Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore บทความการเมืองการปกครอง สัปดาห์ที่13

บทความการเมืองการปกครอง สัปดาห์ที่13

Published by Sasithorn Panit, 2021-08-20 04:34:18

Description: บทความการเมืองการปกครอง สัปดาห์ที่13

Search

Read the Text Version

ระบบการเมอื งการปกครอง เปน็ แบบแผนความสมั พันธ์ระหวา่ งมนุษย์ซ่ึงกอ่ ให้เกดิ ขอ้ ตกลงใจทีม่ อี ำนาจบังคบั ในสังคม ทุกระบบจะปรากฎลกั ษณะสำคัญเบ้อื งต้นรว่ มกันดงั นี้ 1.1 หลกั การสำคญั เป็นกฎเกณฑใ์ นการจัดตัง้ องค์การหรอื ในการดำเนนิ การตามกระบวนการเพื่อ กำหนดลกั ษณะใหเ้ ปน็ ไปในแนวหนง่ึ 1.2 อุดมการณ์ หมายถงึ ความเชอื่ มัน่ ศรทั ธาในคุณคา่ อยา่ งใดอยา่ งหน่งึ หรอื หลายอยา่ ง 1.3 รปู แบบแห่งโครงสร้าง หมายถงึ การกำหนดสถานภาพเพ่ือใหส้ อดคล้องกับหลกั การ อุดมการณ์ การแบง่ ระบอบการเมืองโดยพจิ ารณาจากอำนาจอธิปไตย 1. การปกครองโดยคนคนเดยี ว (government of one) คอื บุคคลผู้เดียวเป็นผใู้ ช้ อำนาจสูงสุด มี 2 แบบ คอื 1.1 สมบูรณาญาสทิ ธริ าช (absolute monarchy) สบื ทอดตำแหน่ง โดยการสบื สนั ตตวิ งศ์ 1.2 เผด็จการ (dictatorship) ผปู้ กครองเรียกว่า ผเู้ ผดจ็ การ มอี ำนาจ เด็ดขาดเชน่ เดยี วกับกษตั รยิ ์ อาจจะได้อำนาจทางการเมอื งมาโดย การปฏวิ ตั ยิ ดึ อำนาจ หรือ ไดร้ บั เลือกตัง้ จากประชาชน

2. การปกครองโดยคนส่วนน้อย ( government of many) หรือการปกครอง แบบประชาธิปไตย ประชาชนเปน็ ผู้ใช้อำนาจอธปิ ไตย โดยการเลอื กตั้งผู้แทนราษฎรไป บริหารประเทศ หากไมพ่ อใจกอ็ าจเรียกอำนาจกลับคนื มาได้ สถาบันการปกครอง ระบบการเมอื งการปกครองแบ่งได้ 3 ประเภท ดงั น้ี 1. การปกครองแบบรัฐสภา คือ ให้รัฐสภา (ฝ่ายนิติบัญญัติ) กับคณะรัฐมนตรี (ฝ่าย บริหาร) มีความสัมพันธ์กันอย่างใกล้อย่างใกล้ชิด โดยให้รัฐสภามีฐานะและอำนาจ ความสำคัญเหนือกว่าคณะรัฐมนตรี คือ รัฐมนตรีจะเข้าดำรงตำแหน่งได้ก็ต่อเมื่อได้รับ ความไว้วางใจจากรัฐสภา รัฐสภามีอำนาจควบคุมการบริหารราชการแผ่นดินของ คณะรัฐมนตรี คณะรัฐมนตรีจะยุบสภาได้ในกรณีที่รัฐสภาไม่รับรองนโยบายของ คณะรัฐมนตรี หรอื รฐั บาลแพค้ ะแนนเสียงในการลงมติรับรองร่างพระราชบัญญัติสำคัญที่ เสนอโดยรัฐบาล ฝ่ายนิติบัญญัติ คือ รัฐสภา กับฝ่ายบริหาร คือ คณะรัฐมนตรี จะมี ความสมั พนั ธ์กนั อย่างใกลช้ ิด 2. การปกครองแบบประธานาธิบดี เป็นการใช้ระบบการแยกอำนาจระหว่างฝา่ ยนิติ บญั ญตั ิ (รัฐสภา ) ฝ่ายบริหาร ( ประธานาธิบดี) และฝ่ายตลุ าการ ( ศาล ) ให้แตล่ ะฝ่ายม รีอำนาจและความเป็นอิสระในการปฏิบัติหน้าที่ของตน โดยรัฐสภาและประธานาธิบดี ต่างฝ่ายตา่ งมาจากประชาชน ประธานาธบิ ดีจะอยูใ่ นตำแหนง่ จนครบวาระและมีอำนาจ แตง่ ตัง้ คณะรฐั มนตรี ให้มีการถ่วงดุลอำนาจกันระหว่างประธานาธิบดี รัฐสภา และ ศาล คือ ประธานาธิบดีมีอำนาจถ่วงดุลรัฐสภา แม้ว่ารัฐสภาจะเป็นผู้ออกกฎหมาย แต่จะ ประกาศใช้กฎหมายได้ต่อเมื่อประธานาธิบดีเป็นผู้ลงนาม ส่วนรัฐสภาก็มีอำนาจถ่วงดุล ประธานาธบิ ดไี ดเ้ ช่นกนั ประธานาธบิ ดีและรฐั สภาสามารถถ่วงดอุ ำนาจของศาล ได้ด้วย การที่ประธานาธิบดีประธานาธิบดีมอี ำนาจในการแต่งต้ังผูพ้ ิพากษาศาลสูงสุด และต้อง ไดก้ ารรับรองจากรัฐสภา แตศ่ าลก็มอี ำนาจถ่วงดลุ ประธานาธิบดแี ละรฐั สภา

3. การปกครองแบบกึ่งประธานาธิบดีกึ่งรัฐสภา ให้ประธานาธิบดีเป็นทั้งประมุข ของชาติและเป็นประมขุ ของฝ่ายบริหาร ประธานาธบิ ดีสามารถอยู่ในตำแหน่งได้จนครบ วาระ ประเทศทีใ่ หก้ ำเนดิ รปู แบบการปกครองแบบน้ี คือ ประเทศฝร่งั เศส ระบบการเมอื งการปกครองทป่ี รากฏในโลกนี้มี 2 ระบบ คือ 1. ระบบการเมืองการปกครองแบบประชาธปิ ไตย หมายถงึ การที่ประชาชนมอี ำนาจ ปกครองตนเอง สำหรับในแง่การเมืองการปกครองนั้น ประชาธิปไตย หมายถึง ระบบ การเมืองที่ประชาชนสามารถมีส่วนร่วมในการปกครองตนเอง เพื่อให้เกิดการ ปกครองของประชาชน โดยประชาชน และเพื่อประชาชน หลกั ของระบบการเมอื งการปกครองแบบประชาธปิ ไตยทสี่ ำคัญ ไดแ้ ก่ 1. หลักความเสมอภาค หมายถงึ ความเท่าเทยี มกันของคนในสงั คม แบ่งออกเปน็ • ความเสมอภาคตามกฎหมาย • ความเสมอภาคในทางการเมอื ง • ความเสมอภาคในทางเศรษฐกจิ • ความเสมอภาคในดา้ นโอกาส 2. หลักสิทธิ เสรีภาพ และหน้าที่ สิทธิ หมายถึง อำนาจหรอื ประโยชน์ของบุคคล ซ่งึ กฎหมายรับรองและคมุ้ ครองให้แก่บคุ คลซึ่งเปน็ ประชากรของรัฐ สรีภาพ หมายถึง โอกาสที่บุคคลเลือกปฏิบัติได้ในสิ่งที่เป็นประโยชน์แก่ตนมากที่สุด โดยจะถูกควบคุมนอ้ ยที่สดุ แบ่งออกเป็น • สิทธิและเสรีภาพสว่ นบุคคล • สทิ ธแิ ละเสรภี าพทางการเมอื ง • สทิ ธแิ ละเสรภี าพในทางเศรษฐกิจ

3. หลกั นติ กิ รรม หมายถึง การยดึ ถือกฎหมายเปน็ กฎเกณฑก์ ตกิ าของประเทศ เทา่ กบั ทำใหป้ ระชาชนได้รับการคมุ้ ครองสทิ ธแิ ละเสรีภาพ 4. หลักการยอมรับเสียงส่วนมาก การใชเ้ สยี งขา้ งมากจะต้องไม่กระทำเพอื่ ไปละเมดิ สิทธิของเสียงส่วนน้อย 5. อำนาจอธิปไตยเป็นของประชาชน การปกครองในระบอบประชาธปิ ไตย คอื การ ปกครองโดยรับความยนิ ยอมจากประชาชน 6. หลักแห่งการใชเ้ หตุผล รูปแบบของการเมอื งการปกครองแบบประชาธปิ ไตย 1. ประชาธปิ ไตยทางอ้อม คอื ประชาธปิ ไตยทป่ี ระชาชนสามารถมีส่วนร่วมในการ ปกครองได้โดยตรง ปจั จุบันต้องใช้การปกครองประชาธิปไตยทางออ้ มแทน 2. ประชาธปิ ไตยทางอ้อม หรอื ประชาธิปไตยแบบมีตวั แทน หมายถงึ การท่ี ประชาชนเลือกตวั แทนเขา้ มาทำหนา้ ทป่ี กครองประเทศแทนประชาชน 2.รปู แบบการเมืองการปกครองแบบเผด็จการ 1.เผด็จการอำนาจนยิ ม ระบบเผดจ็ การแบบน้ีมีความมงุ่ หมายทจ่ี ะควบคมุ สทิ ธแิ ละ เสรีภาพทางการปกครองของประชาชน เปน็ สำคัญ แตผ่ ปู้ กครองอาจยอมให้ประชาชนมี เสรภี าพทางสังคม เชน่ เสรภี าพในการนบั ถอื ศาสนา สทิ ธใิ นครองครัว และเสรีภาพใน การดำรงชีวติ ส่วนตวั 2. เผดจ็ การเบ็ดเสรจ็ นยิ ม มีความมงุ่ หมายสำคัญทต่ี ้องการควบคุมการดำเนนิ การ ต่างๆของประชาชนท้งั ดา้ นการเมอื ง เศรษฐกิจ และสังคม


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook