Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ความเชื่อมโยงกันของหลักธรรมในพระพุทธศาสนากับหลักปรัชญาของเศรษญฐกิจพอเพียง #เรียนกับครูบลูมิ้นท์

ความเชื่อมโยงกันของหลักธรรมในพระพุทธศาสนากับหลักปรัชญาของเศรษญฐกิจพอเพียง #เรียนกับครูบลูมิ้นท์

Published by Kru Arraya, 2022-08-03 07:50:45

Description: ความเชื่อมโยงกันของหลักธรรมในพระพุทธศาสนากับหลักปรัชญาของเศรษญฐกิจพอเพียง
โดย
นางสาวอารยา วิชาสวัสดิ์

#จะสื่อ #เรียนกับครูบลูมิ้นท์

Search

Read the Text Version

ความเชือ่ มโยงกนั ของหลกั ธรรมในพระพุทธศาสนากบั หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง มนุษยม์ ีความต้องการปจั จยั ส่ีเพื่อใช้ในการดารงชีวิต แต่ในการดาเนินชีวิตเพ่ือใหช้ วี ิตตนเอง ครอบครวั สงั คม ไปจนถึงประเทศชาติมคี วามสขุ นนั้ ต้องอาศยั หลักในการดาเนนิ ชีวิตดว้ ย ซงึ่ หลกั ธรรมคา สอนของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า เปน็ เสมือนยาท่รี ักษาสุขภาพกายและใจให้ประคบั ประคองชีวติ ดาเนินไปอยา่ ง มีความสุข ดังน้นั การเรียนรู้เกี่ยวกบั หลกั ธรรมในคาสอนของพระพุทธศาสนาจึงเปน็ สง่ิ ที่ควรรู้ เพื่อนาไป ประยุกตใ์ ชใ้ นการดาเนนิ ชีวิตในยุคที่มคี วามเจรญิ ก้าวหน้าด้านวตั ถุอยา่ งรวดเร็ว คาว่า “ศาสนา” แปลวา่ “คาสั่งสอน” หมายถึง คาส่งั สอนของศาสดาผู้ประกาศและแต่งตั้งศาสนาขึ้น เพือ่ แนะแนวทางแก่ผ้ทู ่ปี รารถนาความสุข พึงปฏิบัตติ ามหลกั ทส่ี ่งั สอนไว้ ราชบณั ฑิตยสถาน ให้ความหมายของ “ศาสนา” ว่า “ลัทธคิ วามเชอ่ื ของมนุษยอ์ นั มหี ลัก คอื แสดง กาเนดิ และความส้ินสดุ ของโลก เป็นต้น อันเป็นไปในฝา่ ยปรมัถตป์ ระการหน่ึง แสดงหลักธรรมเกีย่ วกบั บญุ บาป อนั เปน็ ไปในฝ่ายศลี ธรรมประการหน่งึ พร้อมท้ังลทั ธพิ ธิ ีท่ีกระทาตามความเห็น หรือตามคาสั่งสอนในความเชือ่ นนั้ ๆ” สมเด็จพระสงั ฆราชเจา้ กรมหลวงวชิรญาณวงศ์ (ม.ร.ว.ชนื่ นพวงศ)์ ทรงอธิบายว่า “ศาสนา คอื คาสั่ง สอน ท่านผู้ใดเปน็ ตน้ เดิม เป็นผู้บญั ญัตสิ ัง่ สอน ก็เรียกวา่ ศาสนาของทา่ นผู้นั้น หรือท่านผบู้ ัญญตั สิ ่งั สอนนัน่ ได้ นามพเิ ศษอย่างไร กเ็ รยี กชื่อนั้นอยา่ งน้ัน เพราะฉะนนั้ ศาสนาจงึ มมี าก คาสอนก็ตา่ งกัน” สชุ พี ปุญญานุภาพ อธบิ ายความหมายคาว่า “ศาสนา” ไวว้ า่ 1. ศาสนา คอื ที่รวมแหง่ ความเคารพนบั ถืออันสูงส่งของมนษุ ย์ 2. ศาสนา คือ ท่ีพ่งึ ทางจิตใจ ซึง่ มนษุ ย์สว่ นมากย่อมเลือกยดึ เหน่ยี วตามความพอใจ และความ เหมาะสมแกเ่ หตแุ วดล้อมของตน 3. ศาสนา คือ คาสัง่ สอน อนั วา่ ด้วยศีลธรรม และอดุ มคติสงู สดุ ในชีวิตของบคุ คล รวมท้ังแนว ความเชอื่ ถือและแนวการปฏิบัติต่าง ๆ กันตามคติของแตล่ ะศาสนา1 ศาสนา คอื วัฒนธรรมในลักษณะขนบธรรมเนยี มประเพณี และความเช่ือ และศาสนากม็ ีองคป์ ระกอบ ท่เี ป็นศาสนสถานและสง่ิ ประดิษฐต์ า่ ง ๆ ศาสนาจึงเป็นวฒั นธรรมทีม่ ีลักษณะนามธรรมและรปู ธรรม เกี่ยวข้อง ในการกาหนดคา่ นิยม โลกทัศน์ และประเพณีตา่ ง ๆ ในสงั คม โดยเฉพาะอยา่ งย่งิ บรรทดั ฐานท่ีเปน็ วถิ ีชาวบ้าน จารีตประเพณี และหลักศีลธรรม ศาสนาน้ันมีมาพรอ้ มกบั มนุษย์ และคดิ ว่าจะไมห่ มดไปจากโลกนี้ เพราะหน้าที่ของศาสนา คือ การสง่ั สอนใหม้ นุษยร์ ้จู ักโลกและชวี ิต และเป็นหลกั ปฏบิ ัติท่ีนามนุษย์บรรลุความดี ความอย่รู อดปลอดภัย พ้นไปจาก ความทกุ ข์ อีกทั้งยังเป็นเรื่องของความเช่ือในส่ิงทเี่ หนือธรรมชาติ สง่ิ ท่ีเป็นลักษณะเฉพาะของศาสนาซงึ่ แยก 1 สชุ พี ปุญญานภุ าพ, 2532, 9. นางสาวอารยา วชิ าสวสั ด์ิ คณะศกึ ษาศาสตร์ สาขาวิชาสงั คมศกึ ษา รหสั นสิ ติ 58010512119 เลขท่ี 71 | 1

ศาสนาออกมากจากสถาบนั อ่ืน ๆ นกั สังคมวิทยาชาวเยอรมนั กล่าววา่ “ไมม่ ีสังคมใดทไ่ี ม่มสี งิ่ ทเ่ี รยี กว่าศาสนา จะพบว่าทุกสงั คมมคี วามคิด ความเชอื่ เกีย่ วกับอานาจเหนอื ธรรมชาตดิ ว้ ยกันทง้ั นนั้ ”2 สาหรับในบทความนี้จะขออธิบายเกย่ี วกบั พระพุทธศาสนาพอสังเขป เพื่อเป็นความเข้าใจแก่ผู้ศกึ ษา ศาสนาพุทธ ศาสนาพุทธ หมายถงึ ศาสนาของทา่ นผรู้ ู้ ผ้รู ู้ในท่นี ้ี คือ “พระโคตมะ พุทธะ” ซึ่งเป็นศาสดาผู้สถาปนา พุทธศาสนา ชาวพุทธส่วนใหญร่ ู้กนั ท่วั ไปในพระนามว่า “พระสมั มาสมั พุทธเจ้า” คือ ผตู้ รัสรูด้ ว้ ยเองโดยชอบ เมื่อก่อนพทุ ธศักราช 80 ปี ได้มีมหาบรุ ษุ ท่านหน่ึงเกิดขึน้ มาในโลก เป็นโอรสของพระเจ้าสุทโธทนะ และพระนางสิรมิ หามายา แห่งกรุงกบลิ พัสด์ุ สกั ชนบทซงึ่ บัดนีอ้ ยใู่ นเขตประเทศเนปาล มีพระนามว่า “สทิ ธตั ถะ” ตอ่ มาอีก 35 ปี พระเจา้ สทิ ธัตถะได้ตรัสรู้ ได้พระนามตามความตรัสรวู้ ่า “พทุ ธะ” ซึง่ ไทยเราเรยี ก “พระพุทธเจ้า” พระองคไ์ ด้ทรงประกาศพระธรรมท่ตี รสั รู้แก่ประชาชน จงึ เกิดพระพุทธศาสนา (คาสั่งสอนของ พระพุทธะ) และบริษทั 4 คือ ภกิ ษุ (สามเณร) ภิกษุณี (สามเณร)ี อุบาสก อุบาสิกา พุทธศาสนาเปน็ ศาสนาที่ไมค่ ับแคบ ผ้นู บั ถือยอ่ มเขา้ สังคมกับชาวโลก ซง่ึ ต่างชาติ ต่างศาสนากนั ได้ สะดวก ท้งั ไม่สอนใหห้ ลบล่ใู คร ตรงกันขา้ มกลับสอนให้เคารพตอ่ ผคู้ วรเคารพท้งั ปวง และไม่ซ่อนเร้นหวงกนั ธรรมไว้โดยเฉพาะ ใครจะมาศึกษาปฏบิ ัตกิ ็ไดท้ ้ังนนั้ โดยไมต่ ้องนับถือก่อน ทงั้ นี้ เพราะแสดงธรรมทีเ่ ปดิ ทางให้ พิสจู น์ไดว้ า่ เปน็ สจั จะ (ความจริง) ท่เี ป็นประโยชน์สุขแกก่ ารดารงชวี ิตในปจั จุบนั สจั ธรรมที่เป็นหลักใหญใ่ น พระพทุ ธศาสนา คือ อริยสัจ 4 หลักธรรมสาคัญทีเ่ ป็นหวั ใจของพระพุทธศาสนา คาวา่ “ธรรม” หมายถึง คาสอนของพระสัมมาสมั พุทธเจ้า แปลความหมายได้ว่า “เหตุ” หมายถึง ต้นเหตุ ข้อธรรม คาสอนของพระพุทธเจ้าทุกข้อ หากดใู ห้ดีแลว้ คาสอนเหลา่ น้นั ลว้ นแตบ่ อกเหตุท้ังสิ้น คือ บอก ว่าถา้ ทาเหตุอย่างนีแ้ ล้ว จะเกิดผลอยา่ งนั้น หรอื ไม่ก็บอกว่าผลอย่างนีเ้ กิดข้นึ มาจากเหตุอยา่ งนน้ั เช่น ความ ขยันหม่นั เพยี รเป็นเหตุให้เกดิ ความเจริญ ความเกียจครา้ นเป็นเหตใุ หเ้ กดิ ความเสื่อม “หลกั ธรรม” สาคญั ท่ีจะกล่าวถึงในบทความนี้ คือ อรยิ สจั 4 ไตรลักษณ์ ปฏิจจสมุปบาท ความไม่ ประมาท พระพทุ ธโอวาท 3 ประการ ความไมย่ ึดม่ันถือมั่นและความหลดุ พน้ (วมิ ุต)ิ อริยสัจ แปลว่า “ความจรงิ อันประเสริฐ” ซง่ึ อริยสัจ 4 นนั้ เปน็ หลักเหตผุ ลที่พสิ จู น์ได้ด้วยตนเองอยา่ ง แทจ้ รงิ ไดแ้ ก่ 1. ทุกข์ หมายถึง สภาพท่ีทนไดย้ าก สภาวะท่บี ีบค้นั ขัดแยง้ บกพร่อง ขาดแกน่ สารและความ เท่ยี งแท้ ไมใ่ ห้ความพึงพอใจทแี่ ทจ้ รงิ 2 Max Weber, The Sociology of Religion (Boston : Beacon Press, 1963), pp. xxvii-vii. นางสาวอารยา วชิ าสวสั ด์ิ คณะศกึ ษาศาสตร์ สาขาวิชาสงั คมศกึ ษา รหัสนสิ ติ 58010512119 เลขที่ 71 | 2

2. สมทุ ยั สาเหตใุ ห้เกดิ ทุกข์หรือต้นตอของปญั หาหรือสาเหตกุ ารเกิดขึ้นของความเป็นทุกข์ 3. นิโรธ แปลว่า ดับไมเ่ หลือ หมายถึง ดับสาเหตทุ ี่ทาใหเ้ กิดความทกุ ข์ 4. มรรค แปลวา่ หนทาง หรือ ข้อปฏบิ ตั ิใหถ้ งึ ความดบั ทุกข์ ไตรลกั ษณ์ ชว่ ยให้เรามองโลกและชีวติ ตามความจรงิ ไมห่ ลงงมงายอย่กู บั สงิ่ ทีป่ รากฏภายนอก อนั เปน็ มายาแห่งโลก ความยึดม่ันในตนเองอย่างมดื บอดซงึ่ เป็นรากเหงา้ แห่งอกุศลนัน้ จะถูกกร่นรากให้คอดกวิ่ ไป ทลี ะนอ้ ย เมอ่ื มาพิจารณาไตรลักษณ์ดว้ ยปัญญาอนั ชอบ เป็นทางลัดไปสู่ความบริสทุ ธิ์แห่งดวงจติ ทีห่ มกั หมมมา นาน ไตรลกั ษณ์ หมายถึง ลกั ษณะสามัญ 3 ประการของทุกสรรพสิ่ง 1. อนิจจงั แปลวา่ ความไมเ่ ทยี่ ง มคี วามหมายวา่ สิง่ ท้งั หลายทัง้ ปวงมลี กั ษณะเปลยี่ นแปลงอยู่ เสมอ ไม่มีความตายตวั 2. ทุกขงั แปลวา่ เปน็ ทุกข์ หมายถึง สิง่ ทงั้ ลายท้งั ปวงมีลักษณะทีเ่ ปน็ ทุกข์ ลักษณะแห่งความ ทนทรมาน 3. อนัตตา แปลว่า ไม่ใชต่ ัวตน มคี วามหมายว่า ทุกสิง่ ทุกอย่างหรือลกั ษณะอนั ใดทจ่ี ะทาใหเ้ รา ถือเปน็ หลักได้วา่ เป็นตัวเปน็ ตน เพราะสิ่งที่เราเรียกวา่ ตัวตนน้ันไม่มจี รงิ ปฏิจจสมุปบาท การเกิดขน้ึ พร้อมแห่งธรรมท้ังหลายเพราะอาศัยกัน ซ่งึ ใช้อธิบายเร่ืองวิวฒั นาการของ โลกและชีวิต นั่นคอื ส่ิงทั้งหลายที่เปน็ ปัจจยั เน่ืองอาศัยกนั เกิดสืบตอ่ กนั มาตามกระบวนการแห่งเหตุผลอย่างไม่ มีทสี่ ้ินสดุ เป็นศูนยก์ ลางแหง่ คาสอนอนั ถูกต้องทงั้ หลายช่วยใหเ้ รามองโลกและชีวติ ในฐานะเปน็ สิ่งอาศัยกนั เกดิ ขึน้ ชัว่ คราวตามเหตปุ ัจจัย และจะดบั ไปเมื่อสิ้นเหตปุ ัจจัย ช่วยให้เรามองเห็นเรือน คือโครงสร้างแห่งชวี ิตท้ัง หลัง พร้อมท้งั เครื่องประกอบอนั สาเร็จให้เป็นเรอื น ไมใ่ ช่เห็นเพียงผวิ เผินภายนอกเท่านน้ั เปน็ มงกุฎเพชรแห่ง ความรูแ้ ละความเขา้ ใจอันถูกต้องทเี่ ก่ยี วกบั ปัญหาชวี ิตอนั ลึกซง้ึ ละเอยี ดอ่อน ถึงกับไดร้ บั ยกย่องจากพระบรม ศาสดาสมั มาสัมพทุ ธเจา้ ว่า “ผู้ใดเหน็ ปฏิจจสมุปบาท ผนู้ ้นั ช่ือว่าเห็นธรรม”3 ความไมป่ ระมาท นนั้ พระศาสดาตรสั วา่ เป็นมลู แหง่ กุศลธรรมทงั้ หลาย กุศลธรรมทั้งหลายรวมลงใน ความไมป่ ระมาท มคี วามไมป่ ระมาทเปน็ ยอด ทรงสอนให้พุทธบรษิ ทั สรา้ งความไมป่ ระมาท คอื การรกั ษาจติ ด้วยสตอิ ยู่เสมอ เมื่อเป็นอยอู่ ยา่ งไม่ประมาท ยอ่ มไม่หวาดหวน่ั แม้ตอ่ ความตายท่จี ะมาถึงข้างหน้า ความไมป่ ระมาท คือ การมีสติกบั ตวั อยเู่ สมอ ไม่วา่ จะคิด จะพดู จะทาสิ่งใด ๆ ไมย่ อมถลาลงไป ในทางทเ่ี สื่อม และไม่ยอมพลาดโอกาสในการกระทาความดี ซึง่ ความไมป่ ระมาทน้นั เป็นคุณธรรมที่สาคัญยง่ิ กลา่ วไดว้ า่ คาสอนในพุทธศาสนาทั้งหมด เม่ือสรุปแล้ว กค็ ือ การสอนใหเ้ ราไมป่ ระมาท 3 “ผใู้ ดเหน็ ปฏิจจสมปุ บาท ผูน้ ้นั ชอ่ื วา่ เห็นธรรม” มีความหมายเท่ากบั ธรรมท้งั หมดของพระองค์ นางสาวอารยา วิชาสวสั ดิ์ คณะศกึ ษาศาสตร์ สาขาวชิ าสังคมศึกษา รหัสนสิ ติ 58010512119 เลขท่ี 71 | 3

พระพทุ ธโอวาท 3 ประการ คือเว้นชวั่ ทาดแี ละทาจติ ใจให้บริสทุ ธิน์ น้ั กลา่ วโดยองค์ธรรมกค็ ือ ศลี สมาธิ และปญั ญาน่นั เอง จะเว้นชว่ั ก็ตอ้ งอาศยั ศีล จะทาดีก็ตอ้ งอาศัยความมนั่ คงในจติ ใจ และจะบรสิ ุทธ์ิ แทจ้ รงิ กจ็ ะต้องอาศัยปญั ญา โอวาท 3 ประการ ได้แก่ 1. เว้นจากการทาชั่ว ความชว่ั แหง่ โอวาท 3 ประการ คอื การกระทาท่ีไมด่ ี การกระทาท่เี ป็นบาป เป็นสงิ่ เลวร้าย ย่อมมีผลทาใหเ้ กดิ ความทุกข์กาย ทกุ ข์ใจ รวมถึงเกิดความเดอื ดร้อนแกต่ นเองและผอู้ นื่ ดังนัน้ จึงพึงละเว้น และหลีกเลีย่ งจากการระทาความชั่วท้ังปวง ท้งั ทางดา้ นกาย วาจา และ จิตใจ 2. ใหท้ าความดี ความดี แหง่ โอวาท 3 ประการ คือ การกระทาที่ดงี าม เปน็ บญุ แกต่ ัวเอง มีผลทาให้เกดิ ความสขุ ความสบายใจ เกิดประโยชน์แกต่ นเอง และผู้อ่ืน โดยพึงต้องหมน่ั กระทาแตท่ าความ ดี ซ่ึงเปน็ การพฒั นาตนให้มีความประพฤตทิ ี่งดงาม เรยี กวา่ คุณธรรม และจรยิ ธรรม 3. มจี ติ ใจบริสทุ ธ์ิ จติ ใจบรสิ ุทธิ์ แห่งโอวาท 3 ประการ หมายถงึ พึงต้ังม่นั ในจิตทง่ี ดงาม คนท่มี จี ิตใจดีงาม มี การกระทา และคาพูดทด่ี ี ดว้ ยการฝึกใจของเราให้มคี วามบรสิ ทุ ธิ์ มีสติ และมสี มาธิ ไม่ ฟงุ้ ซา่ น คดิ ในสง่ิ ท่ีดี ไม่คิดร้าย ไม่คดิ อิจฉาริษยาคนอ่ืน เราหมนั่ ฝึกทาสมาธจิ ะทาใหใ้ จเรา สงบ และมสี ติ ความไม่ยึดมั่นถือมน่ั และความหลดุ พ้น (วิมตุ )ิ ความหลุดพ้นถือวา่ เป็นแกน่ แท้ของพระพุทธศาสนา เพราะคาสอนทั้งปวงมุ่งไปสูค่ วามหลุดพ้นจากกเิ ลสและความทกุ ข์ เสมอื นน้าในมหาสมุทรมรี สเดียว คอื รสเคม็ ความหลดุ พ้นนีย้ ่อมมีได้เพราะความไมย่ ึดมน่ั ถือมน่ั ความไม่ยดึ มน่ั ถือมนั่ จึงเป็นปฏิปทาแห่งความหลดุ พน้ บทบาทสาคัญของศาสนาพุทธทม่ี ีผลตอ่ ชีวติ สงั คม มีดังนี้ 1. เป็นรากฐานของสังคม อดุ มการณแ์ ละค่านิยมของศาสนาจะเปน็ อย่างเดียวกับคา่ นยิ มและ อุดมการณท์ างสงั คม ศาสนาเปน็ พลังบังคับใหป้ ระชาชนปฏิบัตติ าม 2. พฒั นาคุณสมบตั ิท่ีดีในมนษุ ย์ มนษุ ย์ยอ่ มไมส่ ามารถดารงชวี ิตอย่างผาสุกในสังคมได้ ถ้าหาก ว่าเขาไรเ้ สียซึง่ คณุ สมบตั ิที่ดี ศาสนาเป็นพลังเร่งเรา้ ใหม้ นุษย์ เสริมสร้างคณุ สมบตั ิท่ีดใี ห้ เกดิ ขึ้นแกต่ นเอง เพราะฉะนน้ั ศาสนาเทา่ กับช่วยการดารงอยูแ่ หง่ สงั คมดว้ ย 3. สรา้ งสมรรถนะและอานาจแห่งปจั เจกชนทงั้ หลายในการเผชญิ หน้าและแก้ไขปัญหาชีวิต นานาประการอยา่ งสัมฤทธิผล บุคคลทั้งหลายผ้เู ช่อื ม่ันในหลักธรรมของศาสนาจะรู้สกึ วา่ เขา ไม่ไดม้ ชี ีวิตอยู่อยา่ งโดดเดยี่ ว เขามพี ลังในการเผชิญหนา้ กับปญั หาชวี ติ ทุกรปู แบบ และยัง สามารถแก้ไขปัญหาได้อย่างมีประสิทธิผลดียงิ่ อกี ด้วย นางสาวอารยา วชิ าสวสั ดิ์ คณะศกึ ษาศาสตร์ สาขาวชิ าสงั คมศกึ ษา รหสั นสิ ิต 58010512119 เลขที่ 71 | 4

4. อบรมส่ังสอนความเป็นผู้มี “กุศลจิต” ใหเ้ กิดข้นึ ในใจของมนุษย์ ซึ่งพัฒนาชีวิตไปสู่เสน้ ทาง อันบรสิ ุทธแ์ิ ห่งพฤตกิ รรมของสมาชกิ ของสงั คม 5. เปน็ วิถีควบคมุ พฤติกรรมสงั คมอนั ทรงอานาจ เพราะมนษุ ย์เชอ่ื ย่างแน่วแนใ่ นคาสอนของ ศาสนา 6. เปน็ ประทปี เข็มทิศ และระบบควบคมุ พฤติกรรมมนุษย์ เพราะความเช่ือม่ันในศาสนา ปัจเจก ชนทงั้ หลายจงึ ไมล่ ่วงละเมดิ ปทัสถานทานทางสงั คม เข้ากลัวการถกู ลงโทษทง้ั ในโลกนี้และ โลกหน้า 7. มีอทิ ธิพลต่อวธิ กี ารพัฒนาชีวิตทางเศรษฐกิจของสังคม คร้นั จะกล่าวถึงปรัชญา กม็ ีคาถามในใจวา่ พุทธศาสนาเปน็ ปรัชญาหรอื ไม่ ? ก่อนอน่ื ต้องมาจากัดความของ “ปรัชญา” เสยี กอ่ น ปรชั ญานั้นไมใ่ ช่ความรู้แท้ เปน็ เพียงความร้ทู ี่ยัง อยใู่ นขา่ ยของความสงสยั และหลักของปรัชญาจะตอ้ งใชเ้ หตุผลพจิ ารณาเอาเอง ซง่ึ ตา่ งจาก “ศาสนา” ท่เี ป็น แบบ Religion ต้องอาศยั ศรัทธา (Faith) เปน็ หลกั แตป่ รชั ญา (Philosophy) ใชเ้ หตุผล (Reason) เป็นหลกั เมอ่ื จากดั ความปรชั ญาเป็นความรู้ทใ่ี ช้เหตุผลเป็นหลกั เช่นน้ีแลว้ “พระพุทธศาสนากจ็ ดั เป็นปรชั ญาได้ เพราะหลักคาสอนในพระพุทธศาสนาไม่ได้บังคบั ใหเ้ ช่อื แต่พระพทุ ธเจา้ ทรงสอนให้คิดเสียก่อนแลว้ จงึ เชอ่ื ” ปรชั ญา คาวา่ “ปรชั ญา” เป็นคาภาษาสนั สกฤต หมายความว่า “ความรูอ้ นั ประเสริฐ” คอื ความรหู้ ลังจากท่ี หมดความสงสยั แลว้ ตรงกบั ภาษาบาลวี า่ “ปัญญา” แต่เขา้ ใจกันในปจั จบุ นั ในภาษาองั กฤษวา่ Philosophy ซงึ่ ตามรปู ศัพท์แปลวา่ “ความรกั ในความรู้” (Love of Wisdom) ซึง่ จุดมุ่งหมายของปรัชญากค็ ือ การทาให้ มนุษย์หลดุ พ้นจากความกลัว แต่ปรชั ญาไม่ใชค่ วามรแู้ ท้ เป็นเพยี งความรู้ทย่ี ังอยู่ในขา่ ยของความสงสัย และ หลกั ของปรัชญาจะต้องใช้เหตุผลพจิ ารณาเอาเอง “ปรชั ญา” ตามพจนานุกรมฉบับราชบณั ฑิตยสถาน แปลวา่ วิชาว่าด้วยหลกั แห่งความรู้ และหลักแห่ง ความจรงิ กล่าวคือ ในบรรดาความรู้ทงั้ หลายของมนุษยชาตนิ ั้น อาจแบง่ ไดเ้ ปน็ สองเรอ่ื งใหญ่ ๆ เรอ่ื งท่หี นึง่ คือ เรือ่ งเกี่ยวกับธรรมชาติ เช่น ฟิสกิ ส์ มเี ป้าหมายในการศกึ ษาเพ่ือหาความจริงตา่ ง ๆ และเขา้ ใจในธรรมชาติมากกว่าสงิ่ รอบตวั เพราะรวมไปถงึ จักรวาลทั้งหมดอยา่ งลกึ ซ้ึง ชวี วทิ ยา มีเป้าหมายใน การศกึ ษาเก่ียวกับสงิ่ ทม่ี ชี วี ติ ทง้ั หลาย เคมี มเี ป้าหมายในการศึกษาเกย่ี วกับธาตุ และองค์ประกอบของธาตุ เปน็ ต้น เร่ืองทีส่ อง คือ เรอ่ื งเกีย่ วกบั สังคม เชน่ เศรษฐศาสตร์ มเี ป้าหมายในการศึกษาเก่ยี วกบั ระบบเศรษฐกจิ ของสังคม รัฐศาสตร์ มีเปา้ หมายในการศึกษาเกี่ยวกับระบบการเมืองการปกครองของสงั คม นิตศิ าสตร์ มี เปา้ หมายในการศึกษาเกีย่ วกับระบบกฎหมายของสังคม เป็นต้น นางสาวอารยา วชิ าสวสั ด์ิ คณะศกึ ษาศาสตร์ สาขาวชิ าสังคมศึกษา รหัสนสิ ติ 58010512119 เลขที่ 71 | 5

หลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง ในอดตี สังคมไทยเปน็ สงั คมท่ีคนมวี ถิ ชี วี ติ แบบเอื้ออาทร พึ่งพาอาศยั กัน สภาพชีวติ ความเป็นอย่เู ป็นไป แบบถ้อยทถี ้อยอาศยั ซงึ่ กันและกนั สงั คมไทยโดยเฉพาะในชนบทเป็นสงั คมที่เปีย่ มไปด้วยน้าใจ และมี วัฒนธรรมท่ีงดงามในแตล่ ะชุมชนแตล่ ะท้องถิ่น แต่ภายหลงั จากการทปี่ ระเทศไทยมีแนวทางการพัฒนา ประเทศโดยมุ่งเนน้ ไปทร่ี ะบบเศรษฐกิจเป็นหลัก ซ่ึงเปน็ แนวทางการพฒั นาที่รับรูปแบบมาจากประเทศกลุ่ม มหาอานาจตะวนั ตก โดยใช้รูปแบบเศรษฐกิจแบบเสรีนยิ มหรือทมุ นยิ มเสรี โดยไม่ตระหนักถงึ ผลกระทบที่ เกิดขน้ึ ในสงั คม โดยเฉพาะในชมุ ชนชนบท ซงึ่ ถอื วา่ เป็นกลุ่มคนส่วนใหญ่ของประเทศ แนวทางการพฒั นา ประเทศตามระบบเศรษฐกจิ แบบเสรนี ิยมหรอื ทมุ นิยมเสรีได้ดดู ซบั เอาทรัพยากรที่เปน็ รากฐานของการ ดารงชวี ิตของคนในชมุ ชนชนบทเปลีย่ นไป เกิดปัญหาต่าง ๆ ขน้ึ ในชมุ ชน เชน่ ปญั หาความยากจน ปัญหา ทรพั ยากรธรรมชาติ ปัญหายาเสพติด เป็นต้น คนในชุมชนชนบทไมส่ ามารถพึงตนเองได้เหมือนในอดตี ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงเกิดจากการสั่งสมประสบการณข์ องพระบาทสมเด็จพระเจา้ อยู่หัวภูมิ พลอดุลยเดชฯ ต้ังแตช่ ว่ งชวี ิตในวยั เยาว์ การเสด็จข้นึ ครองราชย์ และตลอดพระชนชีพของพระองค์ พระองค์ ทรงเสดจ็ พระราชดาเนนิ เย่ียมเยียนราษฎร์ทาให้พระองค์ทรงพบปัญหาต่าง ๆ ที่เกิดข้นึ กับราษฎรข์ องพระองค์ โดยเฉพาะอยา่ งยิ่งปัญหาความยากจน ดังพระราชดารสั ความตอนหน่ึงว่า “พระเจา้ อย่หู ัวยังตอ้ งเหนอื่ ยต้อง ลาบากทุกวนั น้ี เพราะว่าประชาชนยังยากจนอยู่ เม่ือประชาชนยากจนแล้ว อสิ รภาพเขาจงึ ไมม่ ี และเม่ือเขาไม่ มอี สิ รภาพ เขากเ็ ปน็ ประชาธปิ ไตยไมไ่ ด้”4 “ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” คอื อะไร ? บ้างก็บอกวา่ เป็นปรชั ญาที่ในหลวงให้ประหยัดอดออม บ้างก็ว่า 3 หว่ ง 2 เง่ือนไข5 แต่คาตอบท่ี น่าสนใจคือ คาตอบทอ่ี ย่หู ลังธนบตั รราคาใบละ 1,000 บาท ทว่ี ่า “เศรษฐกิจแบบพอมีพอกนิ แบบพอมีพอกิน น้นั หมายความว่าอุ้มชูตนเองใหพ้ อเพยี งกับตนเอง” เนอื่ งจากเป็นธนบัตรที่มีราคาสูงที่สุดจึงมีพระราชดารัส กากับไวเ้ ตอื นใจใหต้ ระหนักถึงการใช้จ่ายเงินอยา่ งรู้คุณค่า ให้เกดิ ประโยชน์สูงสุด การมีเศรษฐกจิ แบบพอมีพอกินไม่ใชก่ ารย้อนกลับไปใหท้ ุกคนถอื จอบถือเสยี บ กลบั ไปไร่นา เพาะปลูก ถวั่ ปลกู ข้าวกนิ เองทุกคน แต่แท้ทจ่ี ริงแลว้ เศรษฐกิจแบบพออยพู่ อกิน คือ เศรษฐกิจแบบมัชฌมิ าปฏิปทา6ของ พระพทุ ธศาสนาน่ันเอง เศรษฐกจิ แบบพออยู่พอกินไม่ใชเ่ ศรษฐกจิ แบบอยู่กบั ที่มไิ ด้มีการพัฒนาเจรญิ เตบิ โตแต่ อย่างใด แตห่ ากเป็นการพัฒนาและเจริญเตบิ โตจากเล็กไปหาใหญ่แบบค่อยเป็นค่อยไปอย่างมน่ั คง เศรษฐกิจพอเพยี งเปน็ ปรัชญาชถี้ งึ แนวการดารงอยูแ่ ละปฏบิ ตั ิตนของประชาชนในทุกระดบั ตง้ั แต่ ระดบั ครอบครัว ระดบั ชุมชนจนถงึ ระดบั รฐั โดยเฉพาะการพัฒนาเศรษฐกิจเพ่ือให้ก้าวทันตอ่ ยุคโลกาภิวัฒน์ “ความพอเพยี ง” หมายถึง ความพอประมาณ ความมเี หตุผล รวมถึงความจาเปน็ ต้องมีระบบภมู ิคุ้มกันในตัวที่ 4 สุเมธ ตนั ตเิ วชกลุ , 2549, 77. 5 3 หว่ ง คอื ความพอประมาณ ความมเี หตผุ ล และการมภี มู คิ มุ้ กนั ตนเอง สว่ น 2 เงอื่ นไข คอื ความรู้ และคณุ ธรรม 6 มชั ฌมิ าปฏปิ ทา แปลว่า ทางสายกลาง หมายถึง ทางปฏบิ ตั ทิ ่ีไม่สดุ โต่งไปในทางอุดมการณ์ใดอดุ มการณ์หน่ึงเกินไป มงุ่ เน้น ใชป้ ัญญาในการแก้ปญั หา มักไม่ยดื ถอื หลักการอยา่ งงมงาย เมอ่ื นามชั ฌมิ าปฏปิ ทาไปใชใ้ นความพอเพยี ง หรอื การใช้ชวี ิตท่ี ถกู ตอ้ งตามหลกั สัมมาอาชีวะ คือ ใช้ชวี ติ อย่างรปู้ ระมาณในการบรโิ ภค ใชป้ ัจจยั สเ่ี ท่าทจี่ าเป็น ไม่ใช่ใชต้ ามความต้องการเพอ่ื สนองความอยาก นางสาวอารยา วชิ าสวสั ด์ิ คณะศกึ ษาศาสตร์ สาขาวชิ าสงั คมศกึ ษา รหัสนสิ ติ 58010512119 เลขที่ 71 | 6

ดีพอสมควรต่อการมีผลกระทบใด ๆ อันเกิดจากการเปลี่ยนแปลงภายนอกและภายใน ทง้ั นี้จะตอ้ งอาศัยความ รอบรู้ ความรอบคอบและความระมดั ระวงั อย่างยงิ่ ในการนาวิชาการตา่ ง ๆ มาใชใ้ นการดาเนินการและวางแผน ในทกุ ข้ันตอน ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงเปน็ ปรชั ญาทช่ี ี้แนะแนวทางการดารงชวี ิต และปฏิบัตติ นในทางท่คี วรจะ เป็น โดยมีพน้ื ฐานมาจากวิถชี ีวิตดัง้ เดมิ ของสงั คมไทย ซง่ึ สามารถนามาประยุกต์ใชไ้ ด้ในทุกระดบั ชนชนั้ ต้งั แต่ ระดับปัจเจก ครอบครัว ชมุ ชน สังคม ประเทศชาติ และประยุกตใ์ ช้ไดต้ ลอดเวลา เปน็ การมองในเชิงระบบท่ีมี การเปล่ียนแปลงเป็นพลวัตรอย่ตู ลอดเวลา มงุ่ เน้นการรอดพ้นจากภัยและวิกฤตปญั หาทางเศรษฐกิจและสงั คม เพอ่ื ความมนั่ คงและยั่งยืนของการพัฒนา แนวคิดหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งเนน้ การปฏบิ ตั ทิ างสาย กลาง และการพฒั นาอยา่ งเป็นข้ันตอน คาวา่ “พอเพียง” จะตอ้ งประกอบดว้ ยคุณลกั ษณะสาคัญ 3 ประการ ซ่ึง ไดแ้ ก่ 1. ความพอประมาณ หมายถงึ ความพอดที ี่ไมน่ ้อยเกนิ ไปและไม่มากเกนิ ไป โดยไมเ่ บียดเบียน ตนเองและผู้อืน่ เช่น การผลิต และการบริโภคที่อยใู่ นระดับพอประมาณ 2. ความมีเหตุผล หมายถึง การตดั สินใจเกี่ยวกับระดับของความพอเพียงนั้น จะต้องเป็นไป อย่างมีเหตุผล โดยพจิ ารณาจากเหตุปจั จัยทีเ่ ก่ยี วขอ้ งตลอดจนคานงึ ถึงผลท่ีคาดวา่ จะเกดิ ขน้ึ จากการกระทานัน้ อยา่ งรอบคอบ 3. การมีภูมิคมุ้ กันทีด่ ใี นตวั หมายถงึ การเตรยี มตวั ใหพ้ ร้อมรับผลกระทบ และการเปลย่ี นแปลง ดา้ นตา่ ง ๆ ทจ่ี ะเกิดข้นึ โดยคานึงถึงความเป็นไปไดข้ องสถานการณ์ ตา่ ง ๆ ท่ีคาดว่าจะ เกิดขึ้นในอนาคตทั้งใกล้และไกล ท้ังน้คี ณุ ลักษณะท้ัง 3 ประการ จะต้องปฏบิ ัติภายใตเ้ งอ่ื นไขของ “ความรู้” และ “คณุ ธรรม” เง่ือนไขความรู้ ประกอบด้วย ความรอบรู้เกย่ี วกบั วชิ าการต่าง ๆ ทีเ่ กย่ี วข้องอย่างรอบด้าน ความ รอบคอบท่จี ะนาความรเู้ หลา่ นัน้ มาพจิ ารณาให้เชื่อมโยงกัน เพ่อื ประกอบการวางแผน และความระมัดระวงั ใน ข้ันปฏิบัติ เงื่อนไขคุณธรรม ทจ่ี ะต้องเสริมสรา้ งประกอบด้วย มีความตระหนกั ในคุณธรรม มีความซ่ือสตั ยส์ ุจรติ และมคี วามอดทน มีความเพยี ร ใช้สติปัญญาในการดาเนินชีวิต ขอบเขตของเศรษฐกิจพอเพียงเปน็ ปรัชญาทีม่ มี ิติครอบคลมุ ถึง 4 ด้าน คือ มติ ิดา้ นเศรษฐกจิ มิติดา้ น จิตใจ มติ ิด้านสังคม และมิติด้านวัฒนธรรม 1. มิตดิ ้านเศรษฐกจิ เศรษฐกจิ พอเพียงเปน็ เศรษฐกิจแบบพออยพู่ อกนิ ให้ความขยันหมั่นเพียร ประกอบสัมมาอาชพี เพอ่ื ให้พงึ่ ตนเองได้ ให้พน้ จากความยากจน การปฏิบัติตามทฤษฎีใหม่ ตามแนวพระราชดาริ เป็นตัวอย่างของการปฏบิ ตั ติ ามเศรษฐกิจพอเพียง ซ่ึงไดช้ ่วยให้ นางสาวอารยา วิชาสวสั ด์ิ คณะศกึ ษาศาสตร์ สาขาวชิ าสังคมศกึ ษา รหัสนสิ ิต 58010512119 เลขที่ 71 | 7

เกษตรกรจานวนมากมรี ายไดเ้ พ่มิ สงู ขึ้น มชี ีวิตทเี่ ปน็ สุขตามสมควรแก่อัตภาพ พน้ จากการ เป็นหนีแ้ ละความยากจน สามารถพง่ึ ตนเองได้ มีครอบครัวทีอ่ บอนุ่ และเป็นสุข 2. มติ ิด้านจิตใจ เศรษฐกจิ พอเพียงเนน้ ทีจ่ ิตใจร้จู กั พอ คอื พอดี พอประมาณ และพอใจในส่ิงที่ มี ยนิ ดใี นสิง่ ท่ีได้ ไมโ่ ลภ เศรษฐกจิ พอเพยี งจะต้องเริ่มที่ตัวเองโดยสร้างรากฐานทางจติ ใจท่ี มัน่ คง โดยเริม่ จากใจท่ีรูจ้ กั พอ เป็นการปฏิบตั ิตามทางสายกลางหรือมชั ฌิมาปฏิปทา ดร.สุเมธ ตันติเวชกลุ ไดเ้ ขยี นไวใ้ นหนงั สอื เร่ือง “ใตเ้ บอ้ื งพระยุคลบาท” ว่าเศรษฐกิจ พอเพียงกล่าวโดยสรุป คอื การหนั กลบั มายดึ เส้นทางสายกลาง (มชั ฌิมาปฏปิ ทา) ในการ ดารงชวี ติ โดยใช้หลกั การพ่งึ ตนเอง 5 ประการ คือ 1) ตนเองทางจติ ใจ คนทีส่ มบรู ณ์พร้อมต้องมีจิตใจทเี่ ข้มแขง็ มีจติ สานึกวา่ ตนนน้ั สามารถพึ่งตนเองได้ ดังน้นั จึงควรท่ีจะสรา้ งพลังผลกั ดนั ให้มีภาวะจติ ใจฮึกเหิมต่อสู้ ชวี ติ ด้วยความสุจรติ แมอ้ าจจะไม่ประสบผลสาเร็จบา้ ง แต่ไมค่ วรทอ้ แท้ ให้พยายาม ต่อไป 2) พึ่งตนเองทางสังคม ควรเสริมสรา้ งใชช้ นุ ชนแตล่ ะท้องถนิ่ ได้ร่วมมือชว่ ยเหลือเก้ือกูล กัน นาความรู้ท่ีไดร้ บั มาถ่ายทอดและเผยแพร่ให้ได้รบั ประโยชนซ์ งึ่ กนั และกนั 3) พ่งึ ตนเองได้ทางทรัพยากรธรรมชาติ คอื การส่งเสริมให้มีการนาเอาศักยภาพของ ผคู้ นในทอ้ งถนิ่ เสาะแสวงหาทรพั ยากรหรือวัตถใุ นท้องถ่นิ ที่มอี ยู่มาใช้ใหเ้ กิด ประโยชนส์ ูงสุด ซ่งึ ส่งผลให้เกดิ การพฒั นาประเทศชาตอิ ย่างดีย่งิ สง่ิ ท่ดี กี ็คือ การ ประยกุ ตใ์ ช้ภูมิปญั ญาท้องถิน่ (Local Wisdom) ซ่งึ มีมากมายในประเทศ 4) พ่ึงตนเองได้ทางเทคโนโลยี ควรสง่ เสรมิ ใหม้ กี ารศึกษา ทดลอง ทดสอบ เพื่อให้ได้มา ซง่ึ เทคโนโลยใี หม่ ๆ ท่ีสอดคล้องกับภูมิประเทศและสงั คมไทย สิง่ สาคญั สามารถ นาไปใช้ปฏบิ ตั ิได้อย่างเหมาะสม 5) พงึ่ ตนเองในทางเศรษฐกิจ หมายถึง สามารถอย่ไู ด้ด้วยตนเองในระดบั เบื้องต้น กลา่ วคอื แมไ้ มม่ ีเงินก็ยงั มีข้าว ลา ผกั ผลไม้ ในทอ้ งถิ่นของตนเองเพ่อื การยงั ชีพ และ สามารถ นาไปสู่การพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศในระดบั มหาภาคตอ่ ไปดว้ ย 3. มิติด้านสังคม เศรษฐกิจพอเพียงมุ่งใหเ้ กิดสังคมที่มีความสงบสขุ ประชาชนมีความเมตตาเออื้ อาทรชว่ ยเหลอื ซึ่งกนั และกนั ไม่ใช่ตา่ งคนตา่ งอยู่ มงุ่ ใหเ้ กิดความสามัคครี ่วมมือกัน เพื่อให้ทกุ คนอยู่รว่ มกันได้โดยปราศจากการเบียดเบยี นกนั เอารัดเอาเปรยี บกัน การมุ่งร้ายทาลายกัน 4. มิตดิ า้ นวัฒนธรรม หมายถึง วถิ ชี วี ติ (Way of life) ของประชาชน เศรษฐกิจพอเพยี งมุ่งให้ เกิดวัฒนธรรมหรอื วิถีชีวติ ทปี่ ระหยดั อดออม มชี วี ติ ทีเ่ รยี บงา่ ย ไม่ฟุ้งเฟ้อ ฟุ่มเฟอื ย ไมต่ ก เป็นทาสของวตั ถนุ ยิ มและบรโิ ภคนิยม ซง่ึ ทาใหเ้ กิดการเป็นหนเี้ ปน็ สิน เกดิ การทุจรติ คอรปั ชัน่ เป็นปญั หาสงั คมทร่ี ้ายแรงทส่ี ุดปญั หาหนง่ึ ที่บอ่ นทาลายความมน่ั คงของชาติ นางสาวอารยา วชิ าสวสั ด์ิ คณะศกึ ษาศาสตร์ สาขาวิชาสังคมศึกษา รหัสนสิ ิต 58010512119 เลขท่ี 71 | 8

การมีวัฒนธรรมและวิถีชีวิตเศรษฐกิจพอเพยี ง มีข้อปฏบิ ตั ิที่สาคัญ ดงั นี้ 1. มชี วี ติ ที่เรยี บง่าย ประหยดั ไม่ฟุ้งเฟ้อฟุม่ เฟอื ย 2. ใหย้ ดึ ถือทางสายกลาง รูจ้ ักพอ พอดี พอประมาณ และพอใจ 3. มคี วามเมตตาเอื้ออาทรต่อกนั รว่ มมอื และชว่ ยเหลือกัน ไมเ่ บยี ดเบยี นกัน ไม่เอารัดเอาเปรยี บ กนั ไม่มุ่งร้ายทาลายกนั 4. ประกอบสัมมาอาชพี ดว้ ยความขยันหมน่ั เพยี ร ซอ่ื สัตยส์ ุจริต ใฝ่หาความรู้เพ่ือนามาใช้ให้เกิด ประโยชน์ 5. ใหส้ ามารถพึ่งตนเองได้ ให้พน้ จากความยากจน ใหส้ ามารถพออยูพ่ อกิน ไมเ่ ดือดร้อน ไม่ตก เป็นทาสของอบายมขุ วัตถุนิยมและบรโิ ภคนิยม “การทางานใด ๆ ไมว่ ่าเล็ก ใหญ่ ง่าย ยาก ถ้าย่อหยอ่ นจากความเพียรแลว้ ยากทจี่ ะสาเร็จเรยี บร้อย ทนั เวลาได้ และเม่อื ใดพลงั ของความเพยี รน้เี กิดข้ึน เมอ่ื น้นั การงานทง้ั หลายก็เสรจ็ ไดโ้ ดยง่ายดายและรวดเรว็ ”7 กล่าวโดยสรุป หากเช่ือมโยงกันระหวา่ งหลักธรรมในพระพุทธศาสนากับหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง มีความเชอื่ มโยงกนั ในแง่ของหลายเหตปุ จั จัย ทงั้ ในด้านของความต้องการทางกายภาพ คอื ปจั จยั 4 อาหาร เครื่องนงุ่ หม่ ท่ีอยู่อาศัย และยารักษาโรค ความต้องการทางจิตภาพ ทั้งภาวะตัณหา คือ ความอยากมี อยากเปน็ และวภิ าวะตณั หา คอื ความไม่อยากมี ไม่อยากเปน็ เชื่อมโยงกนั เป็นรากลกึ ของจิตใจที่เราต่างก็ ไมไ่ ดส้ งั เกต ตัวของปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งเองนั้น กลา่ วถึงความพอประมาณ พอเพียง โดยยึดหลกั ทางสาย กลาง (มชั ฌิมาปฏปิ ทา) ซึง่ ถือเป็นหลักธรรมของพระพุทธศาสนา ในการ “พอใจในสง่ิ ที่มี ยินดีในสิง่ ที่ได้”8 อีก ท้งั ยังเก่ยี วข้องกบั การมักน้อย-สนั โดษ ซง่ึ คาว่า “มกั น้อย” นัน้ หมายถึง มีน้อย ใช้นอ้ ย ไม่มีมาก ไม่ใช้มาก สว่ น คาวา่ “สนั โดษ” นัน้ หมายถงึ ยนิ ดใี นส่ิงของทมี่ ีอยู่ แต่มิได้หมายความว่า ใหง้ อมืองอเท้า ไมท่ ามาหากินอะไร เลย และไมใ่ ห้ไปลกั ขโมยหรือไมค่ ดโกงใคร ในทางพทุ ธศาสนาเองนน้ั มีสภุ าษติ อยู่มากมายอันเป็นไปในทางส่งเสรมิ ใหช้ ว่ ยเหลือตนเองเฉกเชน่ ส่ิงท่ี ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งกลา่ วไว้วา่ “ใหร้ ูจ้ ักพึงพาตนเองก่อนรอ้ งขอความช่วยเหลอื จากผอู้ นื่ ” พระพุทธ สุภาษติ ท่ีเปน็ ไปในทางสง่ เสริมใหช้ ่วยเหลือตนเองทีด่ ที ส่ี ุด ก็เหน็ วา่ จะได้แก่ “อตฺตาหิ อตฺตโน นาโถ” หมายถงึ “ตนนั่นแลเป็นท่ีพง่ึ แหง่ ตน” ซง่ึ การช่วยเหลอื ตนเองเป็นคุณสมบตั ิสาคัญอยา่ งหน่งึ ในตัวมนุษย์ คนท่ีมีนิสัย พงึ่ ตนเองจะรสู้ ึกไมส่ บายใจเม่ือต้องไปขอความชว่ ยเหลอื จากผูอ้ ่ืน รู้สึกละอายใจเมื่อตนอยู่ในสถานะเปน็ ผ้รู ับ แตม่ ีความสุขเมื่อได้เป็นผูใ้ ห้ 7 พระบรมราโชวาท ในพธิ ีพระราชทานปรญิ ญาบตั ร แกผ่ สู้ าเร็จการศึกษามหาวทิ ยาลยั ศรนี ครินทรวิโรฒ ในวันที่ 21 มถิ ุนายน 2522 8 ศกึ ษาเพิ่มเติมที่ พพ. 829 ฉบับที่ 1 / 2552 หนังสอื เพอ่ื ความพอเพียงของชวี ติ หนา้ 4-6. นางสาวอารยา วิชาสวสั ด์ิ คณะศกึ ษาศาสตร์ สาขาวิชาสงั คมศกึ ษา รหสั นสิ ติ 58010512119 เลขที่ 71 | 9

อีกท้ังธรรมชาติของสัตวท์ ั้งหลายท่ีเกดิ มาในโลกน้ลี ว้ นแตม่ คี วามปรารถนาเช่นเดียวกัน คือ รัก ความสขุ เกลียดความทกุ ข์ ปัญหาจงึ มีวา่ ทาอย่างไรจงึ จะได้มาซ่ึงความสขุ นนั่ กค็ ือ คนเราตอ้ งมีงานทา ประการหนึ่ง คนเราต้องมีศีลธรรมประการหนง่ึ คนเราตอ้ งมคี วามหวังประการหนงึ่ ท้ังโลกนีม้ ีธรรมดาอยู่ 2 ส่งิ คือ ดี กับ ชว่ั คนเราทกุ คนปรารถนาหาความสนุกสนาน หรือความ เพลิดเพลนิ ความสุข แต่ไม่ทราบวา่ จะหามาได้อย่างไร และมกั ไม่ทราบวา่ การมีชวี ิตอยู่ เทา่ กับยังมแี สงสว่าง พอทจ่ี ะหาความสนุกสนานและความเพลิดเพลินได้ อนึ่งคนเราจะหลีกเล่ยี งความทุกข์หรอื ความเสียใจไม่ได้ เพราะความทุกข์ย่อมอย่ใู นตวั เราเอง ซง่ึ เราสามารถจะหาหนทางบา่ ยเบ่ียงเพื่อใช้เวลาช่วยดบั ทกุ ข์น้นั ได้ โดย การใชท้ างธรรมเข้าชว่ ยแตต่ ้องอยู่ในหลกั ของความพอดี ไม่หย่อนไม่ตึงเกนิ ไป หากยังมหี น้าทีท่ ่จี ะต้อง รับผดิ ชอบก็จะต้องแบง่ เวลาในการปฏบิ ตั ิธรรม และประกาบอาชีพการงานทีส่ จุ ริตเพราะมนุษยย์ งั ต้องอยู่บน โลกของวตั ถุนยิ ม มคี ากลา่ ววา่ “เงินก็ดี อานาจกด็ ี ไมส่ ามารถจะทาให้ใจคนเป็นสขุ ได้ คนใดถ้าไมม่ ีความรัก ไม่มี ความคดิ ชว่ ยเหลอื ผู้อ่นื ไม่มีความสงบใจ จะม่ังมีสกั เท่าใด จะมีอานาจสักเท่าใด ก็ไม่มีความสุข” ในทางพุทธศาสนานอกจากจะเน้นความสมดุลแล้วยงั ใหแ้ ต่ละคนร้สู ึกตระหนักถึงความเปลยี่ นแปลง (ไตรลกั ษณ)์ ของสรรพส่งิ ในฐานะเปน็ สจั ธรรมตามธรรมชาติ สอนใหเ้ ขา้ ใจถงึ ไม่เฉพาะแต่คุณคา่ ทางเศรษฐกจิ คอื ความพร่ังพร้อมทางวตั ถุเท่าน้นั แต่ยังเนน้ คุณค่าทางจิตใจหรือทางวฒั นธรรมอีกด้วย ตราบใดที่มนุษย์และ ส่งิ มีชีวติ ทงั้ หลายอย่รู ่วมกันบนโลกน้ี มนษุ ยค์ วรจะมชี ีวติ อยดู่ ้วยความเกื้อกูล เมตตา กรุณา กตญั ญูกตเวที เอ้ือเฟ้ือต่อสรรพสง่ิ ทง้ั หลายไม่เบียดเบยี นทารา้ ยหรือทาลายชีวิต ในขณะเดียวกนั กส็ ามารถดารงชีวิตที่สงบสุข ปราศจากซ่งึ ความทุกข์ไดโ้ ดยเขา้ ใจในธรรมชาติของสรรพสิ่งทั้งหลายตามความจรงิ (ยถาภูตญาณ) ดาเนินชวี ิต ไปบนเส้นทางแห่งการบรโิ ภคอยา่ งรจู้ กั ประมาณ เนน้ การผลติ การบริโภควตั ถเุ พ่ือความจาเปน็ ในการรกั ษา สภาวะรา่ งกายใหม้ สี ุขภาพดี มคี วามไมป่ ระมาท ดาเนนิ ชวี ิตสัมพนั ธ์กับธรรมชาติแวดล้อมดว้ ยการพัฒนาแบบ ยั่งยนื ซง่ึ เปน็ การชว่ ยให้ทรัพยากรธรรมชาติ และส่ิงแวดล้อมทงั้ หลายเป็นไปอยา่ งสมดุลตลอดไป ทา้ ยทสี่ ุดนี้ การต่อสู้ท่ีหนักย่ิงของชวี ติ คอื การต่อสู้เพ่ือสรา้ งความดใี นทุกยคุ ทกุ สมยั การทาความดี เป็นการทวนกระแสเหมือนพายเรือทวนน้า จาเปน็ ต้องใช้กาลังกายทแี่ ข็งแรงกาลงั ใจที่แขง็ แรง และกาลงั คดิ ท่ี รอบคอบจงึ จะประสบความสาเรจ็ ได้ เพราะเปา้ หมายของการกระทาความดีกอ่ เกดิ เป็นความสุขในชวี ติ อยา่ ง แท้จริง ซ่ึงเปน็ ความสุขท่ียง่ั ยืนตลอดไป นางสาวอารยา วิชาสวสั ดิ์ คณะศกึ ษาศาสตร์ สาขาวิชาสงั คมศกึ ษา รหัสนสิ ิต 58010512119 เลขที่ 71 | 10

บรรณานกุ รม แก่นพิกลุ . หลกั ความจริง. โรงพมิ พ์มหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลัย, พ.ศ. 2538. จไุ รรตั น์ แสนใจรักษ.์ ชุมชนพอเพยี ง ชดุ ความรูส้ าหรับชุมชน. สานกั พิมพ์ไว้ลาย, กันยายน 2553. ฉลอง พันธจ์ ันทร.์ ความร้พู ้นื ฐานเกย่ี วกบั ศาสนา. ประสานการพิมพ,์ พิมพค์ ร้ังท่ี 2 : กรกฎาคม 2550. ดร.พรชัย เจดามาน. เศรษฐกจิ พอเพยี ง: มิติและพลวัตรการจดั การทรัพยากรมนษุ ย์. คุ้ม การพิมพ์, 2558. เดอื น คาด.ี ศาสนาศาสตร.์ สานกั พิมพ์มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร,์ พมิ พ์ครงั้ ที่ 2 พ.ศ. 2545. ทวน วิริยาภรณ.์ ทางธรรม. โรงพมิ พอ์ ักษรเพชรเกษม, พ.ศ. 2513. ทศิ นา แขมณ.ี ถอดรหัสปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งส่กู ารสอนกระบวนการคดิ . สานักพมิ พ์แห่งกกกกกก กกกกกกกจุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั , พ.ศ. 2558. ธนาคารแหง่ ประเทศไทย. รวมธรรมะ. จัดพิมพเ์ ป็นมุทิตาสักการะ เนอ่ื งในวนั ศุภาวาระฉลองพระชนมายุ 84 กกกกกกกพรรษา ในสมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปรณิ ายก เสด็จสถติ ณ กกกกกก กกกกกกกวัดบวรณิเวศวหิ าร, วันที่ 3 ตุลาคม พระพทุ ธศาสนา 2540. ปว๋ ย อ๊งึ ภากรณ์. ศาสนธรรมกับการพัฒนา. สานกั พิมพ์มลู นิธิโกมลคมี ทอง, กรกฎาคม 2530. ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.ณรัชช์อร ศรที อง. แนวคดิ หลกั การ และการปฏิบตั ติ ามปรัชญาของเศรษฐกจิ กกกก กกกกกกกพอเพียง. โอ.เอส. พริน้ ตงิ้ เฮ้าส,์ พ.ศ. 2556. พันเอก (พิเศษ) นวม สงวนทรพั ย์. สังคมวิทยาศาสนา. สานกั พิมพโ์ อเดยี นสโตร,์ พ.ศ. 2537. พันเอก (พิเศษ) นวม สงวนทรพั ย.์ สงั คมวิทยาศาสนา. สานักพมิ พโ์ อเดยี นสโตร์, พ.ศ. 2537. มหาวิทยาลยั สโุ ขทยั ธรรมธิราช สาขาศิลปะศาสตร.์ เอกสารการสอนชดุ วชิ า ความเชื่อและศาสนาในกกกก กกกกกกกสังคมไทย. โรงพิมพช์ วนพมิ พ์, พิมพ์ครั้งท่ี 5 : พ.ศ. 2545. มหาวิทยาลยั สโุ ขทยั ธรรมธริ าช สาขาศลิ ปะศาสตร์. เอกสารการสอนชุดวิชา ความเช่ือและศาสนาในกกกก กกกกกกกสังคมไทย. โรงพมิ พช์ วนพิมพ์, พิมพ์ครง้ั ที่ 5 : พ.ศ. 2545. รองศาสตราจารย์ ดร. ทองหล่อ วงษ์ธรรมา. ศาสนาสาคญั ของโลก. โอ.เอส. พรน้ิ ต้ิง เฮ้าส์, พ.ศ. 2551. วศนิ อินทสระ. หลักธรรมอนั เปน็ หวั ใจพระพุทธศาสนา. สานกั พิมพธ์ รรมดา, พิมพ์ครั้งที่ 2 : 2 กรกฎาคม กก กกกกกกก2544. นางสาวอารยา วชิ าสวสั ดิ์ คณะศกึ ษาศาสตร์ สาขาวชิ าสงั คมศึกษา รหัสนสิ ิต 58010512119 เลขท่ี 71 | 11

วศนิ อินทสะ. ธรรม และ ชีวิต. จกั รานุกุลการพมิ พ์, พ.ศ. 2515. ศาสตราจารยพ์ ิเศษจานง ทองประเสริฐ ราชบณั ฑิต. ปรัชญาศาสนาประยกุ ต์. สานักพิมพด์ วงแกว้ , 24 กกกก กกกกกกกเมษายน 2550. สมพร เทพสิทธา. การเดินตามรอยพระยคุ บาท เศรษฐกิจพอเพียง ช่วยแกป้ ัญหาความยากจนและการกกก กกกกกกกทุจริต. กองทนุ อริยมรรค, พิมพค์ ร้งั ที่ 3 : มกราคม 2549. สมศักดิ์ อมรสิรพิ งศ์. การวิเคราะห์การก่อเกดิ ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียงดว้ ยปฏิฐานนิยมและหลังปฏิฐาน กกกกกกกนยิ ม. โรงพิมพ์มหาวิทยาลยั ศลิ ปากร, 1 สิงหาคม 2551. นางสาวอารยา วิชาสวสั ดิ์ คณะศกึ ษาศาสตร์ สาขาวิชาสังคมศึกษา รหัสนสิ ติ 58010512119 เลขท่ี 71 | 12