การวางแผนทางการเงิน สาหรับคนยคุ ใหม่
บางท่านอาจมีแนวคดิ เกี่ยวกับ การวางแผนการเงนิ ว่า : อายุยงั ไม่มาก ต้องวางแผนด้วยหรือ ? ตอนนีก้ พ็ อมีพอใช้อยู่แล้ว จะวางแผน การเงนิ ไปทาไม ? ออมเงนิ ฝากธนาคารทุกเดือน กค็ ง OK แล่ะ มีคนบอกว่า การวางแผนการเงนิ นัน้ เป็ น เร่ืองวุ่นวาย ยุ่งยาก เปลืองเวลา
ค่าใช่จ่าย ฯ ใน ปี หน้า / 10 ปี ข้างหน้า / หรือ 20 ปี ข้างหน้าจะเป็ นเท่าใด ?
เงนิ เดอื น 20,000 บาท ต้องการซือ้ รถ 800,000 บาท
ตวั อย่าง : การพจิ ารณาวางแผนการเงนิ บุคคล วันน้ีมีอายุ 20 ปี กะว่าจะเกษียณในอกี 40 ปี ข้างหน้า เม่ือมีอายุ 60 ปี และคาดว่าจะมีอายุถงึ 80 ปี วางแผน : ในอนาคตอีก 40 ปี ข้างหน้า นับจากวัน เกษียณอายุจนมอี ายุ 80 ปี (รวมระยะเวลา 20 ปี ) จะต้องเตรียมเงนิ สาหรับใช้จ่ายในการดารงชวี ติ หลัง เกษียณเท่าใด ?
จานวนเงนิ ค่าใช้จ่ายในการดารงชีวติ หลังเกษียณ ค่าอาหาร (ระยะเวลา 20 ปี จากอายุ 60 ปี ถงึ 80 ปี ) -- หากมือ้ ละ 50 บาท 50 บาท x 3 มือ้ x 365 วัน x 20 ปี = 1,095,000. - บาท -- หากมือ้ ละ 75 บาท 75 บาท x 3 มอื้ x 365 วนั x 20 ปี = 1,642,500. - บาท -- หากมือ้ ละ 100 บาท 100 บาท x 3 มอื้ x 365 วนั x 20 ปี = 2,190,000. - บาท ข้อควรคดิ : ในอนาคตอีก 40 ปี ข้างหน้า ราคาอาหารจะเพ่มิ เป็ น เท่าใด ?
ค่าท่อี ยู่อาศยั - คา่ เชา่ / ผ่อน บ้าน - คา่ ดแู ลบารุงรักษา - คา่ นา้ ประปา / ไฟฟ้ า / โทรศพั ท์ / internet ฯลฯ ค่าใช้จ่ายในการเดนิ ทาง – คา่ ผอ่ นรถ นา้ มนั บารุงรักษา BTS ค่าใช้จ่ายส่วนตวั – เสอื ้ ผ้าเครื่องแตง่ กาย เครื่องสาอางค์ ฯลฯ ค่ารักษาพยาบาล ค่าพักผ่อน ท่องเท่ยี ว ค่างานอดเิ รก / ทาบุญ / “สังคม” ฯลฯ
สมมติ : หากต้องการใช้เงนิ ในการดารงชีวติ ฯ เดือนละ 15,000 . – บาท -- จะต้องการใช้เงนิ 15,000 x 12 = 180,000 บาท ต่อปี -- อายุ 60 – 80 ปี (ระยะเวลา 20 ปี ) จะต้องการใช้เงนิ = 180,000 x 20 = 3,600,000. – บาท -- หากคานึงถงึ อัตราเงนิ เฟ้ อปี ละ 4 เปอร์เซนต์ จากวันนี้ อายุ 20 ปี จนถงึ วันเกษียณอายคุ รบ 60 ปี ระยะเวลา 40 ปี จะต้องการเงนิ = 15,000 บาท x 12 เดือน x ปัจจัยดอกเบยี้ 4.8010 = 864,180 . –บาท ต่อปี -- อายุ 60 - 80 ปี จะต้องการใช้เงนิ (ค่าของเงนิ ณ อายุ 60 ปี ) = 864,180 บาท x 20 ปี = 17,283,600.-- บาท (โดยยังไม่คดิ รวมถึงเงนิ เฟ้ อต่อเน่ืองไปอีกในอนาคตถงึ อายุ 80 ปี )
สมมติ : หากต้องการใช้เงนิ ในการดารงชีวติ ฯ เดอื นละ 20,000 . – บาท -- อายุ 60 – 80 ปี (ระยะเวลา 20 ปี ) จะต้องการใช้เงนิ เดอื นละ 20,000 บาท x12 เดอื น x 20 ปี = 4,800,000. – บาท -- หากคานึงถงึ อัตราเงนิ เฟ้ อปี ละ 4 เปอร์เซนต์ จากวันนี้ อายุ 20 ปี จนถงึ วันเกษียณอายุครบ 60 ปี ระยะเวลา 40 ปี จะต้องการเงนิ = 20,000 บาท x 12 เดือน x ปัจจยั ดอกเบยี้ 4.8010 = 1,152,240 . – บาท ต่อปี -- อายุ 60 - 80 ปี จะต้องการใช้เงนิ (ค่าของเงนิ ณ อายุ 60 ปี ) = 1,152,240 บาท x 20 ปี = 23,044,800.-- บาท (โดยยังไม่คิดรวมถึงเงนิ เฟ้ อต่อเน่ืองไปอีกในอนาคตถงึ อายุ 80 ปี )
สมมติ : หากต้องการใช้เงนิ ในการดารงชีวติ ฯ เดอื นละ 30,000 . – บาท -- อายุ 60 – 80 ปี (ระยะเวลา 20 ปี ) จะต้องการใช้เงนิ เดือนละ 30,000 บาท x 12 เดอื น x 20 ปี = 7,200,000. – บาท -- หากคานึงถงึ อัตราเงนิ เฟ้ อปี ละ 4 เปอร์เซนต์ จากวันนี้ อายุ 20 ปี จนถงึ วนั เกษียณอายคุ รบ 60 ปี ระยะเวลา 40 ปี จะต้องการเงนิ = 30,000 บาท x 12 เดอื น x ปัจจยั ดอกเบยี้ 4.8010 = 1,728,360 . – บาท ต่อปี -- อายุ 60 - 80 ปี จะต้องการใช้เงนิ (ค่าของเงนิ ณ อายุ 60 ปี ) = 1,728,360 บาท x 20 ปี = 34,567,200.-- บาท (โดยยังไม่คิดรวมถงึ เงนิ เฟ้ อต่อเน่ืองไปอกี ในอนาคตถงึ อายุ 80 ปี )
สมมติ : หากต้องการใช้เงนิ ในการดารงชีวติ ฯ เดอื นละ 50,000 . – บาท -- อายุ 60 – 80 ปี (ระยะเวลา 20 ปี ) จะต้องการใช้เงนิ รวม = เดือนละ 50,000 บาท x 12 เดอื น x 20 ปี = 12,000,000. – บาท -- หากคานึงถงึ อัตราเงนิ เฟ้ อปี ละ 4 เปอร์เซนต์ จากวันนี้ อายุ 20 ปี จนถงึ วนั เกษียณอายุครบ 60 ปี ระยะเวลา 40 ปี จะต้องการเงนิ = 50,000 บาท x 12 เดือน x ปัจจยั ดอกเบยี้ 4.8010 = 2,880,600 . – บาท ต่อปี -- อายุ 60 - 80 ปี จะต้องการใช้เงนิ (ค่าของเงนิ ณ เม่ือมีอายุ 60 ปี ) = 2,880,600 บาท x 20 ปี = 57,612,000.-- บาท (โดยยงั ไม่คิดรวมถึงเงนิ เฟ้ อต่อเน่ืองไปอกี ในอนาคตจนถงึ อายุ 80 ปี )
การบริหารการเงนิ บุคคล หมายถงึ การบริหารทรัพยากรทางการเงนิ (Personal Financial Resources) ทบ่ี ุคคลมีอยู่ และทามาหาได้ ให้บรรลุจุดมุ่งหมายทไี่ ด้วางไว้อย่างดที สี่ ุด เพื่อให้บุคคลน้ันได้รับความม่ังค่ัง (Wealth) สูงสุด อันจะนามาซง่ึ ความผาสุก การมเี สถยี รภาพทางการเงนิ และ อสิ รภาพทางการเงนิ
ข้นั ตอนการวางแผนทางการเงนิ 1. สารวจตนเอง > การตรวจสุขภาพทางการเงนิ > งบการเงนิ ส่วนบุคคล 2. กาหนดเป้ าหมาย 3. จดั ทาแผนการเงนิ 4. ปฏบิ ตั ติ ามแผนท่วี างไว้ 5. ทบทวนและปรับปรุงแผนอย่างสม่าเสมอ 6. บรรลุเป้ าหมาย
สารวจตนเอง นิสัยการใช้เงนิ ทางเดนิ ชีวติ คณุ หาได้ 100 ใช้ 120 แถมเป็ นหนี้ - ล้มละลายแน่นอน หาได้ 100 ใช้ 120 - เป็ นหนีต้ ลอดชีวติ หาได้ 100 ใช้ 100 ไม่มีเกบ็ - จน ไม่มั่นคง ไม่เป็ นหนี้ หาได้ 100 ใช้ 90 ออม 10 - ชนช้ันกลาง หาได้ 100 ใช้ 80 ออม 20 - รวย มีความม่นั คง หาได้ 100 ใช้ 50 ออม 20 - เศรษฐีเงนิ ล้าน ลงทุน 30
การกาหนดเป้ าหมายในแต่ละ “ปัจจุบันขณะ” ไม่เกนิ 1 ปี 2 - 5 ปี มากกว่า 5 ปี ขนึ้ ไป วางแผนเก็บเงนิ ไว้เผ่อื วางแผนซอื้ รถ เหตกุ ารณ์ฉุกเฉิน วางแผนซอื้ บ้าน วางแผนเกบ็ เงนิ ไว้ วางแผนให้ลูก ใช้ตอนเกษียณ วางแผนซอื้ Notebook อย่างสุขสบาย เรียนสูงๆ
เป้ าหมายทด่ี .ี ..ตามหลกั “SMART” Time Bound T S Specific ระบุส่งิ ท่ตี ้องการได้อย่าง มีกาหนดเวลา ชัดเจน M Measurable สามารถวัดผลได้ Realistic R A Accountable มีโอกาสเป็ นไปได้จริง ต้องมีความรับผดิ ชอบ และลงมือปฏบิ ัตจิ ริง
จากเป้ าหมาย...กลายเป็ นแผน เม่ือกาหนดเป้ าหมายทางการเงนิ ท่แี น่นอนแล้ว กต็ ้องทาให้เป็ นแผนทางการเงนิ อย่างชัดเจน เช่น... เป้ าหมาย วธิ ีการ 1 ฉันจะเกบ็ เงนิ ให้ได้ 20,000 บาท ฉันจะลดค่าใช้จ่ายในการซือ้ เสือ้ ผ้าและ ภายในปี นี้ เพ่อื ซือ้ Notebook ท่องเท่ียวลงเดอื นละ 2,000 บาท 10 เดอื น 2 ฉันจะเกบ็ เงนิ ให้ได้ 180,000 บาท เพ่อื เรียน ฉันจะทางานพเิ ศษ ต่อปริญญาโทในอีก 3 ปี ข้างหน้า เพ่อื เกบ็ เงนิ ให้ได้ เดือนละ 5,000 บาท 3 ฉันจะออมเงนิ 10% ของเงนิ เดอื นทุกเดอื น ฉันจะโอนเงนิ 10% ของเงนิ เดือนทุกเดือนรวม รวม 36 เดือนเพ่อื ดาวน์คอนโดมิเนียม 36 เดือนไปเข้าบญั ชีเงนิ ฝากพเิ ศษ
ขอบเขตของการวางแผนการเงนิ ส่วนบุคคล 1. การวางแผนรายได้ 2. การวางแผนการบริโภคและอุปโภคท่มี ปี ระสิทธภิ าพ 3. การวางแผนการออมและการลงทุน 4. การวางแผนภาษี 5. การบริหารความเส่ียงและการวางแผนประกันภยั 6. การวางแผนเพ่อื วัยเกษียณ 7. การวางแผนมรดก
การตรวจสุขภาพทางการเงิน สถานะการเงนิ แย่แน่ ถ้าเป็ นอย่างนี้ • ไม่วางแผนการเงนิ ทงั้ ระยะสัน้ ระยะยาว • ใช้เงนิ เกนิ ตัว • ไม่รู้ว่ามีเงนิ สดอย่เู ท่าไหร่ • ใช้ก่อนเก็บ • หนีท้ บ ดอกเบยี้ บาน • ลงทุนแบบไม่มีความรู้
สถานะการเงนิ ดี ต้องเป็ นอย่างไร • มีรายได้มากกว่าค่าใช้จ่ายในแต่ละช่วงเวลา • มีเงนิ เหลือเกบ็ • ควรจัดสรรเงนิ เก็บออมให้เพียงพอก่อน แล้วจงึ กนั เงนิ ส่วนท่เี หลือสาหรับใช้จ่ายกนิ อยู่ท่พี อเพยี ง • รู้ต่อยอดการออมสู่การลงทนุ • ควรมีทรัพย์สินมูลค่ามากกว่าหนีส้ ิน
ปฏิวัตนิ ิสัยทางการเงนิ 1. แยกแยะให้ได้ระหว่าง \"อยากได้“ (Wants) กับ \"จาเป็ น“ (Needs) 2. รู้สถานการณ์การเงนิ ของคุณเป็ นอย่างดี ทงั้ รายรับ / รายจ่าย ตัวเลขในบญั ชี ใบแจ้งหนี้ ยอดชาระเงนิ กาหนดเวลาชาระ เงนิ ฯลฯ 3. เร่ิมทาบันทกึ ทางการเงนิ ตงั้ แต่วันนี้ เพ่อื ป้ องกันปัญหา \"เงนิ ฉันหายไปไหน?\" 4. ออมเงนิ เพ่มิ เพ่อื ให้รางวัลตวั เอง (ไม่ถอนเงนิ ฝากออกมาซฮื้ ) 5. ฝึ กนิสัย \"มเี งนิ สดค่อยซอื้ “ หลืกเล่ียงการซอื้ เงนิ ผ่อน 6. อุดรูร่ัวท่บี ่นั ทอนสุขภาพทางการเงนิ ของเรา
จะเลือกหาน้าใสต่ มุ่ จะอุดรูรวั ่ ตมุ่ ก่อน? ล็อตเตอรี่ / หวย บุหร่ี ดอกเบ้ ียเงินกู้ อาหาร สุรา ของใชใ้ นบา้ น
รายจ่ายเลก็ น้อยทเ่ี ป็ นประจา... อาจเปลยี่ นให้เป็ นแหล่งเงินออมทสี่ าคญั คา่ ใชจ้ า่ ยเล็กนอ้ ยทป่ี ระหยดั ไดใ้ น 1 สปั ดาห์ 1 สปั ดาห์ มลู คา่ ของเงนิ ออม ลงทนุ ได้ 8% ตอ่ ปี 5 ปี 10 ปี 30 ปี โทรศพั ท์ วนั ละ 1 ชวั่ โมง 420 บหุ รี วนั ละ 1 ซอง 490 133,087 328,636 2,569,898 กาแฟ วนั ละ 1 แกว้ 560 เบยี ร์ วนั ละ 2 กระป๋ อง 840 155,269 383,409 2,998,214 เหลา้ สปั ดาหล์ ะ 1 ขวด 1,000 น้ามันรถ สปั ดาห์ ละ 1 ถัง 1,200 177,450 438,182 3,426,530 อาหารคา่ 2 ทา่ น สปั ดาหล์ ะ 1 ครัง้ 1,400 266,175 657,273 5,139,795 316,875 782,468 6,118,804 380,250 938,961 7,342,565 443,625 1,095,455 8,566,325 เงินออมเลก็ น้อยที่ต่อเน่ือง สร้างฝนั ยิ่งใหญ่ให้เป็นจริง 28
ข้อคิดจากกาแฟ เปรียบเทยี บ “การเงนิ ” ของการด่มื กาแฟแก้วละ 150 บาท กับ แก้วละ 25 บาท -- หากด่ืมกาแฟวันละ 1 แก้ว โดยเลือกด่มื กาแฟราคาแก้ว ละ 25 บาทแทนกาแฟราคาแก้วละ 150 บาท จะประหยัดได้วันละ 150 – 25 = 125 บาท หรือ เดอื นละ = 125 x 30 = 3,750 บาท -- ถ้านาเงนิ ทป่ี ระหยัดได้น้ีไปลงทุน จะเกดิ อะไรขนึ้ ??
-- ประหยดั เดอื นละ 3,750 บาท = ปี ละ 3,750 x 12 = 45,000 บาท -- หากลงทนุ ทุกเดือน เดอื นละ 3,750 บาท เป็ นเวลา 5 ปี ได้ผลตอบแทน 12 % ต่อปี (เช่น : กองทนุ ฯ) ณ ปลายปี ท่ี 5 จะมีเงนิ รวมประมาณ = 3,750 x ปัจจัยดอกเบยี้ 81.670 = 306,262.50 บาท ( เงนิ ต้น = 3,750 x 12 เดอื น x 5 ปี = 225,000 บาท)
I. งบกระแงสบเงกนิระสแดสสเ่งวนินสบดุคสค่วลนบุคคล ( Pers(oPnearlsoSntatleSmtaetenmt eonf tCoafsChaflsohwFslo)w) การจะเกบ็ / บริหารเงนิ ให้บรรลุเป้ าหมาย เราควรต้องรู้เท่าทนั พฤตกิ รรมการใช้จ่ายของเราว่า : -- ท่ผี ่านมาอุปนิสัย /พฤตกิ รรมในการใช้จ่ายเหมาะสมหรือไม่ -- ใช้จ่ายมากเกินกว่ารายได้หรือไม่ -- จะสามารถใช้จ่ายอย่างประหยดั ได้อย่างไร -- จะสามารถเพ่มิ รายได้ /มอี าชีพเสริม ได้หรือไม่ ..ฯลฯ.. งบบันทกึ รายรับรายจ่ายทเี่ กดิ ข้ึนจริง นี้ ทางการเงนิ เรียกว่า “งบกระแสเงนิ สดส่วนบุคคล (Personal Statement of Cash Flow)”
งบกระแสเงนิ สดส่วนบคุ คล รายรับ รายจ่าย #1 เงนิ เพ่อื ออม และลงทนุ #2 ค่าใช้จ่าย คงท่ี #3 ค่าใช้จ่าย ผันแปร
เปล่ียนเงนิ สดส่วนเกนิ เป็ นการออมและการลงทุน เป้ าหมาย พยายามให้มีกระแส เงนิ สดส่วนเกนิ (หรือ รับ > จ่าย) มากท่สี ุด
งบกระแสเงนิ สดฐานร่วม (Common Size Statement of Cash Flow)
รายจา่ ยในแตล่ ะเดอื นของครอบครวั จานวน 100% ทอ่ี ยอู่ าศยั (คา่ เชา่ หรอื คา่ ผอ่ นชาระเงนิ กซู้ อ้ื บา้ น ) 25-30% คา่ อาหาร 25% คา่ เสอื้ ผา้ 10% คา่ เดนิ ทาง(คา่ รถ คา่ นา้ มนั คา่ ผอ่ นชาระเงนิ กรู้ ถ) 10-15% คา่ สาธารณูปโภค(คา่ นา้ ประปา ไฟฟ้ า โทรศพั ท)์ 5% คา่ รกั ษาพยาบาล 5% คา่ ใชจ้ า่ ยสว่ นตวั และสนั ทนาการ(ทอ่ งเทย่ี ว บนั เทงิ ) 5-10% เงนิ เก็บออมหรอื เงนิ ลงทนุ 5-10%
II. งบประมาณเงนิ สดส่วนบคุ คล (Personal Cash Budgeting) วัตถุประสงค์ในการจัดทางบประมาณเงนิ สดส่วนบุคคล 1. เป็ นเคร่ืองมือในการตรวจสอบและควบคุมค่าใช้จ่ายต่างๆ ของบุคคล โดยการคาดคะเนกระแสเงนิ สดในอนาคต 2. เป็ นเคร่ืองมือสาหรับการเตรียมความพร้อมทางด้านการเงนิ ในอนาคตของบุคคล 3. เป็ นเคร่ืองมอื ตรวจสอบและตดิ ตามความก้าวหน้าในการ บรรลุเป้ าหมายทางการเงนิ
ขนั้ ตอนที่ 1 : ประมาณการกระแสเงนิ สดรับ ทาการคาดคะเน / ประมาณการ รายได้หรือเงนิ สดรับเป็ นรายงวดตลอด ระยะเวลาทว่ี างแผนสาหรับอนาคต เช่น งวดรายเดอื น จากเดอื นท่ี 1 ถงึ เดอื นท่ี 12 ในปี ถัดไป รายได้ทค่ี าดคะเนได้อย่างชัดเจน (เช่น : เงินเดอื น ค่าจ้าง ค่าเช่า ดอกเบยี้ เงนิ ฝากประจา ฯลฯ) รายได้ทไ่ี ม่อาจคาดคะเนได้อย่างชัดเจน (เช่น : ค่านายหน้า เงนิ โบนัส เงินรางวลั ฯลฯ) รายได้บางรายการอาจเกดิ ขนึ้ ในทุกเดอื น (เช่น : เงินเดอื น ค่าเช่า ฯลฯ) รายได้บางรายการอาจเกดิ ขนึ้ ไม่ทุกเดอื น หรือเป็ นคร้ังคราว (เช่น : เงนิ โบนัส เงนิ ปันผล เงนิ คนื ภาษี ฯลฯ)
ขัน้ ตอนท่ี 2 : ประมาณการกระแสเงนิ สดจ่าย ทาการคาดคะเน / ประมาณการ ค่าใช้จ่ายเป็ นรายงวดตลอด ระยะเวลาทว่ี างแผนสาหรับอนาคต เช่น เป็ นงวดรายเดอื น จากเดือนท่ี 1 ถงึ เดือนที่ 12 ในปี ถดั ไป ใช้ค่าใช้จ่ายในปี ท่ีผ่านมาเป็ นฐาน ดูจากความจาเป็ นในการใช้จ่ายทคี่ าดว่าจะเกดิ พจิ ารณาอตั ราเงนิ เฟ้ อท่คี าดว่าจะเกดิ
จัดกล่มุ ประเภทการใช้จ่าย -- ค่าใช้จ่ายประจา / คงท่ี (เช่น : ค่าผ่อนบ้าน ผ่อนรถ ฯลฯ) -- ค่าใช้จ่ายผนั แปร (เช่น : ค่านา้ มนั รถ ค่า shopping ฯลฯ) ค่าใช้จ่ายบางรายการอาจเกดิ ขนึ้ ในทุกเดอื น (เช่น : ค่าเช่าบ้าน ค่านา้ ค่าไฟ ฯลฯ) ค่าใช้จ่ายบางรายการอาจเกดิ ขนึ้ ไม่ทุกเดอื น หรือ เป็ นคร้ัง คราว (เช่น : จ่ายภาษีเงินได้ จ่ายเบยี้ ประกนั รายปี จ่ายค่าต่อ ทะเบยี นรถยนต์รายปี ฯลฯ )
ข้ันตอนที่ 3 : วเิ คราะห์กระแสเงนิ สดสุทธิ สรุปยอดเงนิ สดสุทธิ (เงนิ สดรับ – เงนิ สดจ่าย) ในแต่ละเดอื น เพ่อื เตรียมวางแผนทางการเงนิ สาหรับในกรณี มี เงนิ สดคงเหลือ (Cash Surplus) หรือมีเงนิ สดรับ มากกว่า เงนิ สดจ่าย มี เงนิ สดขาดมือ (Cash Deficit) หรือมีเงนิ สดรับ น้อยกว่า เงนิ สดจ่าย
กรณีมีเงนิ สดคงเหลือ วางแผนนาเงนิ นัน้ ไป (Cash Surplus) หาผลประโยชน์
ควรหาทางแก้ไขโดย กรณีมีเงนิ สดส่วนขาด โอนค่าใช้จ่ายบางรายการไปไว้ (Cash Deficit) ในเดอื นท่มี ี Cash Surplus เตรียมถอนเงนิ ออมท่เี หมาะสม ออกมาใช้ เตรียมการกู้ยมื ท่เี สีย ดอกเบยี้ ต่าท่สี ุด
งบกระแสเงนิ สดฐานร่วม (Common Size Personal Statement of Cashflow)
งบดุลส่วนบคุ คล (Personal Balance Sheet)
เป้ าหมายของการบริหารงบดุลส่วนบุคคล คอื การพยายามเพม่ิ มูลค่าความมั่งคั่งสุทธิให้สูงทสี่ ุด (โดยทฤษฏีคอื : ความม่ังค่ังสุทธิ = สินทรัพย์รวม)
การตรวจสุขภาพทางการเงนิ : ความมั่งคั่งสุทธิ สนิ ทรัพย์ – หนีส้ นิ = ความม่งั ค่ังสุทธิ ความม่ังค่งั สุทธทิ ่คี วรมี = อายุ x รายได้สุทธติ ่อปี x 10 % (สตู รคานวณจากสถาบนั พฒั นาความรู้ตลาดทนุ ตลาดหลกั ทรัพย์แหง่ ประเทศไทย)
การตรวจสุขภาพทางการเงนิ โดยใช้อัตราส่วน 1). อัตราส่วนสภาพคล่อง 2). อัตราส่วนเงนิ สารองฉุกเฉิน 3). อัตราส่วนการออมและการลงทนุ
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107