Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Air Conditioning

Air Conditioning

Published by kittipong, 2018-04-24 00:28:49

Description: Bay39 Air Conditioning_Rev1

Search

Read the Text Version

เอกสารเผยแพร ภาคอาคารธรุ กจิ หมวดที่ 2 : ระบบปรับอากาศ (Air Conditioning) หมวดที่ 2 : ระบบปรับอากาศ (Air Conditioning) ชดุ การจัดแสดงท่ี 39 ระบบปรบั อากาศ (Air Conditioning)1. หลกั การของเทคโนโลยี ระบบปรบั อากาศในภาคอาคารธรุ กจิ ซึง่ ไดแกอาคารสํานกั งาน โรงแรม โรงพยาบาลสถานศกึ ษา ถือวามีสัดสว นการใชพ ลงั งานไฟฟาสงู ท่สี ดุ ในบางแหง สดั สว นการใชพลงั งานในระบบปรับอากาศอาจสงู กวา 50% ของการใชพลงั งานทัง้ หมดในอาคาร ดังนั้นการออกแบบอาคารท่ีดไี มว า จะเปนการปรับภูมิทศั นหรอื เลอื กวสั ดปุ อ งกันความรอนประเภทตา งๆเขามาภายในอาคาร รวมทง้ั การออกแบบระบบปรบั อากาศและระบบควบคุมท่ดี ีและถกู ตอ งจะทําใหประหยดั พลงั งานและประสทิ ธิภาพการใชพลังงานสูงข้นึ หลกั การทาํ งานของระบบปรบั อากาศแตล ะประเภทจะแตกตา งกันตามลกั ษณะการออกแบบการตดิ ตั้งและใชง าน แตท กุ ระบบโดยสว นใหญจะใชวฏั จกั รการทาํ ความเย็นแบบวงจรอดั ไอโดยมีสารทําความเยน็ เชน R22 หรือ R134a และอน่ื ๆ เปนสารทท่ี ําหนาทด่ี ดู และคายความรอ นจากสารตวั กลางอันไดแกอ ากาศหรือนาํ้ ใหไ ดอ ุณหภมู ิตามตอ งการ เม่ือสารตัวกลางไดร ับความเยน็ จะถูงสงไปยงั อปุ กรณแลกเปลยี่ นความรอ น (ในกรณีท่ีสารตวั กลางเปน นํา้ ) หรอื อากาศเย็นไปยงั พนื้ ทป่ี รบั อากาศโดยตรง (ในกรณีทสี่ ารตวั กลางเปนอากาศ) สวนความรอนท่เี กดิ ข้นึ จะถูกสงไประบายออกทีช่ ดุ ระบายความรอนซ่ึงอาจจะเปน การระบายความรอนดว ยอากาศหรือระบายความรอ นดวยน้าํ ขึน้ อยกู ับระบบท่ีเลอื กใชงานสําหรบั สวนประกอบของวฏั จักรการทําความเย็นนั้นมสี ว นประกอบดงั นี้ชดุ การจดั แสดงท่ี 39 : ระบบปรบั อากาศ (Air Conditioning) หนา 1 จาก 24

เอกสารเผยแพร ภาคอาคารธรุ กจิ หมวดที่ 2 : ระบบปรบั อากาศ (Air Conditioning) 32 41 รูปท่ี 1 วฏั จักรอัดไอ1 – 2 การอดั (Compression) อัดสารทาํ ความเย็นสถานะกาซความดนั ตํา่ ใหเปน กา ซรอ นความดนั สงู2 – 3 การควบแนน (Condensing) สารทําความเย็นสถานะกา ซควบแนนเปนของเหลว และคายความ รอ นออก3 – 4 การขยายตัว (Expansion) จากสารทาํ ความเยน็ ความดันสูงไปเปนความดนั ตํา่ พรอ มท้ังลด อุณหภูมิลงและเปลย่ี นสถานะจากของเหลวเปน ของเหลวผสมกาซ4 – 1 การระเหย (Evaporation) ความรอ นจากสารตัวกลาง (อากาศหรอื นาํ้ ) จะถูกดูดเพือ่ ใชในการ ระเหยของสารทาํ ความเย็นเหลวใหเ ปน กาซ ระบบปรบั อากาศมกั จะถกู ออกแบบเพอ่ื ควบคมุ อณุ หภมู แิ ละความช้ืนอยใู นชว งความสบายของผทู ่ีอยใู นอาคาร หรอื ทเ่ี รียกวา Comfort Zone คอื อุณหภูมิอยูร ะหวา ง 22-27 oC และความชนื้ สัมพทั ธอยูร ะหวาง 20-75% โดยทว่ั ไประบบปรบั อากาศท่ีมกี ารใชง านในภาคอาคารธุรกิจมกี ารออกแบบอยูหลายประเภทดงั นี้ • ระบบปรบั อากาศแบบแยกสว น (Split Type) เปนระบบปรบั อากาศขนาดเลก็ โดยสวนใหญข นาดทาํ ความเย็นจะไมเ กิน 40,000 บีทียตู อ ชว่ั โมง สว นประกอบของเคร่อื งปรบั อากาศจะแยกเปน 2 สวนหลกั คอื สวนของคอลยทาํ ความเยน็ ทเ่ี รยี กวา คอลยเย็น (Fan Coil Unit) ซ่ึงจะติดต้ังในพนื้ ทปี่ รบั อากาศ และคอลย รอ น (Condensing Unit) ซึง่ จะมีเครือ่ งอดั สารทําความเยน็ (Compressor) อยภู ายในโดยจะชดุ การจัดแสดงท่ี 39 : ระบบปรบั อากาศ (Air Conditioning) หนา 2 จาก 24

เอกสารเผยแพร ภาคอาคารธุรกิจ หมวดท่ี 2 : ระบบปรับอากาศ (Air Conditioning) ติดตัง้ อยูภายนอกอาคาร ระหวา งชดุ คอลย รอ นและคอลยเย็นจะมที อ สารทาํ ความเย็นทาํ หนาทเี่ ปนถายเทความรอนออกจากหองปรบั อากาศ• ระบบปรบั อากาศแบบชุดหรือแพค็ เกจ (Package) เปน ระบบปรบั อากาศท่ีใชในอาคารธุรกิจขนาดเล็ก อาจมจี ํานวนหองที่จําเปน ตอ งปรบั อากาศหลายหอ ง หลายโซน หรือหลายชั้น สวนประกอบของเครือ่ งปรับอากาศประกอบดว ย แผงคอลยเย็น คอลยรอน และเคร่อื งอัดสารทาํ ความเยน็ จะรวมอยใู นชุดแพ็คเกจเดยี วกัน โดยมีทอ สง ลมเย็นและทอลมกลับ ซง่ึ จะติดตงั้ อยูดานในแลว ตอ ผา นทะลุออกมาตามผนงั ดา นนอกอาคาร แลว ตอ เชอ่ื มเขากบั ตวั เคร่ืองปรับอากาศแพค็ เกจ ซึง่ จะตดิ ต้งั อยดู า นนอก อาคาร ทอ สง ลมเยน็ (Supply Air Duct) ทาํ หนาทจ่ี า ยลมเยน็ ไปยังพืน้ ทปี่ รบั อากาศ และทอ ลมกลบั (Return Air Duct) ทาํ หนา ทน่ี าํ ลมเยน็ ท่ีไดแลกเปลี่ยนความเย็นใหกบั หองปรับ อากาศกลบั มายงั แผงทาํ ความเย็นอกี ครัง้ นอกจากน้ียงั มกี ารตดิ ต้งั อปุ กรณควบคมุ การจา ย ปริมาณลมเยน็ (Variable Air Volume, VAV) เพอื่ ควบคุมใหปรมิ าณลมเย็นเหมาะสมกับ ภาระการทําความเยน็ ทต่ี อ งการโดยเฉพาะกรณีทีม่ ีภาระลดลงโดยทอ่ี ณุ หภมู ิยงั คงท่ีแตทํา ใหเ กดิ การประหยัดพลงั งาน สําหรบั เครือ่ งปรบั อากาศแบบแพค็ เกจทีใ่ ชงานมใี หเ ลอื กหลาย ประเภทซึง่ มขี อดีและขอ เสยี ของแตละประเภทแตกตางกนั ตามลกั ษณะการใชงาน หากแบง ตามลักษณะการระบายความรอนทีเ่ ครื่องควบแนน (Condenser) สามารถแบง ออกเปน 2 ประเภทคอื o ระบายความรอ นดวยอากาศ (Packaged Air Cooled Air Conditioner) โดยปกติ ขนาดการทาํ ความเยน็ ไมเ กนิ 30 ตัน เหมาะสาํ หรับพ้นื ทีป่ รบั อากาศที่มีขอจาํ กดั ของพื้นทีต่ ิดตง้ั หรอื ระบบน้ําสาํ หรบั ระบายความรอน ประสิทธภิ าพสาํ หรบั เคร่ืองปรบั อากาศแบบแพค็ เกจชนิดระบายความรอ นดว ยอากาศจะอยูระหวา ง 1.4- 1.6 กิโลวัตตต อ ตนั o ระบายความรอ นดว ยน้าํ (Packaged Water Cooled Air Conditioner) ใชส าํ หรบั ระบบทต่ี อ งการขนาดการทาํ ความเย็นมาก ประสทิ ธภิ าพสําหรับเครื่องปรบั อากาศ แบบแพ็คเกจชนดิ ระบายความรอนดวยนํา้ ดีกวา ระบายความรอ นดว ยอากาศโดยจะ อยูประมาณ 1.2 กิโลวัตตต อตัน• ระบบปรบั อากาศแบบใชเครอื่ งทาํ นํา้ เยน็ (Chiller) เปน ระบบปรบั อากาศขนาดใหญบางครงั้ เรียกวาระบบปรับอากาศแบบรวมศนู ย เหมาะ สาํ หรับพ้ืนทที่ ต่ี องการปรับอากาศทขี่ นาดใหญ มีจาํ นวนหองทีจ่ ําเปนตองปรบั อากาศหลาย หอ ง หลายโซน หรอื หลายชัน้ โดยสวนใหญจะใชน ํา้ เปนสารตวั กลางในการถายเทความรอ น หรอื ความเยน็ โดยมสี วนประกอบของระบบดงั ตอไปน้ีชดุ การจัดแสดงท่ี 39 : ระบบปรบั อากาศ (Air Conditioning) หนา 3 จาก 24

เอกสารเผยแพร ภาคอาคารธรุ กิจ หมวดที่ 2 : ระบบปรบั อากาศ (Air Conditioning) ƒ เคร่อื งทํานาํ้ เยน็ (Chiller) ถือวาเปน หวั ใจของระบบปรับอากาศประเภทน้ี ในการ ออกแบบระบบปรับอากาศแบบใชเ ครอ่ื งทาํ น้าํ เยน็ น้ี เคร่อื งทาํ นาํ้ เยน็ จะทําหนาท่ี ควบคุมอุณหภูมิของน้ําที่เขาและออกจากเครอื่ งระเหย (Evaporator) ใหได 12 oC และ 7oC โดยมีอัตราการไหลของนา้ํ เยน็ ตามมาตรฐานการออกแบบของผูผ ลติ อยูที่ 2.4 แกลลอนตอนาทตี อ ตนั ความเย็น ภายในประกอบไปดว ยระบบทาํ น้ําเย็นโดยมวี ฏั จกั ร การทําความเยน็ ท่มี สี ว นประกอบ 4 สวนคือ เครื่องระเหย (Evaporator) เครอ่ื งอัดไอ (Compressor) เครอ่ื งควบแนน (Condenser) และวาลว ลดความดนั (Expansion Valve) สาํ หรบั เครอ่ื งทํานํ้าเยน็ ที่ใชงานมใี หเลือกหลายประเภทซงึ่ มขี อ ดีและขอเสยี ของ แตละประเภทแตกตางกันตามลักษณะการใชงาน หากแบงตามลกั ษณะการระบาย ความรอ นที่เครื่องควบแนน (Condenser) สามารถแบง ออกเปน 2 ประเภทคอื o ระบายความรอนดวยอากาศ (Air Cooled Water Chiller) โดยปกตขิ นาดการ ทําความเยน็ ไมเ กนิ 500 ตนั เหมาะสาํ หรบั พนื้ ที่ปรบั อากาศท่มี ขี อ จํากัดของ พ้นื ทีต่ ิดตั้ง หรอื ระบบนา้ํ สาํ หรบั ระบายความรอน ประสิทธิภาพสาํ หรับเครือ่ ง ทาํ นํ้าเย็นชนดิ ระบายความรอ นดว ยอากาศจะอยรู ะหวา ง 1.4-1.6 กิโลวัตตต อ ตัน o ระบายความรอ นดว ยนาํ้ (Water Cooled Water Chiller) ใชสําหรับระบบท่ี ตองการขนาดการทําความเยน็ มาก ประสิทธภิ าพสาํ หรับเครือ่ งทาํ นํ้าเยน็ ชนิด ระบายความรอ นดว ยนํ้าดีกวา ระบายความรอ นดวยอากาศโดยจะอยรู ะหวาง 0.62-0.75 กโิ ลวัตตต อตนั อยา งไรกต็ ามเคร่ืองทาํ น้าํ เย็นชนดิ ระบายความรอน ดวยน้าํ ตอ งมีการลงทนุ ท่ีสงู กวาเนอ่ื งจากตองมกี ารตดิ ตัง้ หอระบายความรอ น (Cooling Tower) เครือ่ งสูบน้ําระบายความรอ น (Condenser Water Pump) และยังตอ งปรบั ปรงุ คณุ ภาพน้ําใหเหมาะสมเพ่ือปอ งกันการสึกกรอนและตะกรัน ในระบบทอ และเคร่ืองแลกเปลย่ี นความรอ นอันเปนสาเหตทุ ําใหป ระสิทธิภาพ เคร่ืองทาํ นํา้ เยน็ ตาํ่ ลง ในสวนของเครอื่ งระเหย (Evaporator) ท่ใี ชง านกับเครอื่ งทาํ น้ําเย็นทั้ง 2 ประเภทนมี้ ีชนิด ของเครอื่ งระเหย 3 ชนดิ หลกั ๆ คือ o Brazed Plate มกั ใชในเคร่อื งทํานาํ้ เยน็ ขนาดตา่ํ กวา 60 ตัน o DX Shell and Tube โดยสารทาํ ความเยน็ ไหลภายในทอ (Tube) และนํา้ อยู โดยรอบ (Shell) o Flooded Shell and Tube โดยสารทาํ ความเย็นทว มทอ สวนนํ้าจะไหลอยู ภายในทอ และในสว นของเคร่อื งอัดไอที่ใชงานกบั เครอ่ื งทาํ นาํ้ เย็นท้ัง 2 ประเภทมอี ยหู ลายชนิดขึ้นอยู กับขนาดการทาํ ความเยน็ และลักษณะการใชง านไดแกชุดการจดั แสดงที่ 39 : ระบบปรับอากาศ (Air Conditioning) หนา 4 จาก 24

เอกสารเผยแพร ภาคอาคารธรุ กิจ หมวดที่ 2 : ระบบปรบั อากาศ (Air Conditioning) o เครื่องอดั ไอชนดิ ลูกสบู (Reciprocating type) o เคร่ืองอดั ไอแบบสกรู (Screw type) o เครื่องอดั ไอแบบอาศยั แรงเหวี่ยง (Centrifugal type) o เครือ่ งอัดไอแบบสโครล (Scroll type) แตละชนดิ มีสมรรถนะแตกตางกันโดยทีเ่ ครื่องอัดแบบแบบอาศัยแรงเหวย่ี งจะมี ประสทิ ธิภาพสงู สุดเมือ่ เปรยี บเทยี บภาระการทาํ ความเย็นทีเ่ ทากัน รปู ที่ 2 เครอ่ื งทํานาํ้ เยน็ ระบายความรอ นดว ยอากาศ (Air Cooled Water Chiller) รปู ท่ี 3 เครอื่ งทํานา้ํ เย็นระบายความรอ นดว ยน้าํ (Water Cooled Water Chiller) ƒ เคร่อื งสูบนา้ํ เยน็ (Chilled Water Pump) เปน อุปกรณท่ีทาํ หนา ที่สูบสารตัวกลางหรือนํ้า จากเคร่อื งทํานาํ้ เยน็ ไปยังเครื่องแลกเปลย่ี นความรอนเชน เครอ่ื งสงลมเยน็ (Air Handling Unit) หรอื คอลยเย็น (Fan Coil Unit) ƒ ระบบสงจา ยลมเย็น (Air Handling Unit) และทอสงลมเย็น (Air Duct System) ทาํ หนา ท่ลี ดอุณหภูมอิ ากาศภายนอก (Fresh Air) หรอื อณุ หภูมอิ ากาศไหลกลับ (Return Air) ใหอยูในระดบั ทคี่ วบคุมโดยอากาศจะถกู เปา ดว ยพดั ลม (Blower) ผานแผงคอลยนาํ้ เยน็ (Cooling Coil) ซง่ึ จะมีวาลว ควบคุมปรมิ าณนา้ํ เยน็ ท่ีสง มาจากเคร่ืองทาํ น้ําเยน็ ดว ย เครอ่ื งสบู น้ําเย็นตามความตอ งการของภาระการทาํ ความเยน็ ณ.ขณะนน้ั อากาศเยน็ ท่ี ไหลผานแผงคอลยเยน็ จะไหลไปตามระบบทอสง ลมเยน็ ไปยังพืน้ ทป่ี รบั อากาศ ƒ คอลยรอน (Condensing Unit) สาํ หรบั ระบบระบายความรอนดว ยอากาศ หรอื หอ ระบายความรอน (Cooling Tower) สําหรับระบบระบายความรอ นดวยนา้ํ ซึ่งทาํ หนา ท่ี ระบายความรอนออกจากสารทาํ ความเยน็ เพือ่ เปลย่ี นสถานะสารทาํ ความเย็นจากกา ซ ไปเปน ของเหลว สาํ หรบั ระบบระบายความรอนดว ยนาํ้ โดยหอระบายความรอนนน้ั อุณหภมู ิของนํา้ ทอ่ี อกแบบไวเม่ือเขา และออกของเคร่อื งควบแนนจะอยทู ่ี 32 oC และ 37 oC โดยมีอตั ราการไหลของนํา้ ระบายความรอ นตามมาตรฐานการออกแบบของผผู ลติ อยูชุดการจัดแสดงที่ 39 : ระบบปรับอากาศ (Air Conditioning) หนา 5 จาก 24

เอกสารเผยแพร ภาคอาคารธรุ กจิ หมวดท่ี 2 : ระบบปรับอากาศ (Air Conditioning) ท่ี 3.0 แกลลอนตอนาทตี อ ตนั ความเยน็ เนือ่ งจากน้ําท่ใี ชใ นระบบหลอเยน็ ตองใชเ ปน ปริมาณมาก จงึ จําเปนตอ งใชร ะบบนา้ํ หมุนเวียน และใชห อระบายความรอ นเพอื่ ปรบั อณุ หภมู ขิ องนํา้ ใหต ่ําลง เพื่อสามารถนาํ กลบั ไปใชไดอ กี ปริมาณจะสญู เสียไปประมาณ 4-6 % ของปริมาณน้ําหมุนเวยี น ซึง่ แบง เปนนํา้ 2-3 % กระเด็นสูญเสียไปโดยเปลา ประโยชนน้าํ อีก 2-3 % จะระเหยหายไป การระเหยของนํา้ จะมากนอ ยเพียงใดขน้ึ กับ อุณหภูมิกระเปาะเปยกของอากาศที่ใชใ นการถายเทความรอน อุณหภูมิกระเปาะเปยก ของอากาศยิ่งตํ่าเทาใดเราจะย่งิ ไดน้ําหลอเยน็ ที่มีอณุ หภูมติ ่ําย่ิงขนึ้2. การประยกุ ตใ ชงานเทคโนโลยีภาระในระบบปรบั อากาศองคประกอบของความรอนที่หอ งไดรับนนั้ สามารถแบงออกไดเ ปน 2 สว น คือ ความรอนจากภายนอกอาคารและความรอนจากภายในอาคารโดยความรอ นจากภายนอก ประกอบดวย 1. การนําความรอ นผานจากผนัง หลงั คา และกระจก ดานนอก 2. การนาํ ความรอนผาน ผนังเบา เพดาน และพื้น ดา นใน 3. การแผร ังสีความรอนจากดวงอาทติ ยผ า นกระจกสําหรับความรอนจากภายใน ประกอบดวย 4. ความรอนจาก แสงสวา ง 5. คน และสตั ว 6. อปุ กรณต า งๆ เชน อปุ กรณไ ฟฟา มอเตอรของเคร่อื งเปาลม เปน ตน 7. การรัว่ ของอากาศ 8. ที่อณุ หภมู สิ ูงเขา สูห อ งหรอื อาคารที่ปรบั อากาศอาจจะจดั แยกอยอู กี ประเภทหน่ึงก็ไดชดุ การจัดแสดงที่ 39 : ระบบปรบั อากาศ (Air Conditioning) หนา 6 จาก 24

เอกสารเผยแพร ภาคอาคารธุรกิจ หมวดท่ี 2 : ระบบปรบั อากาศ (Air Conditioning) รปู ท่ี 4 ภาระในระบบปรบั อากาศเมื่อพิจารณาถึงแหลง ที่มาของความรอ นของระบบปรบั อากาศ จะพบวาประมาณ 60% เปน ผลจากความรอ นท่ถี า ยเทจากภายนอกอาคาร ผา นผนงั ทบึ และผนงั โปรง แสงเขาสูภ ายในตวั อาคาร สวนที่เหลอื อีก40% เปน ภาระความรอนทีเ่ กดิ ขนึ้ จากภายในตวั อาคารเอง เชน ความรอ นจากหลอดไฟฟา อุปกรณสํานกั งาน และความรอ นจากผอู ยใู นอาคาร เพอ่ื ใหผ ูทอี่ ยูใ นหองปรบั อากาศ มคี วามรูสกึ สบายดังนัน้ในการออกแบบระบบปรบั อากาศจะตอ งคาํ นึงถงึ ตวั ประกอบดงั น้ี ƒ อุณหภมู ขิ องอากาศ ƒ ความชืน้ ของอากาศ ƒ ความเร็วของอากาศ ƒ คุณภาพของอากาศ ƒ ปริมาณของอากาศหมุนเวยี น ƒ การควบคุมเสยี งการเลือกระบบปรบั อากาศการเลือกประเภทของระบบปรบั อากาศทจ่ี ะติดต้ังขึ้นอยูก บั ความตองการและรปู แบบการใชง านของอาคาร โดยทวั่ ไปประเภทของระบบปรบั อากาศที่สามารถเลอื กใชไดม ดี งั น้ีชุดการจดั แสดงท่ี 39 : ระบบปรบั อากาศ (Air Conditioning) หนา 7 จาก 24

เอกสารเผยแพร ภาคอาคารธุรกิจ หมวดท่ี 2 : ระบบปรับอากาศ (Air Conditioning)• ระบบปรบั อากาศแบบแยกสวน (Split Type) เปนระบบปรบั อากาศทตี่ ดิ ตง้ั ใชง านงา ย มีความยดื หยุนในการใชงานสูงแตประสทิ ธิภาพตา่ํ กวา เหมาะสําหรบั อาคารทแ่ี บงเปน พ้นื ท่ีขนาดเล็กหลายๆ สวนเชน อาคารชุดพกั อาศยั ใน บางอาคารอาจจะตดิ ต้งั เครอื่ งปรบั อากาศประเภทนเ้ี ปน บางหอ งเพอื่ ทีว่ า หอ งน้นั อาจจะมคี น มาใชน อกเวลา โดยทไ่ี มตอ งข้ึนกับเครอ่ื งปรบั อากาศชนดิ ทํานํ้าเย็นท่ีสงนํา้ เยน็ มายังหอง ตา งๆ เม่อื เคร่ืองทาํ นา้ํ เยน็ หยุดทํางานก็ยังสามารถใชเ ครอื่ งปรบั อากาศแบบแยกสว นได• ระบบปรบั อากาศแบบชดุ หรอื แพค็ เกจ (Package) เปน ระบบทต่ี ดิ ตัง้ งาย แตส าํ หรับเครือ่ งทมี่ ขี นาดใหญ อาจจําเปนตองมหี องเคร่อื งและระบบ สง จายลมเย็น โดยทว่ั ไปมีประสิทธภิ าพสูงกวา ระบบปรบั อากาศแบบแยกสว น เหมาะ สาํ หรบั อาคารที่แบง พ้ืนทเี่ ปน ชัน้ และตอ งการเปด ปดใชงานอยางอสิ ระ• ระบบปรบั อากาศแบบใชเคร่อื งทาํ น้ําเย็น (Chiller) เปนระบบปรบั อากาศขนาดใหญเ หมาะสําหรบั อาคารที่ตองการปรบั อากาศทง้ั อาคาร มี ความยงุ ยากซับซอนในการออกแบบและตดิ ตง้ั มากกวา ระบบอน่ื ทําใหม คี วามจาํ เปนตอ งมี การออกแบบทางวิศวกรรม โดยมีสว นประกอบคือเครอื่ งทาํ น้ําเยน็ ระบบระบายความรอน ระบบทอและอ่นื ๆ เปนระบบปรับอากาศทมี่ ปี ระสิทธิภาพสงู ลักษณะเครื่องปรับอากาศ ขนาดทําความเยน็ ประสิทธิภาพโดยเฉลี่ย ลกั ษณะการใชงาน (ตัน) (กโิ ลวัตตตอตัน)แบบหนาตาง (Window Type) 0.5-3 1.3-1.5 บานพกั อาศยัแบบแยกสวน (Split Type) 0.75-3.0 สํานักงานแบบแพ็คเกจระบายความรอนดวย 1.3-1.5 บา นพักอาศัยอากาศ (Packaged Air-Cooled Air สํานกั งานconditioner)แบบแพ็คเกจระบายความรอ นดวยนา้ํ 3-30 1.3-1.5 คอนโดมิเนยี มสํานกั งาน(Packaged Water-Cooled Airconditioner) 1-50 1.2 สํานักงาน คอนโดมิเนียมสํานกั งานชดุ การจัดแสดงที่ 39 : ระบบปรับอากาศ (Air Conditioning) หนา 8 จาก 24

เอกสารเผยแพร ภาคอาคารธรุ กิจ หมวดที่ 2 : ระบบปรับอากาศ (Air Conditioning) ลกั ษณะเคร่อื งปรับอากาศ ขนาดทาํ ความเย็น ประสิทธภิ าพโดยเฉล่ีย ลกั ษณะการใชงาน เครอ่ื งทํานาํ้ เย็นระบายชนดิ ความรอน (ตนั ) (กิโลวัตตตอตัน) ดว ยอากาศ (Air-Cooled Water Chiller) 3-10 บานพักอาศัย 10-500 เครอ่ื งทาํ นํ้าเย็นชนดิ ระบายความรอ น ศนู ยค อมพิวเตอรข นาด ดวยน้ํา (Water-Cooled Water Chiller) 500-10,000 1.4-1.6 เล็ก 1.4-1.6 (ปริมาณการกิน ศูนยคอมพวิ เตอร ไฟทงั้ ระบบ) โรงแรมขนาดกลาง หองสง สถานโี ทรทัศน โรงพยาบาลขนาดกลาง ศูนยก ารคาขนาดใหญ สํานักงานขนาดใหญ 0.8-1 (ปรมิ าณการกนิ ไฟ โรงแรม ท้ังระบบ) โรงพยาบาล ศนู ยค อมพิวเตอรข นาด ใหญตารางสรปุ ลกั ษณะการใชง านของเครือ่ งปรับอากาศแบบตา งๆประสิทธภิ าพระบบปรับอากาศประสทิ ธภิ าพของระบบปรบั อากาศสามารถคํานวณและระบุได 2 รูปแบบคอื 1. อตั ราสว นประสิทธภิ าพพลังงาน ( Energy Efficient Ratio, EER) เชน เดียวกบั สัมประสิทธใิ์ น การทาํ งาน เพยี งแตพ ลงั งานความเย็นใชมีหนวยเปน บีทียู / ชม. แตพ ลังงานไฟฟาทีใ่ ชม หี นวย เปนวตั ต เพราะฉะน้ัน คา อัตราสว นประสิทธภิ าพพลงั งาน (EER) = อตั ราการทําความเยน็ (บีทยี ตู อ ชั่วโมง) กาํ ลังไฟฟาปอ นเขา (วัตต) สาํ หรบั คาอตั ราสว นประสทิ ธิภาพพลงั งานจะใชบ อกประสิทธภิ าพของระบบปรับอากาศขนาด เลก็ เชนระบบปรบั อากาศแบบแยกสว น และระบบปรบั อากาศแบบแพ็คเกจขนาดเลก็ชดุ การจดั แสดงท่ี 39 : ระบบปรับอากาศ (Air Conditioning) หนา 9 จาก 24

เอกสารเผยแพร ภาคอาคารธรุ กจิ หมวดท่ี 2 : ระบบปรับอากาศ (Air Conditioning)2. ประสทิ ธภิ าพของเครอ่ื งทํานํา้ เยน็ (Chiller Performance, ChP) เปน คาที่แสดงประสทิ ธิภาพ การทาํ ความเย็น คือ อัตราสวนระหวางพลงั งานท่ีเครื่องสามารถทําความเย็นไดตอ พลังงานท่ี ตองใช ( พลังงานไฟฟา ) TON = ความสามารถในการทําความเยน็ ทีภ่ าระเตม็ พิกัด (ตันความเย็น) หาไดจ าก TON = (FxT) / 50.4 F= ปรมิ าณนํา้ เยน็ ทไี่ หลผานสว นทาํ นาํ้ เยน็ (ลติ รตอ นาท)ี T= อณุ หภูมิแตกตางของน้ําเยน็ ทไ่ี หลเขา และไหลออกจากสวนทาํ นา้ํ เยน็ (องศาเซลเซยี ส) kW = กาํ ลงั ไฟฟาทีใ่ ชของสว นทําน้าํ เย็น (กโิ ลวตั ต)ประสทิ ธิภาพของเครื่องทํานา้ํ เยน็ (ChP) = กาํ ลงั ไฟฟา ปอ นเขา (กโิ ลวตั ต) อตั ราการทาํ ความเยน็ (ตัน)การควบคมุ ระบบปรับอากาศอยา งมีประสิทธิภาพระบบปรบั อากาศทมี่ กี ารใชง านโดยสว นใหญใ นอาคารธรุ กิจน้นั มีท้งั ประเภทระบบปรบั อากาศแบบแยกสว น ระบบปรบั อากาศแบบแพค็ เกจและระบบปรับอากาศแบบใชเคร่ืองทาํ นาํ้ เย็นขึน้ อยกู ับลักษณะการใชงาน สาํ หรบั อาคารธุรกิจขนาดใหญโ ดยทัว่ ไปจะเปนระบบปรับอากาศแบบใชเ ครือ่ งทาํ นา้ํ เย็นเปน หลักดงั แสดงไวในไดอะแกรมดงั นี้ชุดการจัดแสดงที่ 39 : ระบบปรบั อากาศ (Air Conditioning) หนา 10 จาก 24

เอกสารเผยแพร ภาคอาคารธรุ กจิ หมวดท่ี 2 : ระบบปรบั อากาศ (Air Conditioning) รูปที่ 5 ไดอะแกรมระบบปรบั อากาศแบบใชเครอ่ื งทาํ นาํ้ เย็นสวนประกอบหลักของระบบปรับอากาศ • การควบคุมระบบทาํ ความเย็นทเี่ ครื่องทํานํา้ เยน็ • การควบคุมความเร็วรอบของเครอ่ื งสบู น้ําเย็น • การควบคมุ ระบบสง จายลมเยน็ • การควบคมุ หอระบายความรอนการควบคุมระบบทาํ ความเยน็ ทเี่ คร่ืองทําน้ําเย็น โดยปกตเิ คร่อื งทาํ นาํ้ เยน็ ทอี่ อกแบบและตดิ ตัง้ ในอาคารจะถกู ออกแบบใหม ขี นาดทาํ ความเย็นพิกัดมากกวาภาระจรงิ เนือ่ งจากการเปลย่ี นแปลงของสภาพภูมอิ ากาศภายนอก และภาระภายในอาคารทมี่ ีการเปลย่ี นแปลง ทัง้ นเี้ พ่อื ใหอ ุณหภูมกิ ารปรับอากาศเปนไปตามความตอ งการตลอดเวลา ดังน้ันขนาดของเครอ่ื งทํานา้ํ เยน็ จะใหญกวาภาระจากการคํานวณเนื่องจากการเผือ่ ไว นอกจากนก้ี ารตดิ ตั้งชุดการจดั แสดงท่ี 39 : ระบบปรบั อากาศ (Air Conditioning) หนา 11 จาก 24

เอกสารเผยแพร ภาคอาคารธรุ กจิ หมวดท่ี 2 : ระบบปรับอากาศ (Air Conditioning)เครื่องทาํ นํ้าเย็นยังตองมกี ารตดิ ตงั้ ชดุ Standby เพ่ือใชในกรณที ภี่ าระการปรบั อากาศสูงข้ึนและกรณีทาํการบํารุงรักษาเครือ่ งทํานํ้าเย็นโดยไมสงผลกระทบตอการปรบั อากาศในอาคาร ดงั น้นั การควบคุมการทาํ งานของเครอื่ งทํานํา้ เย็นตามความตอ งการภาระการทําความเย็นท่ีมีการเปลย่ี นแปลงตลอดเวลาจงึ มีสวนในเร่อื งการใชร ะบบปรบั อากาศอยา งมปี ระสิทธภิ าพ ระบบควบคุมจะทําการตรวจสอบความตองการของภาระทําความเยน็ (Load) ณ. ขณะใดขณะหน่ึงจากนนั้ จะทําการควบคุมการเดนิ เครื่องของเครอื่ งทํานํา้ เย็น ใหเ หมาะสมกับภาระจริง เนอ่ื งจากโดยปกติเครอื่ งทํานํ้าเย็นทุกประเภทจะถูกออกแบบใหมีประสิทธิภาพสูงสุดเมอ่ื เครื่องทาํ นํา้ เย็นเดนิ ที่พิกดั ภาระสูงสดุ (Full Load) หากภาระของเคร่อื งทาํ น้าํ เย็นลดลงประสทิ ธิภาพจะลดลงไปดวยหรอื การใชพลังงานจะสูงขึ้น (Part Load) ดงั นน้ั เครือ่ งทํานาํ้ เยน็ จึงควรเดนิ ท่ีภาระสงู ทสี่ ุดตลอดเวลาการควบคุมความเรว็ รอบของเคร่ืองสูบนา้ํ เย็นเคร่ืองสบู นํา้ เย็นทีอ่ อกแบบและติดต้งั เพ่ือจา ยนํ้าเย็นใหก ับระบบปรับอากาศโดยทวั่ ไปมีอยู 2 ระบบคือo ระบบปฐมภมู ิ (Primary Chilled Water System) รปู ท่ี 6 ไดอะแกรมระบบปฐมภูมิ เครอ่ื งสูบน้าํ เย็นในระบบปฐมภมู ิ (Primary Chilled Water System) จะมีเครอ่ื งสบู น้าํ เย็น 1 ชุดทาํ หนาที่สบู นา้ํ เยน็ ผานเครอื่ งทาํ นํา้ เยน็ แตละเครื่องและภาระการทําความเย็น (Load) โดยปริมาณนาํ้ เยน็ ท่ไี หลผานเคร่ืองทํานํา้ เย็นจะคงทตี่ ลอดเวลา (Constant Flow) การควบคมุ ปรมิ าณนา้ํ เย็นท่ีชุดการจัดแสดงท่ี 39 : ระบบปรับอากาศ (Air Conditioning) หนา 12 จาก 24

เอกสารเผยแพร ภาคอาคารธุรกิจ หมวดท่ี 2 : ระบบปรบั อากาศ (Air Conditioning)ไหลผานภาระการทาํ ความเย็นจะถกู ควบคุมดว ยวาลวควบคมุ 3 ทาง (Three Way Valve) ในระบบนีเ้ ครอ่ื งสบู นาํ้ เย็นจะทาํ งานพรอมกับเครอื่ งทาํ นํ้าเยน็ ซง่ึ ข้ึนอยกู ับภาระการทาํ ความเย็น สาํ หรบั การตดิ ต้ังชดุ ควบคมุ ความเรว็ รอบของเครือ่ งสูบนา้ํ เย็นจะทําไดเ พยี งปรมิ าณนาํ้ เยน็ สว นเกินท่ไี หลผานเคร่อื งทาํ นาํ้ เยน็ เน่ืองจากเครอ่ื งทาํ นํา้ เยน็ ทีถ่ กู ออกแบบมาตอ งการอัตราการไหลของน้าํ เยน็ คงท่ีo ระบบปฐมภูมิ-ทตุ ิยภูมิ (Primary-Secondary Chilled Water System) รูปท่ี 7 ไดอะแกรมระบบปฐมภมู ิ-ทุตยิ ภมู ิ เครอ่ื งสบู นํ้าเย็นในระบบปฐมภูมิ-ทุติยภมู ิ (Primary-Secondary Chilled Water System) จะมีเคร่อื งสูบนํา้ เย็น 2 ชุด ชดุ ที่ 1 สาํ หรบั วงจรปฐมภูมิ (Primary Loop) ทาํ หนา ทสี่ บู น้ําเยน็ ผานเคร่อื งทาํ น้าํ เยน็ แตละเคร่ือง โดยปริมาณน้ําเย็นท่ไี หลผา นเคร่ืองทํานํา้ เยน็ จะคงทีต่ ลอดเวลา(Constant Flow) และชดุ ที่ 2 สําหรับวงจรทุติยภมู ิ (Secondary Loop) ทาํ หนาที่สูบนา้ํ เย็นไปยังภาระการทําความเย็น (Load) โดยปรมิ าณน้าํ เย็นที่ไหลผานเครือ่ งทํานํ้าเย็นจะคงที่ตลอดเวลา(Constant Flow) การควบคมุ ปรมิ าณน้าํ เยน็ ทีไ่ หลผานภาระการทําความเย็นจะถูกควบคุมดว ยวาลว ควบคมุ 3 ทาง (Three Way Valve) สําหรบั การติดตง้ั ชุดควบคุมความเรว็ รอบของเครอื่ งสบู นํ้าเย็นในวงจรปฐมภูมจิ ะทําไดเ พียงปรมิ าณนาํ้ เย็นสว นเกนิ ทไี่ หลผา นเครอื่ งทํานาํ้ เยน็ เนอื่ งจากเครือ่ งทาํ นํ้าเยน็ ทีถ่ กู ออกแบบมาตอ งการอตั ราการไหลของน้ําเย็นคงที่ สว นการตดิ ต้ังชดุ ควบคมุ ความเร็วรอบของเครอื่ งสูบน้ําเยน็ ในวงจรทตุ ยิ ภูมสิ ามารถตดิ ตงั้ ไดโดยการติตตัง้ วาลว 2 ทางแทนวาลว 3ทาง อัตราการไหลของนา้ํ เยน็ ท่ีลดลงหากภาระลดลงทาํ ใหเ ครื่องสบู นาํ้ เยน็ ปรบั ลดรอบลงชุดการจดั แสดงที่ 39 : ระบบปรบั อากาศ (Air Conditioning) หนา 13 จาก 24

เอกสารเผยแพร ภาคอาคารธุรกจิ หมวดท่ี 2 : ระบบปรบั อากาศ (Air Conditioning) รปู ท่ี 8 ไดอะแกรมระบบปฐมภมู ิ-ทตุ ิยภมู ทิ ี่มกี ารติดตัง้ VSDการควบคุมระบบสง จา ยลมเย็นชดุ การจัดแสดงที่ 39 : ระบบปรบั อากาศ (Air Conditioning) หนา 14 จาก 24

เอกสารเผยแพร ภาคอาคารธรุ กจิ หมวดที่ 2 : ระบบปรบั อากาศ (Air Conditioning) รปู ท่ี 9 แสดงระบบสง จา ยลมเย็นและการควบคมุ ระบบปรบั อากาศทใี่ ชงานในอาคารสว นใหญมักจะเปนระบบปรบั อากาศชนิดปรมิ าณลมเยน็สง ออกคงท่ี (Constant Air Volume System) คือปรมิ าณลมเยน็ ทสี่ งออกจากชุดสง ลมเยน็ (AirHandling Unit) เขาสพู น้ื ทบี่ ริเวณปรบั อากาศในโซนตา ง ๆ มีปรมิ าณลมเย็นสง ออกคงที่ ไมแปรเปลีย่ นตามภาระความรอนที่เกิดขึน้ ในบริเวณปรบั อากาศนนั้ ๆ เพียงแตอุณหภูมลิ มเยน็ สง ออกแปรเปล่ียนไดเพ่อื คงสภาวะอณุ หภมู ิหองใหเหมาะตามท่ีตอ งการ ทั้งนี้โดยอาศยั เทอรโมสแตทเปน ตวั ตดั และควบคุมอุณหภมู ภิ ายในบรเิ วณปรบั อากาศ ปจจุบนั ยงั มีระบบปรบั อากาศอีกชนิดหนึง่ ซ่ึงเร่มิ นิยมใชกนั มากคอืระบบปรบั อากาศชนดิ ปรมิ าณลมเย็นสง ออกแปรเปลย่ี น (Variable Air Volume System) คือปรมิ าณลมเย็นที่สง ออกจากชดุ สง ลมเยน็ เขา สบู รเิ วณปรับอากาศโซนตาง ๆ สามารถแปรเปลย่ี นไดตามภาระความรอ นท่ีเกิดขึ้นในบริเวณปรบั อากาศโซนน้ัน ๆ สวนอุณหภมู ิภายในบริเวณปรบั อากาศแตล ะโซนควบคุมใหค งที่ นอกจากการควบคุมอุณหภูมอิ ณุ หภมู ิและความชนื้ ภายในอาคารแลว ในพืน้ ที่ปรับอากาศทม่ี คี นอยจู าํ นวนมากจําเปนตองมีการระบายอากาศออกในระดับที่เหมาะสมเพ่อื รักษาระดับความเขมขนของคารบ อนไดออกไซดท ่ีเกิดขึน้ จากกจิ กรรมของคน ดงั น้นั ระบบปรับอากาศในอาคารบางครงั้ ตองทําการติดตง้ั CO2 sensor เพื่อใชว ดั คา ปรมิ าณความเขม ขนของคารบอนไดออกไซคและสง สัญญาณกลับไปยงัตวั ควบคุมเพอ่ื ปรบั ปริมาณการเติมอากาศบริสุทธ์ิเขา สรู ะบบปรบั อากาศการควบคุมหอระบายความรอ นการควบคมุ หอระบายความรอ นสาํ หรับระบบปรับอากาศ โดยท่วั ไปจะตอ งเดนิ จํานวนของหอระบายความรอนใหเหมาะสมกบั ภาระการระบายความรอ นทเ่ี คร่อื งทํานาํ้ เยน็ โดยพจิ ารณาทอ่ี ณุ หภูมิกระเปาะเปยกของอากาศย่งิ ตํา่ เทา ใดเราจะยิง่ ไดน าํ้ หลอเย็นทมี่ อี ณุ หภูมติ ่ํายงิ่ ขน้ึแนวทางในการประหยดั พลังงานในระบบปรบั อากาศชดุ การจดั แสดงท่ี 39 : ระบบปรบั อากาศ (Air Conditioning) หนา 15 จาก 24

เอกสารเผยแพร ภาคอาคารธรุ กจิ หมวดท่ี 2 : ระบบปรบั อากาศ (Air Conditioning)ƒ การออกแบบปรับปรุงอาคาร o ปรับปรงุ สภาพแวดลอมโดยรอบ o จดั ทศิ ทางการวางตวั อาคารใหเ หมาะสม (สาํ หรบั อาคารใหม) o ใชว ัสดุกอ สรางท่ีเปนฉนวนกนั ความรอ น o ปอ งกันการร่ัวซึมของอากาศภายนอก o ใชการบังเงาเพื่อหลกี เลย่ี งแสงทส่ี อ งโดยตรงจากดวงอาทิตยƒ การเลือกใชอ ุปกรณ o เลอื กประเภทและขนาดของอุปกรณใ หถกู ตอง o เลอื กใชอปุ กรณประสทิ ธภิ าพสงูƒ การใชง านและการควบคมุ พ้นื ท่ีปรบั อากาศ o ตง้ั คา อุณหภมู ใิ หเ หมาะสม ไมเ ย็นจนเกินไป โดยทวั่ ไปอณุ หภมู ิใชงานในหอ งทํางานไม ควรต่ํากวา 24 oC o หลกี เลย่ี งการใชง านทไี่ มจําเปน o หลกี เล่ียงการใชอปุ กรณท ม่ี ีความรอ นสูงในพ้ืนที่ปรับอากาศ o ใชอุปกรณตรวจวดั และควบคุมทม่ี ีความเทย่ี งตรงและแมน ยาํ เชน เทอรโ มสตัท (Thermostat) เครอ่ื งทําน้ําเย็น o อุณหภูมขิ องนาํ้ เยน็ เขา และออกจากเครือ่ งทาํ น้าํ เยน็ ไมควรตา งกันเกนิ 7 oC ถาคา ออกแบบอยทู ี่ 5.5 oC o ในชวงท่ีภาระการทําความเยน็ ลดลง ควรปรบั อณุ หภมู ขิ องนาํ้ เย็นท่อี อกจากเคร่ือง ระเหย (Evaporator) สูงขึน้ 1-2 oC o น้าํ เยน็ ท่อี อกจากเครื่องระเหย ควรมอี ุณหภูมิสูงกวาอณุ หภมู อิ ิ่มตัวของสารทาํ ความเย็น (Refrigerant) ไมเ กิน 1.5 oC สาํ หรับเครอ่ื งระเหยแบบ Flooded Shell and Tube และ 3 oC สาํ หรับเครือ่ งระเหยแบบ DX Shell and Tube หากผลตา งอณุ หภมู ิสงู กวาน้ี แสดงวาเครอื่ งระเหยสกปรก ทําใหประสทิ ธิภาพการถา ยเทความรอ นลดลงชดุ การจดั แสดงท่ี 39 : ระบบปรับอากาศ (Air Conditioning) หนา 16 จาก 24

เอกสารเผยแพร ภาคอาคารธุรกจิ หมวดที่ 2 : ระบบปรับอากาศ (Air Conditioning) o น้าํ ระบายความรอนที่ออกจากเครอ่ื งควบแนน ควรมอี ุณหภูมิสงู กวาอุณหภูมิควบแนน อ่มิ ตวั ของสารทําความเย็น (Refrigerant) ไมเกนิ 3 oC หากผลตา งอณุ หภมู ิสงู กวา นี้ แสดงวา เครอ่ื งควบแนน สกปรก ทาํ ใหประสทิ ธิภาพการถายเทความรอ นลดลง o ความดันของสารทําความเยน็ ดา นตาํ่ (เคร่ืองระเหย) และความเย็นดา นสูง (เครือ่ ง ควบแนน) ไมค วรตํ่ากวา มาตรฐานเคร่อื งสงลมเย็น o อณุ หภมู ิผิวทอ ของแผงคอลยเยน็ ตองต่ํากวา อุณหภูมขิ องจดุ น้าํ คา งของอากาศทขี่ า มา รบั ความเยน็ o อณุ หภมู อิ ากาศขาออกจากแผงคอลยเยน็ ตอ งสูงกวาอณุ หภูมิน้ําเยน็ ท่ีออกจากแผง คอลยเยน็ ไมเกิน 3.3 oC (6 oF) o อัตราการไหลของอากาศท่ีผานแผงคอลยเย็นควรอยทู ่ี 300-400 ลบ.ฟตุ ตอนาทตี อตนั o ปรบั สมดลุ น้ําทวี่ าลว ปรบั สมดลุ นํ้าเยน็ (Balancing Valve) เพ่อื ใหอ ัตราการไหลของนํ้า เยน็ เขาแผงคอลยเย็นเหมาะสมกับขนาดของแผงคอลยเย็น เพื่อปอ งกันอตั ราการไหล ของน้าํ เยน็ บางจุดเกินและบางจุดขาด เพราะจะทาํ ใหเคร่อื งสง ลมเยน็ ไมสามารถจายลม เย็นไดอยางเพียงพอกรณีทีอ่ ตั ราการไหลนอยเกนิ ไป หรอื บางจดุ อาจเย็นเกินไป เนือ่ งจากอัตราการไหลเกนิหอระบายความรอ น o อณุ หภูมขิ องนาํ้ ท่ีออกจากหอระบายความรอ นไมควรสงู กวาอณุ หภูมิกระเปาะเปย กของ อากาศเกิน 3.3 oC (6 oF) o อัตราการไหลของอากาศตอ งไมนอ ยกวา พิกัดออกแบบ โดยทวั่ ไปอยทู ่ีประมาณ 180- 250 ลบ.ฟตุ ตอ นาทีตอตนั มิฉะนั้นจะระบายความรอนใหก ับน้ําไดน อยการตรวจสอบและการบาํ รุงรกั ษาระบบปรับอากาศเคร่อื งทํานํา้ เย็น ƒ ตรวจสอบประสทิ ธิภาพของเครอ่ื งทํานา้ํ เยน็ หรอื คา กโิ ลวตั ตต อตันความเยน็ (kW/ton) ƒ ตรวจสอบความดันของสารทาํ ความเย็นดานความดนั ต่ําและความดนั สงู ƒ อุณหภมู ขิ องนา้ํ เยน็ เขา และออกจากทาํ นํ้าเยน็ ƒ ตรวจดรู ะดบั นา้ํ มนั ของเคร่อื งอดั ไอ ƒ ทาํ ความสะอาดเครือ่ งควบแนน (Condenser) ทกุ 6 เดอื นเพ่ือกาํ จัดตะกรันและสิง่ สกปรกที่ ผิวดา นในของทอโดยใชน้ํายาหรือแปรงในการทาํ ความสะอาดสําหรบั เครอื่ งควบแนน ที่ชุดการจดั แสดงที่ 39 : ระบบปรับอากาศ (Air Conditioning) หนา 17 จาก 24

เอกสารเผยแพร ภาคอาคารธรุ กจิ หมวดท่ี 2 : ระบบปรบั อากาศ (Air Conditioning) ระบายความรอ นดว ยน้าํ และทําความสะอาดคอลยรอนโดยใชนํ้าลา งทาํ ความสะอาดสาํ หรบั เคร่ืองควบแนน ท่ีระบายความรอนดวยอากาศƒ ทําความสะอาดเครอ่ื งระเหย (Evaporator) ทกุ 6 เดอื นเพอ่ื กาํ จัดตะกรันและสงิ่ สกปรกที่ผิว ดานในของทอ โดยใชน า้ํ ยาหรือแปรงในการทาํ ความสะอาดเคร่อื งสง ลมเยน็ และทอสง ลมเยน็ ƒ ตรวจสอบความตงึ ของสายพานขับพัดลม ƒ ทําความสะอาดแผงกรองอากาศ (Filter) โดยปกติความดันตกครอมแผงกรองอากาศไมควร เกิน 1.2 น้วิ น้ํา หากความดนั ตกครอ มสงู กวา นี้แสดงวาแผงกรองอากาศอุดตนั ภายหลงั ทาํ ความสะอาดแลว ความดนั ตกครอมไมควรเกิน 0.5 นวิ้ น้าํ ƒ ทําความสะอาดแผงคอลยทาํ ความเยน็ (Cooling Coil) ƒ อดั จารบตี ลบั ลูกปน ของมอเตอรแ ละพัดลม ƒ ตรวจสอบสภาพฉนวนวามกี ารฉีกขาดหรอื หลดุ รอ น ƒ ตรวจสอบการรว่ั ของทอ สงลมเย็นหอระบายความรอ น ƒ ทําความสะอาดหอระบายความรอน เพอื่ ใหผวิ ระบายความรอนสะอาดไดแก o การทาํ ความสะอาดหวั กระจายนาํ้ o การทาํ ความสะอาดหรือเปลย่ี นฟลเลอร (Filler) ƒ ควบคุมคุณภาพน้ําอยา งเหมาะสม นา้ํ ท่ใี ชใ นการระบายความรอ นควรเปน น้ําที่สะอาด ปราศจากความกระดา ง เพอ่ื ไมท ําใหเ กิดตะกรนั เกาะทผี่ วิ ทอ ทาํ ใหการถา ยเทความรอ นดีเครื่องสูบนํ้าเยน็ และนํ้าระบายความรอน ƒ ตรวจสอบสภาพซีลของเครอื่ งสบู นํ้าวา มีการรั่วไหลหรอื ไม ƒ อดั จารบตี ลับลกู ปนของมอเตอรและเครอ่ื งสบู นาํ้ ƒ ตรวจสอบฉนวนของทอ น้ําเย็น ƒ ตรวจสอบการส่ันสะเทือนของมอเตอรและเคร่ืองสูบนา้ํ หากพบวามคี า สูงซ่ึงอาจมีสาเหตมุ า จากเพลาของมอเตอรแ ละเคร่อื งสบู น้าํ ไมไ ดศ ูนย (Misalignment) ¾ ศกั ยภาพการประหยดั พลังงานชุดการจัดแสดงที่ 39 : ระบบปรับอากาศ (Air Conditioning) หนา 18 จาก 24

เอกสารเผยแพร ภาคอาคารธรุ กจิ หมวดท่ี 2 : ระบบปรับอากาศ (Air Conditioning) เม่อื พิจารณาศักยภาพการประหยัดพลงั งานในระบบปรับอากาศของอาคารพบวามหี ลายแนวทางที่สามารถดําเนินการได แตล ะแนวทางขึ้นอยกู บั ลกั ษณะการใชงานซ่งึ สามารถพอสรปุ ไดดงั น้ีการจดั การพลงั งาน o เดินเคร่ืองทาํ นาํ้ เยน็ ใหเหมาะสมกับภาระทําความเยน็ ทตี่ องการในอาคาร o เดนิ เครื่องทาํ น้ําเยน็ ชดุ ที่มปี ระสิทธภิ าพสงู สุดกอ นเสมอ o ใชร ะบบการจดั การเคร่อื งทํานํา้ เยน็ หรอื Chiller Manager กรณีทีม่ กี ารใชเคร่ืองทํานํา้ เยน็ หลายๆ ชดุ o ลดการใชงานระบบปรบั อากาศในพ้นื ทป่ี รบั อากาศ o การแบง โซนปรับอากาศเพ่อื งายตอการควบคุมอณุ หภูมิ o ลดการรวั่ ของอากาศภายนอกเขาสูอาคารตามกรอบอาคาร ประตู หนาตา งการปรับตั้งอณุ หภมู แิ ละปริมาณลมจา ย ƒ ปรบั ต้งั อณุ หภูมเิ คร่ืองทาํ นาํ้ เยน็ ใหสงู ขน้ึ จากปกติ 1-2 องศาเซลเซียสกรณที ี่ภาระการ ทําความเย็นลดลง แตตอ งสงั เกตความชืน้ ภายในหอ งปรบั อากาศไมใหสงู ข้ึนจนเกนิ ขอบเขต ความสบาย ซึ่งวิธีการน้สี ามารถประหยัดพลงั งานของเครอ่ื งทําน้ําเยน็ ได 1.5-2% สําหรบั ทกุ ๆ 1 oF ของอุณหภูมินํ้าเย็นท่เี พม่ิ สูงขน้ึ ƒ ลดอุณหภมู ินํ้าหลอเย็นจากหอระบายความรอน (Cooling Tower) ท่ีเขาสูเ ครอื่ งระบาย ความรอ น (Condenser) สามารถประหยดั พลงั งานของเคร่อื งทํานาํ้ เยน็ ได 1.5-2% สาํ หรบั ทกุ ๆ 1 oF ของอณุ หภมู ิน้ําเย็นที่ตํ่าลง ƒ ติดตงั้ ระบบ VAV เพือ่ ปรบั ปรมิ าณตามความตอ งการภาระการทาํ ความเยน็การบํารุงรกั ษา ƒ ใช Automatic Tube Cleaning System เพอื่ ทําความสะอาดเครื่องระบายความรอ น (Condenser) ของเครือ่ งทาํ น้ําเย็น เพ่อื เพิ่มประสิทธิภาพการถายเทความรอ นการใชเทคโนโลยปี ระหยดั พลังงาน ƒ การตดิ ตงั้ ฮที ไปปเพื่อลดความชื้นในระบบปรบั อากาศ ƒ การใชวงลอแลกเปลย่ี นความรอ นของลมเยน็ ทง้ิ กับอากาศเติมภายนอกทําใหล ดภาระ การใชงานของระบบปรบั อากาศ¾ กลมุ เปาหมายการประยุกตใ ชเ ทคโนโลยีผูออกแบบ ผรู ับเหมา สถาบันการศึกษา และประชาชนท่วั ไปชุดการจัดแสดงท่ี 39 : ระบบปรบั อากาศ (Air Conditioning) หนา 19 จาก 24

เอกสารเผยแพร ภาคอาคารธุรกิจ หมวดท่ี 2 : ระบบปรบั อากาศ (Air Conditioning)¾ ผลกระทบตอสง่ิ แวดลอ ม ไมมีผลกระทบสง่ิ แวดลอ มในทางตรงกันขาม อาศัยหลกั ของการปองกันความรอ นและ เทคโนโลยีท่ีมปี ระสทิ ธภิ าพมาชว ยใหการออกแบบทําใหล ดการใชพลังงาน3. ตัวอยางขอ มูลดา นเทคนิคของเครื่องทาํ นา้ํ เยน็ ท่รี ะบายความรอนดวยนํ้า1 2 34 5678 9Notes : The above selection is made based on the In/Out temperature of CW being 12.2/6.7°C,and that of CDW being 29.5/35°C; the fouling factor of cooling water side being 0.0176m2 °C/kW, and that of chilled water side being 0.044 m2 °C/kW.ชุดการจดั แสดงที่ 39 : ระบบปรบั อากาศ (Air Conditioning) หนา 20 จาก 24

เอกสารเผยแพร ภาคอาคารธุรกิจ หมวดท่ี 2 : ระบบปรับอากาศ (Air Conditioning)1=2= รนุ ของเครื่องทํานํ้าเย็น (Model)3= ขนาดทําความเยน็ (Cooling Capacity)4= สมรรถนะของเครอ่ื งทาํ น้ําเยน็ ท่ีภาระเตม็ พกิ ดั (Full Load Performance)5= ขนาดพกิ ัดมอเตอรข องเครอ่ื งอดั ไอ (Compressor) อตั ราการไหลของนาํ้ เยน็ (Chilled Water Flow Rate) ที่ไหลผา นเคร่อื งระเหย6= (Evaporator)7= ความดนั สญู เสยี (Pressure Drop) ของเครื่องระเหย (Evaporator) อัตราการไหลของนา้ํ ระบายความรอ น (Cooling Water Flow Rate) ท่ไี หลผา นเครอื่ ง8= ควบแนน (Condenser)9= ความดันสูญเสยี (Pressure Drop) ของเครื่องควบแนน (Condenser) ขนาดของเครอื่ งทําน้ําเยน็4. กรณีศกึ ษามาตรการตดิ ตงั้ High Efficiency Chiller ทดแทน Chiller (R-22) เดิมสภาพเดมิ กอนปรับปรุง ระบบปรบั อากาศทต่ี ดิ ตงั้ ใชงานภายในอาคารเปน ระบบปรบั อากาศแบบรวมศนู ย โดยติดตง้ัเคร่ืองทาํ นํ้าเยน็ รวมท้ังสิ้น จํานวน 4 เครือ่ ง โดยมเี ครื่องทําความเยน็ แบบหอยโขง ขนาด 750 ตันจํานวน 3 เครอ่ื ง และเคร่อื งทาํ ความเยน็ แบบลกู สบู ขนาด 160 ตนั จาํ นวน 1 เครอื่ ง ซึง่ จะเดนิ เครอ่ื งทํานาํ้ เย็น จํานวน 2 เคร่ืองตอ วัน ประกอบดว ย 750 ตัน จาํ นวน 1 เครอื่ ง และ 160 ตนั จาํ นวน 1 เคร่อื งรายละเอยี ดแสดงระดับการใชพลังงานของเคร่ืองทาํ นา้ํ เยน็ ตามขอกําหนดของกฎกระทรวง(พ.ศ.2538)วา ดวยกําหนดมาตรฐานหลกั เกณฑส ําหรับอาคารควบคมุชุดการจัดแสดงท่ี 39 : ระบบปรับอากาศ (Air Conditioning) หนา 21 จาก 24

เอกสารเผยแพร ภาคอาคารธรุ กจิ หมวดที่ 2 : ระบบปรบั อากาศ (Air Conditioning)จากการตรวจวดั และวเิ คราะหประสทิ ธภิ าพเฉลยี่ ของเครือ่ งทํานํ้าเยน็ แตล ะเครื่องในอาคาร ดงั นี้ ƒ เครื่องทาํ น้าํ เยน็ เครอ่ื งที่ 1 (750 ton) = 0.74 kW/ton ƒ เครอ่ื งทํานํา้ เยน็ เคร่อื งท่ี 2 (750 ton) = 0.73 kW/ton ƒ เครือ่ งทาํ น้ําเยน็ เคร่ืองที่ 3 (750 ton) = 0.83 kW/ton ƒ เคร่อื งทาํ นาํ้ เยน็ เครอื่ งท่ี 4 (160 ton) = 0.93 kW/tonขอ เสนอแนะปรบั ปรุง จากการตรวจวัดและวิเคราะหประสิทธิภาพเฉลี่ยของระบบทํานํ้าเย็นในอาคาร พบวา เฉล่ียจะอยูในชวง 0.84 kW/ton ซึ่งถือวาคากําลังไฟฟาตอตันความเย็นสูงมาก เมื่อเทียบกับเคร่ืองทําน้ําเย็นประสทิ ธภิ าพสงู ประสทิ ธิภาพ (High Efficiency Chiller) คาอยูท่ี 0.62 kW/ton ดังน้ันเสนอใหเปล่ียนเคร่ืองทําน้ําเย็นเครื่องที่ 3 (750 ton) เปนมาใชเครื่องทําน้ําเย็นชนิดประสิทธภิ าพสงู ขนาด 1700 ton สาเหตทุ เ่ี ลือกเปล่ยี นเน่ืองจากเปนเคร่อื งทมี่ คี ากําลังไฟฟาตอ ตันความเย็นสูง (0.87kW/ton) ซ่ึงเครื่องทําน้ําเย็นประสิทธิภาพสูงท่ีเสนอเปนแบบหอยโขง อยางไรก็ตามเคร่ืองทํานํ้าเย็นประสิทธิภาพสูงมีหลักการทํางานไมแตกตางจากเคร่ืองทํานํ้าเย็นท่ัวไป แตเน่ืองจากเครื่องทําความเย็นประสิทธิภาพสูงไดรับการออกแบบโดยเนนใหเครื่องมีคาสมรรถนะการทําความเย็นท่ีดีข้ึนกวาเดิม คือ การใชกําลังไฟฟานอยลงตอตันความเย็นที่ผลิตได และสงผลทําใหลดการสูญเสียพลังงานไฟฟา ลงไดชุดการจัดแสดงที่ 39 : ระบบปรับอากาศ (Air Conditioning) หนา 22 จาก 24

เอกสารเผยแพร ภาคอาคารธรุ กจิ หมวดท่ี 2 : ระบบปรับอากาศ (Air Conditioning)ผลประหยดั = 1,808,082 kWh/ปพลงั งานทใี่ ชร วมกอ นปรบั ปรงุ = 5,695,457.73 บาท/ปคาใชจ ายพลังงานท่ใี ชกอนปรบั ปรงุ = 1,588,369 kWh/ปพลงั งานท่ีใชร วมหลังปรับปรงุ = 5,003,363.36 บาท/ปคา ใชจ ายพลงั งานทใี่ ชหลังปรบั ปรุง = 692,094 kWh/ปคดิ เปน พลงั งานทป่ี ระหยดั ไดรวม = 3.15 บาท/kWhคาไฟฟา ตอ หนว ย (ไมร วม vat7%) = 2,180,097.28 บาท/ปคดิ เปน คา ใชจา ยพลงั งานทใี่ ช = 11,250,000 บาท/เคร่ืองการลงทุน = 5.16 ปคา เครอื่ งทาํ นาํ้ เยน็ ขนาด 750 ตัน(คา อุปกรณรวมคาแรงติดต้งั )ระยะเวลาคืนทนุการเลอื กพจิ ารณาตดิ ตงั้ เคร่อื งทาํ นํา้ เยน็ ประสทิ ธภิ าพสงู (High Efficiency Chiller) โดยมีรายละเอียดดังนี้เครอ่ื งทาํ น้ําเยน็ ประสิทธิภาพสูง (High Efficiency Chiller) ถกู ปรบั ปรงุ ใหมคี าการใชไ ฟฟาตอ ตนั ความเย็นไดด ีขน้ึ โดยมอี งคประกอบสาํ คญั ดงั นี้• เพ่ิมประสทิ ธภิ าพชวงทีม่ ีโหลดนอย (Part Load) โดยควบคมุ การทาํ งานแบบไมโครโปรเซสเซอร เพือ่ ควบคุมการทํางานของเซ็นเซอรต างๆ หรอื การใช Electronic expansion valve• เลอื กใชคอมเพรสเซอรแบบเฮอรเมติกส ไมม กี ารรั่วของสารทาํ ความเย็น ทําใหมนี ํา้ ยาเต็มในระบบ ตลอดเวลา• ออกแบบคอมเพรสเซอรใหไ มต อ งใชน าํ้ มนั หลอลื่น เพอื่ ลดการปนเปอนในสารทาํ ความเย็นกราฟดานลา งแสดงศกั ยภาพการลงทนุ และระยะเวลาคนื ทนุ สาํ หรับการติดต้งั เคร่ืองทาํ นํา้ เยน็ประสิทธิภาพสงู (High Efficiency Chiller) โดยเปรยี บเทยี บที่ผลตาง kW/ton และระยะเวลาการใชงานของเครื่องทําน้ําเย็นชุดการจดั แสดงท่ี 39 : ระบบปรบั อากาศ (Air Conditioning) หนา 23 จาก 24

เอกสารเผยแพร ภาคอาคารธุรกจิ หมวดท่ี 2 : ระบบปรบั อากาศ (Air Conditioning)ระยะเวลาคืนทุน (ป)50.0 ผลตาง kW/ton 0.1 0.1 kW/ton45.0 0.2 kW/ton 0.3 kW/ton40.0 0.4 kW/ton 0.5 kW/ton35.030.025.0 0.220.015.0 0.3 0.410.0 0.55.00.0 2000 4000 6000 8000 ช่ัวโมงการทํางานในหน่ึงปแหลง ขอ มลู อา งอิง[1] ความรูเบ้ืองตน วิศวกรรมงานระบบ; Environmental Engineering Consultant (EEC)[2] ระบบปรบั อากาศ;http://www.teenet.chula.ac.th/bestpractice/default1.asp?qname=bestpractice&qfrom=ระบบปรบัอากาศ[3] รายละเอียดทางเทคนคิ ของเคร่อื งทํานา้ํ เยน็ ของยี่หอ Carrier[4] 30 เรอื่ งนา รเู ทคนิคการปรบั อากาศ; บริษทั เอม็ แอนดอี จํากดัชดุ การจัดแสดงท่ี 39 : ระบบปรบั อากาศ (Air Conditioning) หนา 24 จาก 24


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook