Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 2555_วิเคราะห์ความหมายธรรม_พระครูศรีปัญญาวิกรม

2555_วิเคราะห์ความหมายธรรม_พระครูศรีปัญญาวิกรม

Published by Thanarat Sa-Ard-Iam, 2023-07-02 01:09:54

Description: 2555_วิเคราะห์ความหมายธรรม_พระครูศรีปัญญาวิกรม

Search

Read the Text Version

๓๑ อภปิ ราย ในอรรถกถาธรรมบทได้ไขความถึง มรรคาท่ีพระพุทธเจ้า พระป๎จเจกพุทธเจ้า และพระ ขีณาสพทง้ั หลายเดนิ ๑๕ ในพระไตรปิฎกพบข้อความกล่าวถึงเรื่องเวรย่อมระงับด้วยการไม่จองเวร ทั้งในพระวินัย ปิฎก๑๖ และสุตตันตปิฎก๑๗ มีชาดก ๒ เรื่อง คือทีฆีติโกศลชาดก๑๘ และโกสัมพิยชาดก๑๙ รูปคาถาคล้าย กับทปี่ รากฏในธรรมบท จึงยกเอาไว้ ไมน่ าํ มาแสดง นอกจากนั้น ยังมีคาถาท่ีมีเน้ือหาอ่ืนนอกจากน้ี แต่ระบุว่าเป๐นธรรมเก่า คัดมาเป๐นตัวอย่าง เทียบเคยี ง เช่น คนเหล่าใด เมอื่ ของมีน้อยก็แบ่งให้ เหมือนคนเดินทางไกลแบ่งของใหเ้ พ่ือนร่วมทาง เม่อื คนเหลา่ อ่ืนตาย คนเหล่านน้ั ชอื่ ว่าไมต่ าย นเี้ ปน๐ ธรรมเกา่ ๒๐ มาเถิดท่าน ประเดีย๋ วเราจะไปกนั พระราชาผเู้ ปน๐ ใหญ่ได้ทรงพระราชทานท่านใหแ้ ก่ขา้ พเจ้าแลว้ ขอท่านจงปฏิบัติสง่ิ ทีเ่ ป๐นประโยชน์แก่ขา้ พเจ้าเท่านน้ั นเี้ ปน๐ ธรรมเก่า๒๑ เจตบุตร ทา่ นจงฟ๎งเราก่อน พราหมณผ์ ้เู ปน๐ ทูตไม่ควรฆ่า เพราะฉะนน้ั เขาจึงไมฆ่ ่าทตู นเ้ี ปน๐ ธรรมเกา่ ๒๒ ท้ายคาถาตวั อย่างน้ี ระบุเปน๐ “ธรรมเกา่ ” (เอส ธมฺโม สนนตฺ โน) คล้ายกับรูปคาถาในธรรมบท เหตุน้ีสํานวนแปลภาษาอังกฤษ จึงมักนิยมแปลว่า “กฎ” ๒๓ ความหมายใกล้เคียงกับคําว่า นิยาม คือ ๑๕ ขุ.ธ.อ.๑/๒/๑/๗๔. สํานวนบาลีว่า เอส ธมฺโม สนนฺตโนติ เอส อเวเรน เวรวูปสมนสงฺขาโต โปราณโก ธมฺโม สพเฺ พสํ พุทธฺ ปจฺเจกพทุ ฺธขณี าสวานํ คตมคฺโคต.ิ ๑๖ วิ.มหา. (บาลี) ๒/๒๔๗/๓๓๖. ๑๗ ม.อุ. (บาลี) ๑๔/๔๔๓/๒๙๗. ๑๘ ข.ุ ชา. (ไทย) ๒๗/๑๑๕/๒๒๐. ๑๙ ข.ุ ชา. (ไทย) ๒๗/๑๔/๓๐๒. ๒๐ ส.ํ ส. (ไทย) ๑๕/๓๒/๓๘. ๒๑ ข.ุ ชา. (ไทย) ๒๗/๑๔๕๘/๔๑๑. ๒๒ ข.ุ ชา. (ไทย) ๒๘/๑๙๗๒/๔๙๒. ๒๓ ดูสํานวนแปลของ S.Radhakrishnan, The Dhammapada, p. 60. สํานวนแปลของ Buddharakkhitta, The Dhammapada: The Buddha’s Path of Wisdom, (Sri Lanka: Buddhist Publication Society Candy,1985),p.18. และสํานวนแปลของ Max Müller, The Dhammapada and Sutta Nipata Sacred Books of the East, Vol. x, p. เป๐นต้น

๓๒ ความเป๐นแน่นอน ซ่ึงในอรรถกถาทีฆนิกาย มหาวรรค จําแนกไว้ ๕ ประการ ได้แก่ กรรมนิยาม อุตุนิยาม พชี นิยาม จิตนิยาม และธรรมนิยาม๒๔ สรุปว่า ธรรมเก่าในบริบทของคาถาน้ี หมายถึงกรรมนิยาม คือเป๐นความแน่นอนเก่ียวกับการ ให้ผลของกรรม ๖) โทสะ พบวา่ ใช้ในความหมายนี้ในคาถาท่ี ๒๔๘ มรี ปู คาถาดังน้ี เอวํ โภ ปุรสิ ชานาหิ ปาปธมฺมา อสํฺญตา มา ตํ โลโภ อธมโฺ ม จ จิรํ ทกุ ฺขาย รนฺธยุ.๒๕ แปล: ท่านผ้เู จริญ ขอท่านจงรู้อยา่ งน้วี า่ ผ้มู ีบาปธรรมท้ังหลาย มกั ไม่สํารวม ขอโลภะ และอธรรม อย่ายํ่ายีท่านให้เป๐นทุกข์ตลอดกาลนานเลย วิเคราะห์ ในคาถาน้ีปรากฏ ๒ คํา คือ ปาปธมฺมา และ อธมฺโม เฉพาะ อธมฺโม ในบาทคาถาว่า มา ตํ โลโภ อธมโฺ ม จ หมายถึง โทสะ โดยอาศัยบรบิ ทที่ว่า “ขอโลภะ และ........อยา่ ยํ่ายีท่านใหเ้ ป๐นทกุ ข์” อภิปราย คําว่า อธมฺโม มีความหมายพิเศษ ใช้ระบุถึง โทสะ๒๖ เข้าใจว่า เน่ืองด้วยข้อจํากัดของคณะ ฉันท์ เพราะคําว่า โมห- ไม่สามารถวางในตําแหน่งดังกล่าวได้ รูปคาถาจึงใช้คําว่า อธมฺโม เพ่ือสื่อความ หมายถงึ โทสะ ๗) ความเที่ยงธรรม พบวา่ ใช้ในความหมายน้ี ในคาถาที่ ๒๕๖,๒๕๗ มีรูปคาถาดังน้ี (๑) น เตน โหติ ธมฺมฏฺโฐ เยนตฺถํ สหสา นเย โย จ อตถฺ ํ อนตถฺ ํฺจ อโุ ภ นิจฺเฉยยฺ ปณฑฺ โิ ต. (๒) อสาหเสน ธมเฺ มน สเมน นยตี ปเร ธมมฺ สฺส คตุ โฺ ต เมธาวี ธมฺมฏโฺ ฐติ ปวจุ จฺ ติ.๒๗ แปล: ผ้ทู ี่ตัดสินคดโี ดยผลีผลามไมช่ อื่ ว่า ผู้ต้งั อยใู่ นธรรม สว่ นผ้ใู ดเปน๐ บัณฑิต วนิ จิ ฉัยคดีเหตุแหง่ คดีท้งั ท่เี ป๐นจรงิ และไมเ่ ปน๐ จริงทั้งสอง พพิ ากษาผู้อน่ื โดยไม่ ผลผี ลาม โดยเทย่ี งธรรม โดยสมํา่ เสมอ ผู้มปี ญ๎ ญา มธี รรมคุ้มครองน้นั เราเรยี กวา่ ผตู้ ้ังอยใู่ นธรรม วิเคราะห์ ในคาถาน้ี คาํ ว่า ธรรม ปรากฏรูปศัพท์บาลี ๔ ครั้ง มีความหมายอย่างเดียวกันคือ ความเท่ียง ธรรม โดยอาศัยบริบทท่ีว่า “ผู้ตัดสินคดีโดยผลีผลามไม่ช่ือว่าตั้งอยู่ใน.......”, และ “พิพากษาผู้อ่ืนโดยไม่ ผลีผลาม โดยเท่ียง......โดยสมา่ํ เสมอ” ๒๔ ท.ี มหา.อ. ๒/๑/๑๐๐. ๒๕ ข.ุ ธ. (บาลี) ๒๕/๒๔๘/๖๐. ๒๖ ขุ.ธ.อ. ๑/๒/๔/๓๗. ๒๗ ข.ุ ธ. (บาล)ี ๒๕/๒๕๖,๒๕๗/๖๑.

๓๓ อภปิ ราย ธรรมในคาถานี้ ปรากฎ ๔ คร้ัง คือ ธมฺมฏฺโฐ ๒ ครั้ง, ธมฺเมน ๑ คร้ัง และ ธมฺมสฺส ๑ คร้ัง ความเหมือนกันหมดทั้ง ๔ คํา คือ ความเที่ยงธรรม ซ่ึงเป๐นคุณธรรมสําคัญสําหรับผู้พิพากษาท่ีทําหน้าท่ี ตัดสนิ คดีความตา่ ง ๆ ในการอธบิ ายความคาถานี้ พระพุทธโฆสาจารย์เก็บศัพท์เพียง ๓ คํา คือ ธมฺมฏฺโฐ, ธมฺเมน, และธมฺมสฺส ธมฺมฏฺโฐ ระบุถึงบุคคลผู้ต้ังอยู่ในธรรมเครื่องวินิจฉัย๒๘ ธมฺเมน ระบุถึงธรรมเครื่องวินิจฉัย คือ การเว้นจากอคติ ๔ ประการ มีฉันทาคติ เป๐นต้น๒๙ ซึ่งถือเป๐นหลักธรรมสําคัญท่ีทําให้การตัดสินเป๐นไป ด้วยความถูกต้องและยุติธรรม ขณะที่ ธมฺมสฺส อธิบายความโยงถึงผู้ที่ธรรมเครื่องวินิจฉัยคุ้มครอง หรือ รกั ษาแลว้ ๓๐ กล่าวได้ว่า การแจกแจง ธรรมในคาถานี้ เป๐นไปตามกระบวนการ หรือขั้นตอน กล่าวคือ เบื้องต้น ระบุถึงผู้ทําหน้าท่ีตัดสินคดีความที่ดี (ธมฺมฏฺโฐ) ต่อมาระบุถึงคุณธรรมสําคัญท่ีจะทําให้การทํา หนา้ ทีต่ ดั สนิ คดีความเป๐นไปดว้ ยความถูกต้อง ยุตธิ รรม มกี ารเว้นอคติ ๔ เป๐นต้น (ธมฺเมน) ปฏิบัติได้เช่นนี้ เท่ากับว่าสามารถให้ความเป๐นธรรมได้ (ธมฺมสฺส คุตฺโต) สุดท้ายก็จะได้รับการยกย่อง หรือยอมรับว่า เป๐นผพู้ พิ ากษาที่ดี (ธมฺมฏฺโฐ) อนึ่ง บรบิ ทของคาถาน้ี พระพทุ ธเจา้ ตรัสปรารภเรอ่ื งมหาอํามาตย์รับสินบน และตัดสินคดีโดย ขาดหลักนติ ิธรรม ทาํ ใหผ้ ้แู พ้คดไี ดร้ บั ความไมเ่ ป๐นธรรม และเดอื ดร้อน ทําให้พระภิกษุนําเรื่องไปกราบทูล ให้พระพทุ ธองค์ทรงทราบ๓๑ ๘) สจั จะ พบว่าใชใ้ นความหมายน้ี ในคาถาท่ี ๑๗๖ มีรปู คาถาดังน้ี เอกํ ธมฺมํ อตตี สฺส มุสาวาทสิ สฺ ชนตฺ ุโน นตถฺ ิ ปาป๏ การยิ .ํ ๓๒ วติ ณิ ณฺ ปรโลกสฺส แปล: บคุ คลผู้ล่วงละเมิดธรรมอย่างหน่ึง ผ้มู ักกลา่ วเท็จ ปฏิเสธปรโลก จะไม่ ทาํ บาปไมม่ ี บทวิเคราะห์ ในคาถาน้ี ธรรม หมายถึง คาํ สตั ย์ หรอื สจั จะ โดยอาศัยบริบทท่วี า่ “ผู้ล่วงละเมิด.....อย่างหนึง่ ผู้มกั กลา่ วเท็จ......จะไมท่ ําบาป ไม่มี” ๒๘ ข.ุ ธ.อ.๑/๒/๔/๖๙. ๒๙ ข.ุ ธ.อ.๑/๒/๔/๗๐. ๓๐ ข.ุ ธ.อ.๑/๒/๔/๗๐. ๓๑ ขุ.ธ.อ. ๑/๒/๔/๖๘. ๓๒ ข.ุ ธ. (บาลี) ๒๕/๑๗๖/๔๘.

๓๔ อภิปราย อรรถกถาธรรมบท พระพุทธโฆสาจารย์ยกนิทานประกอบเร่ือง เป๐นอดีตชาติของนางกิญจ มาณวิกา เคยเป๐นพระมเหสีร่วมพระมารดาพระโพธิสัตว์ มีความประสงค์จะเสพอสัทธรรมกับพระ โพธิสัตว์ แต่ถูกพระโพธิสัตว์ปฏิเสธ จึงทรงแกล้งทําพระวรกายให้เศร้าหมอง นอนบรรทมอยู่ ครั้นถูก พระราชาตรัสถาม ก็เพ็ดทูลว่าถูกพระโพธิสัตว์ทํามิดีมิร้าย ทรงพิโรธ มิได้ทันสอบสวนก็รับสั่งให้สําเร็จ โทษดว้ ยการจับพระโพธิสัตว์ไปทิ้งลงเหว คร้ันต่อมาทราบความจริงเข้า จึงรับสั่งให้จับพระมเหสีไปท้ิงลง เหว๓๓ ก่อนตรัสคาถานี้ ได้ทรงปรารภกับภิกษุทั้งหลายว่า “ภิกษุท้ังหลาย ก็ขึ้นช่ือว่าบาปกรรม อันบคุ คลผู้ละคําสัตย์ ซ่ึงเป๐นธรรมอย่างเอกแล้ว ตั้งอยู่ในมุสาวาท ผู้มีปรโลกอันสละแล้ว ไม่พึงทําย่อม ไมม่ ี”๓๔ โดยความคือ ถ้าบุคคลไร้สัจจะเสียแล้ว ย่อมสามารถกระทําความช่ัวอย่างอื่นได้ เหมือน อดตี ชาติของนางกิญจมาณวกิ า อน่งึ คําว่า ธรรมอยา่ งหน่งึ สาํ นวนพระไตรปฎิ กใชร้ ะบถุ งึ ข้อธรรมแตกต่างกันตามบริบท เช่น บางครั้งหมายเอาตัณหา ดังพระพุทธพจน์ว่า “ตัณหาเป๐นธรรมอย่างหนึ่งซึ่งโลกท้ังหมดตกอยู่ใน อํานาจ”๓๕ บางคร้ังหมายเอาความไม่ประมาท ดังพระพุทธพจน์ว่า “มหาบพิตร ธรรมอย่างหน่ึงท่ียึด ประโยชน์ในป๎จจุบัน และประโยชน์ในภายหน้าไว้ได้ คือ ความไม่ประมาท”๓๖ บางครั้งหมายเอาความ โลภ ดังพระพุทธพจน์ว่า “ภิกษุท้ังหลาย เธอท้ังหลายละธรรมอย่างหน่ึงคือโลภะได้ เราขอรับรองความ เปน๐ อนาคามีของเธอทัง้ หลาย”๓๗ เปน๐ ตน้ ๓.๑.๒ หมวดหลักธรรมท่ัวไป คําว่า หลักธรรมทั่วไป หมายถึง หลักธรรมที่ไม่ได้ระบุหัวข้อธรรมใดข้อธรรมหน่ึงเป๐นการ เฉพาะ กล่าวเพียงรวม ๆ จากการศึกษาวิเคราะห์ พบจํานวนท้ังสิ้น ๕๖ คํา ซ่ึงในจํานวนน้ี จัดเข้าใน หมวดหมขู่ องธรรม ๑๓ ข้อ ดังตอ่ ไปนี้ คาถาดังนี้ ๑) พระธรรม ๘๔,๐๐๐ พระธรรมขันธ์ พบว่าใช้ในความหมายน้ีในคาถาท่ี ๒๗๓ มีรูป มคฺคานฏฺฐงคฺ ิโก เสฏฺโฐ สจฺจานํ จตุโร ปทา วริ าโค เสฏฺโฐ ธมฺมานํ ทปิ ทานํฺจ จกฺขุมา.๓๘ ๓๓ ข.ุ ธ.อ. ๑/๒/๓/๒๕๙. ๓๔ ข.ุ ธ.อ. ๑/๒/๓/๒๖๐. ๓๕ ส.ํ ส. (ไทย) ๑๕/๖๓/๗๔. ๓๖ ส.ํ ส. (ไทย) ๑๕/๑๒๘/๑๕๑. ๓๗ ข.ุ อติ .ิ (ไทย) ๒๕/๑/๓๔๕. ๓๘ ข.ุ ธ. (บาลี) ๒๕/๒๗๓/๖๔.

๓๕ แปล: บรรดามรรค มรรคมีองค์ ๘ ประเสริฐทส่ี ุด บรรดาสัจจะ อรยิ สัจ ๔ ประเสริฐทส่ี ุด บรรดาธรรม วริ าคธรรม ประเสรฐิ ทีส่ ุด บรรดาสตั ว์สองเทา้ ตถาคตผู้มจี ักษุ ประเสริฐทสี่ ุด วิเคราะห์ ในคาถาน้ี ธรรม หมายถึง พระธรรมคําส่ังสอนท้ังหมด ๘๔,๐๐๐ พระธรรมขันธ์ โดยอาศัย บริบททวี่ ่า “บรรดา.....วิราคธรรมประเสริฐท่ีสดุ ” อภิปราย พิจารณาจากบริบท วิราคธรรมเพ่งถึงพระนิพพาน เมื่อตรัสว่า นิพพานประเสริฐที่สุดใน บรรดาธรรมทั้งหลาย เป๐นอันเข้าใจได้ว่า บรรดาธรรมทั้งหลายที่อ้างถึงนี้ มีความหมายถึงพระธรรมคําส่ัง สอนทั้งหมด ๘๔,๐๐๐ พระธรรมขันธ์ และเพ่ือให้ความครอบคลุมเนื้อหาของธรรมทั้งหมด พระพุทธโฆสาจารย์จึงแจงถึงสังขตธรรม และอสังขตธรรม เน้ือความในอรรถกถาธรรมบทมดี งั น้ี บาทคาถาว่า วิราโค เสฏฺโฐ ธมฺมาน ความว่า บรรดาธรรมท้ังปวง วิราคะ กล่าวคือพระ นิพพาน ชื่อว่าประเสริฐ เพราะพระพุทธพจน์ว่า ภิกษุท้ังหลาย ธรรมท้ังหลายที่ป๎จจัยปรุง แต่งกด็ ี ท่ีปจ๎ จยั ไม่ปรุงแต่งก็ดี มีประมาณเพียงไร, บรรดาธรรมเหล่าน้ันวิราคะเรากล่าวว่าเป๐น ยอด๓๙ ๒) บทธรรม/หัวข้อธรรม พบวา่ ใช้ในความหมายนี้ ในคาถาที่ ๑๐๒,๑๐๙ มีรปู คาถาดังนี้ (๑) โย จ คาถา สตํ ภาเส อนตฺถปทสํหฺ ิตา เอกํ ธมมฺ ปทํ เสยโฺ ย ยํ สตุ ฺวา อปุ สมฺมติ.๔๐ แปล: ธรรมะบทหนึง่ ทคี่ นฟ๎งแล้วสงบระงับได้ ยอ่ มดีกวา่ คาถาทีไ่ ร้ประโยชนต์ ้ัง ๑๐๐ คาถา วิเคราะห์ ในคาถานี้ คําวา่ ธรรม หมายถึง หัวขอ้ ธรรม โดยอาศัยบรบิ ทวา่ “.......บทหน่ึง ทคี่ นฟ๎งแล้ว” อภิปราย บทธรรมในคาถาน้ี เป๐นการแสดงความหมายโดยรวม ไม่ระบุหัวข้อธรรมใดข้อธรรมหนึ่งเป๐น การเฉพาะ อรรถกถาธรรมบทจึงใชว้ ิธกี ารยกตัวอย่างว่า บทธรรมคือความไม่เพ่งเล็ง, บทธรรมคือความไม่ ปองร้าย, บทธรรมคือความระลกึ ชอบ, บทธรรมคือความตั้งใจชอบ๔๑ จากน้ันระบุต่อไปอีกว่า ธรรมะแม้ ๓๙ ขุ.ธ.อ.๑/๒/๔/๑๐๑. ๔๐ ข.ุ ธ. (บาล)ี ๒๕/๑๐๒/๓๕. ๔๑ ข.ุ ธ.อ. ๑/๒/๒/๔๔๓.

๓๖ เพยี งบทเดยี ว ประเสริฐกว่าคาถาท่ีไร้ประโยชน์แม้ต้ัง ๑๐๐ คาถา เพราะสามารถสงบระงับกิเลส หรือดับ ทกุ ขไ์ ด้ นัยแห่งคาถาน้ี ทรงแสดงเชิงเปรียบเทียบกับวาทะท่ีนางกุณฑลเกสีได้เล่าเรียนกับปริพพาชก แม้จะมากมาย แต่ก็ไม่ทําให้นางพ้นจากความดับทุกข์ได้ ขณะที่ได้ฟ๎งธรรมจากพระสารีบุตรเพียงคาถา เดียว กลับได้บรรลุพระอรหันต์ ทั้งน้ีเพ่ือรับรองว่า ข้อธรรมที่เป๐นไปเพ่ือความดับทุกข์แม้เพียงบทเดียว ประเสรฐิ กวา่ คาถานบั ร้อยพนั ทีไ่ มเ่ ป๐นไปเพื่อความดับทุกข์ (๒) อภวิ าทนสลี ิสสฺ นิจฺจํ วุฑฒฺ าปจายิโน จตตฺ าโร ธมฺมา วฑฺฒนตฺ ิ อายุ วณโฺ ณ สขุ ํ พลํ.๔๒ แปล: ธรรม ๔ ประการ คอื อายุ วรรณะ สุขะ พละ ยอ่ มเจรญิ แก่ผ้กู ราบไหว้ ผู้อ่อนน้อมต่อผใู้ หญ่ เป๐นนิตย์ วเิ คราะห์ ในคาถาน้ี คําว่า ธรรม หมายถึง หัวข้อธรรม โดยอาศัยบริบทว่า “......ประการ คือ อายุ วรรณะ สขุ ะ พละ.....” อภิปราย ธรรมในคาถาน้ี ใช้ในความหมายเฉพาะ เพ่งถึงหัวข้อธรรม ๔ ประการ คือ อายุ วรรณะ สุขะ พละ ในอรรถกถาไมไ่ ดอ้ ธิบายความหมายไวโ้ ดยตรง เพียงแตอ่ ธิบายให้เห็นถึงความสัมพันธ์ระหว่าง ข้อธรรมเหลา่ นี้ว่า เม่อื ธรรมใดเจริญ ธรรมทเ่ี หลอื ก็เจริญขึน้ ตาม๔๓ อนง่ึ รปู แบบของการใช้ธรรมให้มีความหมายเฉพาะเช่นน้ี มีปรากฏในพระไตรปิฎกหลายแห่ง และนิยมนําศัพท์เฉพาะนั้นมาวางไว้หน้า หรือหลังคําว่าธรรม เช่น “กุสลา ธมฺมา,อกุสลา ธมฺมา, อพฺยากตา ธมฺมา”๔๔ หรือ “อิเม โข ปนายสฺมนฺโต ตึส นิสฺสคฺคิยา ปาจิตฺติยา ธมฺมา อุทฺเทสํ อาคจฺฉนฺติ ฯ”๔๕ เปน๐ ตน้ หากต้องการให้มีความหมายระบถุ ึงธรรมหลายประเภท กใ็ ช้วธิ ีการอยา่ งเดยี วกัน เชน่ บุคคลอยูค่ รองเรือนประกอบด้วยศรัทธา มธี รรม ๔ ประการนี้ คอื สัจจะ ธรรม ธิติ จาคะ ละโลกน้ไี ปแล้ว ยอ่ มไม่เศรา้ โศก๔๖ ๔๒ ข.ุ ธ. (บาล)ี ๒๕/๑๐๙/๓๖. ๔๓ ข.ุ ธ.อ. ๑/๒/๒/๔๖๓. ๔๔ อภ.ิ สํ. (บาล)ี ๓๔/๑/๑. ๔๕ วิ.มหา. (บาล)ี ๒/๑/๑. ๔๖ สํ.ส. (ไทย) ๑๕/๒๔๖/๓๕๔.

๓๗ พระโสดาบนั นัน้ ละธรรม ๓ ประการ คอื สกั กายทฏิ ฐิ วจิ กิ ิจฉา และสลี ัพพตปรามาสไดอ้ ย่างส้นิ เชงิ พรอ้ มกับการบรรลุโสดาปต๎ ติมรรค๔๗ ๓) เทศนาธรรม พบว่าใช้ในความหมายนี้ ในคาถาท่ี ๘๒,๑๘๒,๑๙๔,๓๕๔,๓๖๓ มีรูปคาถา ดังน้ี (๑) ยถาปิ รหโท คมฺภีโร วปิ ฺปสนโฺ น อนาวิโล เอวํ ธมฺมานิ สุตฺวาน วิปปฺ สีทนฺติ ปณฺฑติ า.๔๘ แปล: บณั ฑติ ทงั้ หลายฟ๎งธรรมแล้ว ยอ่ มผอ่ งใส ดจุ หว้ งน้ําทล่ี ึก ใสสะอาด ไมข่ นุ่ มวั ฉะน้นั วิเคราะห์ ในคาถาน้ี คําว่า ธรรม หมายถงึ เทศนาธรรม โดยอาศัยบริบทท่ีว่า “บัณฑิตทั้งหลายฟ๎ง....... แล้ว ยอ่ มผอ่ งใส” อภิปราย ในอรรถกถาธรรมบท พระพุทธโฆสาจารย์อธิบายความหมายของธรรมในคาถาน้ีไว้ชัดเจนว่า หมายถึงเทศนาธรรม โดยยกพทุ ธาธบิ ายมาอา้ งว่า หว้ งน้าํ น้นั ชื่อว่า ใสแจ๋ว เพราะเป๐นนํ้าไม่อากูล ชื่อว่า ไม่ขุ่นมัว เพราะเป๐นน้ําไม่หวั่นไหว ฉันใด; ๆ บัณฑติ ท้งั หลาย ฟง๎ เทศนาธรรมของเราแล้ว ถึงความเป๐นผู้มีจิตปราศจากอุปกิเลส ด้วยสามารถ แห่งมรรคมีโสดาป๎ตติมรรคเป๐นต้น ชื่อว่า ย่อมผ่องใส ฉันน้ัน, ส่วนท่านผู้บรรลุพระอรหัตแล้วย่อม เปน๐ ผู้ผ่องใสโดยส่วนเดียวแล๔๙ (๒) กจิ โฺ ฉ มนุสสฺ ปฏลิ าโภ กิจฺฉํ มจฺจาน ชวี ิตํ กิจฉฺ ํ สทฺธมฺมสสฺ วนํ กิจฺโฉ พทุ ฺธานมปุ ฺปาโท.๕๐ แปล: การไดเ้ กดิ มาเปน๐ มนุษยก์ น็ ับวา่ ยาก การดํารงชวี ิตอยู่ของเหลา่ สัตว์กน็ บั ว่า ยาก การท่จี ะไดฟ้ ๎งสัทธรรมก็นับวา่ ยาก การท่ีพระพุทธเจา้ ท้ังหลายจะเสดจ็ อบุ ัติข้ึนก็ ยิง่ ยาก วเิ คราะห์ ในคาถานี้ คําว่า ธรรม หมายถงึ เทศนาธรรม โดยอาศัยบริบทว่า “การได้ฟ๎ง.......ก็นับวา่ ยาก” ๔๗ ข.ุ ส. (ไทย) ๒๕/๒๓๓/๕๕๕. ๔๘ ข.ุ ธ. (บาลี) ๒๕/๘๒/๓๑. ๔๙ ข.ุ ธ.อ. ๑/๒/๒/๓๔๘. ๕๐ ข.ุ ธ. (บาล)ี ๒๕/๑๘๒/๔๙.

๓๘ อภปิ ราย ในอรรถกถาธรรมบท พระพุทธโฆสาจารย์ไม่ได้แสดงความหมายไว้โดยตรง แต่สามารถ วิเคราะหไ์ ดจ้ ากบริบททอี่ ้างถึง กลา่ วคือเหตุผลท่แี สดงวา่ “การฟง๎ พระสทั ธธรรมนั้นยาก เพราะค่าท่ีบุคคล ผู้แสดงธรรมหาได้ยาก๕๑ อนึ่ง คําว่า เทศนาธรรม หมายเอาพระธรรมคาํ สอนรวม ๆ ไมไ่ ดร้ ะบุเฉพาะว่าเป๐นธรรมหมวด ใด เร่ืองใด หรือชุดใด เพราะโดยข้อเท็จจริง ผู้แสดงย่อมคัดสรรหลักธรรมที่คู่ควรแก่อัธยาศัยของผู้ฟ๎ง เปน๐ คราว ๆ ไป (๓) สุโข พทุ ธฺ านมุปฺปาโท สขุ า สทฺธมมฺ เทสนา สขุ า สงฺฆสสฺ สามคฺคี สมคฺคานํ ตโป สุโข.๕๒ แปล: การเกิดข้ึนของพระพุทธเจา้ ท้ังหลาย เปน๐ เหตนุ ําสุขมาให้ การแสดง สทั ธรรม เป๐นเหตุนาํ สขุ มาให้ ความสามคั คีของหมู่ เป๐นเหตนุ าํ สขุ มาให้ ความเพยี รของคนทส่ี ามัคคีกัน เปน๐ เหตนุ ําสุขมาให้ วิเคราะห์ ในคาถานี้ คําว่า ธรรม หมายถึงเทศนาธรรม โดยอาศัยบริบทท่ีว่า “การแสดง.....เป๐นเหตุนํา สุขมาให้” อภปิ ราย ในอรรถกถาธรรมบท พระพุทธโฆสาจารย์ขยายความว่า “สัตว์ท้ังหลายผู้มีทุกข์มีชาติเป๐นต้น เป๐นธรรม อาศัยการแสดงธรรมของสัตบุรุษ ย่อมพ้นจากทุกข์ท้ังหลายมีชาติเป๐นต้น เหตุใด เหตุนั้น การแสดงธรรมของสัตบุรษุ จึงช่อื ว่าเป๐นเหตนุ าํ สขุ มา”๕๓ บรบิ ทกอ่ นตรัสพระคาถาน้ี ทรงปรารภภิกษุท้ังหลายน่ังสนทนากันเรื่องความสุขแบบไหนสุด ยอด บา้ งก็บอกว่าสุขในราชสมบตั ิ สุขเกดิ จากกาม สขุ เกิดจากการบรโิ ภค ขณะที่พระพุทธเจ้าตรัสว่า สุข เหล่านั้นล้วนเป๐นไปเพ่ือการเวียนว่ายในวัฏฏะทุกข์ทั้งส้ิน๕๔ จึงตรัสถึงความสุขท่ีเป๐นไปเพื่อประโยชน์ เกื้อกูล ๔ ประการ คือการอุบัติขึ้นของพระพุทธเจ้า การฟ๎งพระสัทธรรม ความสามัคคี และความเพียร ของคนท่ีสามัคคกี นั (๔) สพฺพทานํ ธมมฺ ทานํ ชินาติ สพพฺ รสํ ธมมฺ รโส ชินาติ สพฺพรตึ ธมฺมรติ ชินาติ ๕๑ ขุ.ธ.อ. ๑/๒/๓/๓๓๐. ๕๒ ข.ุ ธ. (บาลี) ๒๕/๑๙๔/๕๑. ๕๓ ขุ.ธ.อ. ๑/๒/๓/๓๕๓. ๕๔ ข.ุ ธ.อ. ๑/๒/๓/๓๕๒.

๓๙ ตณหฺ กฺขโย สพฺพทุกขฺ ํ ชนิ าติ.๕๕ แปล: การให้ธรรม ชนะการให้ท้ังปวง รสแห่งธรรม ชนะรสทงั้ ปวง ความยินดใี นธรรม ชนะความยนิ ดที ้งั ปวง ความสน้ิ ตณั หา ชนะทกุ ข์ทงั้ ปวง วเิ คราะห์ ธรรมในพระคาถาน้ีปรากฎ ๓ คร้ัง เฉพาะที่มีความหมายถึงเทศนาธรรม คือบาทคาถาที่ ๑ รปู คาถาวา่ สพพฺ ทานํ ธมมฺ ทานํ ชินาติ ท้งั น้ีโดยอาศยั บริบทวา่ “การให้.....ชนะการให้ทงั้ ปวง” อภปิ ราย เหตุผลท่ีธรรมทานชนะการให้ทั้งปวง เพราะธรรมทาน ย่อมสามารถยังมรรค ผล นิพพาน ให้ เกดิ ขน้ึ ทง้ั ทานอ่ืนนอกจากน้ี จะเกดิ ข้ึนไดก้ ็อาศยั การฟ๎งแล้วเกิดศรทั ธา๕๖ ในพระไตรปิฎกแสดงการยกย่องธรรมทาน, รสแห่งธรรม และความยินดีในธรรมไว้ในท่ีต่าง ๆ คัดมาเป๐นตัวอย่างเทียบเคียงดังนี้ “ภิกษุท้ังหลาย ทาน ๒ อย่าง คือ อามิสทาน (การให้สิ่งของ) และธรรมทาน (การให้ธรรม) บรรดาทาน ๒ อย่างนี้ ธรรมทานเป๐นเลิศ”๕๗ ส่วนรสแห่งธรรม และ ความยินดีในธรรม มีปรากฏอยู่ท่ัวไปในพระไตรปิฎก แต่ไม่ปรากฎการเปรียบเทียบในลักษณะดังกล่าว คาถาตรัสเชิงเปรียบเทียบในเรื่องธรรมทาน รสแห่งธรรม และความยินดีในธรรมจึงมีปรากฎเฉพาะใน ธรรมบทเท่าน้ัน (๕) โย มุขสํฺญโต ภกิ ฺขุ มนฺตภาณี อนุทธฺ โต อตถฺ ํ ธมฺมํจฺ ทเี ปติ มธรุ ํ ตสสฺ ภาสิตํ.๕๘ แปล: ภกิ ษุรปู ใดสาํ รวมปาก พูดโดยใชม้ นั ตาเสมอ ไมฟ่ ุง้ ซ่าน แสดงแตอ่ รรถและ ธรรมเทา่ นัน้ ภาษิตของภิกษุนนั้ ไพเราะ วิเคราะห์ ในคาถานี้ ธรรม หมายถึง เทศนาธรรม โดยอาศยั บริบททีว่ ่า “แสดงแต่อรรถ และ......เท่านัน้ ภาษติ ของภิกษุน้ันไพเราะ” อภิปราย บริบทของการตรัสคาถาน้ี ทรงปรารภพระภิกษุชื่อโกกาลิกะด่าพระอัครสาวกท้ัง ๒ มรณภาพ แล้วไปบังเกิดในนรก อาศัยปากของตน ทําความฉิบหายแก่ตนเอง จึงแสดงโทษของการไม่สํารวมอินทรีย์ และอานสิ งส์ของการสํารวมอินทรีย์แก่ท่ีประชุมสงฆ์๕๙ ทั้งแสดงหลักการของการเทศนาเพื่อเป๐นแนวทาง สําหรบั ภิกษุทั้งหลายในการประกาศพระศาสนา ๕๕ ข.ุ ธ. (บาลี) ๒๕/๓๕๔/๗๘. ๕๖ ข.ุ ธ.อ.๑/๒/๔/๓๒๖. ๕๗ ข.ุ อติ .ิ ๒๕/๙๘,๑๐๐/๔๗๓,๔๗๗. ๕๘ ข.ุ ธ. (บาลี) ๒๕/๓๖๓/๘๐. ๕๙ ข.ุ ธ.อ.๑/๒/๔/๓๕๓.

๔๐ ในการอธิบายความคาถาน้ี พระพุทธโฆสาจารย์อธิบายว่า “บาทคาถาว่า อตฺถํ ธมฺมํฺจ ทีเปติ ความวา่ ยอ่ มแสดงอรรถแหง่ ภาษิตและธรรมคือเทศนา”๖๐ อน่ึง ธรรมในคาถานี้มาคู่กับอรรถ พระพุทธโฆสาจารย์อธิบายอรรถว่าหมายถึง ภาษิต ส่วน ธรรมหมายเอาเทศนา สะท้อนให้เห็นว่า การแสดงธรรมของพระสาวกนั้น จะเร่ิมต้นด้วยการยกภาษิต ข้ึนมา จากน้ันก็แสดง หรือแจกแจงรายละเอียดซ่ึงเรียกว่าเทศนา สอดคล้องกับคําอธิบายในเร่ืองนิรุตติ ปฏสิ ัมภทิ า ท่ที ่านยกเรอื่ งความรูใ้ นการกล่าวภาษาที่เปน๐ อรรถและธรรม ๔) ปฏิเวธธรรม พบวา่ ใช้ในความหมายนี้ในคาถาท่ี ๒๕๙,๓๕๔,๓๙๒, มรี ูปคาถาดังน้ี (๑) น ตาวตา ธมมฺ ธโร ยาวตา พหุ ภาสติ โย จ อปปฺ มปฺ ิ สตุ ฺวาน ธมฺมํ กาเยน ปสฺสติ ส เว ธมมฺ ธโรโหติ โย ธมมฺ ํ นปปฺ มชฺชติ.๖๑ แปล: บุคคลไมช่ ื่อวา่ ผทู้ รงธรรมเพยี งเพราะพดู มาก สว่ นผู้ใดได้สดบั ตรับฟง๎ ธรรมน้อย แต่พิจารณาเห็นธรรมด้วยนามกาย ท้ังไม่ประมาทธรรมนนั้ ผนู้ ัน้ ช่ือวา่ ผทู้ รงธรรม วิเคราะห์ ธรรม ในคําว่า ธมฺมธโร หมายถึง ปฏิเวธธรรม โดยอาศัยบริบทท่ีว่า “บุคคลไม่ชื่อว่าผู้.......... เพียงเพราะพูดมาก” และ “ท้ังไมป่ ระมาทธรรมนน้ั ผนู้ น้ั ชื่อวา่ .....” อภิปราย พิจารณาจากบริบทของนิทานที่ปรารภพระเถระผู้ทรงพระไตรปิฎกกับพระเถระผู้ได้บรรลุ ธรรมแล้ว พระพุทธเจ้าทรงปฏิเสธที่จะเรียกพระผู้ทรงพระไตรปิฎกว่า เป๐นผู้ทรงธรรม ขณะท่ีพระ เอกุทานเถระ แม้ไมไ่ ดท้ รงพระไตรปิฎก แต่รแู้ จ้งแทงตลอดสัจธรรมแล้ว ทรงเรียกว่า เป๐นผู้ทรงธรรม๖๒ ในอรรถกถาธรรมบท พระพุทธโฆสาจารย์ ได้อธิบายเช่ือมโยงความเป๐นเหตุเป๐นผลของคําว่า “ผู้ใดฟ๎งธรรมแม้มีประมาณน้อย อาศัยธรรมะ อาศัยอรรถะ เป๐นผู้ปฏิบัติธรรมสมควรแก่ธรรม กําหนดรู้สัจจะมีทุกข์เป๐นต้น ช่ือว่าย่อมเห็นสัจธรรม ๔ ด้วยนามกาย ผู้นั้นแล ชื่อว่าเป๐นผู้ทรง ธรรม”๖๓ และ “ แมผ้ ู้ใดเปน๐ ผู้มีความเพียรปรารภแล้ว หวังการแทงตลอดอยู่ว่า (เราจักแทงตลอด) ในวนั นี้ ๆ แล ชือ่ ว่าย่อมไม่ประมาทธรรม, แม้ผู้นี้ก็ช่ือวา่ ผ้ทู รงธรรมเหมือนกนั ฯ๖๔ ๖๐ ขุ.ธ.อ.๑/๒/๔/๓๕๖. ๖๑ ข.ุ ธ. (บาลี) ๒๕/๒๕๙/๖๑. ๖๒ ขุ.ธ.อ.๑/๒/๔/๗๔. ๖๓ ข.ุ ธ.อ. ๑/๒/๔/๗๕. ๖๔ ขุ.ธ.อ. ๑/๒/๔/๗๕.

๔๑ (๒) สพฺพทานํ ธมฺมทานํ ชนิ าติ สพฺพรสํ ธมมฺ รโส ชินาติ สพฺพรตึ ธมฺมรติ ชนิ าติ ตณหฺ กขฺ โย สพฺพทุกขฺ ํ ชนิ าต.ิ ๖๕ แปล: การใหธ้ รรม ชนะการใหท้ ง้ั ปวง รสแหง่ ธรรม ชนะรสทั้งปวง ความ ยนิ ดีในธรรม ชนะความยนิ ดที ั้งปวง ความสนิ้ ตณั หา ชนะทกุ ขท์ ้ังปวง วิเคราะห์ ธรรมในคาถาน้ีปรากฎ ๓ ครั้ง เฉพาะท่ีมีความหมายว่า ปฏิเวธธรรม ได้ในบาทคาถาว่า “สพฺพรตี ธมมฺ รติ ชนิ าติ” โดยอาศยั บริบททว่ี า่ “ความยินดใี น.....ชนะความยินดที ้ังปวง” อภปิ ราย ความยินดีในธรรม เป๐นผลจากการได้ลิ้มรสแห่งโพธิป๎กขิยธรรม ๓๗ ประการ อย่างใดอย่าง หนงึ่ ความยินดดี ังกล่าวนอี้ าจเกดิ ทั้งแกผ่ แู้ สดง ผู้ฟง๎ และผูก้ ล่าวสอน๖๖ เหตนุ ้นั จงึ เพ่งถึงปฏเิ วธธรรม (๓) ยมฺหา ธมฺมํ วิชาเนยฺย สมมฺ าสมพฺ ทุ ธฺ เทสิตํ สกกฺ จจฺ ํ ตํ นมสฺเสยยฺ อคคฺ ิหุตตฺ ํว พรฺ าหมฺ โณ.๖๗ แปล: บคุ คลรู้แจ้งธรรมทพี่ ระสัมมาสมั พุทธเจ้าทรงแสดงแล้วจากอาจารยใ์ ด ควรนอบน้อมอาจารยน์ น้ั โดยเคารพ เหมือนพราหมณ์นอบน้อมไฟทบี่ ชู า ฉะน้ัน วิเคราะห์ ในคาถาน้ี ธรรม หมายถึง ปฏิเวธธรรม โดยอาศัยบริบทที่ว่า “บุคคลผู้รู้แจ้ง.....ที่พระสัมมาสัม พทุ ธเจ้าแสดงแลว้ ” อภิปราย ในอรรถกถา พระพุทธโฆสาจารย์ไม่ได้ระบุหัวข้อธรรมไว้เฉพาะ แต่แสดงรวม ๆ ว่า หากได้รู้ แจ้งธรรมจากอาจารย์ท่านใด ก็ควรนอบน้อมอาจารย์ท่านน้ันโดยเคารพ เหมือนพวกพราหมณ์นอบน้อม บูชาไฟโดยเคารพ๖๘ บรบิ ทของคาถาน้ี พระพทุ ธเจ้าตรัสปรารภข้อกล่าวหาของภิกษุท้ังหลายว่า พระสารีบุตรเป๐น มิจฉาทิฏฐิ เพราะไหว้ทิศอยู่เนือง ๆ เพื่อแก้ข้อกล่าวหาดังกล่าว จึงทรงรับสั่งให้เรียกพระสารีบุตรมา สอบถามท่ามกลางท่ีประชมุ สงฆ์ พระประสงค์หลักอีกเรื่องหนึ่งก็คือ ต้องให้เป๐นแบบอย่างที่ดีงามในเร่ือง ความเคารพ ๖๕ ข.ุ ธ. (บาล)ี ๒๕/๓๕๔/๗๘. ๖๖ ขุ.ธ.อ. ๑/๒/๔/๓๒๗. ๖๗ ข.ุ ธ. (บาลี) ๒๕/๓๙๒/๘๕. ๖๘ ข.ุ ธ.อ. ๑/๒/๔/๔๔๕.

๔๒ อนึ่ง พระสารีบุตรได้บรรลุโสดาบันเพราะฟ๎งธรรมจากพระอัสสชิ และนับตั้งแต่บัดน้ันเป๐นต้น มา เมื่อจะนอน พระสารีบุตรจะตรวจดูว่า อาจารย์ของตนอยู่ทิศใด คร้ันทราบแล้ว ก็จะนอนหันศีรษะไป ทางทิศน้นั ๖๙ ๕) โลกุตรธรรม พบว่าใช้ในความหมายนี้ในคาถาที่ ๒๐,๖๔,๖๕, ๗๙,๘๖, ๑๑๕, ๑๕๑, ๒๐๕,๒๐๗, ๒๖๑, ๓๕๔, ๓๗๓, และ ๓๙๓ มรี ปู คาถาแสดงตามลาํ ดับดงั นี้ (๑) อปฺปมฺปิ เจ สํหิต ภาสมาโน ธมฺมสสฺ โหติ อนธุ มฺมจารี ราคํฺจ โทสํฺจ ปหาย โมหํ สมฺมปฺปชาโน สุวมิ ุตฺตจิตโฺ ต อนุปาทยิ าโน อธิ วา หุรํ วา น ภาควา สามํฺญสฺส โหตุ.๗๐ แปล: คนทก่ี ล่าวพุทธพจน์แม้น้อย แตป่ ระพฤตธิ รรมสมควรแกธ่ รรมเป๐นปกติ ละราคะ โทสะ และโมหะได้แล้ว รู้ชอบ มีจติ หลุดพน้ ดีแลว้ ไม่ยึดติดในโลกนี้ และโลกหนา้ เขายอ่ มได้รับผลแหง่ ความเป๐นสมณะ วิเคราะห์ ในคาถานี้ คาํ วา่ ธมสฺ ฺส หมายถึงโลกุตตรธรรม ๙ อาศัยบริบทว่า “......ละราคะ โทสะ และ โมหะไดแ้ ลว้ รู้ชอบ มีจติ หลดุ พน้ ดีแล้ว ไม่ยดึ ตดิ ในโลกน้ีและโลกหนา้ ” อภปิ ราย พิจารณาในแง่ความสัมพันธ์ การจะบรรลุเป้าหมายคือโลกุตตรธรรมอย่างใดอย่างหน่ึง ผู้ ปฏิบัติต้องเลือกสรรหลักธรรมที่สมควร หรือเหมาะสม หากกล่าวโดยรวบยอด ก็คือ โพธิป๎กขิยธรรม ๓๗ ประการนั่นเอง ในอรรถกถาธรรมบท พระพทุ ธโฆสาจารย์ระบุตัวอย่างไว้เพียง ปาริสุทธิศีล ๔, ธุดงค์ คณุ และอสุภกรรมฐาน๗๑ ซ่งึ ถือเปน๐ สว่ นหนง่ึ ของธรรมที่ผูป้ ฏิบตั ิต้องเลอื กให้เหมาะสมกับจรติ ของตน ๆ (๒) ยาวชวี มฺปิ เจ พาโล ปณฺฑติ ํ ปยริ ุปาสติ น โน ธมมฺ ํ วชิ านาติ ทพิ ฺพิ สูปรสํ ยถา.๗๒ แปล: คนพาล แมจ้ ะอยใู่ กลบ้ ัณฑติ ชัว่ ชวี ติ กไ็ ม่ร้แู จง้ ธรรมเหมือนทพั พีไม่รู้รส แกง ฉะนั้น ๖๙ ข.ุ ธ.อ. ๑/๒/๔/๔๔๔. ๗๐ ขุ.ธ. (บาล)ี ๒๕/๒๐/๑๙. ๗๑ ข.ุ ธ.อ. ๑/๒/๑/๒๑๕. ๗๒ ข.ุ ธ. (บาลี) ๒๕/๖๔/๒๘.

๔๓ (๓) มุหตุ ฺตมฺปิ เจ วํิ ฺํู ปณฑฺ ิตํ ปยริ ปุ าสติ ขปิ ฺป๏ ธมฺมํ วิชานาติ ชิวฺหา สูปรสํ ยถา.๗๓ แปล: วญิ ํูชน แมจ้ ะอยู่ใกล้บณั ฑติ เพยี งชั่วครู่ ก็ร้แู จ้งธรรมไดฉ้ บั พลัน เหมือนลน้ิ รู้รสแกง ฉะนน้ั วเิ คราะห์ ในคาถาท่ี ๒-๓ มี ธรรมมีความหมายอย่างเดียวกัน คือ โลกุตตรธรรม โดยอาศัยบริบทท่ีว่า “ไม่รูแ้ จง้ ...เหมอื นทพั พไี ม่รู้รสแกง, ร้แู จ้ง......เหมอื นล้นิ รู้รสแกง” อภปิ ราย คาถาท่ี ๒ ในอรรถกถาธรรมบท พระพุทธโฆสาจารย์ ขยายความถึงสัทธรรม ๓ ประการ คือ ปริยตั ิสทั ธรรม ปฏบิ ตั สิ ทั ธรรม และปฏิเวธธรรมโดยคาถาแรกอธิบายไว้ดงั นี้ ช่ือว่าคนพาลน่ี เข้าไปหาอยู่ เข้าไปนั่งใกล้อยู่ ซ่ึงบัณฑิตแม้จนตลอดชีวิต ย่อมไม่รู้ปริยัติธรรม อยา่ งนีว้ า่ 'นี่เปน๐ พทุ ธพจนพ์ ระพทุ ธพจนม์ ีประมาณเทา่ น้ี' หรอื ซึ่งปฏิป๎ตติธรรมและปฏิเวธรรมอย่าง นี้ว่า 'ธรรมน้ีเป๐นเคร่ืองอยู่, ธรรมนี้เป๐นมารยาท, น้ีเป๐นโคจรกรรมนี้เป๐นไปกับด้วยโทษ, กรรมน้ีหา โทษมิได้, กรรมนค้ี วรเสพ; กรรมนีไ้ ม่ควรเสพ; สิง่ นี้พงึ แทงตลอด, สิ่งนี้ควรกระทําให้แจง้ ฯ๗๔ สว่ นคาถาท่ี ๓ พระพทุ ธโฆสาจารย์อธบิ ายไว้วา่ ถ้าวิญํชู น คือวา่ บรุ ุษผู้บณั ฑิต เข้าไปนงั่ ใกล้บัณฑิตอืน่ แมค้ รเู่ ดียว, เขาเรียนอยู่ สอบสวนอยู่ ใน สํานักบัณฑิตอ่ืนน้ัน ชื่อว่า ย่อมรู้แจ้งปริยัติธรรมโดยพลันทีเดียว, แต่นั้น เขาให้บัณฑิตบอก กัมมัฏฐานแล้ว เพียรพยายามอยู่ในข้อปฏิบัติ, เป๐นบัณฑิต ย่อมรู้แจ้งแม้โลกุตรธรรมพลันทีเดียว, เหมือนบุรุษผู้มีชิวหาประสาทอันโรคไม่กําจัดแล้ว พอวางอาหารลงที่ปลายลิ้นเพื่อจะรู้รสย่อมรู้รส อันตา่ งดว้ ยรสเคม็ เปน๐ ต้นฉะนั้นฯ๗๕ คาถาท้ัง ๒ น้ี ทรงแสดงปรารภบุคคลแตกต่างกัน คือ คาถาแรกปรารภพระอุทายีผู้ไม่สําเนียก ในสิกขา แม้อยู่ในสํานักเดียวกับพระพุทธองค์ก็ทําตัวเหมือนทัพพีไม่รู้รสแกง๗๖ ขณะท่ีคาถาที่สองทรง ปรารภภิกษุชาวเมืองปาฐา ๓๐ รูป๗๗ สมาทานธุดงค์ ตั้งใจปฏิบัติธรรม คร้ันมาเฝ้า และได้ฟ๎งธรรมจาก พระพุทธเจ้าอกี ครั้ง พระประสงค์ตอ้ งการเปรียบเทียบให้เห็นถึงความแตกต่างระหว่างคนพาล และบัณฑิต ความ แตกต่างดังกลา่ วย่อมส่งผลต่อการเข้าถงึ ธรรมดว้ ย ๗๓ ข.ุ ธ. (บาลี) ๒๕/๖๕/๒๘. ๗๔ ข.ุ ธ.อ. ๑/๒/๒/๑๙๑. ๗๕ ข.ุ ธ.อ. ๑/๒/๒/๑๙๓. ๗๖ ข.ุ ธ.อ. ๑/๒/๒/๑๙๐. ๗๗ ข.ุ ธ.อ.๑/๒/๒/๑๙๒.

๔๔ ผู้วิจัยเห็นว่า หากพิจารณาแง่ของสัทธรรม ๓ ประการ ควรเพ่งถึงปฏิเวธธรรม เพราะใน คาถาทรงเปรียบเทียบ “รสแกง” ซ่ึงมีนัยว่า น่าจะไม่ใช่เป๐นเรื่องของปริยัติธรรม และปฏิบัติธรรม แต่ หมายถึงการไดล้ ้มิ รสแห่งธรรมที่เกดิ จากการปฏิบัติ ซงึ่ ก็คือมรรผลนพิ พานอย่างใดอยา่ งหนึ่ง (๔) ธมฺมปีติ สุขํ เสติ วปิ ฺปสนฺเนน เจตสา อริยปฺปเวทิเต ธมฺเม สทา รมติ ปณฺฑโิ ต.๗๘ แปล: บคุ คลผอู้ ม่ิ เอบิ ในธรรม มใี จผ่องใส ย่อมอยเู่ ปน๐ สขุ บณั ฑติ ย่อมยนิ ดใี น ธรรมท่ีพระอริยะประกาศแล้วทุกเมื่อ วเิ คราะห์ คําว่า ธรรม ในคาถาน้ีปรากฏ ๒ ครั้ง คือ ธมฺมปีติ (อ่ิมเอิบในธรรม), และ ธมฺเม (ในธรรม) เฉพาคําแรก หมายเอาโลกุตตรธรรม ๙ โดยอาศัยบริบทที่ว่า “บุคคลผู้อ่ิมเอิบ......มีใจผ่องใสย่อมอยู่เป๐น สุข” อภปิ ราย ในอรรถกถาธรรมบท พระพุทธโฆสาจารย์ได้ขยายความว่า “บุคคลถูกต้องโลกุตรธรรม ๙ อย่าง ด้วยนามกาย ทําให้แจ้งโดยความเป๐นอารมณ์ แทงตลอดอริยสัจมีทุกข์เป๐นต้น ด้วยกิจมีการบรรลุ ธรรมด้วยความกําหนดรู้ เปน๐ ต้น ชอื่ ว่าย่อมด่มื ธรรม”๗๙ (๕) เย จ โข สมฺมทกฺขาเต ธมฺเม ธมฺมานุวตตฺ โิ น เต ชนา ปารเมสสฺ นตฺ ิ มจจฺ เุ ธยยฺ ํ สทุ ตุ ฺตรํ.๘๐ แปล: ส่วนชนเหลา่ ใดประพฤตติ ามธรรม ในธรรมที่พระผูม้ ีพระภาคตรัสไว้โดย ชอบ ชนเหลา่ นั้นจกั ขา้ มพ้นวฏั ฏะอนั เปน๐ บ่วงมารท่ีข้ามได้แสนยาก ไปถงึ ฝง๎๑ โน้นได้ วเิ คราะห์ ในคาถานี้ มีคําว่า ธรรม ปรากฎอยู่ ๒ คํา เฉพาะท่ีหมายถึงโลกุตตรธรรม คือคําที่ ๒ โดย อาศยั บรบิ ทว่า “ใน......ทีพ่ ระผู้มพี ระภาคตรสั ไว้โดยชอบ” อภิปราย คําที่ ๒ น้ี ในอรรถกถาธรรมบท พระพทุ ธโฆสาจารย์ระบุว่าหมายถึง เทศนาธรรม๘๑ อย่างไรก็ ตามหากพจิ ารณาบรบิ ทของคาํ (สมมฺ ทกขฺ าเต= ทีพ่ ระผมู้ ีภาคตรสั ไว้โดยชอบ) เทศนาธรรมดังกล่าวจะเพ่ง ไปถึงโลกุตตรธรรม ท้ังน้ีโดยการเทียบเคียงการอธิบายทํานองเดียวกันนี้ใน อรรถกถา สังยุตตนิกายท่ีว่า ๗๘ ข.ุ ธ. (บาลี) ๒๕/๗๙/๓๑. ๗๙ ข.ุ ธ.อ. ๑/๒/๒/๓๑๖. ๘๐ ข.ุ ธ. (บาลี) ๒๕/๘๖/๓๒. ๘๑ ข.ุ ธ.อ. ๑/๒/๒/๓๕๘.

๔๕ “ธรรมที่พระผู้มีพระภาคตรัสไว้ดีแล้วก็คือ โลกุตตรธรรม ๙ คือ มรรค ๔ ผล ๔ นิพพาน ๑”๘๒ ผู้วิจัยจึง วินิจฉัยเป๐นเรือ่ งของโลกุตตรธรรม ไม่ใชเ่ ทศนาธรรม (๖) ชีรนฺติ เว ราชรถา สุจติ ตฺ า อโถ สรีรมฺปิ ชรํ อปุ เติ สตํฺจ ธมโฺ ม น ชรํ อุเปติ สนโฺ ต หเว สพภฺ ิ ปเวทยนฺติ.๘๓ แปล: ราชรถอนั วิจติ รงดงาม ยงั ชาํ รุดไดแ้ ม้แต่ร่างกายน้ี กย็ งั เขา้ ถึงชราได้ แตธ่ รรมของสตั บุรุษหาเข้าถึงชราไม่ สัตบุรุษกบั สัตบุรุษรูก้ ันได้อยา่ งนี้ วเิ คราะห์ คําว่า “ธรรม” ในคาถาน้ี หมายถึงโลกุตตรธรรม ๙ ประการ โดยอาศัยบริบทว่า “แต่......ของ สตั บุรษุ หาเข้าถงึ ชราไม่” อภิปราย บริบทของคาถาน้ี ปรารภธรรมในเชิงเปรียบเทียบกับวัตถุภายนอกโดยยกเรื่องราชพาหนะ จุดมุ่งหมายเพ่ือแสดงไตรลักษณ์แก่พระราชาซ่ึงกําลังเศร้าพระทัยกับการสวรรคตของพระมเหสี ให้ พระองคไ์ ดท้ อดพระเนตรเหน็ ความจรงิ ว่า ไม่ใชเ่ ฉพาะชวี ิตนี้เทา่ นนั้ ทเ่ี ปล่ยี นแปลงไป พร้อมกับปรารภเหตุ ก็ทรงแสดงธรรมที่มีนัยตรงกันข้าม คาถาใช้คําว่า สตํฺจ ธมฺโม=ธรรม ของสตั บุรุษ ธรรมของสัตบุรุษในความหมายที่ไม่เข้าถึงความชรา ท้ังตัวธรรมเอง และตัวบุคคลท่ีเข้าถึง ธรรมเอง เพ่งได้เพียงประการเดียวคือ โลกตุ ตรธรรม เพราะธรรมทเ่ี หลอื นอกจากน้ี แม้จะเป๐นกุศลธรรม ก็ ยอ่ มเปน๐ ไปเพื่อการเวียนว่ายตายเกิดทั้งสิ้น พระอรรถกถาจารย์จึงเลือกที่จะระบุถึง โลกุตตรธรรม โดยให้ เหตุผลว่า “โลกุตรธรรมมีอย่าง ๙ ของสัตบุรุษทั้งหลายมีพระพุทธเจ้าเป๐นต้น ย่อมไม่ทําการ กระทบกระทัง่ อะไร ๆ เลย ชื่อวา่ ไมเ่ ข้าถงึ ความทรุดโทรม”๘๔ อน่ึงรูปคาถาที่ปรากฏในธรรมบทน้ีเป๐นอย่างเดียวกับคาถาในชรามรณสูตร ซึ่งปรารภป๎ญหา ทูลถามของพระเจ้าป๎สเสนทิโกศลที่ว่า “คนเกิดมาแล้วที่พ้นจากชราและมรณะมีบ้างหรือไม่”๘๕ วินิจฉัย ได้ว่า พระพุทธโฆสาจารย์ใช้เรื่องราวในพระสูตรน้ีเป๐นแนวทางในการอธิบายความ โดยยกเหตุการ สวรรคตของพระนางมัลลกิ าเทวมี าเพ่ิมเตมิ (๗) ปวิเวกรสํ ปติ วฺ า รสํ อปุ สมสฺส จ นิทฺทโร โหติ นปิ ฺปาโป ธมฺมปตี ริ สํ ปวิ .ํ ๘๖ ๘๒ อํ.ทสก.อ. ๕/๓๗๗. ๘๓ ข.ุ ธ. (บาลี) ๒๕/๑๕๑/๔๔. ๘๔ ข.ุ ธ.อ. ๑/๒/๓/๑๗๑. ๘๕ สํ.ส. (ไทย) ๑๕/๑๑๔/๑๓๑. ๘๖ ข.ุ ธ. (บาล)ี ๒๕/๒๐๕/๕๓.

๔๖ แปล: บคุ คลดื่มปวเิ วกรส ลมิ้ รสแห่งความสงบ และได้ลิ้มรสแห่งปีติในธรรม แล้ว เปน๐ ผู้ไม่มคี วามกระวนกระวาย ไมม่ ีบาป วิเคราะห์ ในคาถานี้ คาํ ว่า ธรรม หมายถึง โลกุตตรธรรม โดยอาศยั บรบิ ทท่วี า่ “ไดล้ ิม้ รสแห่งปีตใิ น...... แล้ว เป๐นผูไ้ มม่ คี วามกระวนกระวาย ไม่มีบาป” อภิปราย บาลีในคาถาน้ี มีข้อควรสังเกตเล็กน้อย กล่าวคือ อรรถกถาธรรมบท แยกคําว่า ธมฺมปีติ กับ รสํ ออกจากกนั ขณะท่ีสาํ นวนพระไตรปิฎกกลับเขียนติดกันเป๐นคําเดียวว่า ธมฺมปีติรสํ ทั้งฉบับมหาจุฬา และฉบับหลวง ความในอรรถกถาธรรมบทจึงต้ังบทอธิบายว่า “สองบทว่า รส ปิว ความว่า แม้เม่ือด่ืม รสแหง่ ปีติ อนั เกดิ ขน้ึ แลว้ ด้วยสามารถแหง่ โลกตุ รธรรม ๙ ย่อมเป๐นผู้ไม่มีความกระวนกระวาย และไม่ มบี าป”๘๗ อนึ่ง บริบทแห่งคาถานี้ ล้วนปรารภโลกุตตรธรรมท้ังหมด พิจารณาจากศัพท์ที่ใช้คาถา นับตัง้ แต่คาํ วา่ วิเวก (ปวิเวกรส)ํ , ความสงบ (อุปสมสฺส), ไม่มีความกระวนกระวาย (นิทฺทโร) และไม่มีบาป (นปิ ฺปาโป) ลว้ นเป๐นไวพจนข์ องพระนพิ พานท้ังส้นิ (๘) โย จ วสฺสสตํ ชีเว อปสฺสํ ธมมฺ มตุ ฺตมํ เอกาหํ ชีวิตํ เสยฺโย ปสฺสโต ธมมฺ มตุ ตฺ มํ.๘๘ แปล: ผู้เหน็ ธรรมอนั สูงสดุ แมม้ ชี วี ติ อย่เู พียงวันเดียว ประเสรฐิ กว่าผู้ไมเ่ ห็นธรรม อันสูงสุดท่ีมชี ีวติ อยู่ตั้ง ๑๐๐ ปี วเิ คราะห์ ในคาถาน้ี คําว่า ธรรม ปรากฎ ๒ คํา รูปศัพท์เหมือนกัน หมายถึง โลกุตตรธรรม ๙ ประการ โดยอาศยั บริบทว่า “ผเู้ ห็น.......อนั สูงสดุ ” และ “ประเสริฐกว่าผู้ไม่หน็ .......อันสงู สุด” อภิปราย อรรถกถาธรรมบท พระพทุ ธโฆสจารย์อธบิ ายเพ่ิมเติมว่า “ก็โลกุตตรธรรมน้ัน ชื่อว่า ธรรมอัน ยอดเยี่ยม. ก็ผู้ใดไม่เห็นธรรมอันยอดเยี่ยมนั้น. ความเป๐นอยู่แม้วันเดียว คือแม้ขณะเดียว ของผู้เห็น คือ แทงตลอดธรรมนน้ั ประเสรฐิ กวา่ ความเป๐นอยู่ ๑๐๐ ปี ของผู้นน้ั ”๘๙ อนง่ึ คําวา่ ธรรมอนั สูงสุด หรอื ธรรมสูงสดุ พบในบาลีหลายแห่ง บางแห่งท่านหมายเอา โลก กุตตรธรรม ๙๙๐ บางแห่งหมายเอาพระนิพพานเพยี งอยา่ งเดยี ว๙๑ ท้ังน้ขี ้นึ อยกู่ บั บริบทท่ีเก่ียวขอ้ ง ๘๗ ข.ุ ธ.อ. ๑/๒/๓/๓๘๓. ๘๘ ข.ุ ธ. (บาลี) ๒๕/๑๑๕/๓๗. ๘๙ ข.ุ ธ.อ. ๑/๒/๒/๕๐๗. ๙๐ ข.ุ ส.ุ (ไทย) ๒๕/๑๐๖๑/๗๕๒. ๙๑ ข.ุ จู. (ไทย) ๓๐/๒๓/๑๓๕.

๔๗ (๙) สีลทสฺสนสมฺปนฺนํ ธมมฺ ฏฐฺ ํ สจฺจวาทินํ อตตฺ โน กมฺมกพุ ฺพานํ ตํฺชโน กรุ เุ ต ปิยํ.๙๒ แปล: บคุ คลผู้สมบูรณ์ดว้ ยศีล และทัสสนะ ดํารงอยู่ในธรรม กล่าวคําสัตย์ ทาํ หนา้ ที่ของตน ย่อมเปน๐ ท่ีรักของประชาชน วเิ คราะห์ ในคาถานี้ ธรรม หมายถึง หมายเอาโลกุตตรธรรม ๙ ประการ โดยอาศัยบริบทที่ว่า “ผู้ สมบูรณ์ด้วยศีล และทัสสนะ ดํารงอยู่ใน......” อภิปราย คาถาน้ีตามบริบทตรัสปรารภพระมหากัสสปเถระ คุณสมบัติต่าง ๆ ท่ีระบุถึงในคาถา จึงมี ความเกี่ยวข้องกับคุณสมบัติของพระเถระด้วย อรรถกถาจารย์จึงไขความ ธมฺมฏฺฐํ ว่า “ผู้ตั้งอยู่ใน โลกุตรธรรม ๙ ประการ อธิบายว่า ผูม้ ีโลกตุ รธรรมอันทําให้แจ้งแลว้ ”๙๓ ตามบริบทของเร่ือง เด็ก ๕๐๐ คน ถือถาดขนมผ่านพระพุทธเจ้า และภิกษุสงฆ์โดยไม่ได้ ถวาย แต่คร้ันเห็นพระมหากัสสปะ เด็กเหล่าน้ันก็เกิดความรัก และได้ถวายขนมแก่พระเถระ ทําให้ภิกษุ สงฆพ์ ากันยกโทษวา่ เด็ก ๆ เหล่าน้ี ถวายขนมเพราะเหน็ แก่หน้า๙๔ พระพุทธเจ้าตรัสคาถาน้ีเพ่ือสรรเสริญคุณของพระเถระ และชี้ให้เห็นว่า ผู้มีศีลย่อมเป๐นที่รัก แก่เทวดา และมนษุ ย์ทง้ั หลาย อนึ่ง คําว่า ดํารงอยู่ในธรรม รูปศัพท์บาลีมีหลายรูป เช่น ธมฺมฏฺฐํ, ธมฺมฏฺฐา, ธมฺเม ฐิโต และ พบในคมั ภีร์หลายแหง่ แนวทางทอี่ ธิบายจะแตกตา่ งกันไปตามบริบท เช่นบางแห่งหมายเอากุศลกรรมบท ๑๐ ประการ๙๕ บางแห่งเพ่งถึงศีลเป๐นต้น๙๖ บางแห่งหมายเอาอริยสัจ ๔๙๗ บางแห่งหมายเอาพุทธโอวาท แต่ขยายความตอ่ ถงึ โลกุตตรธรรม ๙ ประการ๙๘ (๑๐) ยมฺหิ สจจฺ ํจฺ ธมฺโม จ อหึสา สํฺญโม ทโม ส เว วนตฺ มโล ธีโร โส เถโรติ ปวจุ จฺ ต.ิ ๙๙ แปล: ส่วนผู้มสี ัจจะ มธี รรม มอี หิงสา สญั ญมะ และทมะ คายมลทินได้แล้ว เป๐น ปราชญ์ ชอ่ื ว่า เถระ ๙๒ ข.ุ ธ. (บาลี) ๒๕/๒๑๗/๕๕. ๙๓ ขุ.ธ.อ. ๑/๒/๓/๔๑๕. ๙๔ ข.ุ ธ.อ. ๑/๒/๓/๔๑๔. ๙๕ ม.ม.อ. ๒/๒/๒๘. ๙๖ ขุ.อติ .ิ อ. ๑/๔/๗๓๖. ๙๗ ขุ.ส.ุ อ. ๑/๖/๑๐๙. ๙๘ ขุ.เถร.อ. ๒/๓/๒/๒๗๐. ๙๙ ข.ุ ธ. (บาลี) ๒๕/๒๖๑/๖๒.

๔๘ วิเคราะห์ ในคาถาน้ี ธรรม หมายถงึ โลกุตตรธรรม ๙ ประการ โดยอาศยั บริบทที่ว่า “สว่ นผู้มีสัจจะ...... มีอหิงสา สญั ญมะ และทมะ คายมลทนิ ได้แล้ว” อภิปราย อรรถกถาจารยย์ กนทิ านประกอบ ปรารภพระลกุณฏกภัททิยะ ซึ่งมีรูปร่างเล็กเหมือนสามเณร ทําให้ภิกษุท้ังหลายเข้าใจว่าท่านเป๐นสามเณร แม้พระพุทธเจ้าจะทรงยืนยันท่านเป๐นพระเถระ ภิกษุ เหลา่ น้นั กย็ งั สงสยั วา่ ไม่ใชพ่ ระเถระ เพราะเห็นรูปร่างเล็ก ไม่สมเป๐นพระเถระพระพุทธเจ้าตรัสคาถาน้ีเพ่ือ แสดงว่า ความเป๐นพระเถระไม่ได้ข้ึนอยู่กับรูปร่าง หากแต่ขึ้นอยู่กับภูมิธรรม ในท่ีน้ีพระเถระเป๐นพระ อรหนั ต์๑๐๐ เหตุนั้น ตอนอธิบายคาถา พระพุทธโฆสาจารย์จึงได้ระบุชัดว่า “.......และมีโลกุตรธรรม ๙ อย่าง”๑๐๑ ทงั้ น้เี พือ่ ใหส้ อดคล้องกบั คุณธรรมของพระลกุณฏกภัททิยะ ซ่งึ ทา่ นเปน๐ อริยบุคคล (๑๑) สพพฺ ทานํ ธมมฺ ทานํ ชนิ าติ สพฺพรสํ ธมมฺ รโส ชินาติ สพพฺ รตึ ธมฺมรติ ชนิ าติ ตณฺหกฺขโย สพฺพทุกขฺ ํ ชินาต.ิ ๑๐๒ แปล: การให้ธรรม ชนะการใหท้ ั้งปวง รสแหง่ ธรรม ชนะรสทง้ั ปวง ความยนิ ดีในธรรม ชนะความยินดที งั้ ปวง ความสนิ้ ตัณหา ชนะทุกขท์ ้งั ปวง วเิ คราะห์ คําว่า ธรรม ในคาถาน้ีปรากฎ ๓ ครั้ง เฉพาะท่ีหมายถึง โลกุตตรธรรม ๙ ได้ในบาทคาถาว่า “สพฺพรสํ ธมฺมรโส ชนิ าติ” ท้ังนโี้ ดยอาศยั บริบทว่า “รสแห่ง.....ย่อมชนะรสท้ังปวง” อภปิ ราย ในอรรถกถาธรรมบท พระพุทธโฆสาจารย์อธิบายความเพ่งถึงท้ังโลกุตตรธรรม ๙ และ โพธิป๎กขิยธรรม ๓๗ ประการ ผู้วิจัยเห็นด้วยกับคําอธิบายดังกล่าว แต่ให้น้ําหนักท่ีโลกุตตรธรรม ๙ ซึ่ง เปน๐ ตัวผล อนึ่ง รสธรรมชนะรสทั้งปวงเพราะ รสอ่ืน ๆ เช่น รสสุธาโภชน์ของเทวดา ยังเป๐นป๎จจัยให้ สัตว์ต้องเสวยทุกข์ในสังสารวัฏ แต่รสแห่งพระธรรม คือ โพธิป๎กขิยธรรม ๓๗ ประการ และโลกุตตร ธรรม ๙ ประการเปน๐ รสแห่งความสขุ ทีป่ ระเสรฐิ สุด เพราะนําสตั ว์ออกจากวฎั ฎทุกข์๑๐๓ ๑๐๐ ข.ุ ธ.อ.๑/๒/๔/๗๖. ๑๐๑ ขุ.ธ.อ.๑/๒/๔/๗๗. ๑๐๒ ข.ุ ธ. (บาลี) ๒๕/๓๕๔/๗๘. ๑๐๓ ขุ.ธ.อ.๑/๒/๔/๓๒๗.

๔๙ (๑๒) สุํญฺ าคารํ ปวิฏฺฐสสฺ สนฺตจติ ตฺ สสฺ ภกิ ขฺ ุโน สมฺมา ธมมฺ ํ วปิ สสฺ โต.๑๐๔ อมานสุ ี รตี โหติ แปล: ภิกษุผเู้ ข้าไปยังเรือนวา่ ง มจี ติ สงบ เหน็ แจง้ ธรรมโดยชอบ ย่อมเกิดความ ยนิ ดีทไ่ี ม่ใช่เปน๐ ของคนทัว่ ไป วเิ คราะห์ คําว่า ธรรม ในคาถาน้ี หมายเอา โลกตุ ตรธรรม โดยอาศัยบริบทท่ีว่า “ภิกษุเข้าไปยังเรือนว่าง มจี ิตสงบ เห็นแจง้ ......โดยชอบ” อภิปราย บริบทคาถาน้ี พระพุทธเจ้าทรงปรารภภิกษุจํานวน ๙๐๐ ซึ่งอดีตเคยเป๐นโจร แต่มีความ เลื่อมใสในคุณของมารดาพระโสณกุฏิกัณณะ จึงได้บวชในสํานักของพระเถระ จากน้ันจึงได้เรียนพระ กัมมัฏฐาน ตั้งใจบําเพ็ญสมณธรรมท่ีภูเขาลูกหนึ่ง ทรงแสดงแนวทางการปฏิบัติสําหรับพระภิกษุเหล่าน้ี รวมทั้งส้นิ ๙ คาถา๑๐๕ เน้ือความแห่งพระคาถาเกี่ยวข้องกับการปฏิบัติทั้งหมด โดยเริ่มตั้งแต่การดํารงชีวิตอยู่ด้วย เมตตา สาํ รวมระวัง ไม่ประมาทในการดาํ รงชีวติ มีความเพียรพยายามในการนาํ ตนออกจากทุกข์ (๑๓) น ชฏาหิ น โคตฺเตหิ น ชจฺจา โหติ พฺราหมฺ โณ ยมหฺ ิ สจฺจํจฺ ธมฺโม จ โส สจุ ี โส จ พฺราหฺมโณ.๑๐๖ แปล: คนเปน๐ พราหมณ์ ไมใ่ ชเ่ พราะเกล้าชฎา ไมใ่ ช่เพราะโคตร ไม่ใชเ่ พราะชาติ กาํ เนิด แต่สัจจะ และธรรมมีอยูใ่ นผใู้ ด ผนู้ ้ัน เป๐นผ้สู ะอาด และผนู้ น้ั เป๐นพราหมณ์ วิเคราะห์ ในคาถาน้ี คําว่า ธรรม หมายถงี โลกตุ ตรธรรม ๙ โดยอาศัยบริบททว่ี า่ “แตส่ ัจจะ และ.....มี อยู่ในผู้ใด ผนู้ นั้ เปน๐ ผูส้ ะอาด” อภิปราย บริบทคาถาน้ี พระพุทธเจ้าทรงปรารภชฏิลพราหมณ์ ผู้มีความประสงค์จะให้เรียกตนเองว่า พราหมณ์ จึงทรงแสดงความหมายของคําว่า พราหมณ์ในธรรมวินัยของพระองค์ว่าไม่ได้เพ่งเอาเพียงแค่ รูปลักษณ์ภายนอกเหมือนอย่างที่พราหมณ์พรรณนาถึงเท่านั้น๑๐๗ ทั้งนี้เพื่อยกระดับความเข้าใจของ พราหมณใ์ ห้สงู ข้ึน อนั จะนําเข้าสกู่ ารรู้แจง้ ในธรรมวินัยของพระองค์ แนวทางในการอธิบายของพระพุทธโฆสาจารย์ว่า “บรรดาบทเหล่าน้ัน บทว่า สจฺจ เป๐น ต้น ความว่า สัจญาณอันแทงตลอดซ่ึงสัจจะ ๔ อย่าง ด้วยอาการ ๑๖ แล้วตั้งอยู่ และ ๑๐๔ ข.ุ ธ. (บาลี) ๒๕/๓๗๓/๘๒ ๑๐๕ ข.ุ ธ.อ.๑/๒/๔/๓๗๖. ๑๐๖ ข.ุ ธ. (บาลี) ๒๕/๓๙๓/๘๕. ๑๐๗ ข.ุ ธ.อ.๑/๒/๔/๔๔๖.

๕๐ โลกุตรธรรม ๙ มีอยู่ในบุคคลใด, บุคคลนั้นเป๐นผู้สะอาด และเป๐นพราหมณ์”๑๐๘ ความชัดเจนว่า เพ่ง เอาโลกุตตรธรรม เพราะปรารภเกณฑว์ ัดความเป๐นพราหมณใ์ นมติ ิทางพระพุทธศาสนา (๑๔) ธมมฺ าราโม ธมฺมรโต ธมมฺ ํ อนุวจิ นิ ตฺ ยํ ธมฺมํ อนุสฺสรํ ภิกฺขุ สทฺธมมฺ า น ปริหายติ.๑๐๙ แปล: ภิกษุมธี รรมเปน๐ ทีม่ ายินดี ยินดแี ล้วในธรรม พจิ ารณาใคร่ครวญถึงธรรม ระลึกถงึ ธรรมอยู่ ยอ่ มไมเ่ ส่ือมจากสัทธรรม วิเคราะห์ คําวา่ ธรรม ในคาถานีม้ ปี รากฎจาํ นวน ๕ คร้ัง เฉพาะคําสดุ ท้าย ในบาทคาถาว่า สทฺธมฺมา น ปริหายติ หมายถึง โลกุตตรธรรม โดยอาศัยบริบทที่ว่า “ภิกษุมีธรรมเป๐นที่มายินดี ยินดีแล้วในธรรม พิจารณาใคร่ครวญถึงธรรม ระลกึ ถึงธรรมอยู่ ย่อมไมเ่ สือ่ มจาก.......” อภิปราย บริบทของคาถาน้ี พระพุทธเจ้าตรัสยกย่องชมเชยพระธรรมารามเถระ ผู้ทราบข่าวการปลงมา ยุสงั ขารของพระพทุ ธเจา้ แลว้ ไม่ประมาท ต้ังใจบาํ เพ็ญสมณธรรมเพื่อใหบ้ รรลุธรรมก่อนพทุ ธปรินิพพาน พระพทุ ธโฆสาจารย์ จึงอธิบายความว่า “บทว่า สทฺธมฺมา ความว่า ภิกษุเห็นปานน้ัน ย่อม ไมเ่ สอื่ มจากโพธิป๎กขยิ ธรรม ๓๗ และจากโลกุตรธรรม ๙”๑๑๐ อนึ่ง คาถาในธรรมบทนี้ คล้ายคาถาในธรรมสูตร แห่งขุททกนิกาย อิติวุตตกะ ปรารภผู้ ปฏิบตั ิธรรมสมควรแก่ธรรม, ๑๑๑ และขุททนิกาย เถรคาถา๑๑๒ รูปพระคาถาอย่างเดียวกัน แม้คําอธิบายใน อรรถกถากม็ ีนยั อย่างเดียวกัน กล่าวคือ หมายเอา โลกตุ ตรธรรม ๙ ประการ๑๑๓ ๖. โพธิปักขิยธรรม ๓๗ ประการ พบว่าใช้ในความหมายนี้ ในคาถาที่ ๓๘, ๔๔, ๔๕, ๖๐, ๗๙,๘๖,๓๕๔,๓๖๔ มีรูปคาถาแสดงตามลาํ ดับดงั นี้ (๑) อนวฏฐฺ ติ จติ ฺตสฺส สทฺธมฺมํ อวิชานโต ปรปิ ลฺ วปสาทสฺส ปํฺญา น ปริปูรต.ิ ๑๑๔ แปล: ผู้มจี ิตไม่มน่ั คง ไมร่ แู้ จ้งสทั ธรรม มีความเลือ่ มใสเลื่อนลอย ย่อมไม่มีปญ๎ ญาสมบูรณ์ ๑๐๘ ข.ุ ธ.อ.๑/๒/๔/๔๔๗. ๑๐๙ ข.ุ ธ. (บาล)ี ๒๕/๓๖๔/๘๐. ๑๑๐ ข.ุ ธ.อ.๑/๒/๔/๓๕๙. ๑๑๑ ข.ุ อิต.ิ (ไทย) ๒๕/๘๖/๔๕๓. ๑๑๒ ขุ.เถร. (ไทย) ๒๖/๑๐๓๕/๕๐๙. ๑๑๓ ขุ.อติ ิ.อ. ๑/๔/๕๓๓. ๑๑๔ ขุ.ธ. (บาลี) ๒๕/๓๘/๒๓.

๕๑ วิเคราะห์ ในคาถาน้ี คําว่า ธรรม หมายถึง โพธิป๎กขิยธรรม ๓๗ ประการ โดยอาศัยบริบทว่า “ผู้มีจิตไม่ มน่ั คง ไมร่ ูแ้ จ้ง.....” อภิปราย หากพจิ ารณาจากบรบิ ท โพธิป๎กขยิ ธรรมทรี่ ะบถุ งึ นน้ั เปน๐ เพียงหวั ข้อธรรมหมวดหน่ึงที่ท่านยก มาเปน๐ อุทาหรณ์ ท่านจึงใชค้ ําวา่ “.....อันตา่ งโดยโพธปิ ก๎ ขิยธรรม ๓๗” ๑๑๕ ซึ่งมีนัยถึงธรรมหมวดอื่นด้วย เพียงแต่ไม่ไดย้ กมากลา่ วไวใ้ นที่นเี้ ทา่ น้ัน อนึง่ คําวา่ สัทธรรม พบบ่อยในพระไตรปิฎก บางครั้งระบุความหมาย หรือหมวดธรรมเฉพาะ ก็มี เช่น คัมภีร์วิภังค์ ระบุถึงสติป๎ฏฐาน ๔ สัมมัปปธาน ๔ อิทธิบาท ๔ อินทรีย์ ๕ พละ ๕ โพชฌงค์ ๗ อริยมรรคมีองค์ ๘๑๑๖ แต่คัมภีร์ปริวารระบุถึง ศรัทธา หิริ โอตตัปปะ พหูสูต ปรารภความเพียร มีสติ ตงั้ มน่ั และปญ๎ ญา๑๑๗ ขณะทีใ่ นมัชฌิมนกิ าย มชั ฌมิ ปณ๎ ณาสก์ ระบถุ ึงอริยมรรคมีองค์ ๘๑๑๘ แสดงให้เห็นว่า สัทธรรมจะมีความหมายอย่างไร หรือประการใด ย่อมขึ้นอยู่กับบริบท ใน ความหมายแบบแคบ ระบุถึงคําสอนอย่างใดอย่างหน่ึง อย่างกว้าง ระบุถึงพระธรรมคําสั่งสอนของ พระพุทธเจ้าทงั้ หมดทงั้ ในส่วนของปรยิ ตั ิ ปฏิบตั ิ และปฏิเวธ อย่างไรก็ตาม ในที่น้ีเพ่งถึงโพธิป๎กขิยธรรม ๓๘ ประการ เพราะมุ่งชี้ให้เห็นถึงความสัมพันธ์ ระหว่างสมาธิกับป๎ญญา ในลักษณะเปน๐ เหตุป๎จจัยกัน กล่าวคือ ถ้าไม่มีสมาธิ ก็ไม่มีป๎ญญา เมื่อไม่มีป๎ญญา ก็ยอ่ มไม่อาจรู้แจ้งสทั ธรรม เป๐นเรื่องกระบวนการปฏิบัติ สัทธธรรมในพระคาถานี้จึงไม่อาจเพ่งถึงโลกุตตร ธรรม ๙ (๒) โก อมิ ํ ปฐวึ วิเชสสฺ ติ ยมโลกํฺจ อมิ ํ สเทวกํ โก ธมฺมปทํ สเุ ทสิตํ กุสโล ปปุ ผฺ มิว ปเจสฺสติ.๑๑๙ แปล: ใครจักรู้แจง้ แผ่นดนิ น้ี ยมโลก และมนุษยโลกนี้ พร้อมท้งั เทวโลก ใครจัก เลือกบทธรรมท่ตี ถาคตแสดงไว้ดีแลว้ เหมอื นชา่ งดอกไม้ผูช้ าญฉลาดเลอื กเก็บ ดอกไม้ ฉะนนั้ (๓) เสโข อมิ ํ ปฐวึ วิเชสสฺ ติ ยมโลกํฺจ อิมํ สเทวกํ ๑๑๕ ข.ุ ธ.อ. ๑/๒/๑/๔๒๒. ๑๑๖ อภ.ิ ว.ิ (ไทย) ๓๕/๙๓๔/๕๘๕. ๑๑๗ ว.ิ ป. (ไทย) ๘/๓๒๗/๔๘๖. ๑๑๘ อํ.ทสก. (ไทย) ๒๔/๑๔๗/๒๙๒. ๑๑๙ ขุ.ธ. (บาลี) ๒๕/๔๔/๒๔.

๕๒ เสโข ธมมฺ ปทํ สุเทสิตํ กุสโล ปปุ ผฺ มวิ ปเจสสฺ ต.ิ ๑๒๐ แปล: พระเสขะจกั รู้แจ้งแผน่ ดนิ น้ี ยมโลก และมนุษยโลกนี้ พร้อมทง้ั เทวโลก พระเสขะจกั เลอื กบทธรรมที่ตถาคตแสดงไวด้ ีแล้ว เหมือนช่างดอกไมผ้ ชู้ าญ ฉลาดเลือกเก็บดอกไม้ ฉะน้ัน วิเคราะห์ ในคาถาท่ี ๒-๓ นี้ ความต่อเนื่องกัน และคําว่า ธรรม หมายถึง โพธิป๎กขิยธรรม ๓๗ ประการ เหมือนกัน ทั้งนี้โดยอาศัยบริบทว่า “ใครจักเลือก.....ท่ีพระตถาคตแสดงไว้ดีแล้ว, พระเสขะจักเลือก......ที่ พระตถาคตแสดงไว้ดีแล้ว” อภิปราย บริบทของคาถาปรารภแนวทางการปฏบิ ัติธรรม ธรรมในคาถานี้จึงเพ่งถึงหลักปฏิบัติ กล่าวคือ โพธิป๎กขิยธรรม ๓๗ ประการ๑๒๑ ซ่ึงเป๐นหน้าท่ีของผู้ปฏิบัติจะต้องเลือกธรรมท่ีเหมาะสมกับจริตของ ตน ๆ ในพระไตรปิฎก มีคําว่า บทธรรม/ธมฺมปท-หลายครั้ง แต่ละคร้ัง ระบุความหมายถึงคําสอน ของพระพุทธเจ้า หากแต่แจกแจงในรายละเอียดถึงหัวข้อธรรมต่าง ๆ เหมือนกันบ้าง แตกต่างกันไปบ้าง ตามบริบทท่ีทรงใช้ เช่น บางคร้ังหมายเอาชุดธรรมชุดใดชุดหนึ่ง ๑๒๒ บางคร้ังหมายเอาพระพุทธพจน์ โดยรวม๑๒๓ โดยสรปุ บทธรรม ใช้ในความหมายกว้าง แคบไม่เหมือนกัน กว้างสุดหมายถึง พระธรรมคําส่ัง สอนของพระพุทธเจ้าท้ังหมด ๘๔,๐๐๐ พระธรรมขันธ์ แคบสุดคือเพ่งถึงหัวข้อธรรมบทใดบทหนึ่งท่ี เป๐นไปเพื่อประโยชน์เก้ือกูลในป๎จจุบัน ประโยชน์ภายภาคหน้า ตลอดถึงประโยชน์อย่างย่ิงได้แก่พระ นิพพาน พิจารณาความหลากหลายของความมุ่งหมายในการนําไปใช้ได้นี้จากคัมภีร์พระไตรปิฎก ตลอด ถึงอรรถกถาท่ัวไป การท่ีพระอรรถกถาจารย์ระบุถึงโพธิป๎กขิยธรรม ๓๗ เน่ืองเพราะคาถาน้ี พระพุทธเจ้าตรัส แนวทางปฏิบัติพระกัมมัฏฐานแก่ภิกษุ ๕๐๐ รูป การตรัสบอกให้เลือกบทธรรมมาพิจารณาจึงเป๐นการ กระตุ้นเตอื นเพือ่ ใหเ้ กดิ ผลในทางปฏิบัติ ๑๒๐ ข.ุ ธ. (บาล)ี ๒๕/๔๕/๒๔. ๑๒๑ ข.ุ ธ.อ. ๑/๒/๒/๕-๖. ๑๒๒ ที.ปา. (ไทย) ๑๑/๓๓๑/๒๘๙. ชุดธรรมหมวดน้ีประประกอบด้วย อนภิชฌา, อัพยาบาท, สัมมาสติ และสมั มาสมาธิ ๑๒๓ สํ.ส. (ไทย) ๑๕/๒๔๐/๓๔๔. ข้อมูลอ้างถึงภิกษุกําลังสาธยายบทธรรมอยู่ ขณะที่พระพุทธเจ้าตรัสถึง พระองคเ์ องวา่ เปน๐ ผู้รแู้ จง้ บทธรรมแลว้

๕๓ (๔) ทฆี า ชาครโต รตฺติ ทฆี ํ สนตฺ สสฺ โยชนํ ทีโฆ พาลาน สสํ าโร สทธฺ มฺมํ อวชิ านตํ.๑๒๔ แปล: ราตรีหนึ่ง ยาวนานสาํ หรับคนผตู้ น่ื อยู่ ระยะทางโยชน์หนง่ึ ยาวไกลสาํ หรับ คนผ้เู ม่อื ยลา้ สังสารวฏั ยาวนานสาํ หรับคนพาลผู้ไม่รแู้ จง้ สัทธรรม วิเคราะห์ ในพระคาถาน้ี ธรรม หมายถงึ โพธิป๎กขยิธรรม ๓๗ ประการ โดยอาศัยบริบทท่ีว่า “สังสารวัฏ ยาวนานสําหรรบั คนพาลผ้ไู มร่ ูแ้ จง้ .......” อภปิ ราย ในอรรถกถาธรรมบท พระพทุ ธโฆสาจารย์อธิบายความไว้ว่า สังสารวัฏของชนพาลท้ังหลายผู้ ไม่รู้ประโยชน์ในโลกน้ีและประโยชน์ในโลกหน้า คือผู้ไม่อาจเพื่อกระทําท่ีสุดแห่งสังสารวัฏ ผู้ไม่รู้แจ้ง สัทธรรม อันต่างด้วยธรรมมีโพธิป๎กขิยธรรม ๓๗ เป๐นต้น ที่พระอริยเจ้าท้ังหลายรู้แล้วกระทําท่ีสุดแห่ง สงสารได้ ยอ่ มช่อื วา่ ยาว๑๒๕ พิจารณาในแง่หลักอุปจาระ คําว่า สทฺธมฺม- เป๐นเอกเทสยูปจาระ คือเป๐นสํานวนที่กล่าวถึง ส่วนรวมแต่ให้มุ่งหมายถึงบางส่วน ซึ่งในท่ีนี้ คําว่า สัทธรรม มุ่งหมายถึงคําสอนของพระพุทธเจ้าโดย สว่ นรวม แต่ในคาถานี้ ใหม้ งุ่ หมายเฉพาะโพธปิ ๎กขิยธรรม ๓๗ ประการเทา่ น้ัน๑๒๖ พจิ ารณาในแงข่ องนยั คาํ ว่า สทธฺ มฺม- เป๐นรฬู หนิ ัย และปาริเสสนยั รูฬหินัย คือนัยท่ีมีความหมายไม่ตรงกับสภาพท่ีเป๐นจริง หมายความว่า แม้คําว่า สทฺธมฺม- โดยทั่วไปจะหมายถึง พระสัทธรรมทั้ง ๓ ประการ แต่ในท่ีนี้ให้หมายเอาเฉพาะโพธิป๎กขิยธรรม ส่วน ปาริเสสนัย คือ นัยหมายเอาสิ่งท่ีเหลือ หมายความว่า เดิมหมายถึงพระสัทธรรมท้ัง ๓ แต่ในที่น้ีหมายเอา เพยี งโพธิปก๎ ขิยธรรม๑๒๗ (๕) ธมฺมปีติ สุขํ เสติ วิปปฺ สนฺเนน เจตสา อริยปฺปเวทเิ ต ธมเฺ ม สทา รมติ ปณฑฺ ิโต.๑๒๘ แปล: บุคคลผอู้ ่มิ เอบิ ในธรรม มีใจผอ่ งใส ย่อมอยู่เป๐นสุข บัณฑติ ยอ่ มยินดใี น ธรรมที่พระอรยิ ะประกาศแลว้ ทุกเม่ือ วิเคราะห์ คําว่า ธรรม ในคาถาน้ีปรากฏ ๒ คร้ัง คือ ธมฺมปีติ (อิ่มเอิบในธรรม), และ ธมฺเม (ในธรรม) เฉพาะคําหลังหมายเอาโพธิป๎กขิยธรรม ๓๗ ประการ โดยอาศัยบริบทท่ีว่า “บัณฑิตย่อมยินดีใน.....ท่ีพระ อริยเจ้าประกาศไว้แล้ว” ๑๒๔ ข.ุ ธ. (บาล)ี ๒๕/๖๐/๒๗. ๑๒๕ ข.ุ ธ.อ. ๑/๒/๒/๑๖๗. ๑๒๖พระธรรมโมลี (สมศกั ด์ิ อุปสโม), งานวจิ ัยการศึกษาเชงิ วเิ คราะห:์ พระคาถาธรรมบท, หน้า ๔๑๔. ๑๒๗ เรอื่ งเดยี วกนั . ๑๒๘ ข.ุ ธ. (บาลี) ๒๕/๗๙/๓๑.

๕๔ ๔ อภปิ ราย ในอรรถกถาธรรมบท พระพุทธโฆสาจารย์ได้วินิจฉัยเชื่อมโยงบทวิเสสนะของธรรม คือ อริยปฺปเวทิเต เพื่อใหค้ วามหมายชดั เจนขึน้ ว่า “บทว่า อริยปฺปเวทิเต ความว่า ในโพธิป๎กขิยธรรม อัน ตา่ งด้วยสตปิ ๎ฏฐานเป๐นตน้ อนั พระอริยเจา้ ทงั้ หลายมพี ระพุทธเจา้ เปน๐ ต้นประกาศแล้ว”๑๒๙ คาํ แรกมุ่งแสดงผล คือโลกตุ ตรธรรม สว่ นคําหลัง มุ่งแสดงเหตุ คือโพธิปก๎ ขยิ ธรรม (๖) เย จ โข สมฺมทกฺขาเต ธมฺเม ธมฺมานวุ ตตฺ โิ น เต ชนา ปารเมสฺสนฺติ มจฺจเุ ธยยฺ ํ สทุ ุตตฺ รํ.๑๓๐ แปล: สว่ นชนเหล่าใดประพฤติตามธรรม ในธรรมที่พระผู้มพี ระภาคตรสั ไวโ้ ดย ชอบ ชนเหล่านั้นจักขา้ มพ้นวฏั ฏะอนั เปน๐ บว่ งมารท่ีข้ามได้แสนยาก ไปถึงฝง๑๎ โนน้ ได้ วเิ คราะห์ ในคาถานี้ มีธรรมปรากฎอยู่ ๓ คํา เฉพาะคําแรก หมายถึง โพธิป๎กขิยธรรม โดยอาศัย บริบทวา่ “ชนเหลา่ ใดประพฤติตาม........” อภปิ ราย อรรถกถา ทา่ นไมไ่ ด้ระบคุ วามหมายไว้โดยตรง กลา่ วไวแ้ ตเ่ พยี งว่า “ประพฤติธรรมสมควรแก่ ธรรมดว้ ยสามารถแหง่ การฟ๎งธรรมนั้น แล้วบําเพ็ญปฏิปทาเหมาะแก่ธรรมน้ัน กระทํามรรคผลให้แจ้ง”๑๓๑ ซึ่งจากบริบทน้ี จะหมายเอาโพธิป๎กขิยธรรม ๓๗ ประการ เพราะปฏิปทาที่จะนําไปสู่การรู้แจ้งอ่ืน นอกจากโพธปิ ก๎ ขิยธรรมไมม่ ี (๗) สพฺพทานํ ธมมฺ ทานํ ชนิ าติ สพฺพรสํ ธมมฺ รโส ชินาติ สพฺพรตึ ธมมฺ รติ ชนิ าติ ตณฺหกฺขโย สพฺพทุกขฺ ํ ชินาต.ิ ๑๓๒ แปล: การให้ธรรม ชนะการให้ทั้งปวง รสแห่งธรรม ชนะรสทง้ั ปวง ความยนิ ดใี นธรรม ชนะความยินดีทั้งปวง ความสนิ้ ตัณหา ชนะทุกขท์ ง้ั ปวง วเิ คราะห์ คําว่า ธรรม ในคาถานี้ปรากฎ ๓ ครั้ง เฉพาะที่หมายถึง โพธิป๎กขิยธรรม ได้ในบาทคาถาว่า สพพฺ รสํ ธมฺมรโส ชนิ าติ โดยอาศยั บรบิ ทว่า “รสแห่ง.....ย่อมชนะรสทง้ั ปวง” ๑๒๙ ข.ุ ธ.อ. ๑/๒/๒/ ๓๑๖. ๑๓๐ ข.ุ ธ. (บาล)ี ๒๕/๘๖/๓๒. ๑๓๑ ข.ุ ธ.อ. ๑/๒/๒/๓๖๑. ๑๓๒ ข.ุ ธ. (บาล)ี ๒๕/๓๕๔/๗๘.

๕๕ อภิปราย ในอรรถกถาธรรมบท พระพุทธโฆสาจารย์ได้ให้เหตุผลประกอบว่า รสธรรมชนะรสท้ังปวง เพราะรสอ่ืน ๆ เชน่ รสสุธาโภชน์ของเทวดา ยังเป๐นป๎จจัยให้สัตว์ต้องเสวยทุกข์ในสังสารวัฏ แต่รสแห่ง พระธรรม คือ โพธิป๎กขิยธรรม ๓๗ ประการ และโลกุตตรธรรม ๙ ประการเป๐นรสแห่งความสุขที่ ประเสริฐสุด เพราะนาํ สัตวอ์ อกจากวฎั ฎทกุ ข์๑๓๓ (๘) ธมมฺ าราโม ธมฺมรโต ธมมฺ ํ อนวุ จิ ินฺตยํ ธมฺมํ อนุสสฺ รํ ภิกฺขุ สทฺธมฺมา น ปริหายติ.๑๓๔ แปล: ภกิ ษุมีธรรมเปน๐ ที่มายนิ ดี ยนิ ดีแล้วในธรรม พจิ ารณาใครค่ รวญถงึ ธรรม ระลึกถึงธรรมอยู่ ยอ่ มไม่เส่ือมจากสทั ธรรม วิเคราะห์ ธรรมในคาถานี้มีปรากฎจํานวน ๕ ครั้ง เฉพาะคําสุดท้าย ในบาทคาถาว่า สทฺธมฺมา น ปริหายติ หมายถึง โพธิป๎กขิยธรรม และโลกุตตรธรรม โดยอาศัยบริบทที่ว่า “ภิกษุมีธรรมเป๐นท่ีมายินดี ยนิ ดีแลว้ ในธรรม พิจารณาใครค่ รวญถงึ ธรรม ระลึกถึงธรรมอยู่ ย่อมไม่เส่อื มจาก.......” อภิปราย บรบิ ทของคาถาน้ี พระพุทธเจ้าตรัสยกย่องชมเชยพระธรรมารามเถระ ผู้ทราบข่าวการปลงมา ยสุ งั ขารของพระพุทธเจา้ แล้ว ไมป่ ระมาท ต้ังใจบาํ เพ็ญสมณธรรมเพอื่ ให้บรรลุธรรมก่อนพุทธปรินิพพาน พระพทุ ธโฆสาจารย์ จึงอธิบายความว่า “บทว่า สทฺธมฺมา ความว่า ภิกษุเห็นปานนั้น ย่อม ไม่เสอ่ื มจากโพธิป๎กขิยธรรม ๓๗ และจากโลกตุ รธรรม ๙”๑๓๕ อนึ่ง คาถาในธรรมบทน้ี คลา้ ยคาถาในธรรมสูตร แห่งขทุ ทกนกิ าย อิติวุตตกะ ปรารภผู้ ปฏิบัติธรรมสมควรแก่ธรรม, ๑๓๖ และขทุ ทนิกาย เถรคาถา๑๓๗ รปู พระคาถาอย่างเดียวกัน แม้คําอธิบายใน อรรถกถาก็มีนัยอย่างเดียวกัน กล่าวคือ หมายเอาโพธิป๎กขิยธรรม ๓๗ ประการ และโลกุตตรธรรม ๙ ประการ๑๓๘ ๗) สมถ/วิปัสสนากรรมฐาน พบว่าใช้ในความหมายนี้ ในคาถาท่ี ๑๙๐,๒๙๗,๓๘๔ มีรูป คาถาตามลําดบั ดงั ตอ่ ไปน้ี (๑) โย จ พุทฺธํจฺ ธมมฺ ํจฺ สงฺฆํฺจ สรณํ คโต ๑๓๓ ข.ุ ธ.อ.๑/๒/๔/๓๒๗. ๑๓๔ ข.ุ ธ. (บาล)ี ๒๕/๓๖๔/๘๐. ๑๓๕ ขุ.ธ.อ.๑/๒/๔/๓๕๙. ๑๓๖ ข.ุ อติ .ิ (ไทย) ๒๕/๘๖/๔๕๓. ๑๓๗ ข.ุ เถร. (ไทย) ๒๖/๑๐๓๕/๕๐๙. ๑๓๘ ขุ.อติ .ิ อ. ๑/๔/๕๓๓.

๕๖ จตฺตาริ อริยสจจฺ านิ สมมฺ ปปฺ ํฺญาย ปสสฺ ต.ิ ๑๓๙ แปล :สว่ นผ้ทู ่ถี ึงพระพทุ ธ พระธรรม และพระสงฆ์ เปน๐ สรณะ ย่อมใชป้ ๎ญญาชอบพิจารณาเห็นอริยสจั ๔ ประการ วิเคราะห์ ในคาถานี้ คําว่า ธรรม หมายถึง ธัมมานุสติ เป๐นหน่ึงในอารมณ์ของสมถกัมมัฏฐาน อยู่ใน หมวดอนุสสติ ๑๐ ประการ โดยอาศัยบริบทที่ว่า “ส่วนผู้ท่ีถึงพระพุทธ.....และพระสงฆ์เป๐นสรณะ ย่อมใช้ ปญ๎ ญาชอบพจิ ารณาเห็นอริยสจั ๔ ประการ” อภิปราย ธรรมในคาถานี้ สามารถตีความได้ ๒ นัย นัยแรก หมายถึงธรรมในฐานะเป๐นรัตนะ ๑ ใน ๓ ประกอบด้วย พุทธรัตนะ ธรรมรัตน และสงั ฆรัตนะ นัยที่ ๒ หมายถงึ ธรรมในฐานะเปน๐ อารมณ์กมั มัฏฐาน พจิ ารณาจาก นิทานตน้ เร่อื ง ธรรมมีฐานะเป๐นรัตนะ เพราะแสดงนัยเปรียบเทียบการยึดถือส่ิง ต่าง ๆ เช่น ภูเขา ป่าไม้ อาราม และรุกขเจดีย์เป๐นต้นเป๐นสรณะว่า น่ันมิใช่สรณะอันประเสริฐ บุคคลถึง สรณะเชน่ นี้แล้ว ไมส่ ามารถออกจากทุกข์ได้ ขณะท่ีความตอนแก้อรรถ ท่านเพ่งถึงอารมณ์กัมมัฏฐาน โดย ขยายความว่า “ส่วนบุคคลใด เป๐นคฤหัสถ์ก็ตาม เป๐นบรรพชิตก็ตามอาศัยกัมมัฎฐาน คือการตามระลึก ถงึ พระพทุ ธ พระธรรม พระสงฆ์” ๑๔๐ หากพิจารณาคาถาน้ีท้ังหมดโดยเฉพาะท่อนสุดท้าย เพ่งถึงการปฏิบัติที่นําไปสู่ความดับทุกข์ ดว้ ยการพจิ ารณาเห็นอรยิ สจั ๔ แล้วดําเนนิ ไปตามอริยมรรคมีองค์ ๘๑๔๑ วินิจฉัยความได้ว่า ธรรมในพระ คาถาน้ี เป๐นอารมณ์กัมมัฏฐาน อยู่ในหมวดอนุสสติ ๑๐ ประการ มีพุทธานุสสติ ธัมมานุสสติ และ สังฆานสุ สติ๑๔๒ เป๐นต้น (๒) สปุ ฺปพุทธฺ ํ ปพชุ ฌฺ นฺติ สทา โคตมสาวกา เยสํ ทวิ า จ รตฺโต จ นจิ ฺจํ ธมฺมคตา สติ.๑๔๓ แปล: เหลา่ พระสาวกของพระโคดม มีสติตงั้ มนั่ ในพระธรรมเป๐นนิตย์ ท้ังกลางวันและกลางคืน ชอ่ื ว่าตนื่ ด้วยดอี ย่เู สมอ วเิ คราะห์ ในคาถาน้ี ธรรม หมายถึง ธัมมานุสติ โดยอาศัยบรบิ ทวา่ “มีสติตั้งมั่นใน......เปน๐ นิตย์ท้ัง กลางวนั และกลางคนื ชอื่ วา่ ตื่นด้วยดีอยู่เสมอ” ๑๓๙ ข.ุ ธ. (บาล)ี ๒๕/๑๙๐/๕๐. ๑๔๐ ข.ุ ธ.อ. ๑/๒/๓/๓๔๘. ๑๔๑ ข.ุ ธ. (ไทย) ๒๕/๑๘๘-๑๙๒/๕๐. ๑๔๒ ที.ปา. (ไทย) ๑๑/๓๒๗/๓๒๘. ๑๔๓ ข.ุ ธ.(บาลี) ๒๕/๒๙๗/๖๘

๕๗ อภิปราย อรรถกถาธรรมบท พระพุทธโฆสาจาย์ขยายความว่า “สองบทว่า ธมฺมคตา สติ ความ วา่ สตทิ ่ปี รารภพระธรรมคณุ ทัง้ หลาย อันต่างด้วยคุณมีว่า \"สฺวากฺขาโต ภควตา ธมฺโม เป๐นต้น อัน เกดิ ขน้ึ อย๑ู่ ๔๔ อน่ึง สองบทวา่ ธมฺมคตา สติ ในคาถานี้ พบเพียงคร้ังเดียว คอื ในขุททกนกิ าย ธรรมบท คาํ ที่ใกล้เคียงกันนี้ และมีความหมายในเชิงปฏบิ ตั คิ ือ ธมฺมานสุ ฺสติ ซึ่งถือเปน๐ ๑ ในอนุสสติ ๑๐ ประกอบด้วย พุทธานุสสติ ธัมมานุสสติ สังฆานุสสติ สีลานุสสติ จาคานุสสติ เทวตานุสสติ มรณานุสสติ อานาปานัสสติ กายคตาสติ และอุปสมานุสสติ เป๐นอารมณ์กัมมัฏฐานหมวดหนึ่ง และพบโดยทั่วไปใน คัมภรี ์พระไตรปฎิ ก๑๔๕ (๓) ธมมฺ าราโม ธมฺมรโต ธมมฺ ํ อนวุ ิจนิ ฺตยํ ธมมฺ ํ อนสุ สฺ รํ ภิกฺขุ สทธฺ มฺมา น ปริหายติ๑๔๖ แปล: ภกิ ษมุ ธี รรมเปน๐ ทม่ี ายนิ ดี ยนิ ดีแล้วในธรรม พิจารณาใครค่ รวญถงึ ธรรม ระลึกถึงธรรมอยู่ ยอ่ มไม่เส่ือมจากสทั ธรรม วเิ คราะห์ ธรรมในคาถาน้ีมปี รากฎจํานวน ๕ ครัง้ ธรรม ๔ คําแรก (ธมฺมาราโม, ธมฺมรโต, ธมฺมํ อนุวิจินฺตยํ, ธมฺมํ อนุสฺสรํ) หมายถึง สมถ กัมมัฏฐานและวิป๎สสนากัมมัฏฐาน โดยอาศัยบริบทที่ว่า “ภิกษุมี.....เป๐นท่ีมายินดี ยินดีแล้วใน...... พิจารณาใคร่ครวญถึง........ระลกึ ถึง........อยู่” อภิปราย บริบทของคาถาน้ี พระพุทธเจ้าตรัสยกย่องชมเชยพระธรรมารามเถระ ผู้ทราบข่าวการปลงมา ยสุ งั ขารของพระพุทธเจา้ แล้ว ไมป่ ระมาท ตง้ั ใจบําเพ็ญสมณธรรมเพ่อื ใหบ้ รรลธุ รรมกอ่ นพทุ ธปรนิ ิพพาน อรรถกถาจารยอ์ ธบิ ายความคาถานรี้ วม ๆ ว่า “ธรรมคือสมถะและวิป๎สสนาเป๐นที่มายินดีของ ภิกษุน้ัน เพราะอรรถว่าเป๐นที่อยู่ เพราะเหตุนั้น ชื่อว่าผู้มีธรรมเป๐นที่มายินดี, ผู้ยินดีแล้วในธรรม นน้ั นนั่ แล เพราะเหตุน้นั จึงชื่อว่าผู้ยินดีแล้วในธรรม, ช่ือว่าผู้ใคร่ครวญอยู่ซ่ึงธรรม เพราะนึกถึงธรรม น้ันนั่นแหละบ่อย ๆ อธบิ ายว่า ผู้นึกถงึ ธรรมน้นั อย”ู่ ๑๔๗ (๔) ยทา ทฺวเยสุ ธมเฺ มสุ ปารคู โหติ พรฺ าหมฺ โณ ๑๔๔ ข.ุ ธ.อ.๑/๒/๔/๑๗๔. ๑๔๕ เช่น ที.ปา. (ไทย) ๑๑/๓๒๗/๓๒๘,องฺ.เอก. (ไทย) ๒๐/๒๙๗/๓๗, องฺ.ฉกฺก. (ไทย) ๒๒/๙/๔๒๐, ขุ. มหา. (ไทย) ๒๙/๓/๘. เปน๐ ต้น ๑๔๖ ข.ุ ธ. (บาลี) ๒๕/๓๖๔/๘๐. ๑๔๗ ขุ.ธ.อ.๑/๒/๔/๓๕๙.

๕๘ อถสสฺ สพเฺ พ สํโยคา อตถฺ ํ คจฺฉนตฺ ิ ชานโต.๑๔๘ แปล: เมือ่ ใด พราหมณ์เป๐นผู้ถึงฝ๎๑งในธรรมทัง้ สอง เมื่อนน้ั สงั โยคะทัง้ หมด ของเขาผู้รูอ้ ยู่ ย่อมถึงความตง้ั อย่ไู มไ่ ด้ วิเคราะห์ ในคาถานี้ ธรรม หมายถงึ สมถกัมมัฏฐานและวิปส๎ สนากัมมัฏฐาน โดยอาศัยบรบิ ทท่วี ่า “ผูถ้ ึง ฝ๑๎งใน......ทัง้ สอง สงั โยชนท์ งั้ หมดของเขาผู้รู้อยู่ย่อมถงึ การต้ังอยไู่ ม่ได้” อภิปราย บริบทพระคาถาน้ี ทรงปรารภภิกษุ ๓๐ รูป ซึ่งเดินทางมาเข้าเฝ้า ณ วัดพระเชตวันมหาวิหาร พระสารีบุตรทราบอุปนิสัยแห่งพระอรหันต์ของภิกษุเหล่าน้ัน จึงกราบทูลถามป๎ญหาว่า ธรรม ๒ ประการ ทีต่ รัสเนอื ง ๆ นัน้ คืออะไร พระพุทธเจ้าตรัสแก้ป๎ญหาของพระสารีบุตร โดยยกหัวข้อธรรมคือสมถะและวิป๎สสนาขึ้น แสดง เพ่ือส่งเสริมอุปนิสัยแห่งพระอรหันต์ของภิกษุ ๓๐ รูปเหล่านั้น ความในตอนแก้อรรถจึงแสดงสมถ กมั มัฏฐานและวิป๎สสนากมั มัฏฐาน ในกาลใดพระขีณาสพนี้เป๐นผู้ถึงฝ๎๑ง ในธรรมคือสมถะและวิป๎สสนา อันต้ังอยู่โดย ส่วน ๒ ด้วยอํานาจแห่งการถึงฝ๎๑งคืออภิญญาเป๐นต้น, ในกาลนั้นกิเลสครื่องประกอบทั้งหลาย มีกิเลส เครือ่ งประกอบคอื กามเป๐นต้นทงั้ ปวง ซ่ึงสามารถเพอื่ ประกอบไว้ในวัฏฏะของพระขีณาสพน้ัน ผู้รู้ อยอู่ ยา่ งน้ี ย่อมถึงความต้งั อยไู่ ม่ได้ คอื ความส้นิ ไป๑๔๙ อนึ่ง ก่อนตรัสคาถานี้ มีปุจฉา-วิสัชชนาระหว่างพระพุทธเจ้ากับพระสารีบุตรระบุถึงสมถ กมั มัฏฐาน และวปิ ๎สสนากัมมฏั ฐาน เชน่ กนั ความดงั นี้ พระสารีบุตรเถระเล็งเห็นอุปนิสัยแห่งพระอรหัตของภิกษุเหล่านั้นแล้ว เข้าไปเฝ้าพระศาสดา ยืนอยู่เทียว ทูลถามป๎ญหานี้ว่า \" พระเจ้าข้า ธรรมทั้งหลายท่ีพระองค์ตรัสเรียกว่า ' ธรรม ๒ ประการ ๆ ดังน้ี; ธรรม ๒ ประการนี้เป๐นไฉนหนอแล ?\" ทีน้ัน พระศาสดาตรัสกะท่านว่า \" สารีบตุ ร สมถะและวปิ ๎สสนา เรียกวา่ ธรรม ๒ ประการแล\" ดงั นี้แลว้ ตรสั คาถาน้ี๑๕๐ ๘) ภมู ิ ๓ พบวา่ ใชใ้ นความหมายน้ีในคาถาที่ ๓๕๓ มรี ปู คาถาดังน้ี สพฺพาภิภู สพฺพวทิ หู มสฺมิ สพเฺ พสุ ธมเฺ มสุ อนปู ลิตโฺ ต สพพฺ ํฺชโห ตณฺหกฺขเย วิมตุ ฺโต ๑๔๘ ข.ุ ธ. (บาล)ี ๒๕/๓๘๔/๘๔. ๑๔๙ ขุ.ธ.อ. ๑/๒/๔/๒๔๖-๒๔๗. ๑๕๐ ข.ุ ธ.อ.๑/๒/๔/๔๒๖.

๕๙ สยํ อภิํญฺ าย กมุทฺทเิ สยฺย.ํ ๑๕๑ แปล: เราเปน๐ ผคู้ รอบงําธรรมทง้ั ปวง รธู้ รรมทั้งปวงมิไดแ้ ปดเปอื๒ นในธรรม ท้งั ปวง ละธรรมท้ังปวงได้หลดุ พน้ เพราะส้นิ ตัณหา ตรสั รู้ย่ิงเองแลว้ จะพึงกลา่ ว อา้ งใครเล่า วิเคราะห์ ในคาถาน้ี ธรรม หมายถึง ภูมิ ๓ โดยอาศัยบรบิ ททีว่ ่า “เราเป๐นผคู้ รอบงําธรรมท้ังปวง รู้ ธรรมทัง้ ปวง มไิ ดแ้ ปดเปือ๒ นใน....ทัง้ ปวง ละธรรมทั้งปวงได้ หลดุ พน้ เพราะส้นิ ตณั หา” อภิปราย บริบทของธรรม เป๐นการแสดงถึงพระบริสุทธิคุณของพระพุทธเจ้าว่าพ้นแล้วจากเคร่ืองแปด เป๒ือนท้ังหลายทั้งในกามภูมิ รูปภูมิ และอรูปภูมิ ทรงประกาศความท่ีพระองค์เป๐น สยัมภู ตรัสรู้ชอบเอง ไม่มใี ครเปน๐ ศาสดา และพระธรรมนน้ั พระองค์กต็ รสั ไว้ดแี ล้ว พระคาถานี้คล้ายในมหาวรรคแห่งพระวินัยปิฎก รูปพระคาถา และคําแปล๑๕๒ เป๐นอย่าง เดียวกัน อรรถกถาแห่งพระวินัยปิฎกอธิบายความคล้ายกับอรรถกถาธรรมบท กล่าวคือ ธรรม ในคําว่า เราเป๐นผคู้ รอบงําธรรมทงั้ ปวง หมายเอา ธรรมอันเป๐นไปในภูมิ ๓, ธรรม ในคําว่า รู้ธรรมทั้งปวง หมายเอา ธรรมอันเป๐นไปในภูมิ ๔, ส่วน ธรรม ในคําว่า ไม่แปดเปื๒อนในธรรมท้ังปวง, ละธรรมท้ังปวงได้ ท่านหมาย เอา ธรรมอันเป๐นไปในภูมิ ๓๑๕๓ อนึง่ ในพระไตรปฎิ กบางแห่ง คําวา่ ธรรมทั้งปวง แจกแจกรายละเอียดว่า หมายถึง ขันธ์ ๕ อายตนะ ๑๒ ธาตุ ๑๘ กุศลธรรม อกุศลธรรม อัพยากตธรรม กามาวจรธรรม รูปาวจรธรรม อรูปาวจรธรรม อปรยิ าป๎นนธรรม๑๕๔ ๙) ปฏบิ ัตธิ รรม พบวา่ ใชใ้ นความหมายนี้ ในคาถาที่ ๒๐,๒๕๙ รปู คาถาดงั นี้ (๑) อปฺปมปฺ ิ เจ สหํ ิต ภาสมาโน ธมฺมสสฺ โหติ อนธุ มฺมจารี ราคํฺจ โทสํจฺ ปหาย โมหํ สมมฺ ปปฺ ชาโน สุวมิ ตุ ฺตจิตฺโต อนุปาทิยาโน อธิ วา หรุ ํ วา ๑๕๑ ข.ุ ธ. (บาล)ี ๒๕/๓๕๓/๗๘ ๑๕๒ วิ.มหา. (ไทย) ๔/๑๑/๑๗. ๑๕๓ ว.ิ มหา.อ. ๔/๑/๕๘. (ภูมิ ๓ ไดแ้ ก่ กามาวจรภูมิ รปู าวจรภูมิ และอรปู าวจรภมู ,ิ ภมู ิ ๔ ได้แก่ กามาวจร ภูมิ รปู าวจรภูมิ อรปู าวจรภมู ิ โลกตุ ตรภมู ิ พระพุทธเจ้าทรงละภูมิท้งั ๓ แล้วทรงดํารงอยู่ในภมู ทิ ี่ ๔ คือ โลกตุ ตรภมู )ิ ๑๕๔ ข.ุ ปฏิ. (ไทย) ๓๑/๓๓/๕๙๐.

๖๐ น ภาควา สามํฺญสฺส โหตุ.๑๕๕ แปล: คนทีก่ ล่าวพุทธพจน์แมน้ ้อย แตป่ ระพฤตธิ รรมสมควรแกธ่ รรมเป๐นปกติ ละราคะ โทสะ และโมหะได้แล้ว รชู้ อบ มจี ติ หลดุ พน้ ดแี ล้ว ไม่ยึดติดในโลกน้ี และโลกหน้า เขายอ่ มไดร้ ับผลแห่งความเป๐นสมณะ วิเคราะห์ ในคาถานี้ มีคําว่า ธรรม ปรากฏ ๒ ครั้ง คือ ธมฺสฺส และ อนุธมฺมจารี เฉพาะคําว่า อนุธมฺมจารี หมายถึง ปฏิบัตธิ รรม โดยอาศยั บรบิ ทวา่ “ประพฤติ......สมควรแก่.......เปน๐ ปกต”ิ อภปิ ราย คําว่า ธรรม ในคาถาน้ี มีความสัมพันธ์ กล่าวคือ การจะบรรลุเป้าหมายคือโลกุตตรธรรม อย่างใดอย่างหนึง่ ผู้ปฏิบตั ิตอ้ งเลือกสรรหลักธรรมที่สมควร หรือเหมาะสม หากกล่าวโดยรวบยอด ก็คือ โพธิป๎กขิยธรรม ๓๗ ประการนนั่ เอง ในอรรถกถาธรรมบท พระพุทธโฆสาจารย์ระบุเพียง ปาริสุทธิศีล ๔, ธดุ งค์คุณ และอสภุ กรรมฐาน๑๕๖ ซึ่งถือเป๐นส่วนหน่ึงของธรรมท่ีผู้ปฏิบัติต้องเลือกให้เหมาะสมกับจริตของ ตน ๆ ขอ้ วนิ จิ ฉัยดังกลา่ ว สอดคลอ้ งกบั บาลขี ทุ ทนกิ าย จฬุ นทิ เทสทว่ี า่ คําว่า ประพฤติธรรมสมควร เป๐นนิจ อธิบายว่า สติป๎ฏฐาน ๔ ฯลฯ อริยมรรคมีองค์ ๘ เรียกว่า ธรรม, ธรรมสมควร เปน๐ อย่างไร, คือ การปฏิบัติชอบ การปฏิบัติสมควร การปฏิบัติไม่เป๐น ข้าศึก การปฏิบัติเอ้ือประโยชน์ การปฏิบัติธรรมถูกต้องตามหลักธรรม การรักษาศีลให้บริบูรณ์ การสํารวมอนิ ทรยี ์ ความรจู้ ักประมาณในการบริโภคอาหาร ความเป๐นผู้มีความเพียรเป๐นเคร่ืองต่ืน อยูเ่ สมอ สตแิ ละสัมปชญั ญะ เหลา่ นีเ้ รียกว่า ธรรมสมควร๑๕๗ (๒) น ตาวตา ธมมฺ ธโร ยาวตา พหุ ภาสติ โย จ อปปฺ มปฺ ิ สตุ ฺวาน ธมฺมํ กาเยน ปสฺสติ ส เว ธมมฺ ธโรโหติ โย ธมฺมํ นปปฺ มชชฺ ติ.๑๕๘ แปล: บุคคลไมช่ ่ือวา่ ผทู้ รงธรรมเพียงเพราะพูดมาก สว่ นผู้ใดไดส้ ดับตรบั ฟง๎ ธรรมน้อย แต่พิจารณาเห็นธรรมดว้ ยนามกาย ท้ังไมป่ ระมาทธรรมนนั้ ผนู้ ัน้ ชอ่ื วา่ ผูท้ รงธรรม วเิ คราะห์ ในธรรมในคาถานี้ ปรากฎ ๓ ครั้ง เฉพาะที่มีความหมายว่า ปฏิบัติธรรม ปรากฏอยู่ในบาท คาถาวา่ “โย ธมฺมํ นปฺปมชชฺ ติ” หมายถึง ปฏบิ ัติธรรม โดยอาศัยบริบทที่ว่า “พิจารณาเห็นธรรมด้วยนาม กาย ท้งั ไม่ประมาท.......นน้ั ” ๑๕๕ ข.ุ ธ. (บาลี) ๒๕/๒๐/๑๙. ๑๕๖ ข.ุ ธ.อ. ๑/๒/๑/๒๑๕. ๑๕๗ ข.ุ จู. (ไทย) ๓๐/๑๕๕/๔๙๐. ๑๕๘ ข.ุ ธ. (บาลี) ๒๕/๒๕๙/๖๑.

๖๑ อภิปราย ธรรมในคาถานี้ ปรากฏ ๔ คร้ัง และพ้องรูป ๒ คํา กล่าวคือ ธมฺมธโร ปรากฏ ๒ ครั้ง และ ธมฺมํ ปรากฎ ๒ ครัง้ พิจารณาจากบริบทของนิทานท่ีปรารภพระเถระผู้ทรงพระไตรปิฎกกับพระเถระผู้ได้บรรลุ ธรรมแล้ว พระพุทธเจ้าทรงปฏิเสธท่ีจะเรียกพระผู้ทรงพระไตรปิฎกว่า เป๐นผู้ทรงธรรม ขณะที่พระเอกุ ทานเถระ แม้ไมไ่ ดท้ รงพระไตรปฎิ ก แต่รแู้ จ้งแทงตลอดสัจธรรมแล้ว ทรงเรยี กว่า เปน๐ ผู้ทรงธรรม ความตอนแก้อรรถของพระคาถาน้ี ท่านจึงอธิบายเช่ือมโยงความเป๐นเหตุเป๐นผลของคําว่า “ผู้ใดฟ๎งธรรมแม้มีประมาณน้อย อาศัยธรรมะ อาศัยอรรถะ เป๐นผู้ปฏิบัติธรรมสมควรแก่ธรรม กําหนดรู้สัจจะมีทุกข์เป๐นต้น ชื่อว่าย่อมเห็นสัจธรรม ๔ ด้วยนามกาย ผู้นั้นแล ชื่อว่าเป๐นผู้ทรง ธรรม”๑๕๙ และ “ แม้ผู้ใดเป๐นผู้มีความเพียรปรารภแล้ว หวังการแทงตลอดอยู่ว่า (เราจักแทง ตลอด)ในวันน้ี ๆ แล ช่ือว่าย่อมไมป่ ระมาทธรรม, แมผ้ นู้ ้กี ช็ ื่อวา่ ผทู้ รงธรรมเหมือนกันฯ๑๖๐ ๑๐) สุจรติ ธรรม พบว่าใชใ้ นความหมายน้ี ในคาถาท่ี ๒๔,๘๔,๑๖๘,๑๖๙ มีรปู คาถาดังน้ี (๑) อฏุ ฺฐานวโต สตีมโต สจุ ิกมฺมสฺส นิสมมฺ การิโน สํญฺ ตสฺส จ ธมมฺ ชีวิโน อปปฺ มตฺตสฺส ยโสภิวฑฒฺ ต.ิ ๑๖๑ แปล: ยศยอ่ มเจริญแกบ่ ุคคลทีม่ คี วามขยนั หม่นั เพียร มสี ติ มกี ารงานสะอาด ใครค่ รวญก่อนทํา สาํ รวม ดาํ รงชีวติ โดยธรรม และไม่ประมาท วเิ คราะห์ ในคาถาน้ี ธรรม หมายถงึ สุจริตธรรม โดยอาศยั บริบทว่า “มคี วามขยนั หมั่นเพยี ร มสี ติ มีการ งานสะอาดใคร่ครวญก่อนทาํ สาํ รวม ดาํ รงชวี ิตโดย..... และไมป่ ระมาท” อภิปราย อรรถกถาธรรมบท พระพุทธโฆสาจารย์อธิบายความว่า “ผู้เป๐นคฤหัสถ์ เว้นความโกงต่าง ๆ มีโกงด้วยตรงช่ังเป๐นต้น เล้ียงชีวิตด้วยการงานอันชอบทั้งหลาย มีทํานาและเลี้ยงโคเป๐นต้น, เป๐นบรรพชิต เว้นอเนสนากรรมทั้งหลายมีเวชกรรมและทูตกรรมเป๐นต้น เลี้ยงชีวิตด้วยภิกษาจาร โดยธรรมคือโดย ชอบ”๑๖๒ ๑๕๙ ขุ.ธ.อ. ๑/๒/๔/๗๕. ๑๖๐ ขุ.ธ.อ. ๑/๒/๔/๗๕. ๑๖๑ ข.ุ ธ. (บาล)ี ๒๕/๒๔/๒๐. ๑๖๒ ข.ุ ธ.อ.๑/๒/๑/๓๒๑.

๖๒ อน่ึง คําว่า ธมฺมชีวิโน ปรากฏในพระไตรปิฎก ๗ ครั้ง๑๖๓ ๔ คร้ังแรก ปรากฎในคัมภีร์ อังคุตตรนิกาย จตุกกนิบาต เนื้อความคาถาเป๐นอย่างเดียวกันทั้งหมด ขณะที่ ๓ คร้ังหลัง ปรากฏใน ขทุ ทกนกิ าย เถรคี าถา เปน๐ รูปรอ้ ยกรองลว้ น คัดมาเปน๐ ตวั อย่าง ดังน้ี ส่วนสามแี ละภรรยาทั้ง ๒ ฝา่ ย เป๐นผ้มู ศี รัทธา รคู้ วามประสงค์ของผ้ขู อ สาํ รวมระวงั ดําเนินชวี ิตโดยธรรม เจรจาคําไพเราะอ่อนหวานตอ่ กัน มีความเจรญิ ร่งุ เรือง มีความผาสกุ มีความประพฤติเสมอกนั ทงั้ ๒ ฝ่าย รักใคร่ ไม่คิดร้ายต่อกันฯ๑๖๔ สมณะเหล่านน้ั เป๐นพหสู ตู ทรงธรรม เปน๐ พระอรยิ ะ เป๐นอยู่โดยธรรม แสดงเหตุและผล เพราะเหตุน้ัน เหล่าสมณะจงึ เป๐นทร่ี ักของลูกฯ๑๖๕ สมณะเหล่านนั้ เป๐นพหสู ตู ทรงธรรม เปน๐ พระอริยะ เป๐นอยู่โดยธรรม มีจิตมีอารมณเ์ ดียว มสี ติ เพราะเหตนุ ้ัน เหล่าสมณะจงึ เป๐นทีร่ ักของลกู ฯ๑๖๖ เราจะออกจากบ้านนาลา ใครจะอยู่ในบา้ นนาลานี้ได้ เจา้ จะผูกเหลา่ สมณะผูเ้ ล้ยี งชีพโดยธรรมดว้ ยมารยาหญงิ อยู่หรือฯ๑๖๗ สรุปความได้ว่า คําว่า เล้ียงชีวิตโดยธรรม ท่านเพ่งถึงสุจริตธรรมทั้งหมด ความต่างกันมี เล็กน้อย คือ บางแห่งเพ่งสุจริตธรรมสําหรับคฤหัสถ์ บางเพ่งถึงสุจริตธรรมสําหรับบรรพชิต ความใน อรรถกถาจึงสอดคล้องกับเน้ือความในพระไตรปิฎกท่ยี กมาเป๐นตวั อยา่ งข้างตน้ (๒) อุตฺติฏเฺ ฐ นปปฺ มชฺเชยยฺ ธมมฺ ํ สุจริตํ จเร อสฺมึ โลเก ปรมฺหิ จ.๑๖๘ ธมฺมจารี สขุ ํ เสติ แปล: ภกิ ษุไมพ่ งึ ประมาทในบิณฑบาตท่ีตนยืนรบั พงึ ประพฤตสิ ุจริตธรรม ผู้ ๑๖๓ ไมน่ ับรวมในขทุ ทนกิ าย ธรรมบท ตลอดทีป่ รากฎด้วยรปู วิภัตติ พจน์ และลิงคอ์ น่ื ๑๖๔ องฺ.จตกุ กฺ . (ไทย) ๒๑/๕๓,๕๔,๕๕,๕๖/๙๐,๙๓,๙๔,๙๕. ๑๖๕ ข.ุ เถรี. (ไทย) ๒๖/๒๗๙/๖๐๑. ๑๖๖ ข.ุ เถรี. (ไทย) ๒๖/๒๘๐/๖๐๑. ๑๖๗ ข.ุ เถร. (ไทย) ๒๖/๒๙๕/๖๐๔. ๑๖๘ ข.ุ ธ. (บาลี) ๒๕/๑๖๘/๔๗.

๖๓ ประพฤติธรรมย่อมอย่เู ป๐นสุขท้ังในโลกนี้และโลกหนา้ ฯ (๓) ธมมฺ ํ จเร สจุ ริตํน นํ ทุจจฺ ริตํ จเร อสฺมึ โลเก ปรมฺหิ จ.๑๖๙ ธมฺมจารี สขุ ํ เสติ แปล: พึงประพฤตสิ ุจรติ ธรรม ไม่พึงประพฤติทจุ ริตธรรม ผู้ประพฤติธรรมย่อมอยู่เปน๐ สุขทงั้ ในโลกน้แี ละโลกหน้า วเิ คราะห์ ในคาถานี้ คําว่า ธรรม ปรากฎคาถาละ ๒ คํา รวมเป๐น ๔ คํา รูปศัพท์คาถาหลังเหมือนกับ คาถาแรก รูปศัพทจ์ ริง ๆ จงึ มีเพยี ง ๒ คือ ธมมฺ ํ และ ธมฺมจารี ท้ัง ๒ คาํ มคี วามหมายอย่างเดียวกันคือ สุจริต ๓ ประการ โดยอาศัยบริบทว่า “พึงประพฤติ สจุ รติ ......” “ไมพ่ งึ ประพฤติทุจริต........” และ “ผปู้ ระพฤติ......ย่อมอยูเ่ ป๐นสขุ ทง้ั ในโลกนแ้ี ละโลกหนา้ ” อภิปราย ความต่างกนั เพียงเล็กน้อยคือ คาถาแรกเพ่งถึงสุจริตธรรมในบริบทของพระภิกษุ ขณะท่ีคาถา หลัง เพ่งถึงสุจริตธรรมบริบทของบุคคลท่ัวไป ซึ่งในบริบทของคาถาน้ี จะรวมถึงพระราชกรณียกิจด้วย โดยมขี อ้ บรรจบร่วมกันคือ ตอ้ งทาํ ด้วยความสจุ ริต หากทําหนา้ ทด่ี ้วยความไม่สุจริต (ทุจริต) ย่อมก่อให้เกิด ความเดือดร้อน อรรถกถาธรรมบท พระพุทธโฆสาจารย์อธิบายเฉพาะบริบทที่เป๐นหน้าท่ีของพระภิกษุ โดยยก เรื่องการเที่ยวบิณฑบาตเป๐นอุทาหรณ์ เริ่มต้ังแต่ ละการแสวงหาท่ีไม่สมควร เที่ยวบิณฑบาตตามลําดับ ตรอก ไมเ่ ทย่ี วบณิ ฑบาตในสถานทอี่ โคจร๑๗๐ (๔) น อตตฺ เหตุ น ปรสสฺ เหตุ น ปตุ ตฺ มจิ ฺเฉ น ธนํ น รฏฐฺ ํ น อิจฺเฉยยฺ อธมเฺ มน สมิทธฺ ิมตตฺ โน ส สลี วา ปํญฺ วา ธมมฺ โิ ก สิยา.๑๗๑ แปล: บัณฑิตย่อมไม่ทําบาปเพราะตนเปน๐ เหตุ หรือเพราะผูอ้ ื่นเป๐นเหตุ บุคคลไม่ พงึ ปรารถนาบุตร ทรัพย์ แวน่ แคว้น หรือความสาํ เรจ็ เพอ่ื ตนโดยไมช่ อบธรรม พงึ เปน๐ ผ้มู ศี ีล มปี ญ๎ ญา และยึดมั่นอยู่ในธรรม วิเคราะห์ ๑๖๙ ข.ุ ธ. (บาลี) ๒๕/๑๖๙/๔๗. ๑๗๐ ข.ุ ธ.อ. ๑/๒/๓/๒๓๔-๒๓๕. ๑๗๑ ข.ุ ธ. (บาล)ี ๒๕/๘๔/๓๒.

๖๔ ธรรมในคาถาน้ี ปรากฏ ๒ คํา คือ อธมฺเมน (โดยไม่ชอบธรรม) และ ธมฺมิโก (ยึดม่ันอยู่ใน ธรรม) เฉพาะคําที่ ๒ หมายถึง สุจริตธรรม โดยอาศัยบริบทว่า “พึงเป๐นผู้มีศีล มีป๎ญญา และยึดม่ันอยู่ ใน.......” อภิปราย ในอรรถกถาธรรมบท ไมไ่ ด้อธิบายความธรรมในคาถาน้ีไว้เป๐นการเฉพาะ หากแต่ใช้วิธีอธิบาย เชอ่ื มโยงกันท้ังคาถา เพื่อช้ีใหเ้ ห็นความหมายโดยภาพรวมท้งั คาถา ดงั นี้ บทวา่ น ปุตตฺ มิจเฺ ฉ ความวา่ บณั ฑิตไมพ่ ึงปรารถนาบุตรหรือทรัพย์ หรือแว่นแคว้น ด้วยกรรมอัน ลามก, บัณฑิตเมื่อปรารถนาแม้สิ่งเหล่านั้น ย่อมไม่กระทํากรรมลามกเลย. บทว่า สมิทฺธิมตฺตโน ความว่า บัณฑิตไม่พึงปรารถนา แม้ความสําเร็จเพื่อตน โดยไม่เป๐นธรรม. อธิบายว่า บัณฑิตย่อมไม่ ทาํ บาปแม้เพราะเหตุแหง่ ความสาํ เรจ็ . บทว่า ส สีลวา ความวา่ บคุ คลผู้เห็นปานน้ีนั่นแล พึงเป๐นผู้มี ศลี มีป๎ญญา และต้งั อยใู่ นธรรม.....๑๗๒ นอกจากคําอธิบายดังกล่าว ในนิทานประกอบ พระอรรถกถาจารย์ปรารภพระธัมมิกเถระ เมื่อคร้ังครองเพศฆราวาสก็เล้ียงชีวิตโดยชอบธรรม คร้ันได้บวชในพระพุทธศาสนาแล้วก็ทําตนให้พ้นทุกข์ และยังสามารถเป๐นแบบอย่าง ทําให้คนในครอบครัวคือบุตร และภรรยาได้ออกบวชตาม กระท่ังบรรลุ อรหนั ตท์ ั้งหมด จนเปน๐ ทยี่ กย่องสรรเสรญิ ๑๗๓ ๑๑) ทุจริตธรรม พบวา่ ใชใ้ นความหมายน้ี ในคาถาที่ ๘๔, ๘๖ มีรูปคาถาดงั น้ี (๑) น อตตฺ เหตุ น ปรสสฺ เหตุ น ปตุ ตฺ มจิ เฺ ฉ น ธนํ น รฏฺฐํ น อจิ เฺ ฉยยฺ อธมเฺ มน สมิทธฺ มิ ตตฺ โน ส สลี วา ปํญฺ วา ธมฺมิโก สิยา.๑๗๔ แปล: บัณฑติ ยอ่ มไม่ทําบาปเพราะตนเปน๐ เหตุ หรือเพราะผูอ้ นื่ เป๐นเหตุ บุคคลไม่ พึงปรารถนาบุตร ทรัพย์ แวน่ แคว้น หรือความสําเรจ็ เพอื่ ตนโดยไม่ชอบธรรม พึงเปน๐ ผมู้ ีศีล มีปญ๎ ญา และยดึ มน่ั อยู่ในธรรม วิเคราะห์ ธรรมในคาถานี้ ปรากฏ ๒ คํา คือ อธมฺเมน (โดยไม่ชอบธรรม) และ ธมฺมิโก (ยึดมั่นอยู่ใน ธรรม) คําแรก หมายถงึ ทุจรติ ธรรม โดยอาศยั บรบิ ทวา่ “ไมพ่ งึ ปรารถนาบุตร ทรัพย์ แว่นแคว้น หรือ ความสาํ เรจ็ เพ่อื ตนโดยไมช่ อบ.......” ๑๗๒ ข.ุ ธ.อ. ๑/๒/๒/๓๕๖. ๑๗๓ ขุ.ธ.อ. ๑/๒/๒/๓๕๕. ๑๗๔ ข.ุ ธ. (บาลี) ๒๕/๘๔/๓๒.

๖๕ อภิปราย ในอรรถกถาธรรมบท พระพุทธโฆสาจารย์ไม่ได้อธิบายความอธรรม หากแต่ใช้วิธีอธิบาย เชอื่ มโยงกันทัง้ คาถา เพื่อชีใ้ หเ้ ห็นความหมายโดยภาพรวมท้งั คาถา ดงั นี้ บทวา่ น ปตุ ฺตมิจเฺ ฉ ความวา่ บณั ฑติ ไมพ่ งึ ปรารถนาบุตรหรือทรัพย์ หรือแว่นแคว้น ด้วยกรรมอัน ลามก, บัณฑิตเมื่อปรารถนาแม้สิ่งเหล่านั้น ย่อมไม่กระทํากรรมลามกเลย. บทว่า สมิทฺธิมตฺตโน ความว่า บัณฑิตไม่พึงปรารถนา แม้ความสําเร็จเพ่ือตน โดยไม่เป๐นธรรม. อธิบายว่า บัณฑิตย่อมไม่ ทําบาปแม้เพราะเหตุแห่งความสําเร็จ. บทว่า ส สีลวา ความวา่ บคุ คลผ้เู ห็นปานน้ีนั่นแล พึงเป๐นผู้มี ศีล มีป๎ญญา และตั้งอย่ใู นธรรม.....๑๗๕ จะเห็นว่า ท่านอธิบายอธรรมโดยระบุพฤติกรรมเพื่อเป๐นตัวอย่างรวม ๆ ว่า “ไม่ทํากรรมอัน ลามก” คาํ ว่า ลามก มาจากศพั ทบ์ าลีว่า ปาป ภาษาไทยใช้คําว่า บาป ระบุถึงความชั่ว หรืออกุศลธรรมทั้ง ปวง ท่านใช้คําน้ีเพ่ือส่ือถึงคําว่า “อธมฺเมน” ที่ปรากฎในพระคาถา และเป๐นสิ่งที่บัณฑิตพึงเว้น ไม่ล่วง ละเมิด ไมว่ ่าจะเนอ่ื งจากสาเหตุใด ๆ ผูย้ ึดมั่นในหลกั การดังกลา่ วน้ีเอง ไดช้ ่อื ว่า ยดึ มั่นอยู่ในธรรม (๒) กณหฺ ํ ธมฺมํ วิปปฺ หาย สกุ กฺ ํ ภาเวถ ปณฺฑโิ ต โอกา อโนกมาคมมฺ วิเวเก ยตถฺ ทูรมํ.๑๗๖ คาแปล : บณั ฑิตละธรรมดําแลว้ พงึ เจริญธรรมขาวออกจากวฏั ฏะมาส่วู วิ ัฏฏะ วิเคราะห์ ในคาถานี้ คาํ ว่า ธรรม หมายถีง ทุจริตธรรม โดยอาศัยบริบทว่า “บัณฑิตละ......ดําแล้ว พึง เจรญิ ธรรมขาว....” อภิปราย คําว่า ธรรม ในคาถาน้ี ความหมายชัดเจน เพราะมีบริบทบังคับ (กณฺหํ=ดํา,ช่ัว) จึงมี ความหมายอื่นไม่ได้นอกจาก ทุจริตธรรม หรืออกุศลธรรมทั้งปวง เป๐นปหานธรรม คือธรรมท่ีควรละ เมื่อ ละธรรมดาํ คือทุจริตท้ังปวงแล้ว กใ็ หบ้ าํ เพ็ญธรรมขาว คือสุจริตท้ังปวง ด้วยวิธีการเช่นน้ี ก็จะเป๐นหนทาง นาํ ตนออกจากวฏั ฏะได้ ๑๒) พระอริยบุคคล พบวา่ ใชใ้ นความหมายนี้ ในคาถาท่ี ๗๐ มีรูปคาถาดังน้ี มาเส มาเส กสุ คฺเคน พาโล ภุํฺเชถ โภชนํ น โส สงขฺ าตธมฺมานํ กลํ อคฆฺ ติ โสฬสึ.๑๗๗ แปล: คนพาลถงึ ใชป้ ลายหญา้ คาจ้มิ อาหารกนิ ทุกๆ เดือน เขาก็ไมไ่ ดร้ ับผล แห่งการปฏิบตั เิ ชน่ นั้น เทา่ เส้ียวท่ี ๑๖ ของผมู้ ธี รรมอนั นับได้แลว้ ๑๗๕ ข.ุ ธ.อ. ๑/๒/๒/๓๕๖. ๑๗๖ ข.ุ ธ. (บาล)ี ๒๕/๘๖/๓๒. ๑๗๗ ข.ุ ธ. (บาล)ี ๒๕/๗๐/๒๙.

๖๖ วเิ คราะห์ ในคาถานี้ ธรรมถึง พระอริยบุคคล โดยอาศัยบริบทท่ีว่า “ไม่ได้รับผลแห่งการปฏิบัติเช่นน้ัน เทา่ เส้ียวที่ ๑๖ ของผมู้ ี.......อันนับได้แลว้ ” อภปิ ราย ธรรมคาถาน้ี มีบริบทที่ควรพิจารณา กล่าวคือ “ผู้มีธรรมอันนับได้แล้ว” หมายถึง อะไร หรือ ใคร เพ่อื ความชัดเจน อรรถกถาธรรมบทจงึ ไดข้ ยายความใหเ้ กดิ ความชัดเจนย่ิงขึ้นว่า หมายถึงพระ อริยบุคคลนับต้ังแต่พระโสดาบันเป๐นต้นไป กระท่ังถึงพระอรหันต์๑๗๘ สอดคล้องกับหลักฐานใน พระไตรปิฎกหลายแห่ง เช่น สังยุตติกาย นิทานวรรคระบุถึงพระอรหันตขีณาสพ๑๗๙ สังยุตตนิกาย สฬายตนวรรค ระบุถึงพระอริยสาวก๑๘๐ ขุททนิกาย จูฬนิเทศ พระพุทธเจ้าระบุถึง พระอรหันตขีณาสพ โดยให้เหตุผลว่า พระอรหันตขีณาสพน้ัน เป๐นผู้รู้ธรรม เทียบเคียงธรรม พิจารณาธรรม รู้แจ้งธรรม เห็น แจง้ ธรรม๑๘๑ แสดงให้เห็นว่า หลักฐานในพระไตรปิฎก คําว่า “มีธรรมอันนับได้แล้ว” ท่านระบุถึงผู้ที่ได้ บรรลธุ รรมแล้ว ดังน้ัน ไม่ว่าจะพิจารณาจากบริบทท่ีเก่ียวข้องในคาถาท่ีปรากฏท้ัง ๓ แห่งนี้ ตลอดถึงแนว อธิบายของอรรถกถาจารย์ในอรรถกถาธรรมบทก็ดี อรรถกถาอ่ืน ๆ ก็ดี ล้วนมีความเก่ียวข้องกับ อรยิ บคุ คลท้งั สน้ิ ๑๓) บาปธรรม พบวา่ ใชใ้ นความหมายน้ี ในคาถาที่ ๒๔๒, ๒๔๘,๒๖๖,๓๐๗ มีรูปคาถาดังน้ี (๑) มลิตฺถยิ า ทจุ จฺ ริตํ มจฺเฉรํ ททโต มลํ มลา เว ปาปกา ธมฺมา อสฺมึ โลเก ปรมฺหิ จ.๑๘๒ คาแปล: สตรีมีความประพฤติชวั่ เป๐นมลทนิ ผใู้ ห้มีความตระหนี่เป๐นมลทิน บาปธรรมเปน๐ มลทนิ ทัง้ ในโลกน้ีและโลกหน้า วเิ คราะห์ ในคาถาน้ี ธรรม หมายถึง ปาบธรรม โดยอาศยั บริบทท่วี ่า “บาป.......เปน๐ มลทินทั้งในโลกนี้ และโลกหนา้ ” ๑๗๘ ข.ุ ธ.อ. ๑/๒/๒/๒๓๑. ๑๗๙ ส.ํ น.ิ (ไทย) ๑๖/๓๒/๕๙. ๑๘๐ ส.ํ สฬา. (ไทย) ๑๘/๒๕๔/๒๗๖. ๑๘๑ ข.ุ จ.ู (ไทย) ๓๐/๗/๖๒. ๑๘๒ ข.ุ ธ. (บาล)ี ๒๕/๒๔๒/๕๙.

๖๗ อภิปราย อรรถกถาธรรมบท อธบิ ายความโดยยกทั้งบทนาม และบทวิเสสนะมาอธิบายรวมว่า “สองบท วา่ ปาปกา ธมมฺ า ความว่า ก็อกศุ ลรรรมทั้งหลายเป๐นมลทินทง้ั น้นั ทง้ั ในโลกน้ี ทั้งในโลกหนา้ ”๑๘๓ พระพุทธเจา้ ตรัสคาถานป้ี รารภภรรยาของกลุ บตุ รผู้หนึ่งท่ีมีความประพฤตินอกใจเป๐นปกติ ทํา ให้กุลบุตรท่านน้ีเกิดความเส่ือมเสีย และเกิดความละอาย ไม่กล้าแม้กระท่ังสู้หน้าพระศาสดา จึงตรัส คาถานี้เพอ่ื แสดงถึงโทษของทจุ รติ อน่ึง รูปแบบของการใช้ธรรมในความหมายเฉพาะที่นิยมมากที่สุดก็คือ การนําคําท่ีต้องการ ระบุถึงเป๐นการเฉพาะนั้นมาวางเป๐นบทขยาย หรือเป๐นบทวิเสสนะ ซ่ึงอาจจะวางหน้า หรือหลังบท ประธานกไ็ ด้ บางคร้งั นํามาสนธิเป๐นศัพท์เดียวกันก็มี เช่น ภิกฺขู สีลวนฺโต กลฺยาณธมฺมา๑๘๔ (เหล่าภิกษุ ผู้ ศีล มกี ลั ยาณธรรม), ภคินิโย อฏฺฐ ครุธมฺมา๑๘๕ (น้องหญิง ครุธรรม ๘ ประการ....), อนฺตรายิกา ธมฺมา วุตฺ ตา ภควตา๑๘๖ (อันตรายธิ รรม อันพระผู้มีพระภาคตรสั ไวแ้ ล้ว), เวทนา อนจิ จฺ า สงขฺ ตา ปฏิจฺจสมุปฺปนฺนา ขยธมมฺ า วยธมฺมา วิราคธมฺมา นโิ รธธมมฺ า ตสฺสา นโิ รโธ นโิ รโธติ วจุ จฺ ติ ฯ๑๘๗ เป๐นต้น ในพระคาถานี้ ทา่ นใชค้ าํ วา่ ปาปกา ขยายความ ธมฺมา ทาํ ให้มีความเฉพาะ ระบุถึงอกุศลฝ่าย เดียว (๒) น เตน ภกิ ขฺ ุ โส โหติ ยาวตา ภิกขฺ เต ปเร วสิ ฺสํ ธมฺมํ สมาทาย ภกิ ฺขุ โหติ น ตาวตา.๑๘๘ แปล: บุคคลไม่ชอ่ื วา่ เป๐นภิกษุ เพยี งเพราะขอจากผูอ้ ื่นเท่านน้ั ทง้ั ไมช่ อ่ื ว่า เป๐นภิกษุ เพราะยงั สมาทานธรรมทเ่ี ป๐นพิษอยู่ วิเคราะห์ ในคาถานี้ ธรรม หมายถึง บาปธรรม หรืออกุศลธรรม โดยอาศัยบริบทที่ว่า “เพราะยัง สมาทาน.....ทเี่ ปน๐ พิษอยู่” อภิปราย ความในตอนแก้อรรถ ท่านไม่ได้แสดงความหมายของธรรมไว้ แต่แสดงบทขยาย คือคําว่า เป๐นพิษว่า “บทว่า วิสฺส เป๐นต้น ความว่า ผู้ท่ีสมาทานธรรมไม่เสมอ หรือธรรมมีกายกรรมเป๐นต้น อนั มีกลนิ่ เปน๐ พิษประพฤติอยู่ หาชอื่ วา่ เป๐นภิกษุไม่”๑๘๙ ๑๘๓ ข.ุ ธ.อ. ๑/๒/๔/๒๘. ๑๘๔ ว.ิ มหา. (บาล)ี ๒/๓๐๔/๒๐๙. ๑๘๕ ว.ิ มหา. (บาลี) ๒/๔๑๐/๒๗๐. ๑๘๖ ว.ิ มหา. (บาล)ี ๒/๖๖๒/๔๓๑. ๑๘๗ ส.ํ ข. (บาลี) ๑๗/๔๘/๓๐. ๑๘๘ ข.ุ ธ. (บาลี) ๒๕/๒๖๖/๖๒. ๑๘๙ ข.ุ ธ.อ.๑/๒/๔/๘๕.

๖๘ บริบทของการตรัสพระคาถานี้ พระพุทธเจ้ายทรงปรารภถึงพราหมณ์ผู้หนึ่ง ปรารถนาให้ พระพทุ ธเจ้าเรียกตนเองว่าภิกษุ เพราะมีการเที่ยวบิณฑบาตเป๐นวัตรเหมือนภิกษุท้ังหลาย เพ่ือแก้ความ เข้าใจผดิ ของพราหมณ์ และชี้ใหเ้ ห็นว่า ความเป๐นภิกษุน้ัน ไม่ได้ข้ึนอยู่กับรูปลักษณ์ภายนอก ตราบใดที่ยัง สมาทานธรรมทเ่ี ปน๐ พิษอยู่ ก็ไม่สมควรเรยี กว่าเปน๐ ภกิ ษุ ธรรมะในคาถานีจ้ ึงหมายเอาบาปธรรม หรืออกุศลธรรมตามบทวเิ สสนะท่วี างขา้ งหน้า คําว่า บาปธรรม หรืออกุศลธรรมดังกล่าวน้ี เป๐นการกล่าวในภาพรวม ไม่ระบุหัวข้อธรรม อย่างไรกต็ าม หากพิจารณาจากบรบิ ททเี่ ก่ียวขอ้ งกบั ข้อวตั รปฏิบัติของพระภิกษุ อกุศลธรรมดังกล่าว ย่อม มีนยั เกย่ี วขอ้ งกบั ข้อวัตรปฏบิ ัตทิ ีเ่ ปน๐ โทษสาํ หรบั การประพฤติพรหมจรรย์ของภิกษุดว้ ย (๓) กาสาวกณฺฐา พหโว ปาปธมมฺ า อสํญฺ ตา ปาปา ปาเปหิ กมเฺ มหิ นิรยนฺเต อปุ ปชชฺ เร.๑๙๐ แปล: ภกิ ษุชว่ั จาํ นวนมากมีผ้ากาสาวะพนั ท่ีคอมีธรรมเลวทราม ไมส่ าํ รวม ยอ่ มตกนรกเพราะบาปกรรมทงั้ หลาย วิเคราะห์ ในคาถาน้ี ธรรม หมายถึง บาป หรืออกุศล โดยอาศัยบริบทท่ีว่า “ภิกษุช่ัวจํานวนมาก มีผ้า กาสาวะพันทคี่ อ มี......เลวทราม ไม่สาํ รวม ย่อมตกนรก” อภปิ ราย คาถาน้ี ท่านไม่ได้อธิบายความมากนัก เพราะความชนัดเจนอยู่แล้ว เหตุนั้น ท่านจึง แสดงไว้ แตเ่ พยี งส้นั ๆ วา่ “บทว่า ปาปธมมฺ า แปลวา่ ผมู้ ีธรรมลามก”๑๙๑ พิจารณาจากนิทานประกอบ พระพุทธเจ้าตรัสคาถาน้ีเพื่อรับรองการเห็นเปรตของพระมหา โมคคัลลานะ พรอ้ มกับยกเปน๐ อุทาหรณ์สาํ หรบั การแสดงธรรม โดยทรงชี้ให้เหน็ ถึงโทษของการทุศีล (๔) เอวํ โภ ปรุ สิ ชานาหิ ปาปธมมฺ า อสํญฺ ตา มา ตํ โลโภ อธมฺโม จ จิรํ ทกุ ขฺ าย รนฺธยุ.๑๙๒ แปล: ท่านผูเ้ จริญ ขอทา่ นจงรู้อย่างนวี้ ่า ผูม้ ีบาปธรรมทง้ั หลาย มกั ไม่สํารวม ขอโลภะ และอธรรม อย่าย่าํ ยีทา่ นใหเ้ ป๐นทุกข์ตลอดกาลนานเลย วเิ คราะห์ ในคาถาน้ีปรากฏ ๒ คํา คือ ปาปธมฺมา และ อธมฺโม เฉพาะ ปาปธมฺมา ในบาทที่ ๒ หมายถึง ปาบธรรมทง้ั ปวง โดยอาศยั บรบิ ทว่า “ผู้มีบาป..............ทั้งหลาย มักไม่สํารวม...........และอธรรม อย่ายํ่ายี ท่านให้เปน๐ ทกุ ตลอดกาลนานเลย” ๑๙๐ ข.ุ ธ. (บาล)ี ๒๕/๓๐๗/๖๙. ๑๙๑ ข.ุ ธ.อ.๑/๒/๔/๒๐๒. ๑๙๒ ข.ุ ธ. (บาลี) ๒๕/๒๔๘/๖๐.

๖๙ อภปิ ราย คาํ วา่ ปาปธรรม ในคาถาน้ี มีความหมายตรงตัว คือเพ่งถึงธรรมฝ่ายอกุศล หรือฝ่ายชั่ว ให้ผล เปน๐ ความทุกข์ ความเดือร้อน ท่านจึงสงเคราะห์เข้าในมลวรรค คือหมวดท่ีว่าด้วยเร่ืองมลทิน ซึ่งในบริบท ของคาถาน้ี ท่านปรารภถึงการล่วงละเมิดศีล ๕ และปราศจากการสํารวมกาย วาจา ใจ เป๐นต้น๑๙๓ อัน เปน๐ เหตุนํามาซึ่งมลทินตา่ ง ๆ ๓.๒ สรปุ ท้ายบท จากการสืบค้นความหมายของธรรม ท้ังตามนัยแห่งสันสกฤต นัยแห่งบาลี และตามบริบท ของคาถาต่าง ๆ ที่ปรากฏในคัมภีร์ธรรมบทจํานวน ๖๘ คํา ทําให้ได้ข้อเท็จจริงประการหน่ึงว่า คําว่า “ธรรม” เป๐นคาํ หนึ่งท่ีมีพัฒนาการมายาวนาน ทั้งมีความหมายแตกต่างกันออกไปตามบริบท โดยเฉพาะ อย่างย่ิงในคัมภีร์ธรรมบท คําว่า ธรรม มีความหมายถึง ๒๑ ประการ ในจํานวนน้ี มีท้ังธรรมในระดับ โลกยิ ะ และโลกุตตระ มีท้ังส่วนที่เป๐นปริยัติธรรม ปฏิบัติธรรม และปฏิเวธธรรม มีท้ังธรรมสําหรับผู้ครอง เรือน และธรรมสําหรับบรรพชิต สะทอ้ นให้เหน็ ถงึ ความหลากหลายของบุคคลท่ีปรารภถึง ซ่ึงถือเป๐นเสน่ห์ อยา่ งหนึ่งทที่ าํ ให้คัมภีรธ์ รรมบทเปน๐ ท่แี พร่หลาย เป๐นทร่ี ู้จักกันโดยท่วั ไป ๑๙๓ ข.ุ ธ.อ. ๑/๒/๔/๓๗.

๗๐ บทที่ ๔ สรุปผล และข้อเสนอแนะ ๔.๑ สรุปผล จากการสบื ค้นคาว่า ธรรม ในคัมภีร์ธรรมบท และวิเคราะห์ความหมายตามบริบทของคาถา ไดข้ ้อสรปุ ดังนี้ ในคมั ภีร์ธรรมบท ซ่ึงมจี านวนทัง้ หมด ๔๒๓ คาถา พบคาวา่ “ธรรม” ปรากฏอย่ใู นคาถา ตา่ ง ๆ จานวน ๔๙ คาถา นับเป็นคาได้จานวน ๖๘ คา ในจานวนนี้ เป็นคาเดี่ยวจานวน ๓๑ คา คา ผสมประเภทนามกิตก์ สมาส และตทั ธติ จานวน ๓๗ คา ประกอบวภิ ตั ติแตกต่างกนั ออกไปตามลักษณะ ของไวยากรณ์ ลักษณะของคา และบริบทของคาทเ่ี ก่ียวข้อง ทัง้ ยังมคี วามแตกต่างกันออกไปในแง่ ความหมาย สามารถสรุปไดด้ ังนี้ ๔.๑.๑ หมวดหลักธรรมเฉพาะ คาท่ีส่ือความหลักธรรม พบ ๑๒ คา รวม ๘ ข้อธรรม คือ โยนิโสมนสิการ, อริยสัจ, ขันธ์ ๕ เจตสกิ , กรรมนิยาม,โทสะ, ยตุ ธิ รรม, และสัจจะ แยกตามรปู ศัพท์ และคาถาดังนี้ ๑. ธรรม หมายถงึ โยนิโสมนสิการ พบ ๑ คา ในคาถาท่ี ๑๔๔ ๒. ธรรม หมายถึง อริยสัจ พบ ๑ คา ในคาถาที่ ๒๕๙ ๓. ธรรม หมายถึง ขนั ธ์ ๕ พบ ๑ คา ในคาถาท่ี ๒๗๙ ๔. ธรรม หมายถึง เจตสิก พบ ๒ คา ในคาถาท่ี ๑-๒ ๕. ธรรม หมายถงึ กรรมนยิ าม พบ ๑ คา ในคาถาท่ี ๕ ๖. ธรรม หมายถงึ โทสะ พบ ๑ คา ในคาถาที่ ๒๔๘ ๗. ธรรม หมายถงึ ความเท่ียงธรรม พบ ๔ คา ในคาถาท่ี ๒๕๖,๒๕๗ ๘. ธรรม หมายถงึ สจั จะ พบ ๑ คา ในคาถาท่ี ๑๗๖ ๔.๑.๒ หลกั ธรรมท่ัวไป คาทสี่ ื่อความหลักธรรมพื้นฐานทั่วไป พบ ๕๖ คา ๑๓ ข้อคือ ข้อคือ ธรรม ๘๔,๐๐๐ พระ ธรรมขันธ์ บทธรรม เทศนาธรรม ปฏิเวธธรรม โลกุตตรธรรม โพธิปักขิยธรรม สมถ/วิปัสสนา กรรมฐาน คณุ ธรรม ปฏปิ ตั ิธรรม สุจริตธรรม ทุจริตธรรม พระอริยบุคคล ปาปธรรม และอกุศลธรรม แยกตามรปู คาและคาถาดงั นี้ ๑. ธรรม หมายถึง พระธรรม ๘๔,๐๐๐ พระธรรมขนั ธ์ พบ ๑ คา ในคาถาที่ ๒๗๓ ๒. ธรรม หมายถึง บทธรรม/หัวขอ้ ธรรม พบ ๒ คา ในคาถาท่ี ๑๐๒,๑๐๙ ๓. ธรรม หมายถงึ เทศนาธรรม พบ ๕ คา ในคาถาที่ ๘๒,๑๘๒,๑๙๔,๓๕๔, และ ๓๖๓ ๔. ธรรม หมายถงึ ปฏิเวธธรรม พบ ๓ คา ในคาถาที่ ๒๕๙,๓๕๔, และ ๓๙๒ ๕. ธรรม หมายถึง โลกุตรธรรม พบ ๑๔ ในคาถาที่ ๒๐,๖๔,๖๕, ๗๙,๘๖, ๑๑๕, ๑๕๑, ๒๐๕,๒๐๗, ๒๖๑, ๓๕๔, ๓๗๓, และ ๓๙๓

๗๑ ๖. ธรรม หมายถึง โพธิปักขิยธรรม ๓๗ ประการ พบ ๘ คา ในคาถาท่ี ๓๘, ๔๔, ๔๕, ๖๐, ๗๙,๘๖,๓๕๔, และ ๓๖๔ ๗. ธรรม หมายถึง สมถ/วิปัสสนากรรมฐาน พบ ๗ คา ในคาถาท่ี ๑๙๐,๒๙๗, และ๓๘๔ ๘. ธรรม หมายถงึ ภูมิ ๓ พบ ๑ คา ในคาถาที่ ๓๕๓ ๙. ธรรม หมายถึง ปฏบิ ัติธรรม พบ ๒ คา ในคาถาที่ ๒๐,๒๕๙ ๑๐. ธรรม หมายถงึ สจุ รติ ธรรม พบ ๕ คา ในคาถาท่ี ๒๔,๘๔,๑๖๘, และ ๑๖๙ ๑๑. ธรรม หมายถงึ ทุจรติ ธรรม พบ ๒ คา ในคาถาที่ ๘๔, ๘๖ ๑๒. ธรรม หมายถงึ พระอรยิ บุคคล พบ ๑ คา ในคาถาที่ ๗๐ ๑๓. ธรรม หมายถึง บาปธรรม พบ ๓ คา ในคาถาท่ี ๒๔๒, ๒๖๖, และ ๓๐๗ ๔.๒ อภปิ รายผล จานวน ธมฺม ท่ปี รากฏทั้งหมด ๖๘ คา ๔๙ คาถา มีนัยสื่อหลกั ธรรมประเภทต่าง ๆ ทั้งส้นิ ๒๑ ข้อธรรม ดงั น้ี ๑. ธรรม หมายถึง โยนิโสมนสิการ เป็นการบวนการพินิจ พิจารณา ไตร่ตรองหาเหตุผล ตามความเป็นจรงิ ควรไม่ควร และนาไปสกู่ ารตดั สนิ ใจท่จี ะกระทา หรือไมก่ ระทาอย่างใดอย่างหนึ่ง ธรรม ในความหมายนี้ พบ ๑ คา ในคาถาที่ ๑๔๔ รปู ศพั ทท์ ่ีพบคอื ธมมฺ วนิ ิจฺฉเยน ๒. ธรรม หมายถงึ อรยิ สัจ ได้แก่ ทกุ ข์ สมุทยั นิโรธ และมรรค ข้อใดข้อหนึง่ พบ ๑ คา ใน คาถาที่ ๒๕๙ รูปศัพทค์ ือ ธมฺม ๓. ธรรม หมายถงึ ขนั ธ์ ๕ ไดแ้ ก่ รูป เวทนา สัญญา สงั ขาร วิญญาณ พบ ๑ คา ในคาถาที่ ๒๗๙ รูปศพั ท์คือ ธมฺมา ๔. ธรรม หมายถงึ เจตสิก คือคุณสมบัติของจติ ซ่ึงมีทั้งฝา่ ยกุศล และฝ่ายอกุศลทาหนา้ ท่ี ปรุงแต่งจิตใหเ้ ป็นไปต่าง ๆ ธรรมในความหมายน้ีพบ ๒ คา ในคาถาท่ี ๑-๒ รปู ศพั ทค์ ือ ธมฺมา ๕. ธรรม หมายถึง กรรมนิยาม คอื เปน็ กฎเกณฑท์ างศลี ธรรมทีเ่ กย่ี วข้องกับเรื่องของกรรม และการใหผ้ ลของกรรม อันเปน็ ทยี่ อมรบั กนั โดยทัว่ ไป ธรรมในความหมายน้พี บ ๑ คา ในคาถาที่ ๕ รปู ศพั ท์คือ ธมฺโม ๖. ธรรม หมายถึง โทสะ เป็นการใช้ธรรมในความหมายพเิ ศษ เนื่องจากข้อจากดั ของคณะ ฉันท์ ธรรมในความหมายนี้พบ ๑ คา ในคาถาท่ี ๒๔๘ รปู ศัพทค์ ือ อธมโฺ ม ๗. ธรรม หมายถึง ความเท่ียงธรรม ซ่งึ เปน็ องค์ประกอบสาคญั ในการตดั สินคดีความต่าง ความเทย่ี งธรรมดงั กล่าวน้ี จะเชอ่ื มโยงไปถึงหลักธรรมที่สนบั สนุนใหเ้ กดิ ความเท่ยี งธรรมด้วย เชน่ ไม่ ประกอบดว้ ยอคติ ๔ ประการ เป็นต้น ธรรมในความหมายน้ีพบ ๔ คา ในคาถาท่ี ๒๕๖,๒๕๗ รปู ศัพทค์ ือ ธมมฺ ฏโฺ ฐ, ธมเฺ มน, และ ธมมฺ สฺส ๘. ธรรม หมายถึง สัจจะ เพ่งถึงสจั จะท่ยี ึดมนั่ อยภู่ ายใน สะท้อนออกภายนอกด้วยคาพูด ธรรมในความหมายนี้ พบ ๑ คา พบในคาถาท่ี ๑๗๖ รูปศัพท์คือ ธมฺม

๗๒ ๙. ธรรม หมายถึง พระธรรม ๘๔,๐๐๐ พระธรรมขนั ธ์ ไม่ระบุเจาะจงอย่างใดอยา่ งหน่งึ ธรรมในความหมายน้ี พบ ๑ คา ในคาถาที่ ๒๗๓ รปู ศพั ท์คือ ธมฺมาน ๑๐. ธรรม หมายถึง บทธรรม หรือข้อธรรมท่ีไม่ไดม้ ีความหมายในตวั เอง แตร่ ะบุถึงข้อธรรม ยอ่ ยอน่ื ธรรมในความหมายนี้พบ ๒ คา ในคาถาที่ ๑๐๒,๑๐๙ รูปศพั ทค์ ือ ธมฺมปท,ธมมฺ า ๑๑. ธรรม หมายถึง เทศนาธรรม เป็นพระธรรมทีอ่ ยู่ในรูปของเทศนา ท้งั ทีเ่ ปน็ เทศนาธรรม ของพระพุทธเจา้ โดยตรง หรอื เป็นเทศนาทีแ่ สดงโดยพระสาวก เป็นธรรมทีย่ กขึ้นมาแสดงเฉพาะบคุ คล เฉพาะกลุ่มตามอุปนสิ ัยบารมีท่สี ่ังสมมา ธรรมในความหมายนี้พบ ๕ คา ในคาถาท่ี ๘๒, ๑๘๒, ๑๙๔, ๓๕๔,๓๖๓ รปู ศพั ทค์ อื ธมฺมานิ,สทฺธมมฺ สฺสวน, สทฺธมฺเทสนา, ธมฺมทาน, และ ธมมฺ ๑๒. ธรรม หมายถึง ปฏิเวธธรรม อยา่ งใดอย่างหนึ่ง พบ ๓ คา ในคาถาที่ ๒๕๙,๓๕๔,๓๙๒ รูปศพั ท์คอื ธมฺมธโร ธมมฺ รติ และ ธมมฺ ๑๓. ธรรม หมายถึง โลกุตรธรรม ๙ ประการ ไดแ้ ก่ มรรค ๔ ผล ๔ นพิ พาน ๑ พบ ๑๔ คา ในคาถาท่ี ๒๐,๖๔,๖๕, ๗๙,๘๖, ๑๑๕,๑๕๑,๒๐๕,๒๐๗, ๒๖๑, ๓๕๔, ๓๗๓, และ ๓๙๓ รปู ศพั ท์คือ ธมมฺ สสฺ , ธมมฺ , ธมมฺ ปีต,ิ ธมฺมานวุ ตตฺ โิ น, ธมมฺ ุตฺตม, ธมโฺ ม, ธมฺมฏฺฐ, สทฺธมมฺ า, และ ธมฺมรโส ๑๔. ธรรม หมายถึง โพธิปักขิยธรรม ๓๗ ประการ หมายถึง ธรรมท่ีเปน็ ฝกั ฝา่ ยแห่งการ ตรัสรู้ ไดแ้ ก่ สติปัฏฐาน ๔, สมั มปั ปธาน ๔, อิทธบิ าท ๔, อินทรีย์ ๕, พละ ๕, โพชฌงค์ ๗, มรรคมีองค์ ๘ ในคาถาไม่ได้ระบุองค์ธรรมใดองคธ์ รรมหน่ึงเปน็ การเฉพาะ ธรรมในความหมายนี้พบ ๘ คา ในคาถาที่ ๓๘,๔๔,๔๕,๖๐,๗๙,๘๖,๓๕๔,๓๖๔ รูปศัพทท์ ี่พบคือ สทฺธมฺม, ธมมฺ ปท, ธมเฺ ม, ธมฺมรโส, และ สทฺธมมฺ า ๑๕. ธรรม หมายถึง สมถ/วปิ ัสสนากรรมฐาน เป็นแนวทางสาหรับการปฏบิ ตั ิเพ่ือบรรลุ มรรคผลนิพพาน ธรรมในความหมายน้ี ผวู้ ิจัยไมน่ าไปกล่าวรวมในหมวดโพธปิ กั ขิยธรรม เพราะมี ความหมายเจาะจงชัดเจน และในคาถาที่พบก็มงุ่ ใช้ในความหมายสมถและวปิ ัสสนะเพยี งอยา่ งเดยี ว ไม่ได้ สื่อถึงธรรมหมวดอนื่ ธรรมในความหมายนี้พบ ๗ คา ในคาถาที่ ๑๙๐,๒๙๗,๓๘๔ รปู ศพั ท์คือ ธมฺม, ธมมฺ คตา, ธมฺมาราโม, ธมมฺ รโต, ธมฺม, และ ธมเฺ มสุ ๑๖. ธรรม หมายถึง ภูมิ ๓ เป็นธรรมท่ีแสดงคุณสมบัติของพระพุทธเจ้า เป็นการแสดงถึง พระบริสุทธคิ ณุ ของพระพทุ ธเจ้าวา่ พ้นแลว้ จากเคร่ืองแปดเปื้อนท้ังหลายทั้งในกามภูมิ รูปภูมิ และอรูปภูมิ ทรงประกาศความทพี่ ระองค์เป็น สยัมภู ตรัสรู้ชอบเอง ไม่มีใครเป็นศาสดา และพระธรรมนั้น พระองค์ก็ ตรัสไวด้ ีแล้ว ธรรมในความหมายน้ี พบ ๑ คา ในคาถาที่ ๓๕๓ รูปศัพทค์ อื ธมฺเมสุ ๑๗. ธรรม หมายถึง ปฏิบัติธรรม มุ่งเน้นเร่ืองการปฏิบัติตามหลักธรรมคาส่ังสอนอย่างใด อย่างหน่ึง ทั้งในส่วนของคฤหัสถ์ และบรรพชิต ธรรมในความหมายน้ีพบ ๒ คา ในคาถาที่ ๒๐,๒๕๙ รูป ศพั ทค์ อื อนุธมมฺ จาร,ี ธมฺม ๑๘. ธรรม หมายถึง สุจรติ ธรรม คือเพ่งถงึ หลกั ปฏิบัติท่ีดีงามในชวี ติ ประจาวนั อยา่ งใดอย่าง หนึง่ ธรรมในความหมายดังกล่าว พบ ๕ คา ในคาถาที่ ๒๔,๘๔,๑๖๘, และ ๑๖๙ รูปศัพท์คือ ธมฺมชีวิโน, ธมฺมโิ ก, ธมมฺ , และ ธมมฺ จารี ๑๙. ธรรม หมายถึง ทุจริตธรรม พบ ๒ คา ในคาถาท่ี ๘๔, ๘๖ รปู ศพั ทค์ ือ อธมฺเมน, ธมฺม

๗๓ ๒๐. ธรรม หมายถึง พระอริยบุคคล คือผู้ดารงความเป็นอริยบุคคลอย่างใดอย่างหน่ึง มี โสดาบัน สกทาคามี อนาคามี หรืออรหันต์ ธรรมในความหมายนี้พบ ๑ คา ในคาถาที่ ๗๐ รูปศัพท์คือ สงขฺ าตธมมฺ าน ๒๑. ธรรม หมายถึง บาปธรรม ธรรมที่เป็นไปในฝ่ายช่ัว ยังผลคือความเดือดร้อนให้เกิดข้ึน แก่ผู้ปฏิบัติ ธรรมในความหมายน้ี พบ ๓ คา ในคาถาที่ ๒๔๒, ๒๖๖, และ ๓๐๗ รูปศัพท์คือ ธมฺมา,ธมฺม, และ ปาปธมมฺ า ความหมายดังกล่าวข้างต้นน้ี เพ่ือพจิ ารณาเทียบเทียบตามนัยแห่งสันสกฤต และนัยแห่งบาลี แลว้ จะเห็นว่า ใช้ในความหมายเหมือนกันก็มี แตกต่างกันก็มี เฉพาะในส่วนที่ไม่ปรากฏในคัมภีร์ธรรมบท เลยก็คอื ธรรมในความหมายวา่ กฏเกณฑแ์ หง่ จักรวาล ระเบยี บศีลธรรม อาตมนั พรหมัน ผ้เู ป็นองค์ปฐม ในฐานะเปน็ ผสู้ รา้ ง ผทู้ รงไว้ และผู้ทาลายสรรพสิง่ ในส่วนความหมายตามนัยแห่งบาลีท่ีไม่ปรากฏในคัมภีร์ธรรมบทเลย ได้แก่ ธรรมใน ความหมายวา่ บญั ญตั ,ิ วิการ, คุณ, ปัจจัย, สภาวะ, ปัญญา, เญยยะ, ปกติ, อาจาระ, และ สมาธิ ส่วนนัย อน่ื แมร้ ปู ศัพทจ์ ะไมต่ รงตัว แต่เนอื้ ความก็พอเทียบเคยี งกันได้ ๔.๓ ขอ้ เสนอแนะ จากการศึกษาเชิงวิเคราะห์ความหมาย คาว่า “ธรรม” ตามบริบท พบข้อเท็จริงว่า ธรรมมี ความหมายหลากหลาย แตกตา่ งกนั ไปตามบริบท การวินิจฉัยความจึงไม่สามารถพิจารณาศัพท์ธรรมเพียง ลาพัง เพราะแม้รูปศัพท์เดียวกัน ประกอบวิภัตติ วจนะอย่างเดียวกัน แต่ความหมายไม่เหมือนกันก็มี ทานองกลับกัน บางคา แม้รูปศัพท์ วิภัตติ และวจนะต่างกัน แต่ท่านใช้ในความหมายอย่างเดียวกันก็มี การอาศัยบริบทเพ่ือวินิจฉัยความหมายจึงเป็นวิธีการหน่ึงที่จะทาให้ทราบความหมายของธรรมชัดเจน ยิ่งขึ้น อย่างไรกต็ าม นอกจากวิธกี ารศึกษาความหมายตามบรบิ ทแล้ว ผูว้ จิ ัยเหน็ ว่า การศึกษา ความหมายธรรมยงั สามารถใช้วิธกี ารอื่นได้ดว้ ย ซึ่งอาจต้ังเป็นหวั ขอ้ วิจยั สาหรับการศึกษาคร้งั ตอ่ เชน่ ๑. การศึกษาวิเคราะห์ความหมายธรรมตามทฤษฎีจตพุ ยูหหาระตามคัมภรี ์เนตตปิ กรณ์ ๒. การศึกษาความหมายของธรรมตามทฤษฎีธวนิ ในคมั ภีร์สโุ พธาลงั การ

๗๔ บรรณานุกรม ๑. ภาษาบาลี-ภาษาไทย ก.ข้อมูลปฐมภูมิ (Primary Sources) มหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลยั . พระไตรปฎิ กมหาจฬุ าเตปิฏกํ . กรงุ เทพมหานคร : มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลยั , ๒๕๓๙. มหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลัย. พระไตรปฎิ กแปลฉบับภาษาไทย. กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลยั มหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๓๙. มหามกฎุ ราชวทิ ยาลัย. พระไตรปฎิ กและอรรถกถาแปล ๙๑ เล่ม. กรุงเทพมหานคร : มหามกฏุ ราชวิทยาลยั , ๒๕๔๓. มหามกุฏราชวทิ ยาลัย. ธมมฺ ปทฏฐฺ กถา ปฐโม-อฏฐฺ โม ภาโค. กรงุ เทพมหานคร : มหามกฏุ ราชวิทยาลัย, ๒๕๔๒. มหามกุฏราชวทิ ยาลัย. ธมั มปทฏั ฐกถา แปล ภาค ๑-๘. กรุงเทพมหานคร : มหามกุฏราชวิทยาลัย, ๒๕๔๘. ข. ข้อมลู ทุติยภมู ิ (Secondary Sources) (๑) หนงั สือ กรณุ า-เรืองอุไร กศุ ลาศัย. ภารตวทิ ยา, พมิ พค์ รง้ั ที่ ๖. กรงุ เทพมหานคร : สานักพิมพ์ศยาม, ๒๕๕๐. กรมพระจันทบุรนี ฤนาถ,พระเจา้ บรมวงศ์เธอ. ปทานกุ รมบาลี ไทย องั กฤษ สนั สกฤต, กรงุ เทพมหานคร: มหามกฏุ ราชวทิ ยาลยั , ๒๕๓๗. จิรภทั ร แกว้ กู่. วรรณคดบี าล.ี ขอนแกน่ : มหาวทิ ยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วทิ ยาเขตขอนแกน่ ,๒๕๕๔. จานงค์ ทองประเสรฐิ , ผู้แปล.บอ่ เกิดลัทธิประเพณอี ินเดีย เล่ม ๑ ภาค ๑-๔. กรุงเทพมหานคร: ราชบณั ฑติ ยสถาน จัดพิมพ์, ๒๕๔๐. เทพดรุณานุศษิ ฏ์ (ทวี ธรมธชั ป.๙),หลวง. ธาตุปปฺ ทปี ิกา. กรุงเทพมหานคร: มหามกุฎราชวทิ ยาลัย, ๒๕๒๘. พระคันธสาราภิวงศ์, ผูแ้ ปล. เนตติปกรณ.์ พมิ พ์เปน็ ท่ีระลกึ ในงานบาเพญ็ กศุ ลศพ พระเทพกติ ต-ิ ปญั ญาคณุ (กิตตฺ ิวุฑฺโฒ ภิกขุ) ๒๑ มกราคม ๒๕๕๐. __________. อภิธมั มตั ถสงั คหะ และปรมตั ถทีปนี. กรงุ เทพมหานคร : ประยูรสาส์นไทยการพมิ พ์, ๒๕๕๒. __________.วุตโตทยมญั ชร.ี กรุงเทพมหานคร : มหาวทิ ยาลัยมหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลยั ,๒๕๔๕. __________. สโุ พธาลังการมัญชรี. กรุงเทพมหานคร : มหาวิทยาลัยมหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลัย จดั พมิ พ์, ๒๕๔๖. __________. เนตติอรรถกถา. จัดพมิ พเ์ น่ืองในโอกาสมงคลอายุ ๘๘ ปี พระธรรมานันทมหาเถระ

๗๕ อคั รมหาบัณฑิต วนั ท่ี ๘ มกราคม ๒๕๕๑. พระพรหมคณุ าภรณ์ (ป.อ.ปยตุ โฺ ต). พจนานุกรมพทุ ธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรม. กรงุ เทพมหานคร : มหาวทิ ยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลยั , ๒๕๕๑. __________. พจนานุกรมพุทธศาสน์ ฉบบั ประมวลศพั ท,์ พมิ พค์ ร้งั ๑๗. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์พระพุทธศาสนาของธรรมสภา,๒๕๕๔. พระพทุ ธทัตตเถระ. พระคมั ภรี ์อภธิ ัมมาวตาร. ศ.มเหศ ตวิ ารี บรรณาธิการ. มหาจฬุ าลงกรณ- ราชวทิ ยาลยั จัดพิมพ์เนอ่ื งในงานพระราชทานเพลิงศพอาจารย์พร รตนสวุ รรณ ๒๕ มิถุนายน ๒๕๓๗. พระธรรมโมลี (สมศักด์ิ อปุ สโม). งานวิจยั การศกึ ษาเชิงวิเคราะหพ์ ระคาถาธรรมบท. นครปฐม:มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลยั วทิ ยาเขตบาลีศึกษา- พทุ ธโฆส, ๒๕๕๔. พระมหาสมปอง มุทิโต. คัมภีร์อภิธานวรรณนา. กรุงเทพมหานคร: ประยูรวงศพ์ ริน้ ท์ต้ิง จากดั , ๒๕๔๗. พระสวุ มิ ลธรรมาจารย์ (ผ่อง) ผูแ้ ปล. ธมมฺ ปทคาถา-แปล. พระนคร: โรงพิมพ์รุ่งเรืองธรรม, ๒๕๑๓. พชั รี พลาวงศ.์ ความรู้เบือ้ งตน้ ทางอรรถศาสตร.์ กรุงเทพมหานคร : มหาวทิ ยาลัยรามคาแหง ๒๕๔๒. สมเด็จพระมหาสมณเจา้ ฯ กรมพระยาวชิรญาณวโรรส. บาลีไวยากรณ์ วจวี ิภาค ภาคที่ ๒ อาขยาต และกิตก.์ กรุงเทพ ฯ : โรงพิมพม์ หามกุฏราชวทิ ยาลยั ,๒๔๙๐. เสฐยี รพงษ์ วรรณปก. พุทธวจนะในธรรมบท. พมิ พ์ครง้ั ท่ี ๑๑. กรุงเทพมหานคร: ธรรมสภา จัดพิมพ,์ ๒๕๕๒. (๒) วิทยานิพนธ์ ฌานศิ วงศส์ ุวรรณ์. “การศกึ ษาเร่อื งพุทธวจนะในธรรมบทของเสฐยี รพงษ์ วรรณปก”. วิทยานิพนธ์อกั ษรศาสตร์มหาบณั ฑิต.บัณฑิตวทิ ยาลยั : มหาวทิ ยาลยั ศิลปากร, ๒๕๔๖. ดวงพร คาหอมกุล. “การศกึ ษาเชิงวิเคราะห์พทุ ธจรยิ ศาสตร์ในธมั มปทัฏฐกถา.” วทิ ยานพิ นธ์ พทุ ธศาสตรมหาบัณฑติ . บัณฑติ วิทยาลยั : มหาวทิ ยาลัยมหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลัย, ๒๕๔๔. พระมหาดวงรตั น์ ฐติ รตโน (กจิ ประภานนท์). “อิทธิพลของธัมมปทฏั ฐกถาเรือ่ งอายุวัฒนกุมาร ตอ่ ประเพณสี ืบชะตาล้านนา”. วิทยานพิ นธ์พุทธศาสตรมหาบัณฑิต. บณั ฑติ วิทยาลัย: มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๕๐. พระมหาทรรศน์ คุณทสสฺ ี. “การศึกษาเปรยี บเทยี บพุทธวธิ ีการสอนในอรรถกถาธรรมบท กับกระบวนการเรยี นรู้ท่เี น้นผู้เรียนเปน็ สาคัญ”. วิทยานิพนธ์พุทธศาสตรมหาบัณฑิต. บณั ฑิตวทิ ยาลัย: มหาวิทยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลยั ,๒๕๔๖. พระวิพฒั น์ อตฺตเปโม (เอ่ียมเปรมจิต). “การศกึ ษาหลกั กรรมและการใหผ้ ลของกรรมในคมั ภีร์ อรรถกถาธรรมบท”. วิทยานพิ นธ์พทุ ธศาสตรมหาบณั ฑติ . บณั ฑิตวิทยาลยั :

๗๖ มหาวทิ ยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๕๓. พระวีรพรรณ วุฑฒฺ ธฺ มฺโม (เชียรประโคน). “อิทธพิ ลความเชอ่ื ในอรรถกถาธรรมบทท่ีมีตอ่ ประเพณีไทย”. วทิ ยานพิ นธ์พุทธศาสตรมหาบัณฑติ . บัณฑติ วทิ ยาลัย: มหาวทิ ยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลัย, ๒๕๕๒. พระมหาสาเนียง เลื่อมใส. “การศึกษาเปรียบเทียบธรรมบทและภควทั คีตา”. วิทยานิพนธ์ ศิลปศาสตร์มหาบัณฑติ . บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยศิลปากร, ๒๕๓๔. เสาวนีย์ พงศกรเสถยี ร. “การศกึ ษาวเิ คราะห์แนวคดิ ญาณวทิ ยาในธมั มปทัฏฐกถา”. วิทยานพิ นธ์ พุทธศาสตรมหาบณั ฑติ . บัณฑิตวิทยาลยั : มหาวทิ ยาลัยมหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลยั , ๒๕๕๓. ๒. ภาษาอังกฤษ Buddhadasa P. Kirthisinghe,Dr. Buddhist concepts : Old and New. India: Sri Satguru Publications,1983. Buddharakkhitta. The Dhammapada: The Buddha’s Path of Wisdom. Sri Lanka: Buddhist Publication Society Candy, 1985 Epiphanius Wilson. Sacred Books of the East. London: The Colonial Press, 1990. E.D. Root. Sakya Buddha: A Versified, Annotated Narrative of His Life and Teaching. New York: Charles P. Somerby,1880. Kanai Lal Hazra. Studies on Pali Commentaries. Delhi: D.K.Publishers Distributors (P) Ltd.,1991. K. Sri Dhammanada. The Dhammapada. Malaysia: Sasana Abhiwurdhi Wardhana Society, 1992. Max F. Müller. The Dhammapada and Sutta Nipata. Sacred Books of the East, Vol. 10. Oxford: The Clarendon Press, 1881. Phramaha Sompong Santacitto. An Analytical Study of the Concept of Dhamma as Natural Law in Theravāda Buddhism. Graduate School Mahachulalongkornrajavidyalaya University Bangkok, Thailand, B.E. 2549. Richard Scott Cohen, Setting The Three Jewels: The Complex Culture of Buddhism At The Ajanta Caves.The University of Michigan,1995. S. Radhakrishnan, (ed.). The Dhammapada. Oxford: Oxford University Press, 1996. Thanisaro Bhikkhu. Dhammapada: A Translation. Buddha Dharma Education Accociation Inc., 1998. TH. Stcherbatsky. The Central Conception of Buddhism and The Meaning of the word ‘Dharma’. Delhi: Motilal Banarsidass, 1979. Weragoda Sarada Maha Thero,Ven. Treasury of Truth: Illustrated Dhammapada. Singapore: Singapore Buddhist Meditation Center,1994.

๗๗ ประวตั ิผู้วจิ ัย ชือ่ พระครศู รีปญั ญาวิกรม (บญุ เรือง ปญฺญาวชโิ ร/เจนทร) บรรพชา ๗ พฤษภาคม ๒๕๒๖ ณ วดั บา้ นหนองใหญ่ อาเภอสตกึ จังหวดั บรุ ีรมั ย์ อปุ สมบท ๒๔ กุมภาพันธ์ ๒๕๓๔ ณ วัดนาคกลางวรวิหาร กรุงเทพมหานคร การศึกษา น.ธ.เอก สานักศาสนศกึ ษาวัดหลวงปรชี ากลู จงั หวัดปราจีนบรุ ี ป.ธ.๖ สานักเรียนวัดนาคกลาง กรุงเทพมหานคร มธั ยมศึกษาตอนปลาย (ม.๖) โรงเรียนบาลีเตรียมอุดมศึกษา กรงุ เทพมหานคร พธ.บ. (ปรัชญา) มหาวทิ ยาลยั มหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลัย กรงุ เทพมหานคร พธ.ม. (ปรัชญา) มหาวิทยาลยั มหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลยั กรงุ เทพมหานคร ผลงานตพี ิมพ์ ต้นไม้แหง่ พุทธธรรม,เกรด็ ธรรมนาชวี ติ , ปรชั ญาธรรมนาชวี ิต,ปรทิ รรศนแ์ หง่ ธรรม, หนังสือเรียนพระพทุ ธศาสนา ชัน้ ประถมศกึ ษาปีที่ ๑ (สานักพิมพ์ประสานมิตร) หนงั สอื เรียนพระพุทธศาสนา ชั้นประถมศกึ ษาปที ่ี ๒ (สานักพิมพ์ประสานมติ ร) หนงั สือเรยี นพระพุทธศาสนา ช้นั ประถมศึกษาปที ่ี ๓ (สานกั พมิ พป์ ระสานมติ ร) หนังสอื เรยี นพระพุทธศาสนา ชั้นประถมศึกษาปีท่ี ๔ (สานกั พิมพ์ประสานมิตร) หนังสือเรียนพระพุทธศาสนา ช้ันประถมศกึ ษาปีท่ี ๕ (สานกั พิมพป์ ระสานมิตร) หนังสอื เรียนพระพทุ ธศาสนา ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖ (สานักพมิ พป์ ระสานมิตร) บทความธรรมะเผยแพรท่ างเว็บไซตป์ ระมาณ ๒๕๐ เรอ่ื ง มนุษยนยิ มในปรัชญาขงจือ๊ (มหาจฬุ า ฯ จดั พมิ พ์ ๑,๐๐๐ เล่ม) งานสอน เปน็ ผบู้ รรยายในรายวชิ าปรชั ญาเบือ้ งต้น, ปรชั ญาอินเดีย, พทุ ธปรัชญาเถรวาท ปรัชญาไทย,ปรัชญานิพนธ,์ พุทธปรชั ญาการศึกษา,ปรัชญาจนี ญี่ปุน่ เกาหลี ปรัชญากรีกโบราณ, ปรชั ญาหลงั นวยุค,วิสทุ ธมิ รรคศกึ ษา,พระพุทธศาสนากบั - ปรัชญา,ธรรมะภาคภาษาองั กฤษชน้ั สงู ,ศาสตรค์ ณติ กรณ์เบ้อื งตน้ ปจั จบุ นั เจา้ อาวาสวดั บ้านด่าน ต.บา้ นด่าน อ.บ้านด่าน จ.บรุ รี ัมย์ หวั หนา้ สาขาวิชาพระพทุ ธศาสนา วทิ ยาลยั สงฆ์บรุ รี ัมย์


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook