Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ชื่อหนังสือ

ชื่อหนังสือ

Published by สาวิตรี สังข์ทอง, 2020-03-14 10:24:20

Description: ทฤษฏีบทบาท(ทดสอบรายระเอียเดดด

Search

Read the Text Version

ทฤษฏบี ทบาท ทฤษฎีบทบาท เป็ นทฤษฎีทางสังคมศาสตร์ซ่ึงกล่าวถึงพฤติกรรมการ แสดงออกของบคุ คล ครอบครัวกล่มุ หรือชมุ ชนภายในบริบทของสงั คมและวฒั นธรรม บทบาทเป็น แนวคิดด้านสงั คมวทิ ยา จิตวิทยาและมานษุ ยวิทยา สําหรับนํามาใช้ในการวิเคราะห์บุคคล ครอบครัว กลมุ่ หรือชมุ ชนเนื่องจาก มนษุ ย์ในสงั คมมีการปฏิสมั พนั ธ์ การกาหนดบทบาทจึงเปรียบเสมือนการจัด ระเบียบของบคุ คล สงั คมทีจะปฏิบัติต่อกัน ได้มีนักวิชาการให้ความหมายของบทบาทไว้ต่าง ๆ ดงั นี ้ เลวงิ สนั (Levingson. 1964: 18 ;อ้างถงึ ในประเสริฐ ปอนถิ่น. 2551: 34) ได้สรุปความหมาย ของบทบาทไว้ 3 ประการ ดังนี้ 1.บทบาท หมายถงึ ปทสั ถาน ความคาดหวงั ข้อห้าม ความ รับผดิ ชอบและอ่ืน ๆ ทมี ีลักษณะในทานองเดียวกันซ่งึ ผูกพนั ตาแหน่งทางสังคมท่กี าหนดให้ บทบาทตามความหมาย คานึงถงึ ตัวบุคคลมากท่สี ุดแต่ต้องไปท่กี ารบ่งชถี้ งึ หน้าท่อี ันควรกระทา

2.บทบาทหมายถงึ ความเป็ นไปของบุคคลผู้มีตาแหน่งและการดารง ตาแหน่งนัน้ 3.บทบาทหมายถงึ การกระทาของบุคคลแต่ละคนท่สี าคัญกับโครงสร้าง ทางสังคมหรือกล่าวอีกนัยหน่ึงคือแนวการท่บี ุคคลพงึ กระทาเพ่อื ดารง ตาแหน่งนัน้ รพพี รรณ สุวรรณณัฐโชติ(2550 : 66) ได้ให้คําจํากดั ความของบทบาท ไว้ว่าเป็น แบบแผนของความต้องการ เปา้ หมายความเชื่อ ความรู้สกึ ทศั นคติ คณุ ค่าในการกระทําท่สี มาชิกในสงั คมคาดหวงั ว่าควรเป็นไปตามลกั ษณะของ ท่ีตําแหนง่ ที่มอี ย่อู าจกลา่ วได้วา่ บทบาทคือพฤตกิ รรมทค่ี าดหวงั ว่าคนท่ีอยใู่ น สภาพนนั้ ควรจะประพฤติปฏิบตั ิ เชน่ บทบาทของพอ่ ก็คือทําหน้าทลี่ กู ให้เป็น คนดี รู้จกั ทํามาหากิน เป็นต้น ลนิ ตนั (Linton. 1945 : 22 ;อ้างถึงใน ศกั ดไิ ทย สรุ กิจบวร. 2545 : 115) กลา่ วว่าสถานภาพหรือตําแหนง่ เป็นตวั กําหนดประกาศให้แก่บคุ คล สถานภาพเป็นนามธรรมหมายถึง ฐานะหรือตําแหน่งดงั นนั้ เม่ือกําหนด ตําแหน่งใดขนึ ้ มากจ็ ําเป็นจะต้องมีบทบาทหรือภาระหน้าท่กี ํากบั ตํา แหน่งเสมอเปรียบเป็นเหรียญอนั เดียวท่ีมีสองด้าน คือ มีสถานภาพอยหู่ น้า หน่ึงกบั ตําแหนง่ นนั้ เสมอและเปรียบเหมือนกนั เหรียญอนั เดยี วท่ีมี สองหน้าจะ มีสถานภาพอย่หู น้าหนึ่งและบทบาทหน้าหน่ึง

จุฑามาศ สรีสิริพรพนั ธ์(2548 : 27)ได้อธบิ ายว่าบทบาท คือหน้าท่ี (Function) หรือพฤติกรรมอนั พงึ คาดหมาย (Expected Behavior)ของบุคคลในแตล่ ะคนในกลมุ่ หรือสงั คมหนึ่ง หน้าท่ีหรือพฤติกรรมดงั กล่าวโดยปกตเิ ป็นสิ่งท่กี ลมุ่ หรือสงั คมหรือวฒั นธรรม ของกล่มุ สงั คมนนั้ กําหนดขนึ ้ ดงั นนั บทบาทจงึ เป็นแบบแหง่ ความประพฤติของบคุ คลในสถานะ ทพี งึ มีตอ่ บคุ คลอ่ืน ในสถานะอีกอยางหนง่ึ ในสงั คมเดียวกนั นอกจากนีน้ ักวชิ าการต่าง ๆ ยังได้สรุปประเภทของบทบาทไว้หลาย แนวดงั นี้ เบอร์โล (Berlo. 1996: 29 ; อ้างอิงใน ฐิรวุฒิ เสนาคา. 2549: 192) ได้ให้แนวคดิ เก่ียวกับลักษณะของบทบาทไว้ดังนี้ 1.บทบาททถี ูกกาหนดไว้ ( Role Prescriptions) คือ บทบาทท่ี กาหนดไว้เป็ นระเบียบอย่างดั เจนวาบุคคลท่อี ยู่ ในบทบาทนัน้ จะต้อง ทาอะไรบ้าง 2. บทบาทท่กี ระทาจริง (Role Descriptions) คือ บทบาทท่ี บุคคลได้กระทาจริงเม่ืออยใู นบทบาทนัน้ ๆ

3. บทบาทท่ถี กู คาดหวัง (Role Expectations) คอื บทบาทท่ีถกู คาดหวงั โดยผู้อ่ืนว่าบุคคล ทอี ยูในบทบาทนัน้ ๆ ควรกระทาอย่างไร จากความหมายของบทบาทข้างต้น สามารถสรุปได้ว่า บทบาท คือ การกระทาหรือพฤตกิ รรม ตามตาแหน่งหรือสถานภาพ ซงึ เป็ นไปตามความคาดหวังของสังคม หรือตามลักษณะของการรับรู้ บทบาทเป็ นผลของการแสดงออกตามสิทธิและหน้าท่ี การควบคุมทางสังคม (Social control) ความหมาย ตามความเห็นของ Gillin and Gillin การควบคมุ ทางสงั คมเป็นเร่ือง ของ การบงั คบั ให้สงั คม (คน) ได้พยายามปฏบิ ตั ิตามคาํ สง่ั หรือระเบียบท่ี สงั คมวางไว้ Gillin and Gillin อธิบายวา่ การควบคมุ ทางสงั คมเป็นระบบของ มาตรการ ข้อแนะนํา ข้อโอ้โรม ข้อห้ามปราม และข้อบงั คบั ซงึ่

พฤติกรรมหรือกลมุ่ ยอ่ ยจะเป็น การบงั คบั ทางพลงั กายหรือบงั คบั ทางสงั คมก็ ตามให้ยอมรับกฎเกณฑ์ท่ีสมาชิกของสงั คมกําหนดขนึ ้ พฤติกรรมหรือกลมุ่ ย่อยจะเป็น การบงั คบั ทางพลงั กายหรือบงั คบั ทางสงั คมก็ตามให้ยอมรับ กฎเกณฑ์ที่สมาชิกของสงั คมกําหนดขนึ ้ ตามความเห็นของผ้เู ขียน การควบคมุ ทางสงั คมน่าจะเป็นวธิ ีการใดวธิ ีการหน่ึง บงั คบั ให้คนในสงั คมกระทําตาม บรรทดั ฐานของสงั คม ริชาร์ด ท.ี ลาพเิ อร์ (Richard T. Lapiere) กล่าววา่ การจดั ระเบียบ ทางสงั คมด้วยการควบคมุ ทางสงั คมต้องมงุ่ ให้สมาชิกแตล่ ะคนประพฤติ ปฏิบตั ิตามข้อบงั คบั หรือบรรทดั ฐานทางสงั คม เช่น การปฎิบตั ิตามสถานภาพ บคุ คล สถาพภาพของกล่มุ การควบคมุ แบบผเดจ็ กาจและแบบประชาธิปไตย การควบคมุ ทางสงั คมเป็นการปอ้ งกนั ไมใ่ ห้สมาชิกละเมิดบรรทดั ฐานทาง สงั คมหรือมีพฤตกิ รรมเบ่ียงเบนไปจากปกติ ซงึ่ จะทําให้สงั คมประสบปัญหา อยา่ งรุนแรง วิธีการควบคมุ คอื การให้รางวลั เม่ือสมาชิกประพฤตปิ ฏิบตั ิตาม บรรทดั ฐานทางสงั คม และการลงโทษ เมื่อสมาชิกละเมิดบรรทดั ฐานทาง สงั คม Edward A. Ross (1951) ได้กลา่ วถงึ การควบคมุ ทางสงั คมว่าหมายถงึ กลไกตา่ งๆในสงั คมทมี่ ีอํานาจครอบงําเหนือปัจเจกบคุ คล ทําให้คนในสงั คม

เกิดความคล้อยตามกนั ตามบรรทดั ฐานตลอดจนค่านิยมของสงั คมก็มีอยู่ 2 ประเภท คอื กฎเกณฑ์ทางสงั คมและจริยธรรมกบั การควบคมุ โดยอาํ นาจทาง การเมอื งเพื่อผลประโยชน์ทางการปกครอง ดร. สมศักด์ิ ศรีสันตสิ ุข ได้ให้ความหมายของการควบคมุ ทางสงั คมไว้วา่ เป็นกระบวนการท่ีทําให้บคุ คลในสงั คมประพฤติปฏิบตั ติ ามทส่ี งั คมคาดหวงั ไว้ หรือการควบคมุ ความประพฤติของสมาชิกให้ปฏิบตั ิตามบรรทดั ฐานทาง สงั คม หรือเป็นระบบความสมั พนั ธ์ระหว่างบคุ คลเพื่อให้เกิดความเป็นระเบียบ เรียบร้อยทางสงั คม สัญญา สัญญาววิ ัฒน์ (2523) ได้ให้ความหมายของการควบคมุ ทาง สงั คมไว้วา่ หมายถงึ มรรควธิ ี และกระบวนการทงั้ ปวงที่ทําให้กลมุ่ ชนหรือ สงั คมได้มาซง่ึ การยอมปฏิบตั ิหน้าท่ตี ามความคาดหมายในสถานภาพของ สมาชิกในสงั คมนนั้ นอนกจากนีย้ งั หมายถงึ เทคนิค และกลยุทธ์ในการวาง ระเบียบพฤตกิ รรมของมนษุ ย์ในทกุ สงั คม ผ้ฝู ่าฝืนบรรทดั ฐานของสงั คมอาจ ได้รับการลงโทษด้วยการวา่ กล่าวตกั เตือน

เนือ้ หาแล้วแต่จะใส่เพ่มิ เคร่ืองมอื ในการควบคุมทางสังคม (Agencies of social control) การอยรู่ ่วมกนั เป็นสงั คมมนษุ ย์และมีการวางระเบียบกฎเกณฑ์ขนึ ้ เป็น แนวทางสําหรับทกุ คนในสงั คมปฏิบตั ิตามเพื่อความสงบสขุ ความราบรื่น ตลอดถงึ ความมน่ั คงของสงั คมนนั้ กม็ ไิ ด้หมายความว่า ทกุ คนในสงั คมจะ ปฏิบตั ติ ามระเบียบแบบแผนนีอ้ ย่างเข้มงวดจริงจงั ปกติมกั จะมีผ้ฝู ่าฝืนและ หลีกเลยี่ งกฎเกณฑ์ต่าง ๆ ของสงั คมอย่เู สมอ จําเป็นที่สงั คมต้องหาทางบงั คบั ควบคมุ ให้บคุ คลรักษาระเบียบของสงั คมให้ได้ การทจ่ี ะควบคมุ สงั คมให้ได้นนั้ ต้องมีเครื่องมือหรือตวั แทนของการควบคมุ สงั คมดงั ตอ่ ไปนี ้ 1)การควบคมุ โดยผา่ นความเชื่อ (Control Through Belief) ใน สงั คม หนึง่ ๆ ยอ่ มมีความเช่ือถือไมเ่ หมือนกนั เช่น ในเร่ืองความเช่ือตอ่ ส่ิงศกั ดส์ิ ิทธ์ิที่ไมม่ ี ตวั ตน แตค่ นก็ยอ่ มเกรงกลวั ในอิทธิฤทธ์ิอภินิหารของ สงิ่ เหลา่ นนั้ เช่น เทพเจ้า เจ้าพอ่ เจ้าแม่ ศาลพระภมู ิ รวมทงั้ ต้นโพธิ์ ต้นไม้ใหญ่ หรือคนกราบไหว้บชู า ความเชื่อใน ส่ิงศกั ดิ์สิทธิ์เหลา่ นี ้อาจ ทําให้คนเกรงกลวั ไม่กล้ากระทําผิดได้

2.การควบคมุ โดยการเสนอแนะแนวทาง (Control by Social Suggestion) การเสนอแนะเป็นมาตรการอนั หน่ึงในการควบคมุ สงั คม เมอื่ ผ้เู สนอแนะเป็นผ้มู ชี ่ือเสียงหรือผ้ทู ่สี งั คมเคารพนบั ถือ 3) การควบคมุ โดยศาสนา (Control by Religion) ศาสนากบั การ บงั คบั แบบเหนือธรรมชาตไิ ด้เป็นปัจจยั อนั สําคญั ในการควบคมุ สงั คม ศาสนาได้โยงความสมั พนั ธ์ของมนษุ ย์เข้ากบั พลงั เหนือธรรมชาติทีร่ ู้กนั ใน ฐานะพระเจ้า และแนะนํามนษุ ย์ให้กระทําตามจดุ ม่งุ หมายหรือกฎเพอื่ เข้าถงึ พระเจ้า แบบอยา่ งของสงั คมสว่ นมากจะค้านศีลธรรมหรือพฤตกิ รรม อนั มีสว่ นสร้างขนึ ้ มาโดยศาสนา สถาบนั ทางศาสนาจึงเป็น ส่ิงสาํ คญั ใน การควบคมุ ทางสงั คม 4.การควบคมุ โดยอดุ มคติทางสงั คม (Control by Social Ideals) อดุ มคติทางสงั คมก็เป็นมาตรการอนั หน่ึงทจ่ี ะควบคมุ สงั คมได้ ในเม่ือผ้นู ําของ ประเทศ ได้ปลกุ ระดมให้ประชาชนของประเทศมีอดุ มคติอนั แนว่ แน่ เช่น ฮิต เลอร์ เลนิน และคานธี เป็นต้น 5) การควบคมุ โดยงานพิธี (Control of Ceremony) ในชีวิตของ มนษุ ย์ได้เกี่ยวข้องกบั งานพิธีตา่ ง ๆ มากมาย เช่น งานวนั เกิด งานแตง่ งาน หรือแม้แตง่ านพิธีของคนตาย Maciver anc Page เช่ือวา่ “รูปแบบงาน พิธี เป็นงานการสร้างวิธีการอย่างมี รูปแบบให้มนษุ ย์ประทบั ใจถงึ ความสาํ คญั ของเรื่องราวหรือโอกาสแหง่ การประกอบ พิธีการนนั้ พธิ ีกรรมยงั

เร่งเร้าความรู้สกึ ในหวั ใจของมนษุ ย์ทงั้ หมดให้มคี วามปรารถนาอนั สงู ส่ง จนกระทง่ั กลายมาเป็นสญั ลกั ษณ์แหง่ คณุ ค่าของชีวติ ซง่ึ ก็เป็นวธิ ีการอยา่ ง หน่งึ ท่ีจะควบคมุ สงั คมได้ 6) การควบคมุ โดยศิลปะ (Control by Arts) ความเป็นศลิ ปะตา่ ง ๆ เป็นเครื่องมือควบคมุ ทางสงั คมชนิดหนึง่ เพราะศิลปะมรี ูปแบบของการ กระทําของคน เช่น ในชีวติ ประจําวนั ของพวกเรา ศิลปะได้แสดงให้เหน็ ถงึ อิทธิพลของกนั อย่างลกึ ซงึ ้ เมื่อเสียงดนตรีทาํ ให้กลายเป็นเคร่ืองผอ่ นคลาย อารมณ์ได้อีกอย่างหนงึ่ เพลงมาร์ชในยามสงครามยงั เร่งเร้าปลกุ อารมณ์ให้ คดิ ท่ีจะฆา่ กนั ได้ 7) การควบคมุ โดยผ่านความเป็นผ้นู ํา (Control Through Leadership) ความสามารถในการให้การแนะนําเรื่องคณุ ภาพสว่ น บคุ คลตามสถานท่ีทํางานตา่ ง ๆ สมาคมหรือบริษัทจะใหญ่หรือเลก็ มีความ จําเป็น ผ้นู ําทีม่ ีความสามารถในหน้าท่ีการงาน ยิ่งในสงั คมสมยั ใหมอ่ นั สลบั ซบั ซ้อน ความเป็นผ้นู ํามคี วามจําเป็นอย่างยิ่งทจี่ ะควบคมุ สงั คมให้เป็น ระเบียบเรียบร้ อย 8) การควบคมุ ทางสงั คมโดยผ่านกฎหมายและการบริหารงาน (Social Control Through Law and Administration) กฎหมาย เป็นเรื่องกฎข้อบงั คบั ให้บคุ คลยอมรับการปฏิบตั ิตาม หากใครฝ่าฝืนหรือ

ละเมิดกฎหมายยอ่ มได้รับโทษานโุ ทษ บคุ คลมีความเกรงกลวั กฎหมาย นอกจากนนั้ กฎหมายยงั อ้างถงึ ตวั แทนพลงั อีกอยา่ งหนง่ึ นนั่ คอื กลไกการ บริหารของรัฐ ซง่ึ ก็ใช้บงั คบั บคุ คลให้ปฏิบตั ิตามระเบียบแบบแผนทางสงั คมได้ ด้วย 9) การควบคมุ โดยผ่านศีลธรรม (Control Through Morals) การท่ี บคุ คลมีความรับผิดชอบในหน้าท่ีจะทาํ อะไรลงไปกร็ ู้ว่าสงิ่ นนั้ ดี ส่ิงนนั้ ไม่ดี ทกุ คนตงั้ อยใู่ น ศีลธรรมอนั ดี ย่อมกอ่ ให้เกิดความเป็นระเบียบเรียบร้อย นนั่ คือ การควบคมุ ทางสงั คมอย่างหนึง่ นน่ั เอง สรุป ความเป็นระเบียบของสงั คมจะเกิดขนึ ้ ได้จําต้องอาศยั บรรทดั ฐานของสงั คม อนั เป็นแนวทางกํากบั ครรลองพฤตกิ รรมของมนษุ ย์ในสงั คม ซง่ึ มนั มีความ เกี่ยวพนั ไปถงึ ตําแหนง่ หน้าท่ีของบคุ คลด้วย นอกจากนนั้ ยงั จะต้องมีการ ควบคมุ ทางสงั คมอีกด้วย ตลอดถงึ การจดั ให้มีการอบรมเรียนรู้ระเบียบของ สงั คมด้วย เพื่อที่สงั คมจะได้เป็นระเบียบเรียบร้อยและนําสนั ติสขุ มาสสู่ งั คม โดยสว่ นรวม การขดั เกลาทางสังคม

อบั เบิร์ต.เจ.รีซซ์ ได้รวมแนวคิดเก่ียวกบั บคุ ลิกภาพและการขดั เกลาทางสงั คม กบั ผลงานของสํานกั ชิคาโกและเขียนทฤษฎีการควบคมุ ทางสงั คม ซงึ่ สามารถ คาดการณ์ถึงผลงานในเวลาตอ่ มาได้เป็นสว่ นใหญ่ แม้ทฤษฎีของเขาจะใช้ ทฤษฎีจิตวิเคราะห์และ บคุ คลิกภาพมากกวา่ ก็ตาม เขาก็ได้เสนอแนะถงึ องค์ประกอบของการควบคมุ ทางสงั คม 3 ประการ สําหรับใช้อธิบายการ กระทําผิด เขากลา่ ววา่ ทรุ กรรมหรือการกระทําผิด เป็นผลมาจากปัจจยั ใด ปัจจยั หนง่ึ หรือหลายปัจจยั ทงั้ หมดดงั นี ้ - ขาดการควบคมุ ในทีเ่ หมาะสมในชว่ งวยั เด็ก - ความล้มเหลวของกลไกการควบคมุ ภายในดงั กล่าว ทฤษฎกี ารขดั เกลาทางสังคม (Socialization Theories) บรูมและเซลส์นิค (Broom & Selznick. 1958 : 17) อธิบายการขดั เกลาทางสงั คมไว้สอง ความหมายกลา่ วคือในแง่สงั คม การขดั เกลาทางสงั คม หมายถงึ การถ่ายทอดวฒั นธรรมและทาํ ให้ บคุ คลมวี ถิ ีชีวติ ท่ีเป็นระเบียบบ และในแง่ของแตล่ ะบคุ คลการขดั เกลาทาง สงั คมเป็นนกระบวนการท่ีทําให้คนเปลยี่ นจากชีวอินทรีย์เป็นมนษุ ย์ที่ สามารถควบคมุ พฤติกรรมของตนเองได้ และปฏบิ ตั ิ ตามค่านิยม อดุ มคติและระดบั ความทะเยอทะยานได้ บรูมและเซลส์นิค กล่าวถงึ ความมงุ่ หมาย

หลกั 4 ประการของการขดั เกลาทางสงั คมไว้ดงั นี ้ 1.การปลกู ฝังระเบียบวนิ ยั การมรี ะเบียบวินยั ถือเป็นพืน้ ฐานสําคญั ในการ ดําเนินกิจกรรมในสงั คมและการอย่รู ่วมกนั ของกลมุ่ การปลกู ฝัง ระเบียบวนิ ยั จะทําให้บคุ คลยอมทาํ ตามระเบียบกฏเกณฑ์ที่สงั คม กําหนดแม้จะมีความยากลําบากท่ีจะต้องฝืนใจทาํ 2. การปลกู ฝังความมงุ่ หวงั ในชีวิตตามที่กลมุ่ ยอมรับ ความมงุ่ หวงั จะช่วยให้บคุ คลมีความมงุ่ มน่ั และยอมรับระเบียบวินยั ที่จะต้อง ประพฤตปิ ฏิบตั เิ พื่อลลุ ว่ งความต้องการในอนาคต 3.การกําหนดบทบาทในสงั คม บคุ คลจะได้รับการกําหนดบทบาทจากสงั คม รวมทงั้ รับรู้ทศั นคติต่างๆ ทเ่ี ก่ียวกบั บทบาทนนั้ ๆ โดยลกั ษณะของการรับรู้ แบบคอ่ ยเป็นค่อยไป เช่น ลกั ษณะการวางตวั ให้มี พฤติกรรมท่ีเหมาะสมถกู กาลเทศะตอ่ บคุ คลอ่ืนท่ีมีความสมั พนั ธ์ทด่ี ้วย 4. การให้ความชํานาญเฉพาะอย่างหรือทกั ษะ ในสงั คมที่มีความเป็นอย่อู ยา่ งง่าย ๆวิธีการเรียนรู้มกั เกิดจากการเลียนแบบ ถ่ายทอดกนั ลงมานบั ชว่ั อายคุ น แตใ่ นสงั คมท่ีสลบั ซบั ซ้อนความรู้ทาง วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี เข้ามามบี ทบาทในชีวติ ของบคุ คลอย่างมากิธีการ เรียนรู้ในสงั คมทีซ่ บั ซ้อนนีจ้ งึ ต้องเป็นการเรียนรู้อย่างเป็นทางการจงึ จะได้ผล

Turmer (1968) ได้กล่าวถงึ การจดั การขดั เกลาทางสงั คมวา่ เป็นสงิ่ สาํ คญั ทีต่ ้องระลกึ ไว้วา่ กระบวนการขดั เกลาทางสงั คมคือ วธิ ีการของการเรียนรู้ ความหมายของบทบาทที่เป็นมาตรฐานทางวฒั นธรรม และเป็นวธิ ีการทาํ ความเข้าใจส่ิงตา่ งๆท่ีเกิดขนึ ้ เก่ียวกบั บทบาทตา่ งๆ สภุ าพร นาคบลั ลงั ก์ (2528 : 81 ) ได้กลา่ วถงึ การขดั เกลาทางสงั คมใดเป็น กระบวนการท่ที าํ ให้สมาชิกในสงั คมได้รับรู้ความเช่ือคา่ นิยมและบรรทดั ฐาน ทางสงั คมท่ีตนเป็นสมาชิกอยกู่ ็จะนนั้ การตดั ตอ่ สงั คมอยา่ งมีสว่ นช่วยในการ พฒั นาบคุ ลิกภาพของปกติด้วยที่การเรียนรู้วฒั นธรรมมีสว่ นเก่ียวข้องกบั การ พฒั นาบคุ ลิกภาพและทาํ ให้บคุ คลได้มาซง่ึ ตนหรือความรู้สกึ เป็นตวั ตนของแต่ ละบคุ คลฉะนนั้ การขดั เกลาจงึ เป็นกระบวนการทจี่ ําเป็นสําหรับมนษุ ย์ตงั้ แต่ แรกเกิดจนกระทง่ั ตาย สรุปได้วา่ การขดั เกลาทางสงั คมหมายถึงกระบวนการในการสร้างสมาชิกใหม่ ให้แกส่ งั คม ซง่ึ เป็นกระบวนการทีเ่ กิดขนึ ้ ทงั้ ทางตรงและทางอ้อม ในการสร้าง สมาชิกใหม่นนั้ จําเป็นต้องถ่ายทอดทงั้ องค์ความรู้ทกั ษะค่านิยมอดุ ม

คตคิ วามเช่ือ แก่สมาชิก โดยการถ่ายทอดจะมกี ารถ่ายทอดเป็นรุ่นๆ ไปใน กระบวนการขดั เกลาส่ิงทเ่ี กิดขนึ ้ คอื ตวั ตน (ตวั ตนทําให้เกิดการจําแนกตวั เอง ออกจากบคุ คลอ่ืน ทําให้สามารถจําแนกส่ิงต่าง ๆ ออกจากกนั และ เป็นจดุ ให้เกิดความสามารถในการเรียนรู้สิ่งต่าง ๆ ต่อไป บรรทดั ฐานทางสังคม รศ. สุพตั รา สุภาพ ได้อธิบายเรื่องของบรรทดั ฐานทางสงั คมไว้วา่ เป็นสว่ น หนึ่ง ของวฒั นธรรมทส่ี ําคญั อย่างย่ิงในสงั คมของมนษุ ย์ เพราะเป็นกฏ ข้อบงั คบั หรือกฏเกณฑ์ที่ใช้เป็นมาตรฐานในการควบคมุ ความประพฤติ ปฏิบตั ขิ องมนษุ ย์ นอกจากนีย้ งั เป็นส่ิงท่ีมีอทิ ธิพลเหนือความนกึ คดิ สว่ นบคุ คล ให้ปฏิบตั ิไปตามครรลองท่พี งึ ประสงค์ของสงั คมส่วนใหญ่ เพื่อให้สามารถอยู่ ร่วมกนั ได้อย่างสนั ติสขุ เนื่องมาจากการทีต่ ้องพง่ึ พาอาศยั ซง่ึ กนั และกนั นบั เป็น การควบคมุ ทางสงั คมท่ีช่วยให้การอย่รู ่วมกนั เป็นไปอยา่ งมีระบบ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook