Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Healthcare Magazine

Healthcare Magazine

Published by chatpolpinta47, 2021-12-18 18:55:15

Description: นาย ชัชพล ปินตา ม.6/6 เลขที่ 12

Search

Read the Text Version

health care STAY HEALTHY DURING COVID-19 PANDEMIC ก า ร ดู แ ล สุ ข ภ า พ ก า ร ป้ อ ง กั น อ า ห า ร เ พื่ อ ตั ว เ อ ง เ บื้ อ ง ต้ น สุ ข ภ า พ ใ น ชี วิ ต ป ร ะ จำ วั น จ า ก ก า ร ติ ด เ ชื้ อ C O V I D - 1 9 ต้ า น C O V I D - 1 9

TABLE OF CONTENTS HEALTH 01 การดูแลสุขภาพกายและใจ... ให้ห่างไกลโรค 02 ความแก่และการชะลอความแก่ 7 เคล็ดลับง่ายๆ! วิธีดูแลสุขภาพตัวเองให้แข็งแรง 03 COVID-19 รวม! ข้อมูลที่คุณควรรู้ เกี่ยวกับ COVID-19 08 What is COVID-19? 09 How can I protect myself against 10 COVID-19? 11 Handwashing 101 Work from home tips 12 Self-quarantine procedures 13 อาหารสุขภาพ ที่จะมาช่วยต้าน COVID-19 14 Visit PUBHTML5 to download this current issue to your tablet 

การมีสุขภาพที่ดี ควรเริ่มให้ความสำคัญ มีอยู่สิ่งหนึ่งที่ผู้คนทุกยุคสมัยพยายาม การดูแลสุขภาพ ตั้งแต่พื้นฐานการส่งเสริมสุขภาพ ซึ่งก็คือ ต่อสู้และหาทางเอาชนะมาโดยตลอด กายและใจ... กลไกการสร้างสุขภาพให้ดีหรือแข็งแรง ให้ห่างไกลโรค ยิ่งขึ้นด้วยวิธีต่างๆ เช่น การรับประทาน เนื่องจากสิ่งนี้เป็นตัวการสำคัญในการเกิด อาหารและเครื่องดื่มที่มีประโยชน์ การ โรคภัยไข้เจ็บ รวมไปถึงริ้วรอยบนผิวหนัง ข้ อ มู ล จ า ก ออกกำลังกาย การฝึกทำสมาธิ และการ และสีผมที่เปลี่ยนไปของพวกเราทุกคน โรงพยาบาล พญาไท ป้องกันปัญหาสุขภาพ ซึ่งเป็นการสร้าง สิ่งนั้นก็คือ “ความแก่” ซึ่งหน่วยเล็กที่สุด ภูมิคุ้มกันเพื่อลดความเสี่ยงหรือโอกาสใน ในร่างกายที่มีความแก่เริ่มมาจากที่ระดับ การเกิดโรค โดยกลไกทั้งสองสามารถ เซลล์ หากเซลล์หลายเซลล์แก่หรือเสื่อ ทำได้ง่าย ใช้ต้นทุนน้อย ประหยัดค่าใช้จ่าย กว่าถ้าเทียบกับการต้องเข้ารับการรักษา มมากๆ ก็จะส่งผลต่ออวัยวะและรวมไปถึง และฟื้ นฟูสุขภาพภายหลัง      ปัจจุบัน ผู้คนส่วนใหญ่ให้ความสำคัญ ระบบนั้นๆ ซึ่งเป็นพื้นฐานสำคัญในการ กับการมีสุขภาพดีมากขึ้น ด้วยเหตุที่ไม่มี เกิดโรคนั่นเอง ใครอยากมีปัญหาสุขภาพ ไม่อยากมาโรง    พยาบาลบ่อยๆ เพราะถ้าหากพบความผิด ปกติหรือมีปัญหาสุขภาพแล้ว ก็อาจเป็น อุปสรรคในการดำเนินชีวิตหลายๆ ด้าน เลยก็ว่าได้

1 8 ต่ อ จ า ก ห น้ า 1 ความแก่ เป็นสิ่งที่ไม่มีใครต้องการจะเป็น หรือไม่มี ใครยากได้ยิน เพราะความแก่ มีความสำคัญในการ ใช้ชีวิตในทุกๆ ทาง ไม่ว่าจะเป็นการประกอบอาชีพ หรือการมีสุขภาพดี ความอยากชะลอวัย อยากต้านวัย หรือ อยากต้าน ความแก่นั้น ทำให้เกิดศาสตร์ทางการแพทย์แขนง หนึ่งที่ตอบสนองความต้องการของมนุษย์ในการต่อ ต้านความแก่ของสุขภาพ โดยมีชื่อเรียกว่า “เวชศาสตร์ชะลอวัย” (Anti-Aging) ซึ่งสำหรับใน ประเทศไทย ปัจจุบันก็เริ่มเป็นที่รู้จัก ได้รับความ สนใจ และเข้ามามีบทบาทมากขึ้นเรื่อยๆ โดยหลัก สำคัญในการชะลอหรือต้านวัย ประกอบไปด้วยการ ดูแล 3 ด้าน ได้แก่ ด้านอาหาร การออกกำลังกาย ด้านอารมณ์และทัศนคติ ดังนี้ 1. ด้านอาหาร อาหารที่ชะลอวัย เป็นอาหารที่ให้ ประโยชน์หรือมีคุณค่าทางอาหารมาก มีโทษ น้อย มักเป็นประเภทผัก ผลไม้ ธัญพืชไม่ขัดสี เนื้อสัตว์ประเภทปลา นมไขมันต่ำ เป็นต้น 2. ด้านออกกำลังกาย หมายถึง การเคลื่ อนไหว ร่างกายเพิ่มจากปกติ เป็นรูปแบบชัดเจน ทำต่อ เนื่องสม่ำเสมอในระยะเวลาประมาณ 20-30 นาทีขึ้นไป ซึ่งต่างจากการออกแรงหรือใช้กำลัง ทำงาน เพราะให้ผลดีในการส่งเสริมและป้องกัน โรคต่างกัน ไม่ว่าจะเป็นต่อระบบหัวใจ หลอด เลือด และระบบหายใจ เป็นต้น 3. ด้านอารมณ์และทัศนคติ ร่างกายและจิตใจ ทำงานสัมพันธ์กันอยู่ตลอดเวลา การมีจิตใจที่ดี เบาสบาย รวมถึงมีความสามารถในการรับมือ กับสถานการณ์ต่างๆ จะช่วยลดความตึงเครียด ได้ ซึ่งโอกาสที่ร่างกายจะหลั่งสารหรือฮอร์โมนที่ ส่งผลเสียต่อร่างกายเองนั้นก็จะมีน้อย ความ แก่ก็จะเกิดขึ้นได้ยากหรือช้าลง หากเราทั้งดูแล ส่งเสริม และป้องกันสุขภาพให้ เหมาะสม รักษาสมดุลทั้ง 3 ด้านให้ดี เราก็จะมี สุขภาพที่ดีทั้งกายและใจ สามารถชะลอความแก่ ชะลอวัย ห่างไกลโรคได้อย่างแน่นอน และอีกหนึ่ง สิ่งสำคัญ คือการตรวจสุขภาพตามช่วงวัยเป็น ประจำอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง เพื่อลดอัตราความ เสี่ยงที่อาจเกิดโรคต่างๆ และยังสามารถเข้าไปช่วย เพิ่มโอกาสในการรักษาโรคนั้นๆ ให้มีประสิทธิภาพ ยิ่งขึ้นด้วย ขอขอบคุณ ข้อมูลดีๆ จาก พญ.สามิตรา กลีบบุบผา แพทย์เวชกรรมทั่วไป ศูนย์สร้างเสริมสุขภาพ สอบถามเพิ่มเติมได้ที่ โรงพยาบาลพญาไท นวมินทร์ โทร. 02-9447111 ต่อ 4006

7 เคล็ดลับง่ายๆ! วิธีดูแลสุขภาพตัว เองให้แข็งแรง

PAGE 4 HEALTH CARE MAGAZINE 7 เคล็ดลับง่ายๆ! วิธีดูแล สุขภาพตัวเองให้แข็งแรง ข้ อ มู ล จ า ก ซิ ก ม่ า ป ร ะ กั น ภั ย แ ล ะ R A M A C H A N N E L ในปีนี้หลายคนตั้งเป้าหมายการเริ่มต้นใหม่ ไม่ว่าจะเป็น 2. ออกกำลังกาย หน้าที่การเรื่องงาน เป้าหมายการใช้ชีวิต รวมถึงการมี เมื่อเลือกทานอาหารที่ดีแล้วสิ่งที่สำคัญไม่แพ้ กันนั่นก็คือการออก สุขภาพดีด้วย จะเห็นได้ว่าปัจจุบันคนหันมาสนใจ และใส่ใจ กำลังกาย ปัจจุบันการออกกำลังกายมีหลายรูปแบบขึ้นอยู่กับ ในเรื่องสุขภาพกันมากขึ้น ไม่ว่าจะเป็นการทำให้ตัวเองนอน ความชอบ ไลฟสไตล์ และสภาพร่างกายของแต่ละคน แต่ไม่ว่าจะ หลับสบาย มีสุขภาพแข็งแรง หรือการหลุดพ้นจาก เป็นการออกกำลังกายชนิดไหน ก็มีส่วนช่วยทำให้ร่างกายแข็ง ความเครียดเมื่อเราเรียนรู้ที่จะดูแลสุขภาพกายและใจตัว แรงและมีสุขภาพดีมากขึ้นทั้งนั้น เองให้ดีแล้ว เราก็จะสามารถดูแลตัวเองและจัดการกับ ความเครียดและภาระหน้าที่ต่าง ๆ ให้ดียิ่งขึ้นกว่าเดิม การออกกำลังกาย ไม่จำเป็นต้องออกกำลังกายอย่างอย่างหนัก แต่การออกกำลังกายที่ดีควรทำเป็นประจำ สม่ำเสมอ อย่างน้อย 1. เลือกทานอาหารที่ดีต่อสุขภาพ วันละ 30 นาที และควรออกกำลังกายให้ได้สัปดาห์ละ 2-3 ครั้ง อาหารกับสุขภาพเป็นของคู่กัน การที่เราจะมีสุขภาพดีได้นั้น การ โดยเลือกรูปแบบการออกกำลังกายให้เหมาะสมกับ สภาพ กินถือเป็นอีกหนึ่งปัจจัยหลักในการดูแลตัวเอง เป็นการดูแลจาก ร่างกายช่วงวัยและความถนัด ไม่ว่าจะเป็นการวิ่ง ว่ายน้ำ ปั่ น ภายในสู่ภายนอก เราจึงควรต้องกินอาหารให้พอดีและหลาก จักรยาน เต้นแอโรบิค บอดี้เวท หรือโยคะ เพราะการได้ออก หลายในแต่ละวัน เลือกกินอาหารที่มีคุณค่าทางโภชนาการครบทั้ง กำลังกายในรูปแบบที่เราชอบ จะช่วยทำให้เราออกกำลังกายได้ 5 หมู่ โดยเน้นไปที่โปรตีนและคาร์โบไฮเดตรที่มีประโยชน์เป็นหลัก นานขึ้น และออกกำลังกายได้อย่างไม่มีเบื่อ แถมได้ลดน้ำหนักไป เสริมผัก ผลไม้ที่ให้เกลือแร่และวิตามิน ที่สำคัญควรหลีกเลี่ยง ในตัวอีกด้วย อาหารจำพวกไขมันและอาหารที่มีคลอเรสเตอรอลสูง

PAGE 5 HEALTH CARE MAGAZINE 3. ดื่มน้ำให้เยอะ เพื่ อสุขภาพและผิวพรรณ การดื่มน้ำเป็นสิ่งสำคัญพื้ นฐานการมีสุขภาพดีที่สำคัญขาดไม่ได้ เลยในชีวิตประจำวัน แต่กลับเป็นเรื่องที่คนส่วนใหญ่มักมองข้าม การดื่มน้ำเปล่านอกจากจะช่วยให้เรารู้สึกสดชื่นกระปรี้กระเปร่าแล้ว ยังช่วยปรับสมดุลย์ของร่างกาย บรรเทาความเมื่อยล้า ช่วยใน เรื่องระบบเผาผลาญและการขับถ่าย แถมยังช่วยให้สุขภาพผิว ของเราดีขึ้น ปริมาณน้ำที่เหมาะสมกับร่างกายในแต่ละวัน โดยประมาณคือ 2 ลิตร ดังนั้นเราจึงควรดื่มน้ำให้ได้อย่างน้อยวันละ 8-10 แก้ว เพื่อ การดูแลสุขภาพที่สมบูรณ์ สำหรับคนที่ดื่มน้ำน้อย ลองกรอกน้ำใส่ ขวดไว้แล้วตั้งเป้าหมายว่าต้องดื่มน้ำเรื่อยๆ ให้หมดขวดภายใน หนึ่งวัน แบบนี้ก็สามารถทำให้เราดื่มน้ำได้มากขึ้นเช่นกัน 4. พั กผ่อนให้เพี ยงพอ ปัจจุบันเรา ใช้เวลาในการทำกิจกรรมต่างๆ จนลืมไปว่าสิ่งที่ทำได้ ง่ายที่สุดและเป็นสิ่งที่สำคัญอันดับต้นๆ ในการดูแลตัวเองให้มี สุขภาพดีนั้นก็คือการนอนการนอนหลับให้เพียงพอ ซึ่งถือ เป็นการพักผ่อนที่ดีที่สุด เพราะในช่วงเวลาที่เรานอนหลับ อวัยวะ ต่างๆ จะได้หยุดพัก หรือทำงานน้อยลง เป็นช่วงเวลาที่ระบบภูมิ ต้านทานจะทำงานได้อย่างเต็มประสิทธิภาพ และสะสมพลังงาน สำรองไว้ซ่อมแซมส่วนที่สึกหรอ หากเรานอนครบ 8-10 ชั่วโมง ต่อคืน จะทำให้เราตื่นมาแล้วรู้สึกสดชื่นและสามารถทำกิจกรรม ต่างๆ ในวันถัดไปได้อย่างไม่รู้สึกเหนื่อยล้า เปรียบเสมือนการได้ ชาร์ตแบตร่างกายให้เต็ม 100% ในทุกๆ วัน 5. วางแผนจัดการกับความเครียด ไม่ให้เสียสุขภาพจิต ความเครียดถือเป็นศัตรูตัวร้ายที่คอยบั่นทอนสุขภาพ เป็นสภาวะ อารมณ์ของคนที่ต้องเจอกับปัญหาต่างๆ จนเกิดความไม่ สบายใจ วิตกกังวล และรู้สึกกดดัน หลายครั้งที่เรามักเรียก โดยที่เราไม่รู้ตัว แต่สิ่งเหล่านี้มักจะแสดงออกมาทางร่างกาย จิตใจ อารมณ์ หรือพฤติกรรม บางคนเครียดแล้วทำให้หงุดหงิด ง่าย บางคนเครียดแล้วป่วยบ่อย บางคนก็นอนไม่หลับ เราจึง ควรต้องหาวิธีจัดการและบรรเทาความเครียดที่เกิดขึ้น เพื่อให้เรา มีทั้งสุขภาพกายและสุขภาพใจที่ดีในเวลาเดียวกัน การจัดการกับความเครียดนั้นทำได้หลายวิธี ไม่ว่าจะเป็นการไป ออกกำลังกาย การนั่งสมาธิฝึกจิตใจ ธรรมชาติบำบัด การอ่าน หนังสือ ดูหนัง ฟังเพลง ตลอดจนการจัดสรรเวลาในชีวิตไม่ให้ โฟกัสกับเรื่องใดเรื่องหนึ่ง หรือ จมอยู่กับความเครียดมากจน เกินไป จนอาจกระทบต่อตนเองและคนรอบข้างได้

PAGE 6 HEALTH CARE MAGAZINE 6. ปรับวิธีคิดเพื่ อเพิ่ มพลังบวก การจมอยู่กับความวิตกกังวล หรือปัญหาใดปัญหาหนึ่งมากจน เกินไป อาจทำให้กลายเป็นความเครียดสะสม ซึ่งเป็นสาเหตุของ ความทุกข์ในใจ ทำให้เกิดทัศนคติลบ จนส่งผลให้การตัดสินใจใน เรื่องต่างๆ เป็นไปในทิศทางที่แย่ลง ลองเอาตัวเองออกจากความ กังวลเหล่านั้น และปรับมุมมองปัญหาต่างๆ อาจจะทำให้เรามอง เห็นสาเหตุของปัญหาและวิธีแก้ไขได้ง่ายขึ้น หากเรายอมรับข้อ บกพร่องและพยายามทำความเข้าใจกับมันอย่างมีสติ ก็จะช่วยให้ เรามีสุขภาพใจที่แข็งแรง และมีความสุขกับสิ่งรอบตัวได้ง่ายขึ้น หรือถ้าเรามองเห็นว่ามันเป็นเรื่องเล็กน้อยก็ลองมองข้ามข้าม หรือ ปล่อยผ่านไปบ้างก็ได้ เราสามารถเพิ่ มพลังบวกให้ตัวเองง่ายๆ ด้วยการ มองโลกอยู่บนพื้ นฐานความเป็นจริง ปรับความคิด ทัศนคติให้เป็นคนที่มีความยืดหยุ่นมากขึ้น เลิกเปรียบเทียบสิ่งต่างๆ แต่เลือกมองหาเฉพาะเรื่องดีๆ จาก สิ่งเหล่านั้นแทน เตือนตัวเองว่าทุกเรื่องมีสองด้านเสมอ มีดีก็ต้องมีร้ายคละ เคล้ากันไป มีความสุข ยิ้ม และหัวเราะกับเรื่องธรรมดารอบตัว พาตัวเองไปอยู่ในสิ่งแวดล้อมที่เต็มไปด้วยความคิดเชิงบวก ข้อดีของการมองโลกในเชิงบวก นอกจากจะช่วยฟื้ นฟูสุภาพใจเรา ดีขึ้น อารมณ์ดีขึ้น ยิ้มง่ายขึ้น กังวล หรือกดดันน้อยลงแล้ว ยัง ส่งผลให้สุขภาพกายเราแข็งแรงขึ้นด้วย 7. อย่าลืมไปตรวจสุขภาพเป็นประจำ บางคนอาจมองว่าตวั เองอายุยังน้อยจึงไม่เห็นความจำเป็นใน การตรวจสุขภาพ แต่ในความเป็นจริงแล้ว การตรวจสุขภาพเป็น ประจำก็เป็นอีกหนทางหนึ่งที่จะทำให้คุณใช้ชีวิตอย่างแข็งแรง และมีสุขภาพดีในทุกๆ วัน เพราะการตรวจสุขภาพอย่าง สม่ำเสมอจะทำให้เรารู้ ว่าเรามีปัจจัยเสี่ยงอะไรและควรจะต้อง ดูแลสุขภาพไปในทิศทางไหนบ้างเพื่ อป้องกันโรคต่างๆที่เกิดขึ้น ได้ ยิ่งไปกว่านั้นการตรวจพบโรคในระยะแรกแรกจะช่วยป้องกัน ภาวะแทรกซ้อน และความรุนแรงของโรค ซึ่งจะทำให้สามารถ รักษาได้อย่างทันท่วงที และมีโอกาสหายได้มากกว่าการตรวจพบ โรคเมื่อมีอาการปรากฏมาสักระยะหนึ่งแล้ว การตรวจสุขภาพประจำปีสามารถทำได้ทุกเพศ ทุกวัย ไม่จำเป็น จะต้องเป็นผู้มีความเสี่ยง หรือเป็นผู้สูงวัยเท่านั้น

COVID-19 December 2021 | Issue 8 รวม! ข้ อ มู ล ที่ คุ ณ ค ว ร รู้ เ กี่ ย ว กั บ COVID-19

WHAT IS COVID-19? ไวรัสโคโรนา (Coronavirus) เป็นไวรัสที่ถูกพบครั้ง แรกในปี 1960 แต่ยังไม่ทราบแหล่งที่มาอย่างชัดเจน ว่ามาจากที่ใด แต่เป็นไวรัสที่สามารถติดเชื้อได้ทั้งใน มนุษย์และสัตว์ ปัจจุบันมีการค้นพบไวรัสสายพันธุ์นี้ แล้วทั้งหมด 6 สายพันธุ์ ส่วนสายพันธุ์ที่กำลังแพร่ ระบาดหนักทั่วโลกตอนนี้เป็นสายพั นธุ์ที่ยังไม่เคยพบ มาก่อน คือ สายพันธุ์ที่ 7 จึงถูกเรียกว่าเป็น “ไวรัส โคโรนาสายพันธุ์ใหม่” และในภายหลังถูกตั้งชื่ออย่าง เป็นทางการว่า “โควิด-19” (COVID-19) นั่นเอง. อาการที่ ผู้คนที่เสี่ยงเป็น พบบ่อย: พิ เศษ: มีไข้ ผู้สูงอายุ เจ็บคอ บุคคลที่มีโรคประจำตัว ไอแห้ง ๆ ร้ายแรง เช่น โรคความ น้ำมูกไหล ดันโลหิตสูง, โรค หายใจเหนื่อยหอบ หัวใจ, โรคเบาหวาน, และโรคหอบหืด ผู้คนบางกลุ่ม ถึงจะติด เชื้อแล้ว แต่ก็ไม่ได้ ทำยังไงถ้ามีอาการ? แสดงอาการใดๆ ถ้าคุณว่ารู้สึกว่ามีอาการ ผู้คนส่วนใหญ่ ดังกล่าว ให้เข้าสู่ (ประมาณ 80%) หาย กระบวนการการแพทย์ จากการป่วย โดยที่ไม่ได้ ทันที รับการรักษาทางการ แพทย์ใดๆ

HOW CAN I PROTECT MYSELF AGAINST COVID-19? ล้างมือ บ่อยๆ หลีกเลี่ยง การสัมผัส ดวงตา, จมูก, และ ปาก หลีกเลี่ยงการพาไปตัวเองไปอยู่ที่ ชุกชุม เว้นระยะห่างทางสังคม ไอ หรือจาม ที่ข้อศอก หรือ ทิชชู่ส่วน ตัว ถ้ารู้สึกว่าตัวเองมีไข้ ไอ หรือ หายใจ ผิดปกติ, ให้รีบปรึกษา และปฎิบัติ ตามคำแนะนำของแพทย์ SOURCE: WORLD HEALTH ORGANIZATION

HANDWASHING Source: World Health Organization 101 01 ทำให้มือเปียกก่อนใช้สบู่ 02 ทาสบู่ให้ทั่วฝ่ามือ, หลังมือ, และตามซอกนิ้ว 03 ปล่อยทิ้งไว้ประมาณ 20 วินาที ก่อนจะล้างออก ด้วยน้ำสะอาด 04 เช็ดมือให้สะอาด ด้วยผ้าหรือกระดาษ ระวังอย่าเช็ดแรงเกินไป

WORK LET'S HELP FROM STOP THE HOME SPREAD OF TIPS CORONAVIRUS 03 จัดโต๊ะทำงาน หรือ สถานที่ทำงานให้ เรียบร้อยน่าทำงาน 01 04 สร้างตารางงานให้แน่ชัด และ โฟกัสในสิ่งที่ต้อง ทำจิตใจให้ทำงานอย่างตั้งใจ ทำให้เสร็จในรายวัน 02 05 รักษาช่องทางการสื่อสารไว้ พักบ้าง! อย่าทำงาน โหมเกินความจำเป็น

SELF-QUARANTINE PROCEDURES การกักตัว เป็นสิ่งที่จำเป็นสำหรับทุกคนที่ ได้สัมผัสหรืออยู่ใกล้ชิดกับบุคคลที่ติดโรค หรือคนที่ได้ไปในสถานที่ที่มีความเสี่ยงสูง โดยควรกักตัวอย่างน้อย 14 วัน และทำ ตามคำแนะนำดังต่อไปนี้ อยู่บ้าน งดการเที่ยวทุกประเภท, ยกเว้น การหาอาหารเข้ามารับประทาน, ยา และสิ่งของจำเป็นอื่นๆ ตรวจสอบอุณหภูมิอย่างสม่ำเสมอ อย่างน้อย 2 ครั้งต่อวัน คอยดูอาการของตัวเองอยู่เสมอ อาการ ของ COVID-19 ได้แก่ มีไข้สูง, ไอแห้ง, หายใจไม่สะดวก, ไม่ได้รับรสจากการรับประทาน

STOP COVID-19 BEWARE OF OMICORN VARIANT B.1.1.529

ห น้ าD E C E M B E R 2 0 2 1 | 15 อาหาร อ า ห า ร สุ ข ภ า พ ที่ จ ะ ม า ช่ ว ย ต้ า น C O V I D - 1 9 เ ร า ข อ เ ส น อ 5 เ ม นู สุ ข ภ า พ ช่ ว ย เ ส ริ ม ส ร้ า ง ภู มิ คุ้ ม กั น

เมี่ยงคำ เมี่ยงคำ เป็นอาหารว่างชนิดหนึ่ง ที่มีคุณค่าทางสมุนไพรสูงเพราะมี คุณสมบัติในการบำรุงรักษาธาตุ ทั้ง 4 เพื่อให้สมดุลกัน น้ำอ้อย,มะพร้าว,ถั่วลิสง หรือมะม่วงหิมพานต์และกุ้ง แห้งใช้บำรุงรักษาธาตุดิน มะนาวและใบชะพลูใช้บำรุง รักษาธาตุน้ำ หอมและพริกใช้บำรุงรักษา ธาตุลม เปลือกของมะนาวและขิงสด บำรุงรักษาธาตุไฟ วิธีการจัดรับประทาน ให้จัดใบ ชะพลูหรือใบทองหลางใส่จานวาง เครื่องปรุงอย่างละน้อยลงบนใบ ชะพลู หรือใบทองหลางที่จัดเรียง ไว้ตักน้ำเมี่ยงหยอดห่อเป็นคำๆ รับประทาน \"เมี่ยงคำ\" มีส่วนผสมหลักคือ มะนาวหั่นพร้อมเปลือก และ หอมแดงสด ทั้งสองอย่างนี้ถือ เป็นสมุนไพรที่มีสารเฮสเพอริดิน สารรูติน และวิตามินซี ช่วย ป้องกันไม่ให้ไวรัสเข้าสู่เซลล์ของ ร่างกาย ช่วยลดโอกาสการติด เชื้อในอวัยวะต่างๆ ได้

ต้มโคล้ง ส่วนเมนูอาหารไทยอีกจานที่มีรสชาติแซ่บจัดจ้านไม่แพ้ กัน นั่นคือ \"ต้มโคล้ง\" (รวมถึงเมนูแกงเลียงและยำชนิด ต่างๆ) มีส่วนผสมของสมุนไพรจำพวกหอมใหญ่ หอมแดง เห็ดชนิดต่างๆ และมะนาว ซึ่งมีสารสำคัญ เช่น สารเคอร์ซีทิน เบต้ากลูแคน และวิตามินซี ที่ช่วยกระตุ้น ภูมิคุ้มกันของร่างกาย ทำให้ไม่ป่วยง่าย มีฤทธิ์ต้านอนุมูล อิสระสูง ช่วยส่งเสริมการทำงานของระบบภูมิคุ้มกัน

น้ำพริก ผักต้ม บ้านเราคุ้นเคยกับอาหารไทย ประเภทเครื่องจิ้มกันอยู่แล้ว อย่างเช่นเมนูน้ำพริกผักต้มหรือ ผักสด โดยอาจจะเน้นผักสมุนไพร ที่มีสรรพคุณทางยาในเมนูนี้มห้ มากขึ้น เช่น ดอกขี้เหล็ก ยอด มะยม ใบเหลียง ยอดสะเดา มะระ ขี้นก ฟักข้าว ผักเชียงดา คะน้า มะรุม ผักแพว ผักหลากสี ซึ่งผัก เหล่านี้อุดมไปด้วยสารกลุ่มแอน โทไซยานิน ซึ่งเป็นสารกลุ่มเฟลโว นอยด์ที่มีฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระสูง และมีวิตามินซีสูงด้วย

แ ก ง ส้ ม ม ะ รุ ม แ ก ง ส้ ม ทั้ ง ส อ ง ช นิ ด นี้ ต่ า ง ก็ เ ป็ น อ า ห า ร ไ ท ย ที่ มี ส มุ น ไ พ ร เ ป็ น ส่ ว น ป ร ะ ก อ บ เ ริ่ ม จ า ก \" แ ก ง ส้ ม ม ะ รุ ม \" มี ม ะ รุ ม เ ป็ น ส่ ว น ป ร ะ ก อ บ ห ลั ก ซึ่ ง มี ส า ร เ ค อ ร์ ซี ติ น ( Q U E R C E T I N ) ที่ มี ศั ก ย ภ า พ ใ น ก า ร ป้ อ ง กั น ไ ม่ ใ ห้ ไ ว รั ส เ ข้ า เ ซ ล ล์ ช่ ว ย ล ด โ อ ก า ส ก า ร ติ ด เ ชื้ อ ส่ ว น เ ม นู \" แ ก ง ส้ ม ผั ก ร ว ม \" ค ว ร ใ ช้ ผั ก ห ล า ก ห ล า ย สี ผ ส ม กั น เ พ ร า ะ อุ ด ม ไ ป ด้ ว ย วิ ต า มิ น ซี แ ล ะ ส า ร ก ลุ่ ม แ อ น โ ท ไ ซ ย า นิ น ซึ่ ง เ ป็ น ส า ร เ ฟ ล โ ว น อ ย ด์ ที่ มี ฤ ท ธิ์ ต้ า น อ นุ มู ล อิ ส ร ะ สู ง ช่ ว ย เ ส ริ ม ก า ร ทำ ง า น ข อ ง เ ซ ล ล์ ใ น ร ะ บ บ ภู มิ คุ้ ม กั น ทำ ใ ห้ ไ ม่ ป่ ว ย ง่ า ย

ผั ด ก ะ เ พ ร า อ า ห า ร ย อ ด นิ ย ม ข อ ง ผู้ ค น ทั่ ว ร า ช อ า ณ า จั ก ร อาหารไทยจานนี้มีส่วนผสมหลักคือ \"ใบกะเพรา\" ซึ่งถือเป็นผักสมุนไพรอีกอย่างที่คนไทยรู้จักกัน ดี ข้อมูลจากกรมการแพทย์แผนไทยและแพทย์ทางเลือก ระบุว่าใบกะเพรามีสารโอเรียนทิน (orientin) เป็นสารสำคัญที่มีศักยภาพในการป้องกันไม่ให้ไวรัสเข้าเซลล์ ช่วยลดโอกาสการติด เชื้อของเซลล์ จึงช่วยป้องกันไม่ให้ป่วยไข้จากเชื้อไวรัสได้

Thank you จัดทำโดย นาย ชัชพล ปินตา ม.6/6 เลขที่ 12


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook