34
แนวทางออกแบบสถาปัตยกรรมยา่ นถนนเจรญิ ราษฏร์การตกแต่งและปรบั ปรงุ หน้าอาคารบรเิ วณดา้ นหนา้ อาคารชั้นบน• ควรปรับปรุงรูปแบบอาคารโดยยึดถือแนวทางการออกแบบตามอาคารอนุรักษ์ไว้โดยปราศจากส่ิงแปลกปลอมมาปิดทับด้านหน้า ช้ันบนของอาคาร เชน่ ปา้ ยโฆษณาขนาดใหญ่ เปน็ ตน้• วสั ดุไม้เป็นวสั ดุหนึ่งทส่ี ว่ นใหญ่ใช้ในอาคารอนุรักษ์ ดงั น้ันการปรบั ปรุงอาคารโดยท่ัวไป ควรท่ีจะน�ำ วสั ดดุ ังกล่าวมาใช้และควรใช้ ชา่ งไมท้ มี่ ฝี มี อื และความเข้าใจในรายละเอียดของลวดลายตา่ งๆ• การใชว้ ัสดุสมัยใหม่ เชน่ วัสดทุ ดแทนไม้ ไม้เทยี ม การเลือกน�ำ มาใช้ควรคำ�นงึ ถึงความเหมอื นใหใ้ กล้เคยี งกบั ลายไมจ้ รงิ• อาคารส่วนใหญ่วัสดไุ มโ้ ทนสีเป็นสีธรรมชาติ (natural & earth tone) สว่ นผนงั ปูนจะใช้สขี าวและโทนสธี รรมชาติ เชน่ กัน 35
แนวทางออกแบบสถาปตั ยกรรมย่านถนนเจรญิ ราษฏร์ กนั สาดและส่วนคลมุ ทางเดิน • การเพม่ิ เตมิ หรอื ปรบั ปรงุ กนั สาดดา้ นหนา้ ของอาคาร ควรออกแบบใหส้ อดคลอ้ งกบั อาคารอนรุ กั ษ์ ซงึ่ มลี กั ษณะเปน็ กนั สาดแบบถาวร โครงสรา้ งไม้ มงุ ดว้ ยกระเบอื้ งดนิ ขอ และไมแ้ ป้นเกล็ด คลุมทางเดนิ และให้สามารถบงั แดดและกันฝนแก่ผเู้ ดินเทา้ • กันสาดท่ที ำ�ด้วยวสั ดใุ หม่ เชน่ ผ้าใบ ควรท่ีใช้สีในโทนสีธรรมชาติ ไม่ควรใชก้ นั สาด ผา้ ใบทม่ี สี สี นั ฉดู ฉาดหรอื ปา้ ยโฆษณา รวมทงั้ มขี นาดและสดั สว่ นทเี่ หมาะสมกบั ตวั อาคารแสงไฟประดบั อาคาร• โคมไฟแขวนหรือโคมก่ิงติดตั้งบริเวณด้านหน้าหรือทางเข้าอาคาร ควรมีความเหมาะสมกบั รปู แบบ รปู ทรง ขนาด ของอาคาร เช่น โคมทท่ี �ำ จากวัสดไุ ม้ เป็นต้น • แสงสว่างจากหลอดไฟควรเป็นหลอดท่ีให้แสงชนดิ แสงสีอ่นุ (Warm light) ซึ่งจะ ชว่ ยสง่ เสรมิ บรรยากาศของอาคารไมไ้ ด้ดี36
แนวทางการปรบั ปรุงอาคารเดมิ แนวทางออกแบบสถาปัตยกรรมย่านถนนเจริญราษฏร์ถนนเจริญราษฎร์ บรเิ วณที่ 1 ก่อนท�ำ การปรับปรุง หลังท�ำ การปรบั ปรุง 37
แนวทางออกแบบสถาปตั ยกรรมยา่ นถนนเจรญิ ราษฏร์ ก่อนท�ำ การปรบั ปรงุแนวทางการปรับปรุงอาคารเดิมถนนเจรญิ ราษฎร์ บรเิ วณท่ี 2 หลังท�ำ การปรับปรงุ38
แนวทางการปรบั ปรุงอาคารเดมิ แนวทางออกแบบสถาปัตยกรรมย่านถนนเจริญราษฏร์ถนนเจริญราษฎร์ บรเิ วณที่ 3 ก่อนท�ำ การปรับปรุง หลังท�ำ การปรบั ปรุง 39
แนวทางออกแบบสถาปตั ยกรรมยา่ นถนนเจรญิ ราษฏร์ ก่อนท�ำ การปรบั ปรงุแนวทางการปรับปรุงอาคารเดิมถนนเจรญิ ราษฎร์ บรเิ วณท่ี 4 หลังท�ำ การปรับปรงุ40
แนวทางออกแบบสถาปัตยกรรมยา่ นถนนเจรญิ ราษฏร์ การออกแบบ อาคารหรอื โครงการใหม่ ในทีด่ นิ ทีว่ า่ งเปล่า ค่มู อื ในส่วนน้สี ำ�หรบัเจ้าของหรอื ผ้เู ช่าอาคารในย่านถนนเจริญราษฎร์ สถาปนิก นกั ออกแบบ นกั พัฒนาที่ดิน 41
แนวทางออกแบบสถาปัตยกรรมยา่ นถนนเจรญิ ราษฏร์การออกแบบอาคารหรอื โครงการใหมใ่ นทดี่ นิ ทีว่ ่างเปลา่ผู้ออกแบบและเจ้าของโครงการควรคำ�นึงถึงการออกแบบโครงการท่ีรักษาไว้ซึ่งสภาพแวดล้อม ลกั ษณะเฉพาะของยา่ น ควรออกแบบใหส้ อดคลอ้ งและกลมกลนื กับรปู แบบของอาคารดั้งเดิมโดยทั่วไป เพื่อส่งเสริมให้ย่านมีเสน่ห์และน่าสนใจ อาคารใหม่ที่จะออกแบบนนั้ ควรประกอบไปด้วย ขนาด ความสูง ระยะถอยรน่ สัดส่วน รูปทรงหลังคา วสั ดุ พื้นผวิ ของอาคารท่เี หมาะสมสอดคล้องกบั อาคารดง้ั เดมิ และอาคารอนรุ กั ษ์ รปู แบบของอาคาร หลีกเล่ียงการออกแบบอาคารที่มีขนาด ใหญ่เกินไป หากหลีกเล่ียงไม่ได้ก็ควร มีการออกแบบ ลดทอนส่วนขนาดใหญ่ ของอาคารให้เป็นหลายส่วนประกอบกัน เป็นกลุ่มอาคาร (Cluster) เพื่อให้ขนาด ของอาคารในแตล่ ะสว่ นเหมาะสมกบั ขนาด ของอาคารดัง้ เดมิ ในยา่ น42
แนวทางออกแบบสถาปัตยกรรมย่านถนนเจรญิ ราษฏร์ภาพตวั อย่างการออกแบบโครงการขนาดใหญ่ในถนนเจริญราษฎร์ 43
แนวทางออกแบบสถาปตั ยกรรมย่านถนนเจริญราษฏร์ความสงู และความกวา้ งความกว้างของอาคารในย่านนน้ั จะมีความกวา้ งของชว่ งเสาประมาณ 3-4 เมตร ซงึ่ เปน็ ขนาดท่เี หมาะสม และความสูงของอาคารมคี วามสูงระหว่างช้นั ไมเ่ กิน 3.50 เมตร และความสงู รวมไมเ่ กนิ 12 เมตร ตามกฎหมาย (ดูภาคผนวก)การก่อสร้างต่อเติม ดัดแปลงอาคารควรยึดตามกฎหมายควบคุมอาคารเช่น เทศบัญญัติเทศบาลนครเชียงใหม่กฎกระทรวง กฎหมายผังเมืองรวม(ดภู าคผนวก)44
แนวทางออกแบบสถาปัตยกรรมย่านถนนเจรญิ ราษฏร์อาคารหวั มมุการออกแบบอาคารหัวมุมนนั้ ควรค�ำ นงึ ถงึ ระยะถอยรน่ จากมมุ แยกทัง้ สองดา้ น ไม่ใหม้ ีส่วนของอาคารมาบดบัง เพื่อให้เกิดความปลอดภัยแก่ผู้ใช้ยวดยาน และตำ�แหน่งที่ต้ังของอาคารหัวมุมน้ันควรออกแบบอาคารให้โดดเด่น เนื่องจากเป็นเสมือนจุดเด่นจุดหมายตาของยา่ น (Land mark) 45
แนวทางออกแบบสถาปัตยกรรมย่านถนนเจรญิ ราษฏร์วัสดทุ นี่ �ำ มาก่อสรา้ งการออกแบบน�ำ เอาวสั ดุทีจ่ ะนำ�มาทำ�การก่อสรา้ งในสว่ นของอาคารใหม่ควรเป็นวัสดุที่มคี วามม่นั คงแขง็ แรง อาทิเชน่ ปนู คอนกรีตเหลก็ ไม้ เปน็ ตน้ แต่ในส่วนของรายละเอยี ดสว่ นประกอบอ่ืนๆ น้ันควรใชว้ สั ดทุ ี่เหมาะสมและสอดคลอ้ งกับอาคารดั้งเดิมในยา่ น เช่นโครงสรา้ งไม้ ปูนฉาบผนงั ผนังกอ่ อฐิ ไมฝ้ า เปน็ ต้นประตูการออกแบบประตูควรพิจารณาถงึ ลกั ษณะเฉพาะของแบบของอาคารดงั้ เดิมในย่านเพอ่ื ใหส้ อดคลอ้ งกลมกลืน• วัสดทุ ี่น�ำ มาใช้ เช่น ไม้ กระจก• ขนาดและสัดส่วนควรเหมาะสมและสอดคลอ้ งกบั สัดส่วนของอาคาร• รายละเอยี ดของแบบลกู ฟัก ลายแกะสลกั46
แนวทางออกแบบสถาปตั ยกรรมยา่ นถนนเจรญิ ราษฏร์หน้าตา่ งและชอ่ งแสงการออกแบบควรพิจารณาถึงลักษณะเฉพาะของแบบอาคารดั้งเดิมในย่านเพือ่ ให้สอดคล้องกลมกลนื• วัสดุที่นำ�มาใช้ เช่น ไม้ กระจก• ขนาดและสัดส่วนควรเหมาะสมและสอดคลอ้ งกบั สดั สว่ นของอาคาร• รายละเอียดของแบบลูกฟัก ลายแกะสลกั 47
แนวทางออกแบบสถาปตั ยกรรมยา่ นถนนเจริญราษฏร์ สดั สว่ นความสมดุลของรูปทรงอาคาร48 การพิจารณาถึงการออกแบบอาคารใหม่ นั้น ต้องพิจารณาถึงรายละเอียดของ อาคารอนุรักษ์ท่ีมีสัดส่วนรูปทรงของ อาคาร เช่น รูปทรงหลังคา ระดับความ สูงของพ้ืนชั้นล่าง ชั้นบน ตำ�แหน่งของ ประตหู นา้ ตา่ ง น�ำ มาปรบั ปรงุ ใชก้ บั อาคาร เป็นต้น ระยะถอยร่น อ า ค า ร ใ ห ม่ ค ว ร มี ร ะ ย ะ ถ อ ย ร่ น ต า ม เทศบัญญัติของเทศบาลนครเชียงใหม่ (ภาคผนวก กฎกระทรวง ฉบบั ที่55 หมวด 4 แนวอาคารและระยะต่างๆ ของอาคาร)
แนวทางออกแบบสถาปัตยกรรมยา่ นถนนเจริญราษฏร์รปู ทรงของหลังคาการออกแบบหลังคาในอาคารใหม่ควรยึดถือตามรูปแบบทรงหลังคาของอาคารอนรุ กั ษใ์ นยา่ นถนนเจรญิ ราษฎร์ สว่ นใหญ่จะมีรปู ทรงจว่ั และทรงปนั้ หยา 49
Search