Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore พ.ย.62 ภูมิปัญญาท้องถิ่น ต.ป่าไก่ อ.ปากท่อ จ.ราชบุรี

พ.ย.62 ภูมิปัญญาท้องถิ่น ต.ป่าไก่ อ.ปากท่อ จ.ราชบุรี

Published by kl_1270080000, 2020-10-05 23:42:33

Description: ข้อมูลคลังปัญญา-เดือนพ.ย.2562

Search

Read the Text Version

ทาเนียบภมู ปิ ญั ญาท้องถิ่น ตาบลปา่ ไก่ อาเภอปากท่อ จงั หวัดราชบรุ ี ประจาเดือน พฤศจกิ ายน ๒๕๖๒ ศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยอาเภอปากท่อ สานกั งานสง่ เสรมิ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวดั ราชบุรี สานกั งานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัย สานักงานปลดั กระทรวงศึกษาธกิ าร กระทรวงศกึ ษาธิการ

คานา ภมู ิปัญญา คือ ความรู้ ความเชื่อ ความสามารถของคนในท้องถน่ิ ทไี่ ดจ้ ากการสงั่ สมประสบการณ์ และการเรียนร้มู าเป็นระยะเวลายาวนาน โดยอาศยั ความสัมพันธร์ ะหว่างคนกบั คน คนกบั ธรรมชาติ ผ่าน กระบวนการทางจารีตประเพณี วถิ ชี วี ิต การทามาหากินและพิธกี รรมต่าง ๆ เพ่ือให้เกิดความสมดลุ ระหว่าง ความสัมพันธ์เหล่านี้ และมีคณุ ค่าทางวัฒนธรรม ตลอดจนเป็นเอกลกั ษณ์ประจาท้องถิน่ กศน.ตาบลปา่ ไก่ จงึ ได้เลง็ เห็นถึงความสาคัญของผู้ทีท่ าคุณประโยชน์ เสยี สละ และปฏิบัตติ นเป็น แบบอย่างที่ดตี ่อคนในชุมชน จึงได้จดั ทาทาเนียบภูมิปัญญาท้องถน่ิ ขึน้ เพอ่ื ยกย่อง อนุรักษ์และเผยแพร่ ภูมปิ ัญญาในตาบลป่าไก่ ให้ชนรนุ่ หลังไดถ้ ือเปน็ แบบอย่างที่ดีในการดารงชีวิตตอ่ ไป ในการนี้ กศน.ตาบลปา่ ไก่ ขอขอบคณุ เจา้ ของภูมิปญั ญา ผ้นู าชมุ ชน ภาคเี ครือข่าย และนักศึกษา ที่ให้การช่วยเหลือ สนับสนุนและแนะนาข้อมูลเก่ียวกับการจัดทาทาเนียบภูมิปั ญญาของตาบลจ น ประสบผลสาเร็จ หวงั เป็นอย่างยงิ่ กวา่ ทาเนยี บภูมปิ ัญญาฉบับน้ีจะมีประโยชนไ์ ม่มาก็นอ้ ยสาหรบั ผู้ทต่ี อ้ งการ ศึกษาหาความรูเ้ พอื่ การพฒั นาตนเอง กศน.ตาบลป่าไก่ พฤศจิกายน 2562

สารบัญ หนา้ คานา สารบัญ 1 ภูมิปญั ญาทอ้ งถ่ิน นางสุกญั ญา ทรงแสง 3 ภมู ิปัญญาทอ้ งถิ่น นางวสิ ุตา พ่วงรอด 5 ภูมปิ ญั ญาทอ้ งถน่ิ นางสุกฤตา ศิริพชั กุล คณะผ้จู ัดทา

1 แบบบนั ทึกข้อมูลคลังปัญญา-ภมู ิปัญญาท้องถนิ่ ตาบลปา่ ไก่ อาเภอปากทอ่ จังหวดั ราชบุรี ช่ือภมู ปิ ัญญา การทาอาหาร-ขนม (ขนมทองม้วนสมุนไพร) สาขาของภูมิปญั ญา ด้านพาณิชย์และบรกิ าร ขอ้ มูลพืน้ ฐาน รายบุคคล เจา้ ของภูมปิ ัญญาทอ้ งถ่ิน ชอ่ื นางสกุ ัญญา นามสกุล ทรงแสง วันเดอื นปเี กดิ 20 มนี าคม 2507 ที่อยู่ปัจจบุ ัน (ทสี่ ามารถตดิ ต่อได้) บา้ นเลขท่ี 9/1 หมทู่ ่ี 4 ตาบล/แขวง ปา่ ไก่ อาเภอ/เขต ปากทอ่ จังหวดั ราชบุรี รหัสไปรษณีย์ 70140 โทรศพั ท์ 083-517-3002 ความเปน็ มาของบคุ คลคลังปัญญา จากสตู รตกทอดจากบรรพบุรษุ นามาปรบั ปรงุ โดยนาพืชสมุนไพรหลากหลายทป่ี ลกู ใน ท้องถน่ิ มาเป็นสว่ นผสมในทองม้วนสมุนไพร ทาใหม้ ีผู้สนใจส่ังขนมทองม้วนเป็นจานวนมาก ดว้ ยคณุ ภาพ และรสชาติอร่อย ถกู ปากผ้บู ริโภคจึงได้ผลิตเร่อื ยมา จนทาให้คนในชมุ ชนมีรายได้เพม่ิ มากขึน้ จดุ เด่นของภมู ปิ ญั ญาท้องถ่ิน เป็นทองมว้ นสมุนไพรเพื่อสขุ ภาพ แปลกใหมโ่ ดยมีการนาสมนุ ไพรหลากหลายชนดิ มาผสม ดว้ ยคุณภาพ และรสชาตอิ รอ่ ย ถูกปากผู้บริโภควัตถุดิบท่ีใช้ประโยชนใ์ นผลิตภณั ฑท์ ่ีเกิดจากภมู ิปญั ญา ซ่งึ พ้ืนท่อี ่ืนไมม่ ี ได้แก่ นาสมุนไพรหลากหลายชนิดมาเปน็ ส่วนผสมในทองม้วน เชน่ ใบชะพลู ใบชะคราม ใบมะกรูด ใบยอ ใบกะเพรา ใบโหระพา ใบเบญจรงค์ ใบเหลียง ใบผกั ชีไทย. ใบผักชลี าว ใบวอเตอร์เครส ใบแมงลัก หญ้าหวาน กลว้ ยหอม กล้วยนา้ ว้า กล้วยไข่ รายละเอยี ดของภูมิปญั ญาท้องถ่ิน (ลักษณะภูมปิ ญั ญา/รูปแบบ/วธิ ีการ/เทคนิคทีใ่ ช/้ ภาพถา่ ยหรือ ภาพวาดประกอบ/พฒั นาการของผลติ ภัณฑ์หรอื ผลงาน/กระบวนการสร้างภูมปิ ัญญา/ลกั ษณะการใช้ ประโยชน์จากภูมปิ ัญญาท่ีเกิดข้ึน ฯลฯ) การดงู านจากบุคคลภายนอก จานวน 2 คร้ัง จานวน 40 คน รปู แบบและลักษณะการถา่ ยทอด การประชาสมั พันธ์ เผยแพรภ่ ูมปิ ญั ญาท้องถิ่น  ยงั ไม่มกี ารเผยแพร่/ใช้เฉพาะบุคคล  เคยเผยแพรเ่ ฉพาะในชุมชน  มีการเผยแพร่ผ่านสอ่ื มวลชนและสอื่ อนื่ อยา่ งแพร่หลาย  มกี ารดูงานจากบุคคลภายนอก จานวน - ครง้ั จานวน - คน  มีการนาไปใช้ ในพื้นที่ - คน นอกพ้นื ท่ี - คน  อน่ื ๆ (ระบ)ุ ลักษณะของภมู ปิ ัญญาท้องถ่นิ การพัฒนาตอ่ ยอดภูมิปัญญาให้เป็นนวัตกรรม คณุ ค่า (มูลค่า) และ ความภาคภูมใิ จ  ภูมปิ ัญญาทอ้ งถิ่น/นวัตกรรมทีค่ ดิ ขึ้นมาใหม่  ภูมปิ ญั ญาทอ้ งถิ่นด้งั เดมิ ไดร้ บั การถ่ายทอด  ภูมปิ ญั ญาท้องถิน่ ที่ไดร้ ับการพฒั นาและตอ่ ยอด

แบบเดมิ ขนมทองมว้ น 2 พฒั นาตอ่ ยอด ขนมทองมว้ นสมนุ ไพร ได้สูตรตกทอดจากบรรพบุรุษนามาปรบั ปรงุ โดยนาพืชสมุนไพร หลากหลายทีป่ ลกู ในทอ้ งถิน่ มาเปน็ สว่ นผสมในทองม้วนสมุนไพร ทาใหม้ ผี สู้ นใจสง่ั ขนมทองม้วนเปน็ จานวนมาก ด้วยคณุ ภาพ และรสชาติอรอ่ ย ถูกปากผ้บู รโิ ภคจงึ ไดผ้ ลิตเร่ือยมา จนทาให้คนในชมุ ชนมีรายได้ เพมิ่ มากข้ึนและสรา้ งรายได้เสริมให้กับตนเอง เจา้ ของภมู ิปัญญา รปู ภาพภมู ิปัญญา นางสกุ ญั ญา ทรงแสง สมุนไพรในการนามาทา ขนมทองม้วน การบรรจภุ ัณฑ์ขนม ทองม้วน การถ่ายทอดทางด้าน วทิ ยากรการทาขนม ทองม้วนในชมุ ชนของ ตนเอง

3 แบบบันทึกขอ้ มูลคลงั ปัญญา-ภูมิปัญญาท้องถิ่น ตาบลปา่ ไก่ อาเภอปากทอ่ จังหวัดราชบรุ ี ชอื่ ภูมิปญั ญา การทาปุ๋ยหมกั ชวี ภาพ สาขาคลงั ปัญญา ด้านการเกษตร ขอ้ มูลพน้ื ฐาน รายบุคคล เจ้าของภูมปิ ญั ญาท้องถ่ิน ชอ่ื นางวิสตุ า นามสกุล พ่วงรอด วนั เดอื นปีเกดิ 24 มกราคม 2519 ทีอ่ ยู่ปจั จุบัน (ที่สามารถติดต่อได)้ บา้ นเลขท่ี 45 หมูท่ ี่ 4 ตาบล/แขวง ปา่ ไก่ อาเภอ/เขต ปากทอ่ จงั หวดั ราชบรุ ี รหัสไปรษณีย์ 70140 โทรศพั ท์ 082-3249923 Facebook วสิ ตุ า พ่วงรอด ความเป็นมาของบุคคลคลังปัญญา ในการทาเกษตรกรรม ทั้งทานาและทาสวนของตาบลป่าไก่ ได้นาปุ๋ยหมกั ชีวภาพมาใช้ ตัง้ แต่ดง้ั เดิมนานมาแลว้ โดยแต่เรมิ่ เดิมทีนัน้ การทาปุ๋ยหมกั ชีวภาพของที่น่ี เปน็ เพียงการนามูลสัตว์มาใช้ทา เป็นปุ๋ย แต่ตอ่ มาเรมิ่ มกี ารนามูลหมู ใบไมแ้ ห้ง หญ้าแห้ง ตน้ กลว้ ย และเศษอาหารมาใช้ กลุ่มเกษตรกรเห็น ประโยชน์ของปยุ๋ หมักชวี ภาพมากกว่าป๋ยุ เคมี จงึ ได้นามาใช้ในการเกษตรและได้ผลดี และจดั ให้มีการเผยแพร่ แกผ่ ทู้ เ่ี ขา้ มาศึกษาดงู าน ซง่ึ เปน็ การทาป๋ยุ หมกั แบบงา่ ยๆ สามารถหาไดใ้ นทอ้ งถ่ิน จุดเดน่ ของภูมิปัญญาท้องถ่ิน ปุ๋ยหมกั ชวี ภาพมีความปลอดภัย ต้นทนุ การผลิตต่าเน่อื งจากใช้วัสดุจากธรรมชาตทิ หี่ าไดใ้ น ทอ้ งถิ่นวตั ถุดบิ ทีใ่ ชป้ ระโยชนใ์ นผลติ ภณั ฑท์ เ่ี กดิ จากภูมปิ ัญญา ซ่งึ พ้ืนที่อ่นื ไมม่ ี ได้แก่ ตน้ กล้วย ฟักขา้ ว นา้ หมักปลา มลู สตั ว์ แกลบ รายละเอียดของภูมปิ ญั ญาท้องถ่ิน (ลกั ษณะภูมปิ ัญญา/รปู แบบ/วิธีการ/เทคนิคท่ใี ช/้ ภาพถา่ ยหรอื ภาพวาดประกอบ/พฒั นาการของผลติ ภัณฑ์หรือผลงาน/กระบวนการสร้างภมู ปิ ัญญา/ลักษณะการใช้ ประโยชนจ์ ากภมู ิปัญญาที่เกิดขึน้ ฯลฯ) การดูงานจากบคุ คลภายนอก จานวน 2 คร้ัง จานวน 40 คน รูปแบบและลกั ษณะการถ่ายทอด การประชาสัมพนั ธ์ เผยแพร่ภูมปิ ญั ญาท้องถิ่น  ยังไม่มกี ารเผยแพร/่ ใชเ้ ฉพาะบุคคล  เคยเผยแพร่เฉพาะในชุมชน  มกี ารเผยแพรผ่ ่านสือ่ มวลชนและสอ่ื อื่นอย่างแพรห่ ลาย  มกี ารดงู านจากบคุ คลภายนอก จานวน - ครง้ั จานวน - คน  มกี ารนาไปใช้ ในพื้นท่ี - คน นอกพื้นที่ - คน  อืน่ ๆ (ระบ)ุ ลกั ษณะของภูมปิ ญั ญาท้องถิน่ การพฒั นาตอ่ ยอดภมู ปิ ัญญาให้เปน็ นวตั กรรม คุณคา่ (มลู คา่ ) และ ความภาคภมู ิใจ  ภมู ิปญั ญาทอ้ งถ่ิน/นวตั กรรมทีค่ ิดขึ้นมาใหม่  ภมู ิปญั ญาท้องถน่ิ ดง้ั เดิมไดร้ ับการถา่ ยทอดมาจาก  ภูมิปัญญาทอ้ งถ่ินท่ไี ด้รับการพฒั นาและต่อยอด

แบบเดมิ ปุย๋ เคมี 4 พัฒนาต่อยอด การทาปุ๋ยหมักชีวภาพการทาเกษตรกรรม ทง้ั ทานาและทาสวนของตาบลปา่ ไก่ ได้นาปยุ๋ หมักชีวภาพมาใช้ตั้งแต่ด้ังเดิมนานมาแล้ว โดยแตเ่ ร่มิ เดมิ ทนี ้ันการทาปยุ๋ หมักชีวภาพของที่นี่ เปน็ เพยี งการ นามูลสตั ว์มาใช้ทาเปน็ ปุ๋ย แต่ตอ่ มาเร่มิ มีการนามลู หมู ใบไม้แห้ง หญ้าแหง้ ตน้ กลว้ ย และเศษอาหารมาใช้ กลุ่มเกษตรกรเหน็ ประโยชนข์ องปยุ๋ หมักชีวภาพมากกว่าปยุ๋ เคมี จึงได้นามาใชใ้ นการเกษตรและได้ผลดี และจัดใหม้ ีการเผยแพรแ่ กผ่ ทู้ ีเ่ ข้ามาศึกษาดูงาน ซ่ึงเป็นการทาปยุ๋ หมกั แบบงา่ ยๆ สามารถหาได้ในทอ้ งถิ่น รูปภาพเจา้ ของภูมปิ ญั ญา รูปภาพภมู ิปญั ญา นางวสิ ุตา พว่ งรอด วตั ถุดบิ ในการทาปยุ๋ หมัก การวธิ ีการทาปยุ๋ หมัก

5 แบบบันทกึ ข้อมลู คลงั ปัญญา-ภมู ิปัญญาท้องถน่ิ ตาบลปา่ ไก่ อาเภอปากท่อ จงั หวัดราชบรุ ี ชอ่ื ภูมิปัญญา การสานเสน้ พลาสตกิ สาขาของภมู ิปญั ญาท้องถิน่ ดา้ นอตุ สาหกรรมและหตั ถกรรม ขอ้ มลู พื้นฐาน รายบคุ คล เจา้ ของภมู ิปัญญาทอ้ งถิ่น ชอื่ นางสุกฤตา นามสกลุ ศริ ิพชั กลุ วันเดือนปเี กดิ 20 มนี าคม 2514 ที่อยปู่ ัจจบุ นั (ที่สามารถติดต่อได้) บ้านเลขที่ 144 หมทู่ ี่ 3 ตาบล/แขวง ป่าไก่ อาเภอ/เขต ปากท่อ จังหวดั ราชบรุ ี รหัสไปรษณยี ์ 70140 โทรศัพท์ 080-5498164 Facebook สุกฤตา ศริ พิ ัชรกลุ ความเป็นมาของบุคคลคลงั ปัญญา เกดิ จากภมู ิปัญญาท่ีมีการถ่ายทอดจากรนุ่ สรู่ ุน่ ในลักษณะของการทาเครอื่ งจกั สานลกั ษณะ ต่างๆ ซ่ึงแต่เดิมได้นาวัตถุดิบจากธรรมชาติเท่าที่จะหาได้ใกล้ตัวมาทาให้เกิดประโยชน์ เช่น ไม้ ไผ่ หวาย เป็นต้น ซ่ึงมีอยเู่ ป็นจานวนมากในพื้นท่ีแถบนี้มาสานเป็นส่ิงของเครือ่ งใช้สาหรับใช้สอยใน ชีวติ ประจาวัน ต่อมาเห็นว่าควรจดั ทาเคร่อื งจักสานตะกร้าพลาสติกเนื่องจากมีความรูเ้ รื่องจักสานอยู่แล้ว เพียงแต่ปรับเปล่ียนวัสดุการสานมาเป็นเส้นพลาสติกเพ่ือให้เกิดความทนทาน และสามารถออกแบบ เครอ่ื งจกั รสานได้หลากหลายกว่า และหากชาวบ้านคนใดจะยดึ เป็นอาชีพเสริมกส็ ามารถทาได้และจะเป็น การอนุรกั ษศ์ ิลปะการจักสานของคนร่นุ หลงั ได้สบื ทอดต่อไป จดุ เดน่ ของภมู ิปญั ญาท้องถนิ่ มผี ลติ ภัณฑจ์ ากเสน้ พลาสตกิ ทหี่ ลากหลาย สวยงาม คงทน ใช้งานไดจ้ ริง และทาใหค้ นใน ชมุ ชนมีรายไดเ้ สรมิ วัตถดุ บิ ที่ใช้ประโยชน์ในผลิตภณั ฑ์ทเ่ี กดิ จากภมู ปิ ญั ญา ซ่งึ พืน้ ท่ีอนื่ ไม่มี ไดแ้ ก่ การมี ลวดลายเป็นเอกลกั ษณ์ สสี นั สวยงาม รายละเอยี ดของภูมปิ ัญญาท้องถ่ิน (ลกั ษณะภมู ิปัญญา/รูปแบบ/วิธีการ/เทคนิคทใ่ี ช้/ภาพถา่ ยหรือ ภาพวาดประกอบ/พัฒนาการของผลติ ภัณฑ์หรอื ผลงาน/กระบวนการสร้างภมู ิปัญญา/ลกั ษณะการใช้ ประโยชน์จากภูมปิ ัญญาที่เกิดขน้ึ ฯลฯ) การดงู านจากบคุ คลภายนอก จานวน 2 คร้งั จานวน 40 คน รปู แบบและลกั ษณะการถา่ ยทอด การประชาสัมพันธ์ เผยแพร่ภมู ิปญั ญาทอ้ งถ่ิน  ยังไม่มีการเผยแพร่/ใช้เฉพาะบุคคล  เคยเผยแพรเ่ ฉพาะในชุมชน  มีการเผยแพรผ่ ่านส่ือมวลชนและส่อื อ่นื อยา่ งแพรห่ ลาย  มกี ารดูงานจากบคุ คลภายนอก จานวน - ครั้ง จานวน - คน คน  มีการนาไปใช้ ในพ้ืนท่ี - คน นอกพ้ืนที่ -  อืน่ ๆ (ระบ)ุ

6 ลักษณะของภมู ิปัญญาท้องถ่นิ การพัฒนาตอ่ ยอดภูมปิ ัญญาให้เป็นนวัตกรรม คณุ ค่า (มูลคา่ ) และ ความภาคภูมใิ จ  ภูมปิ ญั ญาทอ้ งถ่ิน/นวตั กรรมท่ีคิดข้ึนมาใหม่  ภูมปิ ัญญาท้องถิ่นด้งั เดิมไดร้ ับการถ่ายทอด  ภมู ปิ ัญญาทอ้ งถิน่ ที่ได้รับการพัฒนาและต่อยอด แบบเดมิ การสานตะกรา้ ด้วยไมไ้ ผ่ พฒั นาต่อยอด การสานเส้นพลาสติก การจดั ทาเครอ่ื งจักสานตะกรา้ พลาสตกิ เนือ่ งจากมคี วามรู้เร่อื งจักสาน อยแู่ ล้วเพียงแตป่ รับเปลย่ี นวสั ดกุ ารสานมาเปน็ เส้นพลาสติกเพื่อใหเ้ กิดความทนทาน และสามารถออกแบบ เครือ่ งจักรสานได้หลากหลายกวา่ และหากชาวบ้านคนใดจะยึดเป็นอาชีพเสรมิ กส็ ามารถทาได้และจะเป็น การอนรุ ักษ์ศลิ ปะการจักสานของคนรนุ่ หลงั ได้สืบทอดตอ่ ไป เจ้าของภมู ปิ ญั ญา นางสุกฤตา ศริ พิ ัชกลุ รปู ภาพภมู ปิ ญั ญา การสานเส้นพลาสติก ผลติ ภัณฑ์ตะกรา้ เสน้ พลาสตกิ

ท่ีปรกึ ษา คณะผู้จดั ทา 1.นางสาวดารตั น์ กาญจนาภา 2.นางศิริเพญ็ สังขบรู ณ์ ผู้อานวยการสานกั งาน กศน. จงั หวดั ราชบุรี 3.นางสาวชาลนิ ี ดารา ผู้อานวยการ กศน. อาเภอปากท่อ ครู รา่ ง/เรียบเรียงและจัดพมิ พ์ ครู กศน.ตาบลปา่ ไก่ นางสาวนันทพร คลังจันทร์


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook