Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore EB-ทรัพยากรการท่องเที่ียวไทย ชุดภาคอีสาน สุรินทร์

EB-ทรัพยากรการท่องเที่ียวไทย ชุดภาคอีสาน สุรินทร์

Published by Thanarat Sa-Ard-Iam, 2023-07-30 15:30:24

Description: EB-ทรัพยากรการท่องเที่ียวไทย ชุดภาคอีสาน สุรินทร์

Search

Read the Text Version

สารบัญ

ท รั พ ย า ก ร การท่องเที่ยวไทย ชสุ ดุ รภ าิ นค อที ส ารน์ สารบัญ

ดวงตราประจำจงั หวดั สรุ นิ ทร์ : ภาพพระอนิ ทร์ประทบั อย่บู นแท่น มีเศียร ชา้ งเอราวณั อยู่ทตี่ อนกลางของแทน่ เบ้อื งหลัง เป็นภาพปราสาทหิน ภาพสัญลักษณ์ที่นำมา จากชือ่ ของจงั หวดั เป็นคำสนธิระหวา่ ง สุระ กับ อินทร์ หมายถึง พระอินทรเ์ ทพยดาผู้ทรงพลัง ฤทธ์ิ ปราสาทเบอ้ื งหลงั คอื ปราสาทบา้ นระแงง หรือปราสาทศขี รภมู ซิ ึง่ อยู่ในจังหวดั สุรินทร์ พนั ธ์ุไมม้ งคลพระราชทานประจำจงั หวดั : มะค่าแต้ (Sindora siamensis Teijsm. & Miq.) คำขวัญประจำจงั หวดั พ.ศ. ๒๕๕๒ : สรุ นิ ทรถ์ น่ิ ชา้ งใหญ่ ผา้ ไหมงาม ประคำสวย ร่ำรวยปราสาท ผักกาดหวาน ข้าวสารหอม งามพรอ้ มวัฒนธรรม สารบัญ

คำนำ ใน พ.ศ. ๒๕๕๔ จะเปน็ โอกาสมหามงคลของปวงชนชาวไทยอกี วาระหนง่ึ คอื พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั จะทรงเจรญิ พระชนมพรรษา ๗ รอบ การทอ่ งเทย่ี วแหง่ ประเทศไทย (ททท.) พจิ ารณาเหน็ วา่ นา่ จะไดจ้ ดั ทำโครงการอนั เปน็ ประโยชนต์ อ่ สว่ นรวมเพอ่ื รว่ มเฉลมิ พระเกยี รติ ในโอกาสอนั สำคัญยง่ิ นี้ อนงึ่ ในโอกาส ๔๘ ปี แหง่ การสถาปนาการทอ่ งเทีย่ วแหง่ ประเทศไทยเม่อื พ.ศ. ๒๕๕๑ และจะมอี ายุ ๕๐ ปี ใน พ.ศ. ๒๕๕๓ นับเปน็ ช่วงเวลายาวนานที่ยังมิได้มีการรวบรวมสรรพความรู้ที่เกี่ยวกับทรัพยากรการท่องเที่ยวของไทยอย่างเป็นระบบ แนวคิดการจัดทำหนังสือ ทรัพยากรการท่องเทย่ี วไทยจงึ ได้กอ่ กำเนดิ ขึน้ ทรพั ยากรการทอ่ งเทย่ี วของไทยแบง่ เปน็ ๓ ประเภท ไดแ้ ก่ ทรพั ยากรการทอ่ งเทย่ี วประเภทธรรมชาติ เชน่ หาดทราย ชายทะเล เกาะแกง่ ผาและเพิงผา ป่า เขา น้ำตก ถ้ำ น้ำพุร้อน บ่อน้ำร้อน ทะเลสาบ รวมถึงสิ่งที่กำเนิดขึ้นร่วมกาลสมัยกับประวัติศาสตร์ธรรมชาติ ซากดกึ ดำบรรพเ์ ปน็ อาทิ ทรัพยากรการทอ่ งเทยี่ วประเภทประวัตศิ าสตร์ โบราณวัตถุสถาน และศาสนา เชน่ โบราณวัตถุ โบราณสถาน ศาสนสถาน รวมถึงพพิ ิธภัณฑสถาน ทรพั ยากรการท่องเทยี่ วประเภทศลิ ปวัฒนธรรม ประเพณี และกจิ กรรม เช่น งานเทศกาล ประเพณี ศลิ ปะการแสดง ศลิ ปหตั ถกรรม หอศลิ ป ์ วิถีชีวติ ตลอดจนกจิ กรรมการทอ่ งเทีย่ วอ่ืนๆ ทส่ี ร้างสรรคข์ น้ึ ใหม่ การทอ่ งเทย่ี วแหง่ ประเทศไทยไดส้ ำรวจรวบรวมขอ้ มลู ทรพั ยากรการทอ่ งเทย่ี วไทยมาโดยตลอด นบั แตก่ อ่ ตง้ั องคก์ รเมอ่ื พ.ศ. ๒๕๐๓ และได้ประชาสัมพนั ธแ์ หลง่ ทอ่ งเท่ียวใหเ้ ปน็ ท่รี ู้จักแก่นักทอ่ งเทยี่ วชาวไทยและชาวตา่ งประเทศ สง่ เสรมิ ใหก้ ารทอ่ งเทย่ี วเปน็ ไปโดยสะดวก ปลอดภยั และได้ความรู้ มีการจดั ทำอนสุ าร อ.ส.ท. จลุ สาร ฐานขอ้ มลู แหลง่ ทอ่ งเทย่ี ว หนงั สือ หนังสือภาพ แผ่นพบั ใบปดิ (โปสเตอร์) โปสการ์ด บทความ สารคดี ภาพยนตร์ วดี ิทศั น์ ตลอดจนสนับสนุนให้มกี ารศกึ ษาวจิ ัยดา้ นการท่องเทย่ี ว และจดั ให้มกี ารรับรองมาตรฐาน เกยี่ วกับแหลง่ ท่องเท่ยี วในนามของรางวัลอุตสาหกรรมท่องเท่ียวไทย ซง่ึ มีขึน้ คร้งั แรกเมอื่ พ.ศ. ๒๕๓๙ ฯลฯ แตก่ ารนำเสนอขอ้ มลู โดย รวบรวมองคค์ วามรทู้ เ่ี กย่ี วกบั การทอ่ งเทย่ี วโดยเรยี งลำดบั อกั ษรจดั เปน็ หมวดหมู่ เพอ่ื สะดวกแกก่ ารคน้ ควา้ เกดิ ขน้ึ เปน็ ครง้ั แรกในโอกาสน้ี องคค์ วามรดู้ งั กลา่ วจะเปน็ ฐานขอ้ มลู สำหรบั นกั ทอ่ งเทย่ี ว นกั ศกึ ษา และบคุ ลากรดา้ นการทอ่ งเทย่ี ว ไดน้ ำไปใชป้ ระกอบการสง่ เสรมิ และพฒั นา การทอ่ งเท่ียวไทย ซงึ่ เปน็ รากฐานประการหนึง่ ของเศรษฐกิจประเทศ ตามนโยบายของรฐั บาล ในแผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสังคมแหง่ ชาติ ซงึ่ มเี ป้าหมายประการหนึง่ ใหอ้ ตุ สาหกรรมท่องเทยี่ วได้มบี ทบาทสำคญั ในการสรา้ งงานและกระจายรายได้ไปยังทุกภูมิภาค อนง่ึ ในชว่ งรอยตอ่ ของความเปลย่ี นแปลงเชน่ ทกุ วนั น้ี องคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถน่ิ ไดร้ บั สทิ ธแิ ละหนา้ ทใ่ี นการบรหิ ารจดั การทรพั ยากร ตา่ งๆ รวมทง้ั ทรพั ยากรการทอ่ งเทย่ี วมากขน้ึ กวา่ ในอดตี การทอ่ งเทย่ี วแหง่ ประเทศไทยตระหนกั ดวี า่ ทรพั ยากรการทอ่ งเทย่ี วหลายประเภท ยังมิได้มีระบบบริหารจัดการที่ถูกต้องเหมาะสม ซึ่งหากการจัดการทรัพยากรการท่องเที่ยวขาดฐานข้อมูลที่ถูกต้องรองรับ ก็จะนำมาซึ่ง ผลกระทบทั้งทางตรงและทางอ้อมต่อการทอ่ งเทยี่ ว เศรษฐกิจ สังคม วฒั นธรรม และสิง่ แวดล้อม พระราชบัญญตั นิ โยบายการท่องเที่ยว แห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๕๑ จึงได้กำหนดภาระหน้าที่ในการให้ความรู้แก่บุคลากรในหน่วยงานของรัฐและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ดังนั้น หนังสือทรพั ยากรการท่องเทีย่ วไทยจงึ เป็นส่วนหน่งึ ของความพยายามในการให้ความรนู้ ด้ี ว้ ย การจัดทำทรัพยากรการท่องเท่ยี วไทย แบง่ เปน็ ๔ ชดุ เร่ิมตน้ ท่ีภาคอสี าน ในโอกาสท่ี พ.ศ. ๒๕๕๑ - ๒๕๕๓ เปน็ ปที ่องเที่ยวอสี าน และจะติดตามด้วยภาคกลาง - ภาคตะวนั ออก ภาคเหนือ และภาคใต้ แหล่งทอ่ งเท่ยี วและกิจกรรมตา่ งๆ ท่ปี รากฏในหนงั สือชุดน้ี เปน็ ทรพั ยากรการทอ่ งเทย่ี วทม่ี ศี กั ยภาพ ซง่ึ รวบรวมมาจากขอ้ เสนอแนะของทอ้ งถน่ิ และฐานขอ้ มลู สว่ นหนง่ึ ของการทอ่ งเทย่ี วแหง่ ประเทศไทย ทง้ั นโ้ี ดยไดร้ บั ความรว่ มมอื จากผเู้ ชย่ี วชาญ ผมู้ ปี ระสบการณส์ าขาตา่ งๆ ผแู้ ทนหนว่ ยงานจากภาครฐั และเอกชน รว่ มเปน็ ทป่ี รกึ ษา อำนวยการ ดำเนินงาน ท้งั ได้มกี ารประชมุ ตรวจสอบเนอ้ื หาอย่างละเอยี ดเพอื่ ความถกู ตอ้ ง การทอ่ งเทย่ี วแหง่ ประเทศไทยหวงั เปน็ อยา่ งยง่ิ วา่ องคค์ วามรจู้ ากหนงั สอื ชดุ ทรพั ยากรการทอ่ งเทย่ี วไทย จะเสรมิ สรา้ งความรคู้ วามเขา้ ใจ อันมีผลสืบเนื่องให้เกิดความสำนึกหวงแหนรักษามรดกที่ธรรมชาติและบรรพชนได้สร้างไว้ เพื่อให้คนไทยสามารถเป็นเจ้าบ้านผู้มีความรู้ มีศกั ดศิ์ รี และมอี ธั ยาศัยไมตรีตอ่ ผู้มาเยอื น มีการจัดการการท่องเทีย่ วอย่างถกู วิธี ทำใหป้ ระเทศไทยสามารถเป็นจุดหมายปลายทางของ การท่องเที่ยวแหง่ หนง่ึ ของโลกได้อย่างย่ังยนื การทอ่ งเท่ยี วแหง่ ประเทศไทย (ททท.)  สารบัญ

สัญลักษณ์ แสดง วิธีใช้ ทรพั ยากรการทอ่ งเทย่ี ว ประเภทตา่ งๆ ไดแ้ ก่ คำหลกั เรียงตามตวั อักษร ก - ฮ แยกประเภทตาม ลักษณะทรัพยากรการทอ่ งเทย่ี ว ธรรมชาติ ประวัติศาสตร์ โบราณวัตถุสถาน และศาสนา ศิลปวัฒนธรรม ประเพณี และกิจกรรม ความนำ แสดงภาพรวม ดูที่ อ่านเพิ่มเติมเพื่อ หรอื จดุ เดน่ ของคำหลัก โยงความรคู้ วามคดิ ความหลัก ย่อหน้าท่ี ๒ ความรอง - ลอ้ มกรอบ แสดงองค์ความรู้ของ แสดงเกรด็ ความรู้ หรอื ทรพั ยากรการทอ่ งเทย่ี ว ขน้ั ตอนกระบวนการ น้ันๆ เชน่ ความเปน็ มา ภมู ิปัญญา หมวดคำ และ เลขหน้า ทรพั ยากรการท่องเทีย่ วไทย ชุดภาคอีสาน ประกอบด้วย บทนำ ไดแ้ ก่ ภมู ินิเวศ / ยุคดกึ ดำบรรพ์ ปมู บา้ นปูมเมอื ง กลมุ่ ชาตพิ ันธุ์ / ศิลปวัฒนธรรม คำหลัก เรียงลำดับตามอักษร ก - ฮ แยกประเภทตามลักษณะแหล่งท่องเที่ยว ดัชนี อยู่ต่อท้าย ช่วยในการสืบค้น บรรณานกุ รม อยู่ทา้ ยเล่ม สำหรับผ้ปู ระสงคค์ น้ คว้าเพม่ิ เติม ท้ังน้ี ไดก้ ำหนดกรอบการเขียน เชน่ - หลกี เลี่ยงคำหรือความทจี่ ะกอ่ ความขดั แย้ง - คำเฉพาะหรอื ภาษาท้องถน่ิ คงไว้โดยวงเลบ็ ภาษากลาง เชน่ ฮบู แตม้ (จิตรกรรมฝาผนงั ) หอแจก (ศาลาการเปรียญ) - ยคุ / สมัย กำหนดใชค้ ำว่า ยคุ ในความหมายท่ใี หญแ่ ละกวา้ งกวา่ สมยั - พนั ธุ์ไม้ / พรรณไม้ ใชต้ ามบริบท เชน่ พนั ธุไ์ ม้ ใช้ในกรณีเก่ยี วกบั การสบื ต่อพนั ธุ์ (สายพนั ธุ์) พรรณ หมายถึงชนิด (เน้นรูปรา่ งภายนอก) - ภาพเขียนสี ใช้ในกรณที ีเ่ ปน็ ภาพเขียนสี โดยแท้จริง นอกนน้ั ใช้ว่า ศิลปะถ้ำ - แมน่ ำ้ / ลำน้ำ ในหนังสอื ชดุ นี้ กำหนดใช้คำว่า แมน่ ำ้ ในกรณีเอย่ ถงึ เส้นทางนำ้ ตลอดสาย เช่น แม่น้ำโขง และใช้ ลำน้ำ ในกรณเี ปน็ สว่ นหน่งึ ของแมน่ ้ำ หรือเป็นคำเรียกอยา่ งท้องถ่นิ อสี าน เช่น ลำน้ำมูน ลำนำ้ ชี - สร้างบ้านแปงเมือง ในหนังสือชุดนี้ กำหนดใช้ แปงเมือง ตามการออกเสียงอย่างท้องถิ่นภาคเหนือและภาคอีสาน ซึ่งต่างจาก  ราชบณั ฑิตยสถานที่ใช้วา่ แปลงเมือง สารบัญ

สารบัญ วธิ ีใช ้ ๒ งานประเพณีสงกรานต ์ ปราสาทบ้านช่างปี่ ๓๐ ศ ภมู ินิเวศ ๔ เทศบาลเมอื งสุรินทร์ ๑๘ ปราสาทบา้ นพลวง ยุคดึกดำบรรพ์ ๖ งานพธิ ีแต่งงานบนหลังช้าง ปราสาทบ้านไพล ๓๑ ศาลหลักเมืองสุรนิ ทร์ ๔๒ ปมู บ้านปูมเมือง ๖ (ซตั เต) ๓๒ ศูนย์บรกิ ารวิชาการด้านพชื ๑๘ ปราสาทบ้านอนนั ต ์ ๓๓ และปจั จัยการผลิตสุรนิ ทร์ ๔๓ กลุม่ ชาติพนั ธ ์ุ ๗ งานวันผสู้ งู อายุและ ห ศลิ ปวัฒนธรรม ๘ สงกรานตช์ ้าง ปราสาทพระปดื ๒๐ (ปราสาทแกว้ ) ๓๓ หมู่บา้ นจักสานบา้ นบุทม ๔๔ งานสบื สานตำนานพันปี ปราสาทภมู ิโปน ๓๔ หมู่บา้ นช้างบา้ นตากลาง ๔๕ ทรพั ยากรการทอ่ งเทย่ี วไทย ปราสาทศีขรภมู ิ ๒๑ ปราสาทมีชัย (หมืน่ ชัย) / หมู่บา้ นทอผา้ บา้ นจนั รม ๔๖ ชุดภาคอีสาน จังหวดั สรุ ินทร์ งานแสดงช้างและ ปราสาทบา้ นปราสาท ค งานกาชาดจังหวดั สรุ นิ ทร์ ๒๒ ปราสาทเมืองท ี ๓๕ หมบู่ า้ นทอผ้าไหมยกทอง คูเมอื งสรุ นิ ทร์ ๑๒ ต ๓๖ จันทร์โสมา บา้ นท่าสวา่ ง ๔๗ ง ปราสาทยายเหงา ๓๖ หมบู่ ้านวฒั นธรรมดงมนั ๔๘ ตลาดช่องจอม ๒๔ ปราสาทศีขรภมู ิ หมู่บา้ นหตั ถกรรม ป งานแซนโฎนตา (ปราสาทบา้ นระแงง) ๓๗ เขวาสนิ รินทร์ ๔๙ อ บูชาบรรพบรุ ษุ ๑๓ ประตมิ ากรรมการคลอ้ งชา้ ง ๒๔ ปราสาทสังขศ์ ลิ ปช์ ัย งานเทศกาลปลาไหล ปราสาทจอมพระ ๒๕ (ปราสาทบา้ นจาน) ๓๘ อนุสาวรยี ์พระยาสุรินทรภ์ กั ดี ข้าวใหมห่ อมมะลิ ๑๔ ปราสาทตระเปรยี งเตยี ๒๖ พ ศรณี รงค์จางวาง (เชยี งปุม) ๕๐ งานประเพณีขน้ึ เขาสวาย ๑๕ ปราสาทตาเมอื น พิพธิ ภณั ฑสถานแหง่ ชาติ อ่างเกบ็ น้ำห้วยเสนง ๕๑ งานประเพณแี ขง่ เรือยาวชงิ ถว้ ย (ปราสาทบายกรีม) ๒๗ สุรนิ ทร์ ๓๙ พระราชทานฯ อำเภอทา่ ตมู ปราสาทตาเมือนโตด๊ ๒๘ ว ดชั นีคำ ๕๓ ๔๐ ดชั นภี าพ ๕๔ จงั หวดั สุรนิ ทร์ ๑๕ ปราสาทตาเมอื นธม ๒๙ วนอุทยานป่าสนหนองค ู ๔๑ แหล่งภาพ ๕๕ งานประเพณบี วชนาคชา้ ง ๑๗ ปราสาททนง ๓๐ วนอุทยานพนมสวาย ๔๒ บรรณานกุ รม ๕๖ วดั บูรพาราม พิธีเซ่นศาลปะกำช้าง  ปกหน้ า ปกหลัง

ภูมินิเวศ แผนที่แสดงที่ตั้งและอาณาเขตของจังหวัดสุรินทร์ ที่ตั้งและอาณาเขต ภูมปิ ระเทศ สรุ นิ ทร์(Surin) เปน็ จงั หวดั ทางตอนลา่ ง เขตแดน ทิศตะวันออกติดต่อกับจังหวัด ธรณีสัณฐาน จังหวัดสุรินทร์ตั้งอยู ่ ของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (อีสานใต้) ศรีสะเกษ และทิศตะวันตกตดิ ต่อกบั จังหวัด บนขอบที่ราบสูงภาคตะวันออกเฉียงเหนือ หา่ งจากกรงุ เทพมหานครทางรถยนตป์ ระมาณ บรุ รี มั ย์ แบง่ เขตการปกครองเปน็ ๑๗ อำเภอ (ที่ราบสูงโคราช) ลักษณะพื้นที่แบ่งเป็น ๔๕๐ กิโลเมตร พื้นที่ประมาณ ๘,๑๒๔ ได้แก่ อำเภอเมืองสุรินทร์ ปราสาท สังขะ ๓ ส่วน ตารางกโิ ลเมตร(๕,๐๗๗,๕๓๕ ไร)่ ทศิ เหนอื ศขี รภมู ิ รตั นบรุ ี ทา่ ตมู ชมุ พลบรุ ี สำโรงทาบ ตอนใต้ของจังหวัด สูงจากระดับทะเล ติดต่อกับจังหวัดร้อยเอ็ดและจังหวัดมหา จอมพระ สนม ลำดวน กาบเชิง บัวเชด ปานกลางระหว่าง ๒๐๑ - ๔๘๓ เมตร เป็น สารคาม ทิศใต้ติดต่อกับราชอาณาจักร ศรีณรงค์ พนมดงรัก เขวาสินรินทร์ และ ทส่ี ูง มีเทือกเขาพนมดงรัก ซงึ่ เปน็ เทือกเขา กัมพูชา มีเทือกเขาพนมดงรักเป็นแนวกั้น อำเภอโนนนารายณ ์ หินทรายที่ถูกยกตัวให้สูงขึ้นจนกลายเป็น  สารบัญ

ขอบดา้ นใต้ของท่รี าบสงู โคราช ทอดตัวยาว ยาง (Dipterocarpus alatus Roxb. ex G. ตน้ กำเนดิ จากเทอื กเขาพนมดงรกั ทางตอนใต ้ ในแนวทศิ ตะวนั ตก- ตะวนั ออก ตง้ั แตจ่ งั หวดั Don) ประดู่ (Pterocarpus macrocarpus ของจังหวัด ไหลขึ้นเหนือหล่อเลี้ยงพืชพันธุ ์ นครราชสีมา บุรีรัมย์ สุรินทร์ และจังหวัด Kurz) พะยูง (Dalbergia cochinchinensis ธัญญาหารให้ชาวสุรินทร์ ก่อนจะไหลลงสู่ ศรีสะเกษ ปกคลุมด้วยป่าดิบแล้งและป่า Pierre) ฯลฯ นอกจากนี้ยังมีป่าสนสองใบ ลำน้ำมูน ซึ่งเป็นเอกลักษณ์ทางธรรมชาติของจังหวัด ภูมิอากาศ เบญจพรรณ ตอนกลางของจงั หวดั สงู จากระดบั ทะเล สุรินทร์นอกจากนี้ยังมีป่าเต็งรังแต่เพียง จังหวัดสุรินทร์ ตั้งอยู่ในเขตลมมรสุม ปานกลางระหว่าง ๑๒๖ - ๑๕๐ เมตร เป็น เล็กนอ้ ย เขตรอ้ น สภาพดนิ ฟา้ อากาศจงึ ขน้ึ กบั อทิ ธพิ ล ท่รี าบล่มุ สลบั เนนิ เตย้ี ๆ แหล่งนำ้ ของลมมรสุมเป็นสำคญั ตอนเหนอื ของจงั หวดั สงู จากระดบั ทะเล ลำน้ำสายสำคัญที่สุดในจังหวัดสุรินทร ์ ฤดรู อ้ น(เดอื นกมุ ภาพนั ธ์- พฤษภาคม) ปานกลางระหวา่ ง ๑๑๕ - ๑๒๕ เมตร เปน็ ได้แก่ ลำน้ำมูน เป็นเส้นเลือดใหญ่ของ อากาศรอ้ นอบอา้ ว ที่ราบลุ่มน้ำมูนและลำน้ำสาขาของลำน้ำมูน จังหวัดต่างๆ ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ฤดฝู น(เดอื นมถิ นุ ายน- ตลุ าคม) ปรมิ าณ และเปน็ ส่วนหนึ่งของท่งุ กุลาร้องไห้ ซ่งึ เป็น ตอนล่าง มีต้นกำเนิดจากเทือกเขาดงพญา นำ้ ฝนไมแ่ นน่ อน ขน้ึ อยกู่ บั ลมมรสมุ ตะวนั ตก แหลง่ เพาะปลูกท่สี ำคญั โดยเฉพาะขา้ วหอม เย็น เขตอำเภอครบุรี จังหวัดนครราชสีมา เฉียงใต้จากมหาสมุทรอินเดีย และลมพายุ มะลอิ ันเล่ืองช่อื ของจงั หวัดสรุ ินทร์ ไหลผา่ นจงั หวัดบุรีรมั ย์ จงั หวดั สรุ นิ ทร์ และ ดเี ปรสชนั จากทะเลจีนใต้ สภาพพน้ื ดนิ ในจงั หวดั สรุ นิ ทร์ สว่ นใหญ่ จังหวัดศรีสะเกษ ก่อนจะไหลลงสู่ลำน้ำโขง ฤดหู นาว(เดอื นพฤศจกิ ายน - มกราคม) เปน็ ดนิ รว่ นปนทราย ไมอ่ ้มุ นำ้ ที่จังหวัดอุบลราชธานี ในส่วนของจังหวัด ลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ พัดพาเอา ป่าไม้ สุรินทร์ไหลผ่านตอนเหนือของจังหวัด เขต ความหนาวเย็นและแห้งแล้งจากตอนเหนือ จังหวัดสุรินทร์ มีพื้นที่ป่าประมาณ อำเภอชุมพลบุรี ท่าตูม และอำเภอรัตนบุร ี ของประเทศจนี เขา้ มา ทำใหอ้ ากาศหนาวเยน็ ๒,๒๑๒.๒๐ ตารางกโิ ลเมตร(๑,๓๘๒,๖๒๕ นอกจากนย้ี งั มลี ำนำ้ สายสำคญั อน่ื ๆ เชน่ และแหง้ แลง้ ไร)่ หรอื คิดเปน็ รอ้ ยละ ๒๗.๒๓ ของพื้นท่ี ลำชี หว้ ยทบั ทนั ห้วยเสน หว้ ยเสนง ยกเว้น จงั หวัด มีวนอุทยาน ๒ แห่ง คอื วนอทุ ยาน ลำพลับพลา ไม่ได้มีต้นน้ำในเทือกเขาพนม ป่าสนหนองคู และวนอุทยานพนมสวาย ดงรัก แตม่ ีตน้ นำ้ อยูท่ างตอนใต้ของจงั หวัด มเี ขตรกั ษาพนั ธส์ุ ตั วป์ า่ ๑ แหง่ คอื เขตรกั ษา มหาสารคาม จงึ ไหลจากทางตะวนั ตกสลู่ ำนำ้ พันธส์ุ ตั ว์ปา่ หว้ ยสำราญ หว้ ยทบั ทนั มนู ทางตะวนั ออก ฯลฯ ลำนำ้ เหลา่ นส้ี ว่ นใหญม่ ี ป่าไม้ส่วนใหญ่เป็นป่าเบญจพรรณและ ปา่ ดบิ แลง้ ไมส้ ำคญั เชน่ เตง็ (Shoreaobtusa Wall.exBlume) รงั (ShoreasiamensisMiq.) ประเภทของป่าที่พบในจังหวัดสุรินทร์ สารบัญ

ยุคดึกดำบรรพ์ จงั หวดั สรุ นิ ทร์ อยใู่ นพน้ื ทอ่ี สี านใตเ้ ชน่ เดยี วกบั จงั หวดั บรุ รี มั ยแ์ ละจงั หวดั ศรสี ะเกษ สภาพธรณวี ทิ ยาสว่ นหนง่ึ เปน็ หนิ บะซอลตท์ เ่ี กดิ จาก การปะทุของภูเขาไฟเมื่อประมาณ ๙ แสนปีที่แล้ว ภูเขาไฟได้พ่นลาวาออกจากปล่อง และไหลปิดทับอยู่บนหินทรายของกลุ่มหินโคราช (Korat Group) บางสว่ นเปน็ หนิ ที่มีอายุประมาณยคุ ครีเทเชยี สตอนตน้ เม่ือประมาณ ๑๔๐ ล้านปีมาแล้ว ปูมบ้านปูมเมือง จังหวัดสรุ ินทร์ เปน็ พ้ืนที่ทมี่ ีการคน้ พบ หลักฐานการตั้งถิ่นฐานสร้างบ้านแปงเมือง มาอย่างต่อเนื่องยาวนาน ตั้งแต่ยุคก่อน ประวัติศาสตร์จนถึงปัจจุบัน ยุคก่อนประวัติศาสตร์ (๒,๐๐๐ - ๑,๕๐๐ ปีมาแล้ว) ภาพสลักหินทราย ปราสาทภูมิโปน พบหลักฐานแหล่งโบราณคดหี ลายแหง่ อยู่บนเส้นทางโบราณจากเมืองยโสธรปุระ ประทายสมันต์เป็นเมืองสุรินทร์ มี พระยา ทส่ี ำคญั คอื แหลง่ โบราณคดบี า้ นโนนสวรรค์ (ราชธานขี องอาณาจกั รขอม) มายงั เมอื งพมิ าย สุรินทร์ภักดีศรีณรงค์จางวาง (เชียงปุม) ตำบลนาหนองไผ่ อำเภอชุมพลบุรี ขุดพบ สมัยอยุธยา เปน็ เจา้ เมอื ง โครงกระดูกมนุษย์และภาชนะดินเผาเนื้อ ประมาณพทุ ธศตวรรษที่ ๒๐ - ๒๔ พ.ศ. ๒๓๓๗ พระยาสรุ นิ ทรภ์ กั ดศี รณี รงค์ หยาบหนา ทั้งแบบเขยี นสแี ละไม่เขียนสี สมยั อยธุ ยาตอนปลาย มผี นู้ ำชอ่ื เชยี งปมุ จางวาง (เชียงปุม) ถึงแก่อนิจกรรม พระ นำกลุ่มชาวกยู (กวย ส่วย) อพยพจากเมือง สุรินทร์ณรงค์ภักดีศรีณรงค์จางวาง (ตี) ยุคประวัติศาสตร์ อัตตะปอื แสนแป (ลาวใต้) เข้ามาตั้งรกราก ผเู้ ปน็ บตุ ร ขึน้ เป็นเจา้ เมือง สร้างเมืองที ก่อนจะย้ายเมืองมาที่ประทาย พ.ศ. ๒๓๕๐ เมืองสุรนิ ทร์ เมอื งสงั ขะ สมยั วฒั นธรรมทวารวดี สมันต์ โดยขึ้นตรงกับเมืองพิมายซึ่งเป็น และเมอื งขุขันธ์ ข้ึนตรงตอ่ กรงุ เทพฯ ไม่ตอ้ ง พทุ ธศตวรรษที่ ๑๒ - ๑๖ หนึ่งในหัวเมืองภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ขนึ้ กบั เมืองพมิ ายดังเก่า พบรอ่ งรอยการตง้ั ถน่ิ ฐานของผคู้ นในรปู ของกรงุ ศรีอยธุ ยา พ.ศ. ๒๓๘๕ เจ้าพระยาบดินทรเดชา ของเมอื งโบราณสมยั วฒั นธรรมทวารวดที ม่ี ี สมยั ธนบุรี (สิงห์ สิงหเสน)ี เกณฑ์กำลังจากเมอื งขขุ ันธ์ คนู ำ้ คนั ดนิ ลอ้ มรอบในเขตเทศบาลเมอื งสรุ นิ ทร ์ ระหว่าง พ.ศ. ๒๓๑๐ - ๒๓๒๕ เมอื งสงั ขะ และเมอื งสรุ นิ ทร์ รว่ มกบั เมอื งอน่ื ๆ สมยั วฒั นธรรมขอม สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชโปรด ไปรบท่ีกัมพูชา พทุ ธศตวรรษท่ี ๑๕ - ๑๘ ให้เกณฑ์กำลังเมืองขุขันธ์เมืองสังขะ และ พ.ศ. ๒๔๒๕ ตั้งบ้านทัพค่าย เป็น พบปราสาทหินในสมัยวัฒนธรรมขอม เมืองประทายสมันต์ ขึ้นไปรบเมืองจำปา เมืองชมุ พลบรุ ี มากกวา่ ๓๓ แหง่ กระจายอยแู่ ทบทกุ อำเภอ ศักดิ์ เมืองนครพนม บ้านหนองคาย และ พ.ศ. ๒๔๓๖ ฝร่งั เศสยกกำลังขนึ้ เมือง เช่น ปราสาทภูมิโปน อำเภอสังขะ เป็น นครเวียงจันทน์ ต่อมายกไปปราบจลาจล เชียงแตง (สะตรึงแตรง) เมอื งสที นั ดร (โขง) ปราสาทขอมเก่าแก่ที่สุดในประเทศไทย ในเขมร จากนั้นได้มีชาวเขมรหลบหนี และเมืองสมโบก ซงึ่ ขณะนัน้ อยูใ่ นปกครอง ปราสาทศขี รภมู ิ อำเภอศีขรภูมิ มีภาพสลัก สงครามเข้ามาอยู่ในเมืองประทายสมันต์ ของไทย เมืองสุรินทร์ เมืองขุขันธ์ เมือง หนิ ทรายทง่ี ดงามโดดเดน่ และกลมุ่ ปราสาท และเมอื งสังขะเป็นจำนวนมาก ศรสี ะเกษ รว่ มตรงึ กำลงั ต้าน ตาเมือน อำเภอพนมดงรัก ประกอบด้วย สมยั รตั นโกสนิ ทร์ พ.ศ. ๒๔๖๗ เปิดเดินรถไฟจากนคร ปราสาท ๓ แหง่ ตงั้ อยตู่ ิดชายแดนไทย - พ.ศ. ๒๓๒๙ พระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธ- ราชสีมาถึงสุรินทร์ สองข้างทางขยายเป็น กัมพูชา บนเทือกเขาพนมดงรัก เป็นกลุ่ม ยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช รัชกาลที่ ๑ ทรง ชมุ ชน ชาวสรุ นิ ทรส์ ง่ สนิ คา้ ไปยงั นครราชสมี า ปราสาทขอมแห่งแรกในเขตประเทศไทยที ่ พระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้เปลี่ยนชื่อเมือง เชน่ ไม้พะยูง ครงั่ ข้าว ไหม และสุกร ฯลฯ  สารบัญ

พ.ศ. ๒๔๗๑ งานประเพณีขน้ึ เขาสวาย ครงั้ แรกทีอ่ ำเภอเมืองสรุ นิ ทร์ พ.ศ. ๒๔๗๘ กรมศิลปากรเริ่มขึ้น ทะเบียนโบราณสถานของชาติหลายแห่งใน จังหวัดสุรนิ ทร์ เชน่ ปราสาทตระเปรียงเตีย กลุ่มปราสาทตาเมือน ปราสาทบ้านพลวง ปราสาทบ้านไพล และปราสาทภูมิโปนซึ่ง เป็นปราสาทขอมเกา่ แกท่ ่สี ุดในประเทศไทย จากนั้นในปีต่อๆ มา ได้ประกาศขอบเขต พน้ื ทโ่ี บราณสถานเพอ่ื กำหนดบรเิ วณปอ้ งกนั การบกุ รกุ และทยอยอนรุ ักษ์ บูรณะ บำรุง การแต่งกายของชายชาวกูย รักษาอย่างต่อเนื่องจนสวยงามหลายแห่ง ชาวสรุ นิ ทรร์ ว่ มสรา้ งประตมิ ากรรมคลอ้ ง ท่สี ดุ แห่งหน่งึ ของภาคอสี าน ในปจั จบุ ัน ช้าง ทถี่ นนภกั ดีชุมพล อำเภอเมอื งสุรนิ ทร์ พ.ศ. ๒๕๔๙ เกดิ โครงการ นำชา้ งคนื ถน่ิ พ.ศ. ๒๕๐๓ จัด งานแสดงช้าง เปน็ พ.ศ. ๒๕๔๖ ชา่ งทอผา้ บา้ นทา่ สวา่ ง พฒั นาสรุ นิ ทรบ์ า้ นเกดิ ตอ่ เนอ่ื งดว้ ย ศนู ยค์ ช- ครั้งแรก ในนามกลมุ่ ผา้ ไหมยกทองจนั ทรโ์ สมา ไดร้ บั ศกึ ษา และ งานสงกรานตช์ า้ ง ทอ่ี ำเภอทา่ ตมู พ.ศ. ๒๕๐๕ งานแสดงช้าง เป็นงาน เลือกให้ทอผ้าไหมยกทอง ใช้ตัดชุดสากล พ.ศ. ๒๕๕๐ หมู่บา้ นชา้ งบา้ นตากลาง ประจำปรี ะดับชาตคิ ร้ังแรก จนเป็นที่รู้จักไป มอบแกผ่ นู้ ำนานาชาตทิ เ่ี ขา้ รว่ มประชมุ ความ อำเภอทา่ ตูม จงั หวดั สุรินทร์ ไดร้ างวัลอตุ - ทว่ั โลกในปจั จบุ นั และเปน็ กรณศี กึ ษาเปรยี บ ร่วมมือทางเศรษฐกิจกลุ่มประเทศเอเชีย - สาหกรรมทอ่ งเทย่ี วไทย พ.ศ. ๒๕๕๐(เฉลมิ เทียบกับงานเทศกาลช้างที่ชัยปุระ ประเทศ แปซฟิ กิ หรอื เอเปกทป่ี ระเทศไทยเปน็ เจา้ ภาพ พระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว อินเดีย จากงานวิจัยของการท่องเที่ยวแห่ง เป็นท่ีมาของชื่อ หมู่บา้ นทอผ้าเอเปก ในโอกาสทรงเจรญิ พระชันษา ๘๐ พรรษา) ประเทศไทย (ททท.) เมอ่ื พ.ศ. ๒๕๕๒ พ.ศ. ๒๕๔๘ เปิด พิพิธภัณฑสถาน ประเภทชุมชนดีเด่นทางด้านการท่องเที่ยว พ.ศ. ๒๕๑๕ การทอ่ งเทย่ี วแหง่ ประเทศ แห่งชาตสิ รุ นิ ทร์ เป็นสถานทีเ่ รยี นร้ทู นั สมัย จากการท่องเทีย่ วแหง่ ประเทศไทย (ททท.) ไทย (ททท.) สนับสนุนให้ประเพณีแข่งขัน เรือยาวอำเภอท่าตูมที่มีมาแต่อดีต เป็น งานประจำจังหวัด กลุ่มชาติพันธุ์ พ.ศ. ๒๕๑๗ พธิ ีบวงสรวงตั้งเสาหลกั เมืองสรุ ินทร์ และเชิญประดิษฐานในศาล กลมุ่ ชาตพิ นั ธ์ุ หมายถงึ กลมุ่ คนทม่ี ปี ระวตั ศิ าสตร์ ภาษา วฒั นธรรม ขนบธรรมเนยี มประเพณี พ.ศ. ๒๕๒๔ กรมศิลปากรประกาศ หรือแบบแผนการดำเนนิ ชีวติ รว่ มกัน มีสำนึกในความเปน็ กล่มุ หรือเผ่าพนั ธุเ์ ดยี วกัน แม้ภาษาไม่ ขึ้นทะเบียนโบราณสถานปราสาทศีขรภูมิ อาจบอกความเปน็ ชาตพิ นั ธ์ุในทุกกรณี แตเ่ ป็นส่งิ ทเ่ี ขา้ ถงึ ได้ง่าย และเปน็ ส่วนหนง่ึ ของการศกึ ษา ปราสาทหมื่นชัย ปราสาทบ้านปราสาท และทำความรู้จกั กลุม่ ชาตพิ นั ธุ์ ทำใหเ้ กดิ ความเขา้ ใจและเหน็ คุณคา่ ของผ้อู ยูร่ ่วมแผ่นดิน จากนั้นได้อนุรกั ษ์ บูรณะ บำรุงรักษาอยา่ ง ประเทศไทยมีความซับซ้อนของภาษาและชาติพันธุ์ หลายกลุ่มมีถิ่นฐานนอกประเทศและ ต่อเนอ่ื งจนถึงปจั จบุ นั ได้อพยพเข้ามา บางกลุ่มยังอพยพเข้ามาเรื่อยๆ บางกลุ่มมีประวัติอพยพจากประเทศเพื่อนบ้าน กรมอุทยานแห่งชาติฯ ประกาศตั้ง และบางกลุ่มอยู่มาแต่ด้งั เดมิ วนอทุ ยานป่าสนหนองคู สถาบนั วิจยั ภาษาและวฒั นธรรมเอเชยี มหาวิทยาลยั มหิดล ได้ทำวิจยั สร้างแผนท่ีภาษาของ พ.ศ. ๒๕๒๗ กรมอุทยานแห่งชาติฯ กลมุ่ ชาติพนั ธุต์ ่างๆ ในประเทศไทย สำหรบั ภาคอีสาน พบวา่ มภี าษาพูด ๒๐ ภาษาหลกั ประกาศต้งั วนอทุ ยานพนมสวาย ส่วนจังหวัด สุรินทร์ กลุ่มภาษาของชาติพันธุ์ต่างๆ ประกอบด้วย เขมรถิ่นไทย มีจำนวน ผู้พูดมากทีส่ ดุ ไทยกลาง ไทยโคราช (ไทเบ้งิ ไทยเดงิ้ ) กูย (กวย สว่ ย) และลาวอีสาน นอกจากนี้ พ.ศ. ๒๕๒๘ พธิ บี วงสรวงตง้ั อนสุ าวรยี ์ ยังมีผู้ใชภ้ าษาไทยมาตรฐานและภาษาจีนในเขตตลาดและเขตเมืองดว้ ยเชน่ กัน พระยาสรุ นิ ทรภ์ กั ดศี รณี รงคจ์ างวาง(เชยี งปมุ ) เปน็ ครง้ั แรก หมายเหต ุ ​:​ คำทีป่ รากฏในล้อมกรอบนี้ เปน็ คำเรียก ภาษา ของกลมุ่ ชาตพิ นั ธุ์ อา้ งอิงจาก แผนที่ภาษา พ.ศ. ๒๕๔๑ งานเทศกาลปลาไหล ของกล่มุ ชาตพิ นั ธตุ์ า่ งๆ ในประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๔๗ ของสถาบนั วิจยั ภาษาและวฒั นธรรม ขา้ วใหมห่ อมมะลิ จดั ขน้ึ เปน็ ครง้ั แรกทอ่ี ำเภอ เอเชีย มหาวิทยาลัยมหิดล (เดิมคือสถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเพื่อพัฒนาชนบท มหาวทิ ยาลัยมหดิ ล) อาจสะกดแตกตา่ งจากคำเรยี กช่ือ กล่มุ ชาติพนั ธ์ุ ที่ปรากฏในคำหลกั ชุมพลบุรี  สารบัญ

ศิลปวัฒนธรรม ศิลปกรรม งานศิลปกรรมโบราณที่เป็นมรดกทางวัฒนธรรมซึ่งสร้างชื่อเสียงให้จังหวัดสุรินทร์มากที่สุด ได้แก่ บรรดาปราสาทหินใน สมยั วฒั นธรรมขอม ซึ่งพบอย่มู ากมายหลายสิบแหง่ ในจังหวัด เช่น ปราสาทศีขรภมู ิ (ปราสาทบา้ นระแงง) ปราสาทบา้ นพลวง ปราสาทตาเมือน (ปราสาทบายกรีม) ปราสาทตาเมือนธม และปราสาทตาเมือนโต๊ด แต่ละแห่งแม้จะไม่ยิ่งใหญ่อลังการดัง ปราสาทหนิ พมิ าย จงั หวดั นครราชสมี า หรอื ปราสาทพนมรงุ้ จงั หวดั บรุ รี มั ย์ แตก่ ท็ รงคณุ คา่ ทางประวตั ศิ าสตรแ์ ละทางศลิ ปกรรม ไม่ยงิ่ หย่อนกว่ากัน รูปสลักนางอัปสร ศิวนาฏราช ด้านหน้าของเสากรอบประตูปราสาท เป็นภาพสลักบนทับหลังเหนือกรอบประตูของปราสาท ประธานทั้งสองต้น สลักเป็นรูปนางอัปสร ประธาน พระศิวะสิบกรทรงฟ้อนรำอยู่เหนือหน้ากาล ข้างละหนึ่งนาง นางหนึ่งยืนถือดอกบัว หรือเกียรติมุข และที่ใต้วงโค้งของลายท่อนพวงมาลัย อีกนางหนึ่งยืนถือดอกบัวและมีนกแก้ว สลักเป็นรูปพระคเณศ พระพรหม พระวิษณุ เกาะอยู่ที่ดอกบัวด้วย ลักษณะคล้ายรูป และพระอุมา ภาพศิวนาฏราชบนทับหลัง สลักนางอัปสรที่ปราสาทนครวัดในเขมร (แผ่นหินเหนือกรอบประตู) นี้เป็นหลักฐานสำคัญ ปราสาทบริวาร ที่แสดงว่าเทวสถานแห่งนี้สร้างขึ้นในลัทธิไศวนิกาย ยังเหลือส่วนยอดค่อนข้างสมบูรณ์ คือบูชาพระศิวะเป็นใหญ่ เพราะบูรณะปรับปรุงในสมัยหลัง ทวารบาล อีกด้านหนึ่งของเสากรอบประตูทั้งสองต้น สลักเป็นรูปทวารบาล เทพผู้รักษาประตู และคุ้มครองศาสนสถาน ทำท่ายืนถือกระบอง ปราสาทศีขรภูมิ เป็นตัวอย่างหนึ่งของปราสาทหินในถิ่นอีสานใต้  สารบัญ

ัวฒนธรรม วัฒนธรรมที่โดดเด่นของชาวสรุ ินทร์ คือ วฒั นธรรมของชาวเขมรถิ่นไทย เช่น งานแซนโฎนตา บูชาบรรพบุรุษ เป็นงาน ประจำปที จ่ี ดั ขน้ึ ทกุ วนั แรม ๑ คำ่ ถงึ วนั แรม ๑๕ คำ่ เดอื น ๑๐(ประมาณเดอื นกนั ยายน- ตลุ าคม) เพอ่ื เชญิ ดวงวญิ ญาณบรรพบรุ ษุ ผู้ล่วงลับมารับเครื่องเซ่นสังเวยของลูกหลาน การทอผ้าไหมพื้นเมืองที่เรียกว่า ผ้าเขมร เอกลักษณ์ คือ ผ้าปูม ผ้าโฮล และผ้าอัมปรม ผ้าแต่ละชนิดยังคงอนุรักษ์ลวดลาย และขั้นตอนการทอแบบดั้งเดิม ทอจากไหมเนื้อละเอียด สีสันกลมกลืน ลวดลายงดงาม ฝีมือประณีต การทำเครื่องเงิน หรือ ประเกือม เป็นลูกประคำเงินนำมาร้อยเป็นสร้อยคอ กำไล ต่างห ู กระดุม เข็มกลัด ฯลฯ ลักษณะเด่นคือความละเอียดประณีต และทำด้วยมือทุกขั้นตอน การละเล่นเรือมอันเร หรือรำสาก ลักษณะคล้ายการละเล่นลาวกระทบไม้ นิยมเล่นเพื่อความบันเทิงตามงานต่างๆ และดนตรีพื้นเมือง ที่เรียกว่า กันตรึม เป็น เพลงพืน้ บา้ นรอ้ งโตต้ อบกนั ด้วยภาษาเขมรถน่ิ ไทย ลักษณะเดยี วกบั เพลงฉอ่ ยหรอื ลำตัด ใชก้ ลองกนั ตรึมเปน็ เคร่ืองดนตรีหลกั เปน็ กลองขนาดเลก็ ตคี ่กู นั ๒ ใบ ใหเ้ สียงทมุ้ - แหลม รว่ มกบั ซอ ฉิ่ง และฉาบ นอกจากนยี้ ังมวี ฒั นธรรมของชาวกยู (กวย ส่วย) ซ่ึงมีวิถีชวี ิตที่ผูกพันกบั ชา้ ง อันเป็นทม่ี าของพิธกี รรม และงานประเพณี ประจำปหี ลายงานของจงั หวดั สรุ นิ ทร์ เชน่ พธิ เี ซน่ ศาลปะกำชา้ ง งานแสดงชา้ งและงานกาชาดจงั หวดั สรุ นิ ทร์ งานประเพณบี วชนาคชา้ ง งานพิธีแต่งงานบนหลังช้าง (ซัตเต) และงานวันผู้สูงอายุและสงกรานต์ช้าง ฯลฯ สามารถเยี่ยมชมวิถีชีวิตของคนกับช้างได้ที่ หม่บู า้ นชา้ งบา้ นตากลาง ซึ่งเป็นหมู่บา้ นท่มี ีจำนวนชา้ งเลยี้ งมากทีส่ ดุ ในโลก  สารบัญ

ปราสาทศีขรภูมิ (ปราสาทบ้านระแงง) สารบัญ

สารบัญ

คูเมืองสุรินทร์ คเู มอื งสุรินทร์มี ๒ ชนั้ คอื คเู มอื งชัน้ ใน ศตวรรษท่ี ๑๕- ๑๘ มแี นวคนั ดนิ ขนาบดว้ ย คเู มอื งโบราณ ในสมัยโบราณ เมืองต่างๆ มักสร้าง และคเู มืองช้นั นอก อยทู่ ี่อำเภอเมอื งสุรินทร์ คูน้ำผังรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า ล้อมรอบคูเมือง คูน้ำคันดินล้อมรอบเพื่อประโยชน์หลายด้าน คือ ใช้กำหนดขอบเขตเมือง ป้องกันข้าศึก จังหวัดสุรินทร์ สันนิษฐานว่าขุดขึ้นในสมัย ชั้นใน เรยี กว่า คเู มืองชน้ั นอก แสดงถึงการ ศตั รู ปอ้ งกนั สตั วร์ า้ ย และใชเ้ ปน็ แหลง่ กกั เกบ็ น้ำสำหรับอุปโภคบริโภค โดยแผนผังคูน้ำ วฒั นธรรมทวารวดี กรมศลิ ปากรขน้ึ ทะเบยี น เป็นแหลง่ ทต่ี งั้ ชมุ ชนท่ีต่อเนื่องยาวนาน คันดินของเมืองในสมัยวัฒนธรรมทวารวดี ส่วนใหญม่ รี ูปร่างไม่แนน่ อน ตา่ งจากเมอื งใน เป็นโบราณสถานของชาติ เมื่อวันที่ ๑๙ คูเมืองชั้นใน เดิมปรากฏให้เห็นตลอด สมัยวัฒนธรรมขอม ที่มีแผนผังรูปสี่เหลี่ยม จัตุรัสหรอื ส่ีเหลย่ี มผนื ผ้า ซึง่ เป็นระเบียบกวา่ กันยายน พ.ศ. ๒๕๒๑ ประกาศกำหนด แนวโดยรอบเขตเทศบาล ตอ่ มามกี ารทลาย พน้ื ทโ่ี บราณสถาน ๑๑ บรเิ วณ รวม ๔๑๐ ไร่ คนั ดินถมคนู ้ำเพ่ือสร้างถนน อาคารพาณิชย ์ ๓ งาน ๖๕ ตารางวา ตลาด และสถานทร่ี าชการหลายแหง่ ปจั จบุ นั เขตเทศบาลเมืองสุรินทร์ ตั้งอยู่บน เหลอื ให้เหน็ เพยี ง ๓ จดุ คอื บรเิ วณสี่แยก พื้นที่ที่เคยเป็นเมืองโบราณทับซ้อนกัน ๒ ต้นโพธิ์ หน้าวัดพรหมสุรินทร์ และบริเวณ สมัย สมัยแรกเป็นเมืองในวัฒนธรรม หนา้ วัดจุมพลสทุ ธาวาส ทวารวดี อายปุ ระมาณพทุ ธศตวรรษที่ ๑๒ - คเู มอื งชน้ั นอก มสี ภาพเชน่ เดยี วกบั ชน้ั ๑๖ ปรากฏแนวคนั ดนิ ขนานกบั คนู ำ้ ดา้ นนอก ใน คือส่วนใหญ่ถูกรื้อถมแปลงสภาพพื้นที่ ตลอดแนว มีแผนผังรูปวงรีไม่สม่ำเสมอ เกือบหมด เหลือให้เห็นเพียงบริเวณหลัก เรยี กวา่ คเู มอื งชน้ั ใน และสมยั ท่ี ๒ เปน็ เมอื ง กิโลเมตรท่ี ๒ ถนนสายสรุ ินทร์ - บุรรี ัมย์ ในสมัยวัฒนธรรมขอม อายปุ ระมาณพทุ ธ- และบริเวณด้านหน้าโรงพยาบาลรวมแพทย์ ค 12 สารบัญ

งานแซนโฎนตา บูชาบรรพบุรุษ โฎนตามาเยยี่ มบ้าน โกนจาบโฎนตามาสง่ เสยี ง ความเชื่อของท้องถิ่นมีว่า ในรอบปีหนึ่ง เทวดาหรอื พญายมจะปลอ่ ยวญิ ญาณบรรพบรุ ษุ มาเยี่ยมลูกหลานและรับส่วนบุญที่ลูกหลาน อทุ ิศให้ ส่วน โกนจาบโฎนตา เป็นนกคล้ายนก กระจาบ มักปรากฏจำนวนมากในช่วงแซน โฎนตา พากันส่งเสียงร้องเป็นสัญลักษณ์ว่า เทศกาลไหว้บรรพบุรษุ มาถึงแลว้ กันเตรือม ขนมเอกลกั ษณ์งานแซนโฎนตา ในชว่ งแซนโฎนตา ขนมทจ่ี ะไดพ้ บเหน็ เสมอ คือกันเตรือม เป็นขนมแป้งทอดทรงกลมมีรู ตรงกลาง เด็กๆ ปัจจุบันบางครั้งจึงเรียก โดนัทเขมร อาจพบได้ในตลาดสดเทศบาล เมืองสุรนิ ทร์ งานแซนโฎนตา บชู าบรรพบรุ ษุ เปน็ งาน ๑ คำ่ เดอื น ๑๐ ถงึ วนั แรม ๑๕ คำ่ เดอื น ๑๐ กรวยดอกไม้ ใสพ่ านพรอ้ มเงนิ ทองของมคี า่ ซึ่งจังหวัดสุรินทร์ จังหวัดศรีสะเกษ และ เพื่อแสดงความรำลึกถึงพระคุณของบรรพ- เสอ้ื ผา้ หรอื ซน่ิ ใหม่ พรอ้ มแปง้ หอม นำ้ อบ หว ี การทอ่ งเทย่ี วแหง่ ประเทศไทย รว่ มกนั จดั ขน้ึ ใน บรุ ษุ แซนโฎนตามาจากคำวา่ แซน หมายถงึ กระจก สำรบั กับข้าวหลัก เช่น หมู เปด็ ไก ่ วนั แรม ๑๒ ค่ำ เดอื น ๑๐ (ประมาณเดอื น เซน่ ไหว้ โฎนตา หมายถงึ ปยู่ า่ ตายายผลู้ ว่ งลบั กบั ข้าวตา่ งๆ เชน่ ต้ม แกง ปิ้ง ย่าง ขนม กันยายน) ที่บริเวณหน้าศาลากลางจังหวัด เป็นพิธีกรรมเซ่นไหว้ผีบรรพบุรุษทำนอง ข้าวต้ม ข้าวเหนียวนึ่งห่อใบตองหรือทาง สุรินทร์ และอนุสาวรีย์พระยาสุรินทร์ภักด ี เดียวกับประเพณีของชาวไทยในภาคต่างๆ มะพรา้ ว ผลไม้ ไดแ้ ก่ มะพรา้ วและกลว้ ยนำ้ วา้ ศรณี รงคจ์ างวาง อำเภอเมอื งสรุ นิ ทร์ จงั หวดั เช่น ประเพณีวันสารท วันงานบุญข้าวสาก สกุ นำ้ ดม่ื บางบา้ นมเี หลา้ เทยี น จดุ สวา่ งตลอด สรุ นิ ทร์ เพอ่ื ส่งเสริมการท่องเทยี่ วและสรา้ ง บญุ สลากภตั บญุ เดอื น ๑๐ หรอื บญุ ชงิ เปรต ธูป ปกั บนอาหารและในกระถางธูป หลงั พิธ ี ความเขา้ ใจในวฒั นธรรมประเพณที อ้ งถนิ่ เมื่อใกล้ถึงช่วงแซนโฎนตา บรรดาลูก จึงนำของเซ่นไหว้จัดลงตะกร้าตกแต่ง กจิ กรรมในงานแซนโฎนตา บชู าบรรพ- หลานที่จากไปทำงานไกลๆ จะกลับบ้านนำ สวยงามพรอ้ มหมากพลู บหุ ร่ี เรยี กวา่ กระเชอ บุรุษ ประกอบด้วยขบวนแห่กระเชอโฎนตา สง่ิ ของตา่ งๆ มาไหวพ้ อ่ แมป่ ยู่ า่ ตายายพรอ้ ม โฎนตา ไปสวดมนตเ์ ยน็ ทว่ี ดั บางโอกาสอาจม ี คอื อาหารและเครื่องเซ่นไหว้ทีบ่ รรจุในตะกร้า มอบเงนิ ไว้ใชท้ ำบญุ วนั แซนโฎนตา หากไมม่ ี ดนตรบี รรเลงดว้ ย จแปย็ หรอื กระจบั ป่ี และ ตกแตง่ อยา่ งสวยงาม เคลอ่ื นขบวนจากบรเิ วณ ญาตผิ ู้ใหญห่ ลงเหลอื กอ็ าจไปไหวผ้ ทู้ เ่ี คารพ เจรยี ง หรือการขับร้องกลอนสด หนา้ ศาลากลางจงั หวดั ไปยงั อนสุ าวรยี พ์ ระยา หรอื พระภกิ ษทุ ีว่ ัด วนั แรม ๑๕ ค่ำ เดือน ๑๐ ชว่ งใกลร้ ุง่ สุรินทร์ภักดีศรีณรงค์จางวาง (เชียงปุม) วันแรม ๑ คำ่ เดือน ๑๐ - แรม ๑๔ ค่ำ เมื่อภิกษุสงฆ์ลงอุโบสถ ลูกหลานจะแบก ช่วงเย็นมีการแสดงทางวัฒนธรรม ขับร้อง เดือน ๑๐ เป็นช่วงต้นของงานแซนโฎนตา กระเชอโฎนตา เดนิ วนรอบอุโบสถ ๓ รอบ กลอนสด เชน่ เจรียง กันตรึม ฯลฯ ทเ่ี วที ยังอยู่ระหว่างเข้าพรรษา พระภิกษุสามเณร เมอ่ื ไดเ้ วลาจงึ ยนื ลอ้ มวงเทอาหารจากกระเชอ วฒั นธรรมเชยี งปมุ บรเิ วณสำนกั งานองคก์ าร ไม่ออกบิณฑบาต เป็นช่วง กันซง หรือ ให้โฎนตากินเป็นครั้งสุดท้าย จากนั้นถวาย บริหารสว่ นจังหวดั สรุ ินทร์ กนั สงฆ์ หรือ ปรนนบิ ตั ิสงฆ์ ลูกหลานจะนำ ภัตตาหารเช้าแด่ภิกษุสงฆ์ สวดมนต์อุทิศ งานแซนโฎนตา บูชาบรรพบุรุษ ที่ อาหารไปถวายทีว่ ดั ส่วนกุศล แล้วนำอาหารเครื่องเซ่นบางส่วน จงั หวดั สรุ นิ ทรจ์ ดั ขน้ึ มพี น้ื ฐานมาจากประเพณ ี วนั แรม ๑๔ คำ่ เดือน ๑๐ เป็น วนั แซน ไปหวา่ นในไรน่ า หรอื วางขนมขา้ วตม้ ไว้ในเรอื แซนโฎนตาอันเก่าแก่ของชาวเขมรถิ่นไทย โฎนตา หรอื ไงเบญ็ ธม หรอื วนั สารทใหญ่ ชว่ ง ท่ที ำจากกาบกลว้ ยหรือทางมะพรา้ ว ถอื เป็น หรือชาวไทยเชื้อสายเขมรระหว่างวันแรม บา่ ย- เยน็ มพี ธิ เี ซน่ ไหวท้ บ่ี า้ นโดยจดั เตรยี ม สน้ิ สดุ งานแซนโฎนตาในแต่ละปี ง 13 สารบัญ

งานเทศกาลปลาไหล ข้าวใหม่หอมมะลิ งานเทศกาลปลาไหล ขา้ วใหมห่ อมมะลิ จะไม่ค่อยมีกลิ่นคาว ทำให้เป็นที่นิยมของ ข้าวหอมมะลิ จดั ขน้ึ เปน็ ประจำทกุ ปบี รเิ วณทว่ี า่ การอำเภอ ผบู้ รโิ ภค ข้าวหอมมะลิ เป็นข้าวเจ้าพันธุ์พื้นเมือง ชุมพลบุรี ตำบลชมุ พลบุรี อำเภอชมุ พลบรุ ี ขณะเดียวกัน อำเภอชุมพลบุรีเป็น ของไทย มีถิ่นกำเนิดที่อำเภอแปลงยาว ติด จงั หวดั สรุ นิ ทร์ ประมาณกลางเดอื นธนั วาคม ส่วนหนึ่งของ ทุ่งกุลาร้องไห้ ซึ่งเป็นแหล่ง อำเภอพนัสนิคม จังหวัดชลบุรี ต่อมาได้ม ี เพื่อประชาสัมพันธ์ทรัพยากรสำคัญของ ปลูกข้าวหอมมะลิ ที่ใหญ่และมีคุณภาพด ี ผนู้ ำไปปลกู ทอ่ี ำเภอบางคลา้ จงั หวดั ฉะเชงิ เทรา อำเภอ คือปลาไหลและข้าวหอมมะลิ ทสี่ ุดแหง่ หนึง่ ในเมอื งไทย ลักษณะเด่นของ จากนนั้ เมอ่ื พ.ศ. ๒๔๙๓ - ๒๔๙๔ ไดม้ กี าร ให้เป็นที่รู้จักของนักท่องเที่ยว จัดขึ้นครั้ง ข้าวหอมมะลิจากอำเภอชุมพลบุรี รวมทั้ง รวบรวมพันธุ์ข้าวทั่วประเทศเพื่อคัดพันธุ์ให้ แรก เมอ่ื พ.ศ. ๒๕๔๑ ชว่ งทจ่ี ดั งานเปน็ ชว่ ง อำเภออื่นๆ ในจังหวัดสุรินทร์ คือเป็นข้าว บรสิ ทุ ธแ์ิ ละหาสายพนั ธท์ุ ใ่ี หผ้ ลผลติ คณุ ภาพสงู หลังฤดูเก็บเกี่ยวข้าว และปลาไหลตาม เกษตรอนิ ทรยี ์ปลอดสารพิษ เมลด็ ยาว ขาว หลงั จากกระบวนการคดั และเปรยี บเทยี บ ธรรมชาตติ วั โต เรยี กวา่ ชว่ งขา้ วใหมป่ ลามนั ใส เมอ่ื หงุ สกุ จะนมุ่ รสชาตดิ ี และมกี ลน่ิ หอม พนั ธ์ุ เมอื่ พ.ศ. ๒๕๐๒ ได้พบวา่ ขา้ ว พนั ธุข์ าว พื้นที่อำเภอชุมพลบุรีเป็นที่ราบลุ่ม เหมอื นใบเตย ดอกมะลิ ๑๐๕ หรือ ขา้ วหอมมะลิ จากแถว มลี ำน้ำสำคัญ ๒ สายไหลผา่ น คือ ลำนำ้ มูน ในงานประกอบด้วยกิจกรรมที่น่าสนใจ หรือรวงที่ ๑๐๕ ของรวงข้าวที่นำมาทดสอบ และลำพลบั พลา อดุ มดว้ ยปลาตามธรรมชาติ เชน่ การประกวดขา้ วหอมมะลิ การแขง่ ขนั มีลักษณะพิเศษคือเมล็ดข้าวเรียวสวย ไม่หัก นานาชนิด โดยเฉพาะ ปลาไหล แต่ละป ี ตำข้าว การแขง่ ขนั หงุ ขา้ วแบบโบราณ การ งา่ ย เมอ่ื หงุ จะมีกลิ่นหอม เมลด็ ออ่ นนมุ่ และ ชาวบ้านจับปลาไหลมาบริโภคและจำหน่าย แขง่ ขนั จบั ปลาไหล การประกวดสำรบั อาหาร พบว่าพื้นที่ที่ปลูกได้ดีเป็นพิเศษคือภาคอีสาน น้ำหนักรวมกันไม่น้อยกว่า ๕ ตัน ในช่วง รสเด็ดจากปลาไหล การประกวดผ้าไหม โดยเฉพาะจังหวัดสุรินทร์ตอนบนในที่ราบลุ่ม หลงั ฤดเู กบ็ เกย่ี ว ประมาณเดอื นพฤศจกิ ายน- การแขง่ ขนั เรอื พายไมเ่ กนิ ๘ ฝพี าย นทิ รรศ- ริมลำนำ้ มูน ธันวาคม เป็นเวลาที่ปลาไหลในลำน้ำม ี การของดเี มืองปลาไหล การจำหนา่ ยสินคา้ การหุงข้าวแบบโบราณหรือ หุงแบบ จำนวนมากที่สุด ตัวโตที่สุด ลำตัวถึงโคน และผลิตภัณฑ์พื้นเมือง รวมทั้งมหรสพ เช็ดน้ำ หรือรินน้ำข้าวออกเมื่อเดือดจะได้ หางกลมอวบ เมื่อนำมาประกอบอาหาร ต่างๆ ทุกปีมีผู้สนใจเข้าชมงานจำนวนมาก นำ้ ขา้ ว ซง่ึ มปี ระโยชนส์ งู ตอ่ สขุ ภาพ และชว่ ยให้ ขา้ วหอมมะลมิ กี ล่ินหอม รสหวานอ่อนๆ ตาม ธรรมชาติ และนมุ่ นวลโอชะยง่ิ กวา่ หงุ ดว้ ยหมอ้ หงุ ขา้ วไฟฟา้ ข้าวหอมมะลิ หรือ ข้าวจัสมิน เป็นที่ ตอ้ งการของตลาดทง้ั ในและตา่ งประเทศ และมี หลายประเทศพัฒนาพันธุ์ข้าวที่คล้ายคลึงกัน เชน่ ข้าวบาสมาติ ของปากสี ถาน ขา้ วจัสมาติ ของอเมริกาที่พัฒนาจากข้าวจัสมินและข้าว บาสมาติ ข้าวเนียงมะลิ (นางมะลิ ผกามะลิ) ของกัมพูชา พ.ศ.๒๕๔๔ คณะรฐั มนตรมี มี ตใิ หจ้ งั หวดั สุรินทร์ เป็นพื้นที่นำร่องในการปลูกข้าวหอม มะลอิ ินทรยี ์ คือ ไมใ่ ชป้ ุ๋ยเคมแี ละยาฆา่ แมลง เพอ่ื รกั ษาสภาพแวดลอ้ ม และเพอ่ื ความปลอด ภัยของผู้บริโภค ผลปรากฏว่าช่วยลดต้นทุน การผลิตให้เกษตรกร ได้ข้าวที่มีคุณภาพด ี และระบบนิเวศดีขึ้น ต่อมาจึงมีการขยายผล ไปยงั จงั หวัดอ่ืนๆ ง 14 สารบัญ

งานประเพณีขึ้นเขาสวาย สงกรานต์) จัดขึ้นครั้งแรกเมอื่ พ.ศ. ๒๔๗๑ ซง่ึ เปน็ ปที ช่ี าวสรุ นิ ทรร์ ว่ มกนั สรา้ งพระพทุ ธ- บาทจำลอง ประดิษฐานไวบ้ นเขาสวาย และ จดั ตอ่ เนอ่ื งเป็นประจำทุกปีมาจนถึงปัจจบุ นั เขาสวาย หรอื พนมสวายเปน็ ภเู ขาเตย้ี ๆ นอกจากพระพุทธบาทจำลองแล้ว ยังมี ปูชนยี วตั ถุสถานอ่นื ๆ ไดแ้ ก่ อนสุ รณ์สถาน พระราชวุฒาจารย์ (ดูลย์ อตุโล) และพระ พุทธสุรินทรมงคล (ปางประทานพร) ชาว สุรินทรถ์ ือเป็นประเพณีท่ตี ้องเลงิ พนม หรือ ขึ้นเขาไปสักการะสิ่งศักดิ์สิทธิ์เหล่านี้อย่าง นอ้ ยปลี ะครง้ั เพอ่ื ความเปน็ สริ มิ งคลแกช่ วี ติ พระพุทธสุรินทรมงคล งานประเพณีขึ้นเขาสวายมีกิจกรรม อื่นๆ ที่น่าสนใจ เช่น การทำบุญตักบาตร งานประเพณีขึ้นเขาสวาย เป็นงานบุญ พนมสวาย ตำบลตาบัว อำเภอเมืองสรุ ินทร์ กอ่ เจดยี ท์ ราย ฟงั เทศน ์ การแสดงดนตรแี ละ สักการะสิ่งศักดิ์สิทธิ์คู่บ้านคู่เมืองของชาว จังหวัดสุรินทร์ ในวันขึ้น ๑ ค่ำ เดือน ๕ การละเลน่ พ้ืนเมือง ฯลฯ สรุ นิ ทร์ จดั ขน้ึ บรเิ วณเขาสวาย ในวนอทุ ยาน (ประมาณต้นเดือนเมษายน ก่อนเทศกาล ดูที่ วนอุทยานพนมสวาย งานประเพณีแข่งเรือยาวชิงถ้วยพระราชทานฯ อำเภอท่าตูม จังหวัดสุรินทร์ งานประเพณีแข่งเรือยาวชิงถ้วยพระ เดิมจัดกันเองในหมู่ชาวบ้าน ต่อมา พ.ศ. ราชทานฯ อำเภอท่าตูมจังหวัดสุรินทร ์ ๒๕๑๕ ภาครัฐได้เข้ามาส่งเสริมให้เป็น เป็นงานประจำปีที่จัดขึ้นประมาณกลาง ประเพณีประจำจงั หวัด เดือนตุลาคม ณ ลำน้ำมูน บริเวณสวน ในงานมีการแข่งขันเรือยาวชิงถ้วยพระ เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระ ราชทานของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว บรมราชินีนาถ อำเภอท่าตูม จดั โดยจังหวดั สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ สุรินทร์และการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย และสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยาม (ททท.) เพื่ออนุรักษ์ประเพณีท้องถิ่นและ บรมราชกมุ ารี แบง่ เปน็ ประเภทเรอื ยาวใหญ่ ส่งเสริมการท่องเที่ยว ๕๐ ฝีพาย เรือยาวกลาง ๔๐ ฝีพาย เรือ อำเภอท่าตูม การแข่งขันเรือยาวเป็นประเพณีสำคัญ ยาวเล็ก ๓๐ ฝีพาย เรือเล็ก ๗ ฝีพาย อำเภอท่าตูมมีคำขวัญว่า ถิ่นช้างใหญ่ อย่างหนึ่งของชาวอีสานใต้ในทุกจังหวัด และเรือไฟเบอร์ ๕ ฝีพาย นอกจากนี้ยังมี ผา้ ไหมเนอ้ื ดี ประเพณเี รอื ยาว ขา้ วหลามขน้ึ ชอ่ื ที่ลำน้ำมูนไหลผ่าน จัดขึ้นเพื่อสักการะ การประกวดกองเชียร์การจำลองกระบวน เลอ่ื งลือทุ่งกลุ า งามตาแมน่ ำ้ มูน การแข่งขนั เจ้าพ่อลำน้ำมูน เป็นการขอบคุณที่บันดาล พยุหยาตราทางชลมารค ประกอบขบวนเรอื เรอื ยาว จดั แขง่ ขนั สนามแรกทล่ี ำนำ้ มนู บรเิ วณ น้ำและความอุดมสมบูรณ์ให้ และถือเป็น เชิญถ้วยพระราชทาน การแสดงแสง - เสยี ง บ้านม่วงมูล อำเภอท่าตูม จังหวัดสุรินทร์ งานรื่นเริงหลังฤดูเก็บเกี่ยว ในส่วนของ และการแสดงมหรสพต่างๆ ทกุ ปี มีเรือจาก สนามที่สองแข่งขันชิงถ้วยพระราชทานฯ ใน จังหวัดสุรินทร์ จัดขึ้นบริเวณอำเภอท่าตูม ท่ัวประเทศเข้าร่วมชิงชัยหลายสิบลำ ลำนำ้ มนู ที่ตำบลท่าตมู อำเภอทา่ ตมู จงั หวัด สรุ นิ ทร์ ในลำน้ำมนู เช่นกัน ง 15 สารบัญ

ง 16 สารบัญ

งานประเพณีบวชนาคช้าง งานประเพณีบวชนาคช้าง พัฒนาจาก งานวันแรกมีพิธีสู่ขวัญนาค วันต่อมา นำอย่างครึกคร้ืน แห่ไปสักการะศาลเจ้าพ่อ ประเพณขี อง ชาวกยู (กวย สว่ ย) จดั ขน้ึ ในชว่ ง นาคจะขึ้นนั่งหลังช้างคนละเชือก บางปี วงั ทะลุ สง่ิ ศกั ดส์ิ ทิ ธ์ิประจำหมู่บา้ น กอ่ นจะ วันขึน้ ๑๓ - ๑๕ ค่ำ เดอื น ๖ ของทกุ ปี มีช้างเข้าร่วมขบวนมากกว่า ๕๐ เชือก แห่ข้ามลำน้ำมูนวนกลับไปเข้าพิธีอุปสมบท (ประมาณกลางเดือนพฤษภาคม) ที่วัดแจ้ง ต่างตกแต่งเขียนสีตามลำตัวและใบหน้า ภายในอโุ บสถวดั แจ้งสว่าง สว่าง บ้านตากลาง ตำบลกระโพ อำเภอ ส่วนนาคจะสวมชฎา มีฝ้ายเหน็บหู สวม ดูที่ งานแสดงช้างและงานกาชาดจังหวัดสุรินทร์ / หมู่บ้านช้างบ้านตากลาง / อนุสาวรีย์ ท่าตูม ซึ่งเป็นหมู่บ้านเลี้ยงช้างของชาวกูย เคร่ืองประดับ สรอ้ ย แหวน กำไล และพนั พระยาสุรินทร์ภักดีศรีณรงค์จางวาง (เชียงปุม) ที่ใหญ่และมีชื่อเสียงที่สุดในจังหวัดสุรินทร ์ ร่างกายด้วยผ้าสีฉูดฉาด มีขบวนกลองยาว เอกลักษณ์ของงานคือขบวนแห่นาคบน งานบวชนาคช้างของชาวกยู บ้านตากลาง หลงั ชา้ งทค่ี รึกครน้ื ตระการตา เครอ่ื งแตง่ กายนาค ในพธิ บี วชนาคชา้ ง ทกุ อยา่ งลว้ นมที ม่ี าแฝงดว้ ย ชาวกยู เปน็ กลมุ่ ชนพ้ืนเมอื งในจังหวัด ปริศนาธรรมท่ลี กึ ซึง้ การสวมชฎา ส่อื ว่า นาคคอื ผ้สู งู ศักดก์ิ ำลังเขา้ สู่ สุรินทร์และในเขตอีสานใต้ มีวิถีชีวิตผูกพัน รม่ กาสาวพสั ตร์ ฝา้ ยทเ่ี หนบ็ หู เตอื นสตวิ า่ อยา่ หเู บา เชอ่ื สง่ิ ใดงา่ ยๆ โดย กับช้างมาตั้งแต่บรรพบุรุษ พิธีอุปสมบท ไม่ไตร่ตรอง เครื่องประดับต่างๆ มีน้ำหนักมาก เปรียบเสมือนภาระ ของชายชาวกูยมีลักษณะเหมือนกันกับ ทางโลก ทรพั ยส์ มบตั นิ อกกาย เมอ่ื เขา้ พธิ อี ปุ สมบทกต็ อ้ งละทง้ิ ทง้ั หมด ชาวพทุ ธทว่ั ไป แตเ่ น่ืองจากเปน็ คนเลย้ี งชา้ ง และผ้าหลากสี เตือนใหน้ าคตระหนักวา่ อย่าหลงไปกบั สง่ิ ยั่วยวน จึงแห่นาคบนหลังช้างไปสักการะสิ่งศักดิ์ วงั ทะลุ เปน็ ชื่อของวงั น้ำบรเิ วณที่ ลำนำ้ ชี ไหลมาลง ลำนำ้ มูน อยใู่ นเขตบา้ นตากลาง ริมฝ่งั สิทธิ์ก่อนเข้าอุปสมบท และมักเป็นการ มีศาลเจ้าพ่อวังทะลุ และมีเกาะกลางลำน้ำเรียกว่า ดอนบวช สมัยโบราณวัดแจ้งสว่างยังไม่ม ี อุปสมบทหมู่ ชายหนุ่มในหมู่บ้านที่มีอายุ อุโบสถ ชาวกูยบ้านตากลางจะแห่นาคช้างมาประกอบพิธีอุปสมบท ณ ดอนบวช โดยใช้บริเวณ ถงึ เกณฑจ์ ะบวชพร้อมกนั ดังกล่าวเป็น อุทกสีมา (ใช้น้ำเป็นตัวกำหนดเขตสีมา) ต่อมาแม้จะสร้างอุโบสถที่วัดแจ้งสว่างแล้ว แต่ชาวบ้านก็ยังคงรักษาประเพณีดั้งเดิม คือการแห่นาคมาสักการะเจ้าพ่อและแห่ข้ามวังทะลุมายัง ดอนบวช กอ่ นจะแหก่ ลับไปทว่ี ัด ง 17 สารบัญ

งานประเพณีสงกรานต์เทศบาลเมืองสุรินทร์ งานประเพณีสงกรานต์เทศบาลเมือง งานประเพณีสงกรานต์เทศบาลเมือง สรุ นิ ทร์ จดั ขน้ึ ในวนั ท่ี ๑๓ เมษายนของทกุ ปี สรุ นิ ทร์ อยใู่ นความรบั ผดิ ชอบของสำนกั งาน บริเวณสนามหน้าเทศบาลเมืองสุรินทร์และ เทศบาลเมืองสุรินทร์ ส่วนงานวันผู้สูงอายุ เวทไี ผทสราญ จงั หวดั สรุ นิ ทร์ กจิ กรรมไดแ้ ก ่ และสงกรานต์ช้าง จดั ข้นึ ระหว่าง ๑๔ - ๑๖ การทำบญุ ตกั บาตร บวงสรวงศาลหลกั เมอื ง เมษายนของทกุ ปี ทศ่ี นู ยค์ ชศกึ ษา หมบู่ า้ นชา้ ง รดนำ้ ผสู้ งู อายุ ประกวดนางสงกรานต์ ประกวด บา้ นตากลาง อำเภอท่าตูม จังหวดั สุรนิ ทร์ ดนตรพี น้ื บา้ น การละเลน่ กีฬาพ้ืนบ้าน และ ดูที่ งานสงกรานต์ช้าง / วนอุทยานพนมสวาย / วัดบูรพาราม การเล่นน้ำสงกรานต์ งานพิธีแต่งงานบนหลังช้าง (ซัตเต) งานพิธีแต่งงานบนหลังช้าง (ซัตเต) จัดขึ้นเป็นประจำทุกวันที่ ๑๔ กุมภาพันธ์ หรือวันวาเลนไทน์ (Valentine Day) เพื่อ ส่งเสริมการท่องเที่ยว ณ ศูนย์คชศึกษา หมบู่ า้ นชา้ งบา้ นตากลาง ตำบลกระโพ อำเภอ ท่าตูม จังหวัดสุรินทร์ ซึ่งเป็นหมู่บ้านของ ชาวกูย (กวย ส่วย) ที่นิยมเลี้ยงช้างกันมา ตง้ั แตบ่ รรพบรุ ษุ ซตั เต เปน็ ภาษากยู แปลวา่ อยรู่ ะหวา่ งทางขน้ึ เขาในวนอทุ ยานพนมสวาย แต่งงาน แล้วเดินทางกลับมาร่วมขบวนแห่ขันหมาก ในวันดังกล่าว คู่บ่าวสาวที่เข้าร่วมพิธี จดทะเบียนสมรสบนหลังช้าง และร่วมงาน จะไปกราบไหว้สิ่งศักดิ์สิทธิ์ประจำจังหวัด เล้ยี งฉลองทีศ่ ูนยค์ ชศกึ ษา สุรินทร์ คือ อนุสาวรีย์พระยาสุรินทร์ภักดี ดูที่ งานประเพณีบวชนาคช้าง / งานวันผู้สูงอายุและสงกรานต์ช้าง / ศรณี รงคจ์ างวาง(เชยี งปมุ ) ผสู้ รา้ งเมอื งสรุ นิ ทร ์ วนอทุ ยานพนมสวาย / หมูบ่ า้ นชา้ งบา้ นตากลาง / และพระพุทธสุรินทรมงคล จากนั้นจึงร่วม อนุสาวรีย์พระยาสุรินทร์ภักดีศรีณรงค์จางวาง เคาะระฆงั ๑,๐๘๐ ใบ จาก ๑,๐๘๐วดั ทร่ี วม (เชียงปุม) ง 18 สารบัญ

ง 19 สารบัญ

งานวันผู้สูงอายุและสงกรานต์ช้าง งานวันผู้สูงอายุและสงกรานต์ช้าง เป็นงานประจำปีที่จัดขึ้นโดยจังหวัดสุรินทร์ ง และองค์การบริหารส่วนตำบลกระโพ เพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวในช่วงเทศกาล 20 สงกรานตร์ ะหว่างวันท่ี ๑๓ - ๑๕ เมษายน ที่ศูนย์คชศึกษาบ้านตากลาง ตำบลกระโพ สารบัญ อำเภอทา่ ตมู จงั หวดั สรุ นิ ทร์ ในหมบู่ า้ นเลย้ี ง ช้างของชาวกูย (กวย ส่วย) ที่มีชื่อเสียง จัดขึน้ เปน็ คร้งั แรกเมื่อ พ.ศ. ๒๕๔๙ ภายในงานมีกิจกรรม เช่น การสรงนำ้ พระพุทธรูป พระภิกษุสงฆ์ และรดน้ำ ขอพรผู้อาวุโสภายในชุมชน การแสดง ความสามารถของช้าง เล่นน้ำสงกรานต์ รว่ มกับชา้ ง และการก่อเจดีย์ทราย ฯลฯ ดูที่ หมู่บ้านช้างบ้านตากลาง ศนู ยค์ ชศึกษา ศูนย์คชศกึ ษา อย่ทู ่บี า้ นตากลาง ตำบล กระโพ อำเภอทา่ ตมู จงั หวดั สรุ นิ ทร์ เกดิ ขน้ึ เมอ่ื พ.ศ. ๒๕๔๙ เมอ่ื องคก์ ารบรหิ ารสว่ นจงั หวดั สรุ นิ ทร์ไดร้ เิ รม่ิ โครงการ นำชา้ งคนื ถน่ิ พฒั นา สุรินทร์บ้านเกิด เพื่อโน้มน้าวให้คนเลี้ยงช้าง ที่ออกเร่ร่อนนอกพื้นที่จังหวัดสุรินทร์กลับ คืนถิ่น มีการพัฒนาหมู่บ้านช้างขนาดใหญ่ ตั้งศาลปะกำ (ศาลเก็บเชือกคล้องช้างซึ่งถือ เป็นของศักดิ์สิทธิ์) จัด พิพิธภัณฑ์คชศึกษา แสดงเรอ่ื งราวเกีย่ วกบั ช้าง เชน่ ลักษณะชา้ ง สำคญั (คชลกั ษณ)์ การคลอ้ งชา้ งและเครอ่ื งมอื คลอ้ งชา้ ง พธิ กี รรมทเ่ี กย่ี วกบั ชา้ ง โครงกระดกู และวิวัฒนาการของช้าง โรค อาหาร และ สมุนไพรสำหรับช้าง รวมถึงความรู้เกี่ยวกับ ชาวกยู (กวย สว่ ย) กลมุ่ ชาตพิ นั ธุ์ในจงั หวดั สุรินทร์ผู้มีความสามารถสูงยิ่งในการคล้อง ฝึก และเล้ียงชา้ ง

งานสืบสานตำนานพันปี ปราสาทศีขรภูมิ งานสบื สานตำนานพนั ปี ปราสาทศขี รภมู ิ เพื่อประชาสัมพันธ์สถานที่ท่องเที่ยวที่มี วถิ ีชวี ติ แบบดัง้ เดิม การจำหนา่ ยของท่รี ะลกึ จัดขึ้นที่ปราสาทศีขรภูมิ (ปราสาทบ้าน ชื่อเสียงที่สุดของอำเภอ คือปราสาท และที่สำคัญคือการแสดงแสง - เสียงที่ ระแงง) บ้านปราสาท ตำบลระแงง อำเภอ ศขี รภมู ิ ซ่ึงเปน็ ปราสาทขอมอายุเกอื บพันป ี ยง่ิ ใหญต่ ระการตา ศขี รภมู ิ จงั หวดั สรุ นิ ทร์ ประมาณปลายเดอื น มีทับหลัง (แผ่นหินเหนือกรอบประตู) ดูที่ งานแสดงช้างและงานกาชาดจังหวัดสุรินทร์ / พฤศจิกายนของทุกปี ช่วงเดียวกับงาน ที่สมบูรณ์งดงาม ภายในงานมีขบวนแห่ ปราสาทศีขรภูมิ (ปราสาทบ้านระแงง) แสดงช้างและงานกาชาดจังหวัดสุรินทร ์ ทางวฒั นธรรมการแสดงพน้ื บา้ น การจำลอง ง 21 สารบัญ

งานแสดงช้างและงานกาชาดจังหวัดสุรินทร์ งานแสดงช้างและงานกาชาดจังหวัด WorldRecords) บนั ทกึ ไวว้ า่ เปน็ งานทม่ี ชี า้ ง สรุ นิ ทรเ์ ขา้ มาเปน็ สว่ นหนง่ึ ของงานแสดงชา้ ง สุรินทร์ จัดขึ้นทุกปีในช่วงปลายเดือน มาชมุ นมุ รวมกนั มากทสี่ ดุ ในโลก ภายในงานมีกิจกรรมที่น่าสนใจ เช่น พฤศจิกายน ณ บริเวณวงเวียนอนุสาวรีย์ จังหวัดสุรินทร์ มีชาวกูย (กวย ส่วย) บริเวณวงเวียนอนุสาวรีย์กลางเมืองสุรินทร์ ถนนภักดีชุมพล ตำบลในเมือง อำเภอ อาศยั อยเู่ ปน็ จำนวนมาก โดยเฉพาะทอ่ี ำเภอ มีพิธีเปิดงาน พิธีเซ่นศาลปะกำช้าง ขบวน เมืองสุรินทร์ จังหวัดสุรินทร์ และบริเวณ ทา่ ตมู เมอ่ื พ.ศ. ๒๕๐๓ นายวนิ ยั สวุ รรณกาศ แห่ช้าง การจดั ประกวดโต๊ะอาหารช้าง การ สนามกีฬาประจำจังหวัดสุรินทร์ (สนาม นายอำเภอท่าตูมได้ริเริ่มให้มีการจัดงาน เลี้ยงอาหารช้าง การแสดงทางวัฒนธรรม ศรีณรงค์) อำเภอเมืองสุรินทร์ จังหวัด แสดงชา้ งขน้ึ เปน็ งานประจำปี ณ บรเิ วณทว่ี า่ ของกลุ่มชาติพันธุ์ต่างๆ ในจังหวัดสุรินทร์ สุรินทร์ เป็นงานประจำปีที่ยิ่งใหญ่และ การอำเภอ เพื่อประชาสัมพันธ์วัฒนธรรม เช่น เขมรถิ่นไทย ไทยโคราช ลาวอีสาน มีชื่อเสียงที่สุดของสุรินทร์ ในงานมีการ ระหว่างคนกับช้างของชาวกูยให้เป็นที่รู้จัก และการประกวดนางงาม บริเวณสนามกีฬา เล้ยี งอาหารชา้ ง การแสดงเก่ียวกับช้าง การ ในวงกวา้ ง ตอ่ มา พ.ศ. ๒๕๐๕ การทอ่ งเทย่ี ว ประจำจังหวัด เป็นสถานที่จัดงานกาชาด ประกวดนางงาม การแสดงทางวัฒนธรรม แห่งประเทศไทย (ททท.) เข้ามาสนับสนุน เหลา่ กาชาดจงั หวดั สรุ นิ ทร์ หนว่ ยงานราชการ ของกลมุ่ ชาตพิ นั ธต์ุ า่ งๆ และการออกรา้ นของ ใหเ้ ปน็ งานประจำปรี ะดบั ชาติ และยา้ ยมาจดั และบรษิ ทั หา้ งรา้ นตา่ งๆ จะมาออกรา้ นแสดง เหล่ากาชาดจังหวัดสุรินทร์ หนังสือบันทึก ที่สนามกีฬาประจำจังหวัดสุรินทร์จนถึง ผลงาน มีการแสดงช้าง เช่น สาธิตการ ง สถิติโลกกินเนสส์ (Guinness Book of ปัจจุบัน ภายหลังผนวกงานกาชาดจังหวัด คล้องช้างป่า สาธิตช้างช่วยงาน จำลอง 22 สารบัญ

เหตุการณ์ยุทธหัตถี การแข่งขันชักเย่อ พิธีเซ่นศาลปะกำชา้ ง ระหว่างช้างกับคน ช้างวาดรูปและปฏิบัติ ปะกำ เป็นภาษากยู (กวย ส่วย) แปลว่า บ่วงบาศ ทำจากหนงั ควายตากแหง้ ฟ่นั เป็นเชอื ก ตามคำสั่ง ฯลฯ ทุกปีจะมีช้างเข้าร่วมแสดง ใช้คล้องช้าง ในหมู่บ้านชาวกูยจะมี ศาลปะกำ เป็นสิ่งศักดิ์สิทธิ์ประจำชุมชน ใช้เก็บเชือกปะกำ หลายร้อยเชือก มีนักท่องเที่ยวทั้งชาวไทย อนั เปน็ ท่สี ถิตของดวงวิญญาณบรรพบุรษุ และต่างประเทศหลั่งไหลเข้ามาชมงาน ในอดีต ก่อนที่ชาวกูยจะออกไปคล้องช้างป่า หรือ โพนช้าง จะต้องมีการเซ่นปะกำช้าง จำนวนมาก เพื่อเรียกขวัญกำลังใจ ผู้อาวุโสของหมู่บ้าน หรือ หมอช้าง จะเป็นผู้นำประกอบพิธีเซ่นสรวง ผบี รรพบรุ ษุ ดว้ ยอาหารคาวหวาน ดอกไม้ และสรุ า ปจั จบุ นั มกี ารสรา้ งศาลปะกำชา้ งบรเิ วณวงเวียน ดูที่ งานประเพณีบวชนาคช้าง / อนุสาวรีย์ อนุสาวรีย์ เพื่อใช้เป็นที่สาธิตพิธีเซ่นผีปะกำของชาวกูย ซึ่งเป็นกิจกรรมอย่างหนึ่งในงานแสดงช้าง พระยาสุรินทร์ภักดีศรีณรงค์จางวาง และงานกาชาดจังหวัดสุรินทร์ (เชียงปุม) ง 23 สารบัญ

ตลาดช่องจอม ชอ่ งจอม อยทู่ บ่ี า้ นดา่ นพฒั นา ตำบลดา่ น อำเภอกาบเชิง จังหวัดสุรินทร์ เป็นหนึ่งใน หลายช่องเขาบนเทือกเขาพนมดงรัก ซึ่ง ผคู้ นในดนิ แดนไทย- กมั พชู า ใชส้ ญั จรไปมา ระหวา่ งกนั มาตง้ั แตส่ มยั โบราณ ปจั จบุ นั เปดิ เป็นจุดผ่านแดนจากตลาดช่องจอมฝั่งไทย ไปยงั ตลาดโอรเ์ สมด็ ของกมั พชู า คนทง้ั สอง ประเทศนำสินค้ามาจำหน่ายแลกเปลี่ยนกัน ระหว่างเวลา ๐๘.๐๐ - ๑๖.๐๐ น. ทกุ วันใน ชว่ งเหตกุ ารณห์ รอื สถานการณช์ ายแดนสงบ เรยี บร้อย สินค้าสว่ นใหญ่เป็นของแหง้ เช่น ปลาแห้ง ของป่า เช่น เห็ด หน่อหวาย งาน หตั ถกรรม เชน่ ตะกรา้ กระบงุ เสอ่ื สาน และ ของใช้ในชีวิตประจำวันต่างๆ เช่น เสื้อผ้า สบู่ ยาสีฟนั ฯลฯ ดูที่ ปราสาทตาเมือน (ปราสาทบายกรีม) ประติมากรรมการคล้องช้าง ประติมากรรมการคล้องช้าง อยู่ฝั่ง ตรงข้ามอนุสาวรีย์พระยาสุรินทร์ภักดี ศรีณรงค์จางวาง (เชียงปุม) ถนนภักดี ชุมพล ตำบลในเมือง อำเภอเมืองสุรินทร ์ จังหวัดสุรินทร์ สร้างขึ้นด้วยความร่วมมือ ของหน่วยงานราชการ พ่อค้า และประชาชน ชาวสรุ นิ ทร์ เมอ่ื พ.ศ. ๒๕๔๑ เพอ่ื เปน็ อนสุ รณ์ เหตุการณ์ครั้งที่กลุ่มชาวกูย (กวย ส่วย) ช่วยกันคล้องช้างเผือกซึ่งแตกโรงหนีออก มาจากกรงุ ศรอี ยธุ ยานำกลับคืนราชธานี ลักษณะเป็นประติมากรรมลอยตัว ทำจากไฟเบอร์กลาสขนาดเท่าจริง รูปช้าง ๖ เชือก มีควาญนั่งบนหลัง กำลังไล่คล้อง ช้างเผือก ๑ ช้าง ถือเป็นเหตุการณ์สำคัญที่ เป็นจุดเริ่มต้นของการสร้างเมืองสุรินทร์ บริเวณโดยรอบประติมากรรมจัดเป็น ดูที่ คูเมืองสุรินทร์ / งานแสดงช้างและ งานกาชาดจังหวัดสุรินทร์ / อนุสาวรีย์ และสะท้อนถึงความเชี่ยวชาญในการคล้อง สวนหย่อมขนาดย่อม บรรยากาศร่มรื่น พระยาสุรินทร์ภักดีศรีณรงค์จางวาง (เชียงปุม) ต-ป ช้างของบรรพบุรุษชาวกูย อยู่ติดกับคูเมืองสุรินทร์ชั้นใน 24 สารบัญ

ปราสาทจอมพระ ปราสาทจอมพระ อยู่ภายในวัดป่า อโรคยศาล ป ปราสาทจอมพระ บ้านศรีดงบัง ตำบล อโรคยศาล คอื ศาสนสถานซ่ึงมหี นา้ ทเ่ี ป็นสถานพยาบาลผู้ป่วยซงึ่ พระเจ้าชัยวรมันท่ี ๗ แหง่ จอมพระ อำเภอจอมพระ จังหวัดสุรินทร ์ อาณาจักรขอม ในชว่ งพุทธศตวรรษที่ ๑๘ (ประมาณ พ.ศ. ๑๗๒๐ - ๑๗๘๐) โปรดใหส้ รา้ งข้ึนทว่ั 25 เป็นปราสาทขอมประเภทอโรคยศาล อาณาจกั รรวม ๑๐๒ แห่ง ปจั จบุ นั พบในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของไทยหลายสบิ แหง่ แตล่ ะแหง่ (ศาสนสถานซึ่งมีหน้าที่เป็นสถานพยาบาล) มีลักษณะเหมือนกันคือประกอบด้วย ปราสาทประธาน หันหน้าไปทางทิศตะวันออก เยื้องไปทาง สร้างขึ้นเมื่อประมาณพุทธศตวรรษที่ ๑๘ ด้านขวาของปราสาทประธานมี บรรณาลัย (ห้องเก็บคัมภีร์) ทั้งหมดล้อมรอบด้วย กำแพงแก้ว เนื่องในพระพุทธศาสนา นิกายมหายาน รูปสี่เหลย่ี มผนื ผ้า มี โคปุระ (ซ้มุ ประต)ู ดา้ นทศิ ตะวันออก นอกกำแพงมี สระนำ้ เลก็ ๆ กรุขอบดว้ ย ศลิ ปะขอมแบบบายน กรมศลิ ปากรประกาศ ศิลาแลง ปราสาทประธานสร้างขึ้นเพื่อประดิษฐานรูปเคารพ พระไภษัชยคุรุไวฑูรยประภา ซึ่งเป็น ขึ้นทะเบียนเป็นโบราณสถานของชาติเมื่อ พระโพธสิ ตั วผ์ ้ขู จัดโรคภัยตามความเชื่อทางพระพุทธศาสนา นกิ ายมหายาน วนั ท่ี ๘ มนี าคม พ.ศ. ๒๔๗๘ ประกาศกำหนด ขอบเขตโบราณสถานครอบคลมุ พน้ื ท่ี ๒๘ ไร่ สารบัญ ๑๒ ตารางวา เมอ่ื วนั ท่ี ๓๐ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๒๕ ภายในโบราณสถานประกอบด้วย ปราสาทประธาน กอ่ ดว้ ยศลิ าแลง ผงั สเ่ี หลย่ี ม จัตรุ สั ยอ่ มมุ ขนาด ๕ x ๕ เมตร หนั หน้าไป ทางทิศตะวันออก ด้านหน้ามีมุขยื่นออกมา ประมาณ ๒ เมตร ทิศตะวันออกเฉียงใต้ของปราสาท ประธานมีบรรณาลัย (ห้องเก็บคัมภีร์) กอ่ ดว้ ยศลิ าแลง ผงั รปู สเ่ี หลย่ี มผนื ผา้ ขนาด ๔ x ๘ เมตร หันหน้าไปทางทิศตะวันตก สรา้ งขนึ้ เพอ่ื ใชเ้ กบ็ คัมภีร์ทางศาสนา ทั้งหมดล้อมรอบด้วยกำแพงศิลาแลง ผังรูปสีเ่ หลย่ี มผืนผา้ ขนาด ๒๑ x ๔๕ เมตร มีโคปุระ (ซุ้มประตู) ทางด้านตะวันออก นอกกำแพงด้านทิศตะวันออกเฉียง เหนอื มีสระน้ำขนาดเลก็ รูปสเี่ หลย่ี ม ๑ สระ และรูปวงรี ๑ สระ กรมศลิ ปากรขุดแต่งปราสาทเม่ือ พ.ศ. ๒๕๓๐ พบเศียรพระโพธิสตั ว์อวโลกิเตศวร และพระวัชรสัตว์ เป็นสิ่งยืนยันว่าปราสาท แหง่ นส้ี รา้ งขน้ึ เนอ่ื งในพระพทุ ธศาสนา นกิ าย มหายาน ดูที่ ปราสาทตาเมือนโต๊ด / ปราสาทบ้านช่างปี่ / ปราสาทมีชัย (หมื่นชัย) / ปราสาทบ้านปราสาท

ปราสาทตระเปรียงเตีย ปราสาทตระเปรียงเตีย (ภาษาเขมร ยอดรูปดอกบัวตูม มีประตูทางเข้าทางด้าน ประกาศขึ้นทะเบียนเป็นโบราณสถานของ ตระเปรียงเตีย แปลว่า นกเป็ดน้ำ) อยู่ที่ ทศิ ตะวันออก ด้านอืน่ เปน็ ประตหู ลอก จาก ชาติ เมื่อวันที่ ๘ มีนาคม พ.ศ. ๒๔๗๘ บา้ นหนองเกาะ ตำบลลำดวน อำเภอลำดวน รูปแบบสถาปัตยกรรมสันนิษฐานว่าเป็น ประกาศกำหนดขอบเขตโบราณสถาน จังหวัดสุรินทร์เป็นเจดีย์ก่ออิฐองค์เดียว ศลิ ปะลา้ นชา้ ง (ลาว) สรา้ งขน้ึ ประมาณพทุ ธ- ครอบคลุมพื้นที่ ๑ งาน ๓๓ ตารางวา โดดๆ ฐานกว้างด้านละ ๓.๔๕ เมตร ผัง ศตวรรษท่ี ๒๓- ๒๔ สมยั อยธุ ยาตอนปลาย เมื่อวนั ที่ ๒๑ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๒๕ สเี่ หลี่ยมจัตรุ ัสทำเป็นชัน้ ซอ้ นลดหลนั่ ๖ ช้นั หรือสมัยต้นรัตนโกสินทร์ กรมศิลปากร ป 26 สารบัญ

ปราสาทตาเมือน (ปราสาทบายกรีม) ปราสาทตาเมือน อยทู่ ีบ่ า้ นหนองคันนา ภายในโบราณสถานประกอบด้วย กลุ่มปราสาทตาเมอื น เทือกเขาพนมดงรัก ชายแดนไทย - ตำบลตาเมียง อำเภอพนมดงรัก จังหวัด ปราสาทศิลาแลงองค์เดียว ผังสี่เหลี่ยม กัมพูชา มีช่องเขาหลายแห่ง ผู้คนทั้งสอง ดินแดนใช้สัญจรไปมาตั้งแต่สมัยโบราณ สุรินทร์ เป็นปราสาทขนาดเล็กที่สุดใน จัตุรัส กว้างด้านละ ๖.๓ เมตร หันหน้า หนึ่งในนั้นคือ ช่องตาเมือน บริเวณนี้พบ ปราสาทขอม ๓ แห่งเรียงกันท่ามกลาง ปา่ ทบึ ในแนวทศิ ใตข้ น้ึ สทู่ ศิ เหนอื คอื ปราสาท ตาเมือนธม อยู่ติดชายแดน ปราสาทตา เมือนโต๊ด และปราสาทตาเมือน (ปราสาท บายกรีม) เรียกปราสาททั้ง ๓ แห่งรวมกัน ว่า กลุ่มปราสาทตาเมือน มีระยะห่างกัน ประมาณ ๔๐๐ และ ๙๐๐ เมตร ตามลำดับ ปราสาทแต่ละแห่งมีขนาดและประโยชน ์ ใช้สอยแตกต่างกัน และเป็นกลุ่มปราสาท ขอมแห่งแรกในเขตประเทศไทยที่อยู่บน เส้นทางโบราณจากเมืองยโสธรปุระ (ราชธานี ของอาณาจักรขอม) มายงั เมอื งพิมาย ปจั จบุ ันมถี นนลาดยางเข้าถงึ ทุกจุด กลุ่มปราสาทตาเมือน เรียกอกี ชอ่ื เปน็ ภาษา ไปทางทิศตะวันออก ด้านหน้าปราสาท เขมรว่า ปราสาทบายกรีม คำว่า บาย เชื่อมต่อกับห้องยาวรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า แปลว่า ข้าว กรมี แปลว่า แห้ง เน่อื งจาก ขนาด ๕ x ๑๒ เมตร ก่อด้วยศิลาแลง ผนัง เคยพบขา้ วแหง้ บรเิ วณปราสาท เปน็ ปราสาท ด้านยาวด้านหนึ่งปิดทึบ อีกด้านหนึ่งมีช่อง ขอมที่สร้างขึ้นเนื่องในพระพุทธศาสนา หน้าต่างเรียงกัน ๕ ช่อง สันนิษฐานว่า นิกายมหายาน ประเภทธรรมศาลา (ที่พัก ตวั ปราสาทด้านหลงั ใช้ประดษิ ฐานรปู เคารพ คนเดนิ ทาง) ๑ ใน ๑๗ แหง่ ทพ่ี ระเจา้ ชยั วรมนั ห้องยาวด้านหน้า ใช้เป็นบริเวณที่ประกอบ ที่ ๗ แห่งอาณาจักรขอม โปรดให้สร้าง พิธีกรรมหรือพักผ่อน ทางเข้าปราสาท เรียงรายตามเส้นทางจากเมืองยโสธรปุระ มีทับหลัง (แผ่นหินเหนือกรอบประตู) (ราชธานีของอาณาจักรขอม) มายังเมือง ภาพพระพุทธรูปปางสมาธิประทับเหนือ พิมาย (จังหวัดนครราชสีมา) สร้างขึ้น หน้ากาล ด้านข้างเปน็ ลายใบไมม้ ว้ น ประมาณพุทธศตวรรษที่ ๑๘ ศิลปะขอม ปัจจุบันกรมศิลปากรบูรณะจนมีสภาพ แบบบายน กรมศลิ ปากรประกาศขน้ึ ทะเบยี น คอ่ นข้างสมบูรณ์ ต้งั อยู่บนสนามหญ้าเขยี ว เป็นโบราณสถานของชาติ เมื่อวันที่ ๘ และดงไมร้ ม่ รื่น มนี าคม พ.ศ. ๒๔๗๘ ดูที่ ตลาดช่องจอม / ปราสาทตาเมือนโต๊ด / ปราสาทตาเมือนธม ป 27 สารบัญ

ปราสาทตาเมือนโต๊ด ปราสาทตาเมือนโต๊ด อยู่ที่บ้านหนอง ขอมแบบบายน กรมศิลปากรประกาศ ศาสนา นิกายมหายาน ยืนยันว่าปราสาท คันนา ตำบลตาเมียง อำเภอพนมดงรัก ขึ้นทะเบียนเป็นโบราณสถานของชาติเมื่อ แห่งนี้เป็นอโรคยศาล รูปเคารพนำไป จังหวัดสุรินทร์ เป็น ๑ ใน ๓ ของกลุ่ม วนั ท่ี ๘ มนี าคม พ.ศ. ๒ ๔๗๘ ประกาศกำหนด จัดแสดงที่พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติพิมาย ปราสาทตาเมือน มีขนาดเล็กกว่าปราสาท ขอบเขตโบราณสถานครอบคลมุ พนื้ ที่ ๕ ไร่ จงั หวดั นครราชสีมา ตาเมือนธม จึงเรียกว่า ปราสาทตาเมือน ๓ งาน ๘๘ ตารางวา เม่ือวนั ท่ี ๑๔ ธนั วาคม ปัจจุบันกรมศิลปากรบูรณะปราสาท โต๊ด (ภาษาเขมร ธม แปลว่า ใหญ่ โต๊ด พ.ศ. ๒๕๓๒ ตาเมอื นโตด๊ จนอยใู่ นสภาพคอ่ นขา้ งสมบรู ณ์ แปลว่า เล็ก) เป็นปราสาทขอมที่สร้างขึ้น ภายในโบราณสถานประกอบด้วยสิ่ง อยู่ทา่ มกลางความรม่ รนื่ ของตน้ ไม้ใหญ่ เนื่องในพระพุทธศาสนา นิกายมหายาน ก่อสร้างที่มีลักษณะ ขนาด และแผนผัง ดูที่ ปราสาทจอมพระ / ปราสาทตาเมือน (ปราสาทบายกรีม) / ปราสาทตาเมือนธม / ประเภทอโรคยศาล (ศาสนสถานซึ่งมี เดียวกันกับอโรคยศาลแห่งอื่นๆ ที่พบใน ปราสาทบ้านช่างปี่ / ปราสาทมีชัย (หมื่นชัย) / หนา้ ทเ่ี ปน็ สถานพยาบาล) สรา้ งขน้ึ ประมาณ ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ ปราสาทบ้านปราสาท พุทธศตวรรษที่ ๑๘ สมัยพระเจ้าชัยวรมัน ภายในปราสาทพบรูปเคารพ พระ ที่ ๗ แห่งอาณาจักรขอม (ร่วมสมัยกับ ไภษชั ยครุ ไุ วฑรู ยประภา ซง่ึ เปน็ พระโพธสิ ตั ว ์ ปราสาทตาเมือน (ปราสาทบายกรีม) ศลิ ปะ ผู้ขจัดโรคภัยตามความเชื่อทางพระพุทธ- ป 28 สารบัญ

ปราสาทตาเมือนธม ปราสาทตาเมือนธม อยู่ที่บ้านหนอง หันหน้าไปทางทิศใต้ ผิดแปลกไปจาก มีโคปุระ (ซุ้มประต)ู ท้งั ๔ ทิศ คันนา ตำบลตาเมียง อำเภอพนมดงรัก ปราสาทขอมทั่วไปที่มักหันหน้าไปทาง นอกจากตัวอาคารต่างๆ แล้ว สิ่งที ่ จังหวดั สรุ ินทร์ ติดชายแดนไทย - กัมพชู า ทิศตะวันออก อาจเนื่องจากต้องการให้หัน น่าสนใจของปราสาทแห่งนี้คือ ลายสลัก เปน็ ปราสาทขอมทีม่ ขี นาดใหญท่ ่สี ดุ (ภาษา ไปรับกับถนนที่สร้างจากเมืองยโสธรปุระ หินทรายที่งดงามซึ่งพบอยู่หลายจุดและที่ เขมร ธม แปลว่า ใหญ่) และเก่าแก่ที่สุด (ราชธานีของอาณาจักรขอม) ซึ่งอยู่ทาง สำคัญคือ สยมภูศิวลึงค์ เป็นหินทรงกลม ในบรรดาปราสาท ๓ แหง่ ของกลุ่มปราสาท ทิศใต้ ด้านหน้าปราสาทประธานเชื่อมต่อ ตามธรรมชาตไิ มม่ กี ารแกะสลกั สนั นษิ ฐานวา่ ผู้สร้างจงใจสร้างปราสาทประธานคร่อมลง ตาเมอื น(อกี ๒ แหง่ ไดแ้ ก่ ปราสาทตาเมอื น กบั วหิ ารรูปสเี่ หลยี่ มผนื ผ้า (ปราสาทบายกรมี ) และปราสาทตาเมอื นโตด๊ ) ทิศตะวันออกเฉียงเหนือและตะวันตก บนหินก้อนนี้ เพื่อกำหนดให้เป็นศิวลึงค์ สรา้ งขน้ึ ประมาณพทุ ธศตวรรษท่ี ๑๖ เพอ่ื ใช้ เฉยี งเหนอื ของปราสาทประธาน มี ปราสาท สัญลักษณ์แทนพระศิวะ ไม่ใช่การนำหินมา เป็นเทวาลยั ในศาสนาฮินดู ไศวนิกาย ศลิ ปะ บริวาร ข้างละ ๑ องค์ ผังสี่เหลี่ยมจัตุรัส แกะสลกั เปน็ ศวิ ลงึ คด์ งั ทพ่ี บในปราสาทขอม ขอมแบบบาปวน กรมศิลปากรประกาศ กว้างด้านละ ๖.๖ เมตร ก่อด้วยหินทราย ทวั่ ไป ขึ้นทะเบียนเป็นโบราณสถานของชาติ เมื่อ หนั หน้าไปทางทิศใต้เชน่ เดยี วกนั ปัจจุบันกรมศิลปากรบูรณะปราสาท วนั ท่ี ๘ มนี าคม พ.ศ. ๒๔๗๘ ทิศตะวันออกมีบรรณาลัย (ห้องเก็บ ตาเมอื นธมจนอยใู่ นสภาพคอ่ นขา้ งดี ถอื เปน็ ตัวโบราณสถานตั้งบนเนินหินเตี้ยๆ คัมภีร์) ๑ หลัง ก่อด้วยศิลาแลง ผังรูป ปราสาทขอมโดดเด่นที่สุดแห่งหนึ่งของ ของเทือกเขาพนมดงรัก ภายในประกอบ สี่เหลี่ยมผืนผ้า ขนาด ๕.๘ x ๙.๓ เมตร จังหวัดสรุ ินทร์ การเยย่ี มชมควรอยู่ในพน้ื ท่ี ด้วยสิ่งกอ่ สร้างต่างๆ มากมาย ทีส่ ำคัญคือ ส่วนทิศตะวันตกมีบรรณาลัยอีก ๑ หลัง กำหนด เนื่องจากเป็นเขตชายแดนไทย - ปราสาทประธาน ก่อด้วยหินทราย ผัง ผงั รปู สเ่ี หลย่ี มจตั รุ สั กวา้ งดา้ นละ ๔.๘ เมตร กมั พูชา สีเ่ หล่ียมจตั ุรสั ยอ่ มุม ขนาด ๖ x ๖ เมตร ทง้ั หมดลอ้ มรอบดว้ ยระเบยี งคดหนิ ทราย ดูที่ ปราสาทตาเมือน (ปราสาทบายกรีม) / มีซุ้มประตูทางเข้าทั้ง ๔ ทิศ ตัวปราสาท ผังสี่เหล่ยี มจตั ุรัส กวา้ งด้านละ ๔๗.๕ เมตร ปราสาทตาเมือนโต๊ด ป 29 สารบัญ

ปราสาททนง ปราสาททนง อยู่ที่บ้านปราสาททนง ๒ หลัง และขุดพบทับหลัง (แผ่นหินเหนือ ตำบลปราสาททนง อำเภอปราสาท จงั หวัด กรอบประต)ู หนิ ทรายสลกั ภาพเทวดาประทบั สุรินทร์ เป็นปราสาทขอม สร้างขึ้นเมื่อ เหนือหนา้ กาล ประมาณพทุ ธศตวรรษท่ี ๑๖ - ๑๗ เพือ่ ใช ้ ที่สำคัญคือ ขุดพบโครงกระดูกมนุษย ์ เป็นเทวาลัยในศาสนาฮินดู ศิลปะขอม ยุคก่อนประวัติศาสตร์ และเศษตะกรันซึ่ง แบบบาปวน เกิดจากการถลุงแร่เหล็กบริเวณปราสาท เดิมโบราณสถานแห่งนี้มีสภาพเป็น เปน็ หลกั ฐานวา่ บรเิ วณนเ้ี คยเปน็ ทต่ี ง้ั ชมุ ชน เนินดินขนาดใหญ่ พบแนวศิลาแลงเป็น โบราณ คอื ยคุ ก่อนประวัติศาสตร์ และสมยั ฐานอาคาร มีต้นไม้และวัชพืชขึ้นปกคลุม วัฒนธรรมขอม ต่อมา พ.ศ. ๒๕๓๗ กรมศิลปากรเข้ามา ปัจจุบันแม้สภาพปราสาททนงจะเหลือ ขุดแต่ง พบฐานอาคารรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า ให้เห็นเพียงฐานอาคาร แตก่ ถ็ ือเปน็ สถานท่ ี ขนาด ๒๓ x ๓๑ เมตร สันนษิ ฐานว่าเปน็ สำคัญในเชิงโบราณคดีทั้งยุคก่อนประวัติ- ทต่ี ง้ั ปราสาทประธาน มวี หิ ารเช่อื มด้านหนา้ ศาสตร์และยุคประวัติศาสตรแ์ หง่ หนึ่ง หน้าวิหารมีบรรณาลัย (ห้องเก็บคัมภีร์) ปราสาทบ้านช่างปี่ ปราสาทบ้านช่างปี่ อยู่ที่บ้านช่างปี ่ ตำบลช่างปี่ อำเภอศีขรภูมิ จังหวัดสุรินทร ์ เป็นโบราณสถานขอม ประเภทอโรคยศาล (ศาสนสถานซึ่งมีหน้าที่เป็นสถานพยาบาล) สรา้ งขึ้นประมาณพทุ ธศตวรรษท่ี ๑๘ เนื่อง ในพระพทุ ธศาสนา นกิ ายมหายานศลิ ปะขอม แบบบายน กรมศลิ ปากรประกาศขน้ึ ทะเบยี น เป็นโบราณสถานของชาติ เมื่อวันที่ ๘ มีนาคม พ.ศ. ๒๔๗๘ ประกาศกำหนด ขอบเขตโบราณสถานครอบคลุมพน้ื ที่ ๔ ไร ่ ๓๐ ตารางวา เม่อื วันท่ี ๓๐ มถิ ุนายน พ.ศ. ๒๕๒๕ แผนผังและองค์ประกอบของโบราณ สถาน เหมือนกับอโรคยศาลอื่นๆ ที่พบใน ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เช่น ปราสาท ปัจจุบันฐานและผนังปราสาทยังพอ ดูที่ ปราสาทจอมพระ / ปราสาทตาเมือนโต๊ด / ปราสาทมีชัย (หมื่นชัย) / ปราสาทบ้านปราสาท ประธานหันหน้าไปทางทิศตะวันออก ม ี มองเห็นเค้าสภาพเดิม เครื่องบนบางส่วน ประตูเขา้ ออกด้านเดยี ว ฯลฯ พงั ทลาย ป 30 สารบัญ

ปราสาทบ้านพลวง ปราสาทบ้านพลวง อยู่ที่บ้านพลวง ทิศตะวันออก มีทางเข้าด้านหน้าด้านเดียว ปราบนาคกาลิยะ และหน้าบันสลักภาพ ตำบลกงั แอน อำเภอปราสาท จงั หวดั สรุ นิ ทร์ อีก ๓ ด้านเป็นประตูหลอก ตั้งอยู่บนฐาน พระกฤษณะยกเขาโควรรธนะ ฯลฯ เป็นปราสาทขอมที่มีลวดลายแกะสลัก ศิลาแลงรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า บนฐานปราสาท เมอ่ื พ.ศ. ๒๕๑๔ นายแวนส์ เรย์ ซลิ เดรส งดงามน่าชม สร้างขึ้นประมาณพุทธ- มีพื้นที่ด้านข้างทั้งสองด้านเหลืออยู่มาก นกั ศกึ ษาปรญิ ญาเอก มหาวทิ ยาลยั คอรแ์ นล ศตวรรษที่ ๑๖ - ๑๗ เพื่อใช้เป็นเทวาลัย ชวนให้คิดว่าน่าจะเตรียมฐานไว้สร้างเป็น สหรฐั อเมรกิ า ทำเรอ่ื งขออนญุ าตกรมศลิ ปากร บูชาเทพเจ้าในศาสนาฮินดู ศิลปะขอม ปราสาท ๓ องค์เรียงกัน แต่ยังไม่ได้สร้าง บูรณะปราสาทบ้านพลวงด้วยวิธีประกอบ แบบบาปวน กรมศิลปากรประกาศขึ้น ปราสาทอีก ๒ องค์ คนื สภาพ หรือ อนสั ติโลซิส (Anastylosis) ทะเบียนเป็นโบราณสถานของชาติเมื่อ ตัวปราสาทมีคูน้ำรูปเกือกม้าล้อมรอบ คือการทำสัญลักษณ์บนหินทุกก้อนก่อนจะ วันที่ ๘ มีนาคม พ.ศ. ๒๔๗๘ ประกาศ เว้นทางเข้าดา้ นทิศตะวันออก ร้ือออกท้งั หลัง เสรมิ ฐานรากใหม้ น่ั คง แล้ว กำหนดขอบเขตโบราณสถานครอบคลุม แม้จะเป็นปราสาทองค์เล็กๆ แต่ก็มี นำหนิ กลบั ขน้ึ ไปเรยี งใหมใ่ หอ้ ยใู่ นสภาพเดมิ พืน้ ท่ี ๕ ไร่ ๓ งาน ๒๓ ตารางวา เมือ่ วนั ที่ จุดเด่นที่ภาพสลักหินทรายบริเวณทับหลัง เป็นวิธีเดียวกับที่ใช้บูรณะปราสาทสำคัญ ๑๘ พฤศจกิ ายน พ.ศ. ๒๕๒๕ (แผน่ หนิ เหนอื กรอบประต)ู หนา้ บนั ซมุ้ ประตู อ่ืนๆ เช่น ปราสาทพนมรุ้ง จังหวัดบรุ รี มั ย์ ภายในโบราณสถานประกอบด้วย และผนัง ซึ่งงดงามอย่างยิ่ง เช่น ทับหลัง ปราสาทหินพิมาย และปราสาทพนมวัน ปราสาทประธานองค์เดียวก่อด้วยหินทราย สลักภาพพระอินทร์ทรงช้างเอราวัณบนแท่น จงั หวัดนครราชสมี า ฯลฯ ผังสี่เหลี่ยมจัตุรัสย่อมุม หันหน้าไปทาง เหนอื หนา้ กาล ทบั หลงั สลกั ภาพพระกฤษณะ ป 31 สารบัญ

ปราสาทบ้านไพล ปราสาทบ้านไพล อยู่ที่บ้านปราสาท ภายในโบราณสถานประกอบด้วย สิ่งสำคัญที่พบบริเวณปราสาท คือ ตำบลเชื้อเพลิง อำเภอปราสาท จังหวัด ปราสาทประธาน ก่ออิฐขัดเรียบ ๓ องค ์ ทับหลัง ๓ ทอ่ น ๒ ท่อนสลักภาพเทวดานัง่ สรุ ินทร์ เป็นปราสาทขอม สรา้ งขึ้นประมาณ เรียงกนั ในแนวเหนอื - ใต้ บนฐานศลิ าแลง ชันเข่าเหนือหน้ากาลคายท่อนพวงมาลัย พทุ ธศตวรรษท่ี ๑๖- ๑๗ เพอ่ื ใชเ้ ปน็ เทวาลยั เดียวกัน หันหน้าไปทางทิศตะวันออก อีก ๑ ท่อนสลักภาพพระอินทร์ทรงช้าง ในศาสนาฮินดู ศิลปะขอมแบบบาปวน พบ มีประตูทางเข้าด้านหน้าด้านเดียว ที่เหลือ เอราวณั ทบั หลงั (แผน่ หนิ เหนอื กรอบประต)ู ทง่ี ดงาม เป็นประตูหลอก กรอบประตูและทับหลัง ปัจจุบันปราสาทประธานองค์ด้าน กรมศิลปากรประกาศขึ้นทะเบียนเป็น สร้างด้วยหินทราย มีคูน้ำรูปเกือกม้า ทิศเหนือและองค์กลาง อยู่ในสภาพค่อน โบราณสถานของชาติเมื่อวันที่ ๘ มีนาคม ล้อมรอบ เว้นทิศตะวันออกเป็นทางเข้า ข้างดี ส่วนองค์ทิศใต้เหลือเพียงฐานกับ พ.ศ. ๒๔๗๘ ประกาศกำหนดขอบเขตโบราณ นอกแนวคูน้ำด้านทิศตะวันออกเฉียงเหนือ เสากรอบประตู สถานครอบคลุมพื้นที่ ๖ ไร่ ๑ งาน ๖๕ มีสระน้ำขนาดเลก็ รูปสเี่ หลย่ี ม ตารางวา เมอ่ื วนั ท่ี ๒๑ ตลุ าคม พ.ศ. ๒๕๒๕ ป 32 สารบัญ

ปราสาทบ้านอนันต์ ศีขรภูมิ จังหวัดสุรินทร์ สร้างขึ้นประมาณ ตะวันออก มีประตูทางเข้าด้านหน้าด้าน พทุ ธศตวรรษท่ี ๑๖- ๑๗ เพอ่ื ใชเ้ ปน็ เทวาลยั เดียว อีกสามด้านเป็นประตูหลอก ผังรูป ในศาสนาฮินดู ศิลปะขอมแบบบาปวน ส่เี หลยี่ มจตั รุ ัสยอ่ มุม พบทับหลัง (แผน่ หิน กรมศิลปากรประกาศขึ้นทะเบียนเป็น เหนือกรอบประตู) หินทรายสลักภาพ โบราณสถานของชาติเมื่อวันที่ ๘ มีนาคม พระอินทร์ทรงช้างเอราวัณประทับเหนือ พ.ศ. ๒๔๗๘ ประกาศกำหนดขอบเขต หน้ากาลคายท่อนพวงมาลัย ตกอยู่บริเวณ โบราณสถานครอบคลุมพื้นที่ ๓ งาน ๔ ปราสาท ตารางวา เมอ่ื วนั ท่ี ๓๐ มถิ นุ ายน พ.ศ. ๒๕๒๔ ปัจจุบันปราสาทบ้านอนันต์ ยังเหลือ ภายในโบราณสถานเหลือสิ่งก่อสร้าง ฐานและเรือนธาตุให้เห็น ส่วนชั้นหลังคา ปราสาทบ้านอนันต์ อยู่ภายในวัด อย่างเดียว คือ ปราสาทประธาน ก่ออิฐ ได้พังทลายลง โพธิญาณ บ้านอนันต์ ตำบลยาง อำเภอ ตั้งบนฐานศิลาแลง หันหน้าไปทางทิศ ปราสาทพระปืด (ปราสาทแก้ว) ปราสาทพระปืด (ปราสาทแก้ว) อยู่ ป ภายในวัดบ้านพระปืด บ้านพระปืด ตำบล บา้ นแร่ อำเภอเมอื งสรุ ินทร์ จงั หวัดสรุ ินทร์ 33 สันนิษฐานว่าเดิมเป็นปราสาทขอมที ่ สร้างขึ้นเพื่อใช้เป็นเทวาลัยในศาสนาฮินดู ต่อมาได้รับการดัดแปลงให้เป็นเจดีย์ใน พระพุทธศาสนาประมาณสมัยอยุธยาตอน ปลายหรือสมัยต้นรัตนโกสินทร์ เช่นเดียว กับปราสาทเมืองที และปราสาทศีขรภูมิ (ปราสาทบา้ นระแงง) ลกั ษณะเปน็ ปราสาทขนาดยอ่ ม กอ่ ดว้ ย อิฐและศิลาแลง ฐานสี่เหลี่ยมจัตุรัสย่อมุม มีประตูทางเข้าด้านทิศตะวันออก ภายใน เรอื นธาตปุ ระดษิ ฐาน พระปดื เปน็ พระพทุ ธ- รูปหินทราย ขัดสมาธิเพชร เศียรเดิมหัก หายไป ตอ่ มาชาวบ้านสร้างเศยี รต่อข้นึ ใหม ่ ไมท่ ราบประวตั ิการสรา้ ง ปัจจุบันปราสาทอยู่ในสภาพค่อนข้าง ดูที่ ปราสาทเมืองที / ปราสาทศีขรภูมิ สมบูรณ์จนถึงส่วนยอด แต่มีรูปทรงผิด (ปราสาทบ้านระแงง) เพี้ยนไปจากปราสาทขอมทั่วไป และวัด ไดส้ ร้างวิหารคลมุ ปราสาทไว้ สารบัญ

ปราสาทภูมิโปน ปราสาทภูมิโปน อยู่ที่บ้านภูมิโปน หน้าด้านเดียว ด้านที่เหลือเป็นประตูหลอก ซึ่งนิยมใช้กันในช่วงพุทธศตวรรษที่ ๑๒ - ตำบลดม อำเภอสงั ขะ จงั หวัดสรุ ินทร์ เป็น ใต้หน้าบันเหนือทับหลัง (แผ่นหินเหนือ ๑๓ และทับหลังศิลปะขอมแบบไพรกเมง ปราสาทขอม สร้างขึ้นเพื่อใช้เป็นเทวาลัย กรอบประตู) มีลายสลักรูปใบไม้ม้วนคล้าย ปัจจุบันเก็บรักษาไว้ที่พิพิธภัณฑสถานแห่ง ในศาสนาฮินดู อายุประมาณพุทธศตวรรษ ศิลปะอินเดียโบราณแบบคุปตะ ปัจจุบัน ชาตสิ รุ นิ ทร์ โบราณวตั ถทุ ง้ั สองชน้ิ คอื เครอ่ื ง ที่ ๑๒ - ๑๓ มีอายมุ ากกว่า ๑,๓๐๐ ปี เปน็ สภาพปราสาทองค์นคี้ อ่ นขา้ งสมบรู ณ์ ยนื ยันความเก่าแก่ของปราสาทภูมโิ ปน ปราสาทขอมที่เก่าแก่ที่สุดที่พบในประเทศ ทิศเหนือของปราสาทองค์ ใหญ่มี ไทย ศลิ ปะขอมแบบไพรกเมง กรมศลิ ปากร ปราสาทอิฐลักษณะเดียวกัน สร้างขึ้นใน ภูมิโปน ประกาศขึ้นทะเบียนเป็นโบราณสถานของ ยุคเดียวกัน แต่มีขนาดย่อมกว่า ปัจจุบัน คำวา่ ภูมิโปน มาจากภาษาเขมร ๒ คำ ชาติ เมื่อวันที่ ๘ มีนาคม พ.ศ. ๒๔๗๘ ตัวปราสาทเหลือเพียงฐาน กรอบประตู คือ ภูมิ หรอื ปูม แปลว่า แผน่ ดนิ สถานท่ี และขดุ แตง่ บรู ณะเมอื่ พ.ศ. ๒๕๓๑ และผนงั บางส่วน และ โปน หรอื โพน แปลวา่ หลบซอ่ น ภมู โิ ปน ภายในโบราณสถานประกอบด้วย ระหว่างปราสาทท้งั สององค์ มปี ราสาท จึงหมายถึง สถานที่หลบซ่อน ซึ่งเชื่อมโยง มาจากนทิ านพน้ื บา้ นทเ่ี ลา่ วา่ สมยั ขอม พระราช- ปราสาท ๓ องค์ องค์แรกมีขนาดใหญท่ ่สี ดุ ขนาดเล็กเหลือเพียงฐาน และกรอบประต ู ธดิ าของกษตั รยิ เ์ มอื งหนึง่ นาม เนยี งเดา๊ ะธม ก่ออิฐไม่สอปูน ผังสี่เหลี่ยมจัตุรัสไม่ย่อมุม หนิ ทราย สันนิษฐานว่าสรา้ งขึ้นในยุคหลงั หรอื นางนมใหญ่ ไดห้ นภี ยั สงครามมาหลบ ซึ่งเป็นลักษณะของปราสาทขอมรุ่นแรกๆ สงิ่ สำคญั ที่พบภายในปราสาท คือ ชน้ิ ซ่อนที่ปราสาทแห่งน้ี ป หันหน้าไปทางทิศตะวันออก มีทางเข้าด้าน ส่วนจารึกอักษรปัลลวะ ภาษาสันสกฤต 34 สารบัญ

ปราสาทมีชัย (หมื่นชัย) / ปราสาทบ้านปราสาท ปราสาทมชี ยั (หมน่ื ชยั ) อยทู่ างทศิ เหนอื ของบา้ นถนน ตำบลกระเทียม อำเภอสังขะ จังหวัดสุรินทร์ ส่วนปราสาทบ้านปราสาท อยหู่ า่ งไปทางทศิ ใต้ ๗๕ เมตร กรมศลิ ปากร ขึ้นทะเบียนทั้งสองแห่งเป็นโบราณสถาน ของชาติ และประกาศกำหนดขอบเขต โบราณสถานรวมเป็นบริเวณเดียวกัน ครอบคลมุ พน้ื ท่ี ๑๗ ไร่ ๓ งาน ๕๐ ตารางวา เมอ่ื วันที่ ๓๐ มถิ ุนายน พ.ศ. ๒๕๒๔ ปราสาทมชี ยั (หมน่ื ชยั ) ภาษาเขมรเรยี ก “ปราสาทเมียนเจย” เมียนเจย แปลว่า มีชัยชนะ เป็นปราสาทขอม สร้างขึ้นเมื่อ ประมาณปลายพุทธศตวรรษที่ ๑๕ เพื่อใช้ เป็นเทวาลัยในศาสนาฮินดู ศิลปะขอมแบบ แปรรปู ภายในประกอบดว้ ย ปราสาทประธาน ก่ออิฐ ผังส่เี หลย่ี มจตั รุ สั กว้างดา้ นละ ๖.๕ เมตร มีสระน้ำรูปเกือกม้าล้อมรอบ เว้น ทางเข้าทางทิศตะวันออก ปัจจุบันผนังและ เครอ่ื งบนบางสว่ นพังทลาย ปราสาทบ้านปราสาท ภาษาเขมรเรียก “ปราสาทกงั แอน” เปน็ ปราสาทขอม ประเภท อโรคยศาล (ศาสนสถานซึ่งมีหน้าที่เป็น สถานพยาบาล) สร้างขึ้นประมาณพุทธ- ศตวรรษที่ ๑๘ เนื่องในพระพุทธศาสนา นิกายมหายาน มีแผนผังและองค์ประกอบ เช่นเดียวกับอโรคยศาลอื่นๆ ที่พบในภาค ตะวนั ออกเฉียงเหนอื ปัจจุบันปราสาทประธานอยู่ในสภาพ คอ่ นขา้ งสมบรู ณ์จนถงึ สว่ นยอด ดูที่ ปราสาทจอมพระ / ปราสาทบ้านช่างปี่ / ปราสาทตาเมือนโต๊ด ป 35 สารบัญ

ปราสาทเมืองที ปราสาทเมืองที อยู่บริเวณในวัดจอม ผดิ จากปราสาททัว่ ไป จึงไม่สามารถระบยุ คุ สุทธาวาส ตำบลเมืองที อำเภอเมือง สมัยทางศิลปะได้ แต่สันนิษฐานว่า น่าจะ สุรินทร์ จังหวัดสุรินทร์ เป็นปราสาทขอม สร้างขน้ึ เพื่อเป็นเทวาลยั ในศาสนาฮินดูสมัย ที่มีการดัดแปลงในยุคหลัง กรมศิลปากร วัฒนธรรมขอม ต่อมาถูกดัดแปลงให้เป็น ประกาศเป็นโบราณสถานของชาติเมื่อวันที่ เจดีย์ในสมัยอยุธยาตอนปลายเช่นเดียวกับ ๘ มนี าคม พ.ศ. ๒๔๗๘ ปราสาทศีขรภมู ิ (ปราสาทบา้ นระแงง) ภายในโบราณสถานประกอบด้วย ปัจจุบันเหลือปราสาทเพียง ๓ หลัง ปราสาทก่ออิฐฉาบปูน ๕ องค์ บนฐาน คือปราสาทประธาน ปราสาทมุมทิศตะวัน เดยี วกนั ผงั สเี่ หล่ยี มจตั รุ ัสยอ่ มมุ ปราสาท ตกเฉียงเหนือ และปราสาทมุมทิศตะวันตก ประธานตั้งอยู่ตรงกลาง มีขนาดใหญ่สุด เฉยี งใต้ ทง้ั หมดอยใู่ นสภาพคอ่ นขา้ งสมบรู ณ์ ล้อมรอบดว้ ยปราสาทบริวารทงั้ ๔ ทิศ ดูที่ ปราสาทศีขรภูมิ (ปราสาทบ้านระแงง) / อนุสาวรีย์พระยาสุรินทร์ภักดีศรีณรงค์จางวาง ไม่พบจารึก และลวดลายใดๆ บนตัว (เชียงปุม) ปราสาท และถกู ดดั แปลงรปู ทรงจนสงู ชะลดู ปราสาทยายเหงา ปราสาทยายเหงา อยทู่ บ่ี า้ นสงั ขะ ตำบล ศตวรรษที่ ๑๖ - ๑๗ เพื่อใช้เป็นเทวาลัย โบราณสถานของชาติ เมือ่ วันท่ี ๘ มนี าคม สังขะ อำเภอสังขะ จังหวัดสุรินทร์ เป็น ในศาสนาฮินดู ศิลปะขอมแบบบาปวน พ.ศ. ๒๔๗๘ ประกาศกำหนดขอบเขต ปราสาทขอม สร้างขึ้นเมื่อประมาณพุทธ- กรมศิลปากรประกาศขึ้นทะเบียนเป็น โบราณสถานครอบคลุมพื้นที่ ๕ ไร่ ๗๖ ตารางวา เมอ่ื วนั ท่ี ๒๘ เมษายน พ.ศ. ๒๕๒๔ ภายในโบราณสถานประกอบด้วย ปราสาทก่อด้วยอิฐย่อมุม ๒ องค์ บนฐาน ศิลาแลง (เดิมน่าจะมี ๓ องค์เรียงกัน) ตงั้ อยู่ค่กู นั ในแนวเหนือ - ใต้ หนั หนา้ ไปทาง ทิศตะวันออก ผังรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสย่อมุม กว้างด้านละ ๕.๒ เมตร มีประตูทางเข้า ด้านหน้าด้านเดียว ที่เหลือเป็นประตูหลอก บริเวณปราสาทพบส่วนประกอบสถา- ปัตยกรรมทำด้วยหินทรายตกอยหู่ ลายชิ้น เช่น บนั แถลง ยอดปราสาท และเสาประดับ กรอบประตู กรมศลิ ปากรขดุ แตง่ และคำ้ ยนั ปราสาท เมื่อ พ.ศ. ๒๕๓๐ ปัจจุบันปราสาทอยู่ใน สภาพค่อนขา้ งดี ป 36 สารบัญ

ปราสาทศีขรภูมิ (ปราสาทบ้านระแงง) ปราสาทศีขรภูมิ (ปราสาทบ้านระแงง) จากคำบอกเล่าของผู้สูงอายุ บริเวณบ้าน ปัจจุบันปราสาทอยู่ในสภาพค่อนข้าง อยู่ที่บ้านปราสาท ตำบลระแงง อำเภอ ระแงงเคยเปน็ ปา่ ติว้ มากอ่ น สมบูรณ์ ภาพสลักยังคมชัด บริเวณโดย ศีขรภูมิ จังหวัดสุรินทร์ เป็นปราสาทขอม ภายในโบราณสถานประกอบด้วย รอบได้รบั การดูแลรกั ษาเป็นอยา่ งดี ถอื เปน็ ซึ่งมีภาพสลักหินทรายละเอียดงดงาม ปราสาทก่ออิฐย่อมุม ๕ หลัง ทั้งหมด แหล่งท่องเท่ยี วทางประวตั ศิ าสตรท์ ่ีโดดเดน่ สร้างข้ึนประมาณพุทธศตวรรษที่ ๑๖ - ๑๗ หันหน้าไปทางทิศตะวนั ออก ผังรปู สเ่ี หล่ียม แห่งหนึ่งของจังหวัดสุรินทร์ ทุกปีมีการจัด เพื่อใช้เป็นเทวาลัยในศาสนาฮินดู ศิลปะ จตั รุ ัส มที างเข้าดา้ นหนา้ ดา้ นเดียว ท่เี หลอื งานสืบสานตำนานพนั ปี ปราสาทศขี รภมู ิ ขอมแบบบาปวน- นครวดั ตอ่ มาสมยั อยธุ ยา เป็นประตหู ลอก ปราสาทประธานตงั้ อย่ตู รง ดูที่ งานสืบสานตำนานพันปี ปราสาทศีขรภูมิ / ตอนปลาย ถูกดัดแปลงให้เป็นวัดในพระ กลาง รายรอบด้วยปราสาทบริวารทั้ง ๔ ปราสาทเมืองที พุทธศาสนา เช่นเดียวกับปราสาทเมืองที ทิศ ทั้งหมดอยู่บนฐานศิลาแลงเดียวกัน กรมศลิ ปากรประกาศขน้ึ ทะเบยี นเปน็ โบราณ ขนาด ๒๕ x ๒๕ เมตร ศวิ นาฏราช (พระอศิ วรฟ้อนรำ) สถานของชาติ และประกาศกำหนดขอบเขต ทิศเหนือของปราสาทมีสระน้ำยาว พระศิวะหรือพระอิศวร เป็นเทพเจ้า โบราณสถานครอบคลมุ พน้ื ที่ ๑๐ ไร่ ๒ งาน ตลอดแนว ๑ สระ ดา้ นทิศใต้มี ๒ สระ สูงสุดของศาสนาฮินดู ไศวนิกาย โปรดการ รา่ ยรำ เชอ่ื กันวา่ จงั หวะท่วงทา่ การรา่ ยรำของ ๒๗ ตารางวา เมือ่ วนั ที่ ๓๐ มถิ นุ ายน พ.ศ. บริเวณซุ้มประตูและทับหลัง (แผ่นหิน พระศิวะมีผลกับโลกมนุษย์ หากเชื่องช้า ๒๕๒๔ เหนือกรอบประตู) มีภาพสลักหินทราย อ่อนชอ้ ย โลกจะสงบสุข หากรวดเรว็ รนุ แรง ระแงง มาจากคำเขมรว่า ระงีง หรือ ที่งดงาม เช่น ทับหลังภาพ ศิวนาฏราช โลกจะปั่นป่วน และกล่าวกันว่าท่าร่ายรำ ระเงียง หมายถึง ไม้ยืนต้น ยอดอ่อนใช้ (พระอิศวรฟ้อนรำ) บนหงส์ ๓ ตัว เหนือ ๑๐๘ ท่า ในคัมภีร์นาฏยศาสตร์ของอินเดีย เป็นผักจิ้มและเป็นเครื่องปรุงรสเปรี้ยว หนา้ กาล มพี ระคเณศ พระพรหม พระวิษณุ โบราณ มาจากท่าร่ายรำทั้งหมดของพระ ภาษาไทยถิ่นอื่นๆ เรียก ติ้ว หรือ แต้ว และพระอุมา อยู่ด้านล่าง ภาพนางอัปสร ศิวะ (บางครั้งเรียกท่าร่ายรำนี้ว่า พระศิวะ (Gratoxylum formosum (Jack) Dyer.) และทวารบาลทเี่ สากรอบประตู ย่างสามขุม) ป 37 สารบัญ

ปราสาทสังข์ศิลป์ชัย (ปราสาทบ้านจาน) ปราสาทสงั ขศ์ ลิ ปช์ ยั (ปราสาทบา้ นจาน) คอื ปราสาทสงั ขศ์ ิลปช์ ยั ทบั หลัง ทบั หลงั คอื สว่ นประกอบทางสถาปตั ย- อยู่ท่บี า้ นจาน ตำบลกระเทยี ม อำเภอสังขะ ภายในปราสาทประกอบด้วยปราสาท กรรมชิ้นสำคัญของปราสาทขอม เป็นแท่ง หินทรายรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า วาง ทับ อยู่บน จังหวัดสุรินทร์ เป็นปราสาทขอม สร้างขึ้น ประธาน ขนาดคอ่ นข้างใหญ่ ก่อด้วยอฐิ ขดั หลัง กรอบประตู ทำหน้าที่รบั น้ำหนกั หนา้ บัน ด้านบน มักมีการแกะสลักลวดลายต่างๆ ประมาณพุทธศตวรรษที่ ๑๕ เพื่อใช้เป็น เรียบ ผังสี่เหลี่ยมจัตุรัสย่อมุม หันหน้า เชน่ ภาพเลา่ เรอ่ื งทางศาสนา เทพเจา้ ประกอบ ลายท่อนพวงมาลัย หรือลายพรรณพฤกษา เทวาลยั ในศาสนาฮนิ ดูศิลปะขอมแบบพะโค ไปทางทิศตะวันออก มีประตูทางเข้าด้าน ฯลฯ นักประวัติศาสตร์ศิลปะใช้รูปแบบ พบทับหลัง (แผ่นหินเหนือกรอบประตู) หน้าด้านเดียว อีกสามด้านเป็นประตูหลอก ภาพสลักบนทับหลังในการเทียบเคียง ยุคสมัยการสร้างปราสาท เนื่องจากมีลำดับ ท่อนใหญ่ แกะสลักงดงาม กรมศิลปากร มีคนู ้ำล้อมรอบปราสาท วิวฒั นาการของลวดลายท่ชี ัดเจน ประกาศขน้ึ ทะเบยี นเปน็ โบราณสถานของชาต ิ สิ่งสำคัญ คือ ทับหลัง ที่พบวางอยู่ เมื่อวนั ที่ ๘ มนี าคม พ.ศ. ๒๔๗๘ ประกาศ หน้าปราสาทประธาน มีขนาดใหญ่กว่า กำหนดขอบเขตโบราณสถานครอบคลุม ทับหลังทวั่ ไป กวา้ ง ๑.๑ เมตร ยาว ๒.๗ พน้ื ที่ ๑๓ ไร่ ๑๒ ตารางวา เมื่อวันที่ ๑๘ เมตร หนา ๐.๘๕ เมตร เปน็ หินทรายสลกั พฤศจกิ ายน พ.ศ. ๒๕๒๕ ภาพพระอินทร์ทรงช้างเอราวัณ ประกอบ เดมิ บรเิ วณนีพ้ บปราสาทขอม ๒ องค์ ลายใบไม้ม้วน ท่อนพวงมาลัย บุคคล ตั้งห่างกัน ๑๗ เมตร ภายในวงล้อมคูน้ำ ร่ายรำ และเทพนมในซุ้ม ๑๐ ซุ้มเรียงกัน เดยี วกนั องคท์ างทศิ ตะวนั ออก คอื ปราสาท ปัจจุบันปราสาทสังข์ศิลป์ชัยเหลือให้เห็น บ้านจาน ปัจจุบันพังทลายไม่เหลือซาก สว่ นฐานกบั บางสว่ นของผนงั และกรอบประต ู เหลือให้เห็นเพียงองค์ทางทิศตะวันตก ป ทับหลังขนาดใหญ่ของปราสาทสังข์ศิลป์ชัย (ปกติทับหลังจะวางอยู่บนหรือหลังกรอบประตูปราสาท) 38 สารบัญ

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติสุรินทร์ การละเล่น เรือมอนั เร เรือมอันเร หรือรำสาก (เรือม แปลวา่ รำ อนั เร แปลว่า สาก) เป็นการละเลน่ ของ ชาวเขมรถิ่นไทยในจังหวัดสุรินทร์ เดิมนิยม เล่นกันบริเวณลานหมู่บ้านหรือลานวัด เพื่อ ความสนุกสนานในช่วงงานบุญเดือน ๕ (ประมาณเดือนเมษายน) หลังฤดูเก็บเกี่ยว แต่ปัจจุบันเล่นกันทุกสถานที่และโอกาส ลักษณะคล้ายการละเลน่ ลาวกระทบไม้ พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติสุรินทร์ อยู่ อุปกรณ์ คือ สาก ที่ทำจากไมเ้ นื้อแขง็ ถนนสรุ นิ ทร์- ชอ่ งจอม ตำบลเฉนยี ง อำเภอ ยาว ๒- ๓ เมตร ๒ ทอ่ น และไมห้ มอนสำหรบั เมืองสุรินทร์ จังหวัดสุรินทร์ เปิดให้ชม วางรองหัวทา้ ยสาก ยาวประมาณ ๑.๕ เมตร อยา่ งเปน็ ทางการเมอ่ื พ.ศ. ๒๕๔๘ สรา้ งขน้ึ ๒ ทอ่ น เครื่องดนตรีประกอบด้วย โทน ปี่ใน ภายใต้นโยบายของกรมศิลปากรที่ต้องการ ซออู้ ตะโพน ฉิง่ และกรบั จัดตั้งพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติประจำเมือง ผู้แสดงทั้งหญิงชาย จะสลับกันเข้า ให้ครอบคลุมทุกจังหวัดทั่วประเทศ จัด ไปรำระหว่างสากที่กระทบกันตามจังหวะ แสดงประวัติความเป็นมาธรรมชาติวิทยา การจัดแสดงที่สำคัญ เช่น ทับหลัง ดนตรี โดยยกเท้าให้พ้นในจังหวะที่สาก กลมุ่ ชาตพิ นั ธ์ุ และโบราณวตั ถตุ า่ งๆ มากกวา่ (แผ่นหินเหนือกรอบประตู) สมัยนครวัด กระทบกัน จัดเป็นการละเล่นที่สร้างความ สนกุ สนานครกึ ครนื้ ๑,๐๐๐ ชิน้ ทพ่ี บในจงั หวดั สรุ ินทร์ จากปราสาทศีขรภูมิ (ปราสาทบ้านระแงง) อาคารพพิ ธิ ภณั ฑสถานแหง่ ชาตสิ รุ นิ ทร์ ทับหลังสมัยไพรกเมงจากปราสาทภูมิโปน ดูที่ ปราสาทภูมิโปน / ปราสาทศีขรภูมิ (ปราสาทบ้านระแงง) / มีรูปทรงร่วมสมัย ประยุกต์มาจากปราสาท หุ่นจำลองพระยาสุรินทร์ภักดีศรีณรงค ์ หมู่บ้านช้างบ้านตากลาง / ขอม ภายในจัดแสดงเรื่องราวต่างๆ ด้วย จางวาง (เชียงปุม) ผู้สร้างเมืองสุรินทร์ หมู่บ้านทอผ้าบ้านจันรม / หมู่บ้านทอผ้าไหมยกทองจันทร์โสมา วิธีการนำเสนอและสื่อที่หลากหลาย ทั้ง ห่นุ จำลองการละเล่นเรอื มอันเร หรือรำสาก บ้านท่าสว่าง / โบราณวตั ถุ ศิลปวัตถขุ องจริง แบบจำลอง ของชาวไทยทม่ี วี ฒั นธรรมแบบเขมรถน่ิ ไทย หมู่บ้านหัตถกรรมเขวาสินรินทร์ / อนุสาวรีย์พระยาสุรินทร์ภักดีศรีณรงค์จางวาง โบราณสถาน ที่อยู่อาศัย หุ่นจำลองบุคคล ฉากจำลองบรรยากาศหมู่บ้านเลี้ยงช้าง (เชียงปุม) พิธีกรรม ภาพถ่าย ภาพวาด วีดิทัศน์ ของชาวกยู (กวย สว่ ย) วดี ิทัศนข์ ้ันตอนการ แผ่นบันทึกเสียง และคอมพิวเตอร์ระบบ ผลติ ผา้ ไหม และประเกอื ม หรอื ลกู ประคำเงนิ สัมผัสหน้าจอ (Touchscreen Computer) ฯลฯ พ 39 สารบัญ

วนอุทยานป่าสนหนองคู สนสองใบ ชือ่ อ่ืน : เกี๊ยะเปลอื กดำ แปก สะรอยล์ สนเขา สนหางมา้ ชื่อสามัญ : Merkusii Pine ชือ่ วิทยาศาสตร์ : Pinus merkusii Jungh & de Vriese วงศ์ : PINACEAE สนสองใบเป็นไม้ยืนต้นขนาดกลางถึง ใหญ่ สงู ๑๐ - ๓๐ เมตร ลำตน้ ตรง เรอื นยอด สมบูรณ์ รูปทรงกลม หรือรูปกรวยคว่ำ เปลือกดำหรือน้ำตาลปนดำ แตกเป็นร่อง ลึกหนา มักมียางและชันสีเหลืองอ่อนตาม ร่องแตก ใบแคบเรยี วยาวเปน็ กระจุก กระจกุ ละ ๒ ใบ ยาว ๑๕ - ๒๕ เซนติเมตร โคนใบ อัดแน่นในกาบหุ้ม ขึ้นเป็นกลุ่มตามภูเขาที ่ แห้งแล้ง และขึ้นปะปนกับป่าเต็งรังทาง วนอุทยานป่าสนหนองคู อยู่ที่ตำบล พฤศจกิ ายน) และฤดหู นาว (เดอื นธนั วาคม - ภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ พบมากบนพื้นทส่ี งู ระหวา่ ง ๖๐๐ - ๑,๘๐๐ ทบั ทนั อำเภอเมอื งสุรนิ ทร์ จังหวัดสรุ ินทร์ กมุ ภาพันธ)์ ประกาศเปน็ วนอทุ ยาน เมอ่ื วนั ท่ี ๒๙ ตลุ าคม พืชพันธุ์ ป่าสนสองใบที่ขึ้นบนที่ราบ เมตร จากระดบั ทะเลปานกลาง พ.ศ. ๒๕๒๔ ครอบคลมุ พนื้ ที่ ๑๐ ตาราง เปน็ กลมุ่ ใหญ่(สว่ นใหญป่ า่ สนสองใบ มกั พบ กโิ ลเมตร (๖,๒๕๐ ไร่) ลักษณะเดน่ คอื มี บรเิ วณที่สูงตัง้ แต่ ๖๐๐ เมตร เหนอื ระดับ นกเขาหลวง (Streptopelia chinensis) ต้นสนสองใบ (Pinus merkusii Jungh & ทะเลปานกลางขึ้นไป) โดยขึ้นปะปนกับ นกกะปูด (Centropus sinensis) นกเอี้ยง de Vriese) ขึ้นอยจู่ ำนวนมาก พบในหลาย ปา่ เบญจพรรณ ไมส้ ำคญั คอื ยางนา(Diptero- (Acridotheres tristis) พื้นที่ของอำเภอจอมพระ อำเภอสังขะ carpus alatus Roxb. ex G.Don) กระบาก ภายในวนอุทยานฯ เป็นที่ต้ังของ สถานี และอำเภอเมืองสุรินทร์ ที่สำคัญคือ เป็น (Anisoptera costata Korth.) เหยี ง (Dip- อนุรักษ์พันธุ์ไม้ป่าหนองคู มีภารกิจในการ ป่าสนสองใบที่ขึ้นในบริเวณที่มีความสูง terocarpustuberculatus Roxb.) ยางกราด ดูแลอนุรักษ์พันธุ์สนสองใบ ศึกษาวิจัยการ จากระดับทะเลปานกลางไม่มาก หรือ (Dipterocarpus intricatus Dyer) นนทรี เจริญเติบโต ลักษณะทางพันธุกรรมและ ขึ้นบนพื้นที่ราบแห่งเดียวในประเทศไทย (Peltophorum pterocarpum (DC.) การแพร่พันธุ์ตามธรรมชาติ เพื่อประโยชน ์ ถือเป็นเอกลักษณ์ทางธรรมชาติอย่างหนึ่ง Backer ex K. Heyne) ประดู่ (Pterocarpus ในการเพาะขยายพันธ์ุ ของจังหวัดสรุ ินทร์ macrocarpus Kurz.) สะเดา (Azadirachta วนอุทยานปา่ สนหนองคไู ม่มที ี่พัก แต่ม ี ภมู ิประเทศ เปน็ พืน้ ที่ราบสูงจากระดบั indica A. Juss. Var siamensis Valt.) สถานที่กางเต็นท์ และห้องสุขาไว้ให้บริการ ทะเลปานกลาง ๑๗๐ เมตร พื้นดินเป็น ลำดวน (Melodorum fruticosum Lour.) ปัจจุบันเป็นสถานที่พักผ่อนหย่อนใจของ ดินร่วนปนทราย ระบายน้ำได้ดี ความอุดม และมะค่าแต้ (Sindora siamensis Teijsm. ชาวเมืองและผู้ทีส่ นใจศึกษาธรรมชาติ สมบูรณ์ต่ำ & Miq.) ภมู อิ ากาศ คอ่ นขา้ งแหง้ แลง้ ประกอบดว้ ย สตั วป์ า่ มเี ฉพาะสตั วข์ นาดเลก็ เชน่ บา่ ง ๓ ฤดู คือ ฤดูร้อน (เดือนมีนาคม - (Cynocephalus variegatus) กระต่ายป่า พฤษภาคม) ฤดูฝน (เดือนมิถุนายน - (Lepus pequensis) แย้(Liolepis rubianate) ว 40 สารบัญ

วนอุทยานพนมสวาย วนอุทยานพนมสวาย ครอบคลุมพื้นท ี่ ตำบลบัว อำเภอเมืองสุรินทร์ และตำบล เชื้อเพลิง อำเภอปราสาท จังหวัดสุรินทร ์ ประกาศเปน็ วนอทุ ยานเมอ่ื วนั ท่ี ๒๒ มถิ นุ ายน พ.ศ. ๒๕๒๗ ครอบคลมุ พืน้ ท่ี ๓.๙๖ ตาราง กิโลเมตร (๒,๔๗๕ ไร่) พื้นที่เป็นภูเขา เตี้ยๆ เรียกว่า เขาสวาย ปกคลุมด้วย ป่าเต็งรังที่อุดมสมบูรณ์ ยอดเขาเป็นที่ ประดิษฐานสิ่งศักดิ์สิทธิ์คู่บ้านคู่เมืองของ ชาวสุรินทร์ และเป็นจุดชมทิวทัศน์มุมสูง เชิงเขามีอา่ งเกบ็ นำ้ ภูมิประเทศ เป็นภูเขาไฟที่เกิดจาก การปะทุของลาวาเมื่อประมาณ ๑ ล้าน - ๙ แสนปกี ่อน สณั ฐานทรงกลม มเี นื้อลาวา พอกสงู จนกลายเป็นยอดเขา ๓ ลกู เชอ่ื ม theres tristis) นกเป็ดน้ำ (Callonetta พระพุทธบาทจำลองดังกล่าว ศาลาสร้าง ตอ่ กนั สงู ไลเ่ ลย่ี กนั คอื พนมเปราะ พนมเสรย leucophrys) ฯลฯ แล้วเสร็จเมื่อวันที่ ๑๕ กรกฎาคม พ.ศ. และ พนมกรอล สถานที่ที่น่าสนใจมีหลายแห่ง ส่วน ๒๕๒๕ นอกจากนี้ยังมีอนุสรณ์สถานของ ภูมิอากาศ ประกอบด้วย ๓ ฤดู คือ ใหญ่เป็นภเู ขา (พนม) หรอื เนนิ เขา เช่น พระราชวฒุ าจารย์(ดลู ย์ อตโุ ล) พระอรยิ สงฆ์ ฤดูร้อน (เดือนกุมภาพันธ์ - พฤษภาคม) พนมเปราะ สูง ๒๑๐ เมตร จาก รูปหนง่ึ ของจังหวัดสรุ ินทร์ ฤดูฝน (เดือนมิถุนายน - ตุลาคม) และ ระดับทะเลปานกลาง ยอดเขาประดิษฐาน อ่างเก็บน้ำ ขนาดย่อมเชิงพนมสวาย ฤดูหนาว (เดอื นพฤศจิกายน - มกราคม) พระพทุ ธรปู ปนู ปน้ั ขนาดใหญท่ ส่ี ดุ ในจงั หวดั เคยเป็นพื้นที่สัมปทานระเบิดหินในอดีต พืชพันธุ์ เป็นป่าเต็งรัง พันธุ์ไม้สำคัญ สุรนิ ทร์ หน้าตกั ๑๕ เมตร ปางประทานพร ต่อมากลายเป็นอ่างเก็บน้ำตามธรรมชาติ ได้แก่ เต็ง (Shorea obtusa Wall. ex หันพระพักตร์ไปทางทิศตะวันออก ตั้งเด่น บรรยากาศรม่ รืน่ Blume) รัง (Shorea siamensis Miq.) เปน็ สงา่ มองเหน็ ไดจ้ ากทกุ ทศิ ทาง แลว้ เสรจ็ นักท่องเที่ยวสามารถนำรถขึ้นไปจอด ติ้วขน (Cratoxylum formosum (Jack) เมื่อวันที่ ๓๐ มกราคม พ.ศ. ๒๕๒๐ ที่วัดพนมสวาย แล้วเดินชมสิ่งสำคัญบน Dyer subsp. pruniflorum (Kurz) Gogel.) พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวพระราชทาน ยอดเขาทง้ั ๓ ยอดซง่ึ อยใู่ กล้ๆ กันได้ โดย แต้ว (Cratoxylum maingayi Dyer) นามวา่ พระพุทธสรุ นิ ทรมงคล ท้ัง ๓ แหง่ มจี ุดชมทิวทัศน์มมุ สูงทสี่ วยงาม ยางกราด (Dipterocarpus intricatus พนมเสรย สูง ๒๐๐ เมตร จากระดับ มองเหน็ ทอ้ งทงุ่ โดยรอบ เยย่ี มชมไดต้ ลอดปี Dyer) ฯลฯ ในชว่ งเดอื นกมุ ภาพนั ธ์- เมษายน ทะเลปานกลาง ยอดเขาเป็นที่ตั้งของ ในวันขึ้น ๑ ค่ำ เดือน ๕ (ประมาณเดอื น ต้นหมากหม้อ หรือหมักม่อ (Rothmannia วัดพนมสวาย (วดั พนมศลิ าราม) ภายในวัด เมษายน) จะมี งานประเพณขี น้ึ เขาสวาย เพ่ือ wittii (Craib) Bremek) จะออกดอกบาน มีสระน้ำที่เคยเป็นปล่องภูเขาไฟ รายล้อม สักการะสิ่งศักดิ์สิทธิ์ เป็นงานบุญประจำปี สะพรัง่ กระจายทั่วป่า ด้วยบรรยากาศร่มรื่น บันไดทางขึ้นมีระฆัง ที่สำคญั ของชาวสรุ นิ ทร์ สัตว์ป่า วนอุทยานพนมสวาย เป็นที ่ ๑,๐๘๐ ใบ จาก ๑,๐๘๐ วัด ทั่วประเทศ ดูที่ งานประเพณีขึ้นเขาสวาย อาศยั ของสตั วป์ ่าขนาดเล็ก เชน่ กระตา่ ยป่า พนมกรอล สูง ๒๒๘ เมตร จากระดับ (Lepus pequensis) นกกวัก (Amauror- ทะเลปานกลาง ยอดเขาเป็นที่ประดิษฐาน nis phoenicurus) นกปูด (Centropus รอยพระพทุ ธบาทจำลอง ทช่ี าวสรุ นิ ทรร์ ว่ มกนั ชอื่ ภูเขาในวนอทุ ยานพนมสวาย ชื่อภูเขาต่างๆ ในวนอุทยานพนมสวาย sinensis) นกกางเขนดง (Copsychus สร้างไวเ้ ม่ือ พ.ศ. ๒๔๗๑ เพื่อเป็นพทุ ธบชู า มาจากภาษาเขมร พนม แปลว่า ภเู ขา สวาย malabaricus) นกเขาหลวง (Streptopelia โดยจำลองแบบมาจากพระพุทธบาทจังหวัด แปลวา่ มะมว่ ง เปราะ แปลว่า ผชู้ าย เสรย chinensis) นกกระจิบธรรมดา (Ortho- สระบุรี ต่อมา พทุ ธสมาคมสุรินทร์ ได้สรา้ ง แปลวา่ ผหู้ ญงิ และ กรอล แปลวา่ คอก tomus sutorius) นกเอี้ยง (Acrido- ศาลาอัฏฐมุข ขึ้น เพื่อใช้ประดิษฐานรอย ว 41 สารบัญ

วัดบูรพาราม หลวงพ่อพระชีว์ (ประจี) วัดบรู พาราม อยู่ทถี่ นนจติ บำรงุ ตำบล ในเมือง อำเภอเมอื งสุรนิ ทร์ จงั หวัดสรุ ินทร์ เปน็ พระอารามหลวงชน้ั ตรชี นดิ สามญั สงั กดั คณะสงฆ์มหานิกาย ไม่ปรากฏหลักฐาน การสร้าง แต่สันนิษฐานว่าชาวเมืองร่วมกัน สร้างข้นึ ในสมัยอยุธยาตอนปลาย หรอื สมยั รตั นโกสินทร์ตอนตน้ ชว่ ง พ.ศ. ๒๓๐๐ - ๒๓๓๐ คราวเดียวกบั การสรา้ งเมืองสุรินทร ์ สงิ่ สำคัญของวัดน้ี คอื หลวงพ่อพระชีว์ (ประจี) เป็นพระพุทธรูปปูนปั้น ปาง มารวิชัย หน้าตัก ๘ ศอก ศิลปะพื้นเมือง ประดิษฐานภายในวิหารจัตุรมุขด้านหลัง พระอุโบสถ เป็นพระพุทธรูปศักด์สิ ทิ ธ์ิคบู่ า้ น คู่เมืองของชาวสุรินทร์ สันนิษฐานว่าสร้าง ขึ้นพร้อมกับวัดบูรพาราม ทุกวันมีผู้เข้า มาสักการะเป็นจำนวนมาก ดูที่ อนุสาวรีย์พระยาสุรินทร์ภักดีศรีณรงค์จางวาง (เชียงปุม) ศาลหลักเมืองสุรินทร์ ศาลหลักเมืองสุรินทร์ อยู่ที่ถนน วันที่ ๒๑ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๑๕ หลกั เมอื ง ตำบลในเมอื ง อำเภอเมอื งสรุ นิ ทร์ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงเจิมเสา จังหวัดสรุ ินทร์ เดิมมีเพยี งตัวศาล ไม่มีเสา หลักเมือง ณ พระตำหนกั จติ รลดารโหฐาน หลักเมอื ง ต่อมา พ.ศ. ๒๕๑๑ จังหวดั ไดข้ อ พระราชวังดุสิต พร้อมพระราชทานพระ กรมป่าไม้ช่วยหาไม้ชัยพฤกษ์ขนาดใหญ่ ราชดำรัสว่า “การสร้างเสาหลักเมืองนี้ดี มาทำเสาหลักเมือง ได้รับบริจาคจากนาย เป็นหลักแหล่งแห่งความสามัคคี ขอให้ ประสิทธิ์ มณีกาญจน์ ราษฎรหมู่ที่ ๑ ชาวสุรินทร์จงมีความสามัคคีกัน สร้าง ตำบลลุ่มสุ่ม อำเภอไทรโยค จังหวัด ความเจรญิ ใหก้ า้ วหนา้ และขอใหช้ าวสรุ นิ ทร์ กาญจนบุรี กรมศิลปากรแกะสลักตกแต่ง จงมีความรม่ เยน็ เปน็ สุข” ทำเป็นเสาหลักเมืองสูง ๓ เมตร เส้น จากนั้นมีการเชิญเสาหลักเมืองมา รอบวง ๑ เมตร และออกแบบอาคารเป็น ประดษิ ฐานไว้ภายในศาลหลักเมืองเมื่อวันที่ สถาปัตยกรรมไทยประยุกต์เลียนแบบ ๑๕ มนี าคม พ.ศ. ๒๕๑๗ และเปน็ ศูนยร์ วม ว-ศ ปราสาทหนิ จิตใจของชาวเมืองสุรินทร์สืบมาจนปัจจุบัน 42 สารบัญ

ศูนย์บรกิ ารวชิ าการดา้ นพชื และปจั จัยการผลิตสุรนิ ทร์ ศูนย์บริการวิชาการด้านพืชและปัจจัย การคดั เลอื กพนั ธุ์ การเลือกพ้ืนทป่ี ลกู การ ด้วยสีที่ได้จากธรรมชาติ เช่น ครั่ง คราม การผลิตสุรินทร์ อยู่หมู่ที่ ๔ ตำบลคอโค เตรยี มดนิ การปลกู การดแู ลรักษาไปจนถึง ขม้ิน ฯลฯ อำเภอเมืองสุรินทร์ จังหวัดสุรินทร์ สังกัด การเก็บเกี่ยว พิพิธภัณฑ์ผ้าไหม จัดแสดงผ้าไหม กรมวิชาการเกษตร กระทรวงเกษตรและ โรงเรอื นเลย้ี งไหม เปน็ ทเ่ี ลย้ี งหนอนไหม รูปแบบและลวดลายต่างๆ ที่มีชื่อเสียงของ สหกรณ์ ตง้ั ขน้ึ เพอ่ื ศกึ ษาวจิ ยั การปลกู หมอ่ น พันธุ์พื้นเมืองตามแบบที่ชาวสุรินทร์เลี้ยง สุรนิ ทร์ เชน่ ผ้าปมู ผ้าโฮล ผา้ อัมปรม ฯลฯ เลี้ยงไหม และเปิดเป็นแหล่งท่องเที่ยว จริงในชวี ิตประจำวัน ซึง่ ให้เส้นใยคณุ ภาพด ี เปิดใหเ้ ข้าชมทุกวนั ในเวลาราชการ เชิงอนุรักษ์ด้านการเกษตรในรูปพิพิธภัณฑ์ มีคุณสมบัติในการระบายอากาศ เมื่อนำ ดูที่ หมู่บ้านทอผ้าบ้านจันรม / หมู่บ้านทอผ้าไหม ยกทองจันทร์โสมา บ้านท่าสว่าง / หมู่บ้าน ธรรมชาติ ให้ความรู้เรื่องการปลูกหม่อน ไปทอเป็นผ้าตัดเย็บสวมใส่จะรู้สึกสบาย หัตถกรรมเขวาสินรินทร์ เลี้ยงไหม ไปจนถึงการทอผ้าพื้นบ้านของ และไม่ยบั งา่ ย ชาวสุรินทร์แบบครบวงจร อาคารสาวไหมและทอผ้า จัดแสดง พืน้ ทีป่ ระมาณ ๕ ไร่ แบง่ เป็นส่วนวจิ ัย การสาวไหม เตรยี มเสน้ ไหม มัดลาย และ และจัดแสดงความรู้ ๕ สว่ น ประกอบด้วย กระบวนการทอผา้ แบบด้ังเดมิ แปลงปลูกหม่อนสาธิต พื้นที่ประมาณ อาคารสาธิตการย้อมสีธรรมชาติ จัด ๒ ไร่ ใหค้ วามร้เู รอ่ื งการปลกู หม่อน ตงั้ แต่ แสดงวตั ถุดบิ และข้นั ตอนการย้อมเสน้ ไหม ศ 43 สารบัญ

หมู่บ้านจักสานบ้านบุทม บ้านบุทม ตำบลเมืองที อำเภอเมือง เครื่องจักสานแต่ละชิ้นจะทำโครงจาก สุรินทร์ จังหวัดสุรินทร์ เป็นหมู่บ้านที่ม ี หวายน้ำ (Calamus godefroyi Becc.) ชื่อเสียงด้านการทำเครื่องหวายจักสาน ซึ่งเป็นหวายเส้นใหญ่และแข็งแรง ส่วน หลากหลายรปู แบบ เชน่ ตะกรา้ กระเปา๋ หบี ลวดลายจะใช้ หวายหางหนู (Calamus ใส่ของ กลอ่ งใสก่ ระดาษชำระและโตก ฯลฯ Spp.) ซึ่งเส้นเล็กเหนียวทนทาน และม ี เล่ากันว่าคนในหมู่บ้านซึ่งเคยต้องโทษ ผิวมันวาว ทั้งสองชนิดเป็นวัตถุดิบที่หา อยู่ในเรือนจำจังหวัดสุรินทร์ เมื่อประมาณ ได้งา่ ยในท้องถิ่น พ.ศ. ๒๔๗๕ คือผู้นำวิธีจักสานเครื่องใช้ ชาวบ้านบุทมทำเครื่องจักสานหวาย ด้วยหวายในเรือนจำมาเผยแพร่ในหมู่บ้าน เกือบทุกครัวเรือน นักท่องเที่ยวสามารถ โดยเริ่มจากการทำใช้ในครวั เรอื น ภายหลัง แวะเข้าไปชมขั้นตอนการผลิต และซื้อ มีผู้ทดลองทำจำหน่าย ปรากฏว่าได้รับ เครื่องจักสานบ้านบุทมได้ที่ ร้านวังหวาย ความสนใจจากตลาด จึงผลิตกันอย่าง รมิ ถนนปากทางเขา้ หมูบ่ า้ น เปน็ ลำ่ เปน็ สนั ห 44 สารบัญ

หมู่บ้านช้างบ้านตากลาง หมู่บ้านช้างบ้านตากลาง อยู่ที่ตำบล กระโพ อำเภอท่าตูม จังหวัดสุรินทร์ เป็น หมู่บ้านของชาวกยู (กวย สว่ ย) ซ่ึงเลย้ี งชา้ ง กันมาตั้งแต่บรรพบุรุษ หนังสือบันทึกสถิต ิ โลกกินเนสส์ (Guinness Book of World Records) บนั ทกึ ไวว้ า่ เปน็ หมบู่ า้ นทม่ี จี ำนวน ช้างเลี้ยงมากที่สุดในโลก ภาครัฐส่งเสริม ให้เป็นหมู่บ้านนำร่องของโครงการ นำช้าง คืนถิ่น พัฒนาสุรินทร์บ้านเกิด มีการจัด การทอ่ งเทย่ี วเชงิ วฒั นธรรม ใหน้ กั ทอ่ งเทย่ี ว ได้สัมผัสกับวิถีชีวิตระหว่างคนกับช้างที่ ผูกพันกันอย่างแน่นแฟ้น และเมื่อ พ.ศ. ๒๕๕๐ ไดร้ ับรางวัลอุตสาหกรรมท่องเที่ยว ไทยประเภทชุมชนดีเด่นด้านการท่องเที่ยว จากการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย (ททท.) จังหวัดสุรินทร์ได้เริ่มโครงการ นำช้าง คืนถิ่น พัฒนาสุรินทร์บ้านเกิด ขึ้นเมื่อ เดือนมกราคม พ.ศ ๒๕๔๙ เพื่อนำช้างที ่ ควาญพาออกเร่ร่อนหากินตามเมืองใหญ ่ กลับคืนถิ่น และส่งเสริมให้มีรายได้จาก การท่องเที่ยว โดยกำหนดให้บ้านตากลาง เปน็ หมูบ่ ้านนำร่องของโครงการ ภายในหมู่บ้านตากลางมีกิจกรรมและ สถานทท่ี อ่ งเทย่ี วมากมาย เชน่ ศนู ยค์ ชศกึ ษา สร้างเลียนแบบเพนียดคล้องช้าง จังหวัด พระนครศรอี ยธุ ยา มเี สาเปน็ ปนู ซเี มนตเ์ ลยี น แบบท่อนซุง ภายในมีพิพิธภัณฑ์คชศึกษา อยู่ห่างจากหมบู่ ้าน ๓ กโิ ลเมตร เป็นจุดท่ี และเป็นแบบอย่างของการพัฒนาหมู่บ้าน จัดแสดงประวัติหมู่บ้าน โครงกระดูกช้าง ลำนำ้ ชไี หลลงลำนำ้ มนู พธิ แี ตง่ งานบนหลงั ชา้ ง โดยใหค้ นในชมุ ชนมสี ว่ นรว่ ม มงุ่ เนน้ การจดั เครื่องมือคล้องช้าง ความรู้เกี่ยวกับการ (ซัตเต) งานประเพณีบวชนาคช้าง และ งาน การทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เลี้ยงช้าง ศาลปะกำ สิ่งศักดิ์สิทธิ์ประจำ วันผสู้ งู อายุ และสงกรานตช์ า้ ง อย่างยั่งยนื ควบคไู่ ปกับการอนุรกั ษ์สบื สาน ชุมชน และลานแสดงช้าง โดยให้ช้างแสดง ปัจจุบันหมู่บ้านช้างบ้านตากลางมีช้าง วฒั นธรรมอนั ดงี ามของท้องถ่ิน ความสามารถ นอกจากนี้ยังมีที่พักแบบ เลี้ยงมากกว่า ๑๐๐ เชือก แต่ละวันม ี ดูที่ งานประเพณีบวชนาคช้าง / งานพิธีแต่งงานบนหลังช้าง (ซัตเต) / โฮมสเตย์ (homestay) มีบา้ นพักให้บริการ นักท่องเที่ยวทั้งชาวไทยและต่างชาติเข้า งานวันผู้สูงอายุและสงกรานต์ช้าง / ๑๕ หลัง บริการขี่ช้างชมธรรมชาติรอบ มาเยี่ยมชมเป็นจำนวนมาก จนกลายเป็น งานแสดงช้างและงานกาชาดจังหวัดสุรินทร์ หมู่บ้าน ชมและร่วมอาบน้ำช้างที่วังทะลุ แหล่งท่องเที่ยวสำคัญแห่งหนึ่งของจังหวัด ห 45 สารบัญ

หมู่บ้านทอผ้าบ้านจันรม หมู่บ้านทอผ้าบ้านจันรม ตำบลเขวา และใช้กับร่างกายท่อนบน และ ผ้าไหม ผา้ ไหมสรุ นิ ทร์ ผ้าไหมสุรินทร์ เป็นงานหัตถกรรมที่ สินรินทร์ อำเภอเขวาสินรินทร์ จังหวัด ยกดอก เป็นผ้ายกทอลายดอกไม้ เช่น สืบทอดกันมาตั้งแต่บรรพบุรุษ ผ้าไหมที ่ สร้างชื่อเสียงคือผ้าของกลุ่มวัฒนธรรมแบบ สุรินทร์ เป็นแหล่งผลิตผ้าไหมที่มีชื่อเสียง ลายดอกพกิ ลุ ลายดอกจนั และลายลูกแกว้ ชาวเขมรถิ่นไทยเรียกกันว่า ผ้าเขมร นิยม ใช้ไหมเสน้ เลก็ ทำใหเ้ นอ้ื ผา้ ละเอยี ด ยอ้ มดว้ ย ของจังหวัดสรุ นิ ทร์ นักท่องเที่ยวสามารถเดินชมกรรมวิธี สีธรรมชาติและยังคงอนุรักษ์ลวดลายและ ข้ันตอนการทอแบบด้ังเดิม ชาวบ้านจันรมเป็นชาวไทยที่มีวัฒน- การผลิตผ้าไหมภายในหมู่บ้านได้ เมื่อทอ ผ้าที่โดดเด่นเป็นเอกลักษณ์ ได้แก ่ ผ้าปูม เป็นผ้าทอเส้นพุ่งแบบสามตะกอ ธรรมแบบเขมรถิ่นไทย นิยมทอลายแบบ เสร็จชาวบ้านจะนำไปวางขายรวมกันที่ ลวดลายเด่นชัด เดิมใช้สำหรับชนชั้นสูง ในราชสำนกั ผ้าโฮล เป็นผา้ ท่ีมีสีสันลวดลาย เขมร ผ้าท่มี ีลักษณะเด่น ไดแ้ ก่ ผ้าอัมปรม บริเวณริมถนนสี่แยกวัดบ้านเขวาสินรินทร์ สะดดุ ตา ลายเป็นทางยาวคล้ายใบไผ่ ร้ิวลาย กว้างประมาณครึ่งนิ้ว ผ้าอัมปรม เป็นลาย เป็นผา้ ไหมมัดหม่ลี ายเลก็ ละเอยี ด ผา้ โสรง่ ซึ่งมีร้านค้าผ้าทอและงานหัตถกรรมอื่นๆ ตารางเล็กๆ ตรงกลางมีจุดประสีขาวเด่น บนพื้นนำ้ ตาลแดง มีกรรมวธิ ีการมัดลายและ ไหม ทอลายเส้นตรงตารางสลบั สี ผ้าขาวมา้ เรยี งรายหลายรา้ น การทอที่ยุ่งยากซับซ้อน สุรินทร์เป็นจังหวัด เดียวในประเทศไทยทท่ี อผา้ ลายอมั ปรม ไหม เหมือนผ้าโสร่งแต่หน้าแคบกว่า ดูที่ หมู่บ้านทอผ้าไหมยกทองจันทร์โสมา ผ้าอัมปรม บ้านท่าสว่าง / หมู่บ้านหัตถกรรมเขวาสินรินทร ์ ห ผ้าโฮล 46 สารบัญ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook