Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore บทที่ 3 การสร้างเสริมสุขภาพและการดูแลสุขภาพบุคคล ครอบครัวและชุมชน P 28-41 ebook

บทที่ 3 การสร้างเสริมสุขภาพและการดูแลสุขภาพบุคคล ครอบครัวและชุมชน P 28-41 ebook

Published by surachat.s, 2020-07-16 04:12:25

Description: บทที่ 3 การสร้างเสริมสุขภาพและการดูแลสุขภาพบุคคล ครอบครัวและชุมชน P 28-41 ebook

Search

Read the Text Version

28 บทที่ 3 การสร้างเสรมิ สุขภาพและการดแู ลสขุ ภาพบุคคล ครอบครัวและชมุ ชน เนื้อหา 1. ความหมายของการสร้างเสริมสขุ ภาพ 2. การดำเนนิ การสรา้ งเสริมสุขภาพ 3. หลักในการสรา้ งเสรมิ สขุ ภาพ 4. การสร้างเสริมสุขภาพเฉพาะพฤตกิ รรม 5. กจิ กรรมการสรา้ งเสริมสขุ ภาพและการดูแลสุขภาพ 5.1 ระดบั บคุ คล 5.2 กิจกรรมสรา้ งเสริมสขุ ภาพระดบั ครอบครวั 5.3 กิจกรรมการสร้างเสริมสุขภาพระดับชุมชน วัตถปุ ระสงค์ 1. นิสิตสามารถอธบิ ายความหมายของการสร้างเสริมสขุ ภาพไดถ้ ูกต้อง 2. นสิ ิตสามารถบอกการดำเนนิ การและหลักในการสร้างเสรมิ สุขภาพได้ถกู ต้อง 3. นิสติ สามารถบอกกิจกรรมในการสร้างเสรมิ สขุ ภาพและการดแู ลสุขภาพระดับบคุ ค ครอบครวั และ ชุมชนไดถ้ ูกต้อง บทนำ ในชีวติ ประจำวนั เรารบั รู้ถงึ พลวัตทเี่ กิดขึน้ กับโลกมากมาย พรอ้ มกบั เง่ือนไขปัจจัยข้อจำกัดใหมๆ่ มากมายเกิดขึน้ ด้วยเชน่ กนั การเผชิญกบั การเปลี่ยนแปลง ความเสี่ยง ภยั คุกคาม ความไม่ม่ันคงท่ีสะท้อนให้ เหน็ ถึงความไม่พรอ้ มของการรับมอื ปัญหาใหม่ กว่าจะแก้ไขใหอ้ ยูใ่ นสภาพที่สมดุลได้ ก็ใช้เวลาและมีความ สญู เสยี เกิดขึ้น โจทย์ใหมๆ่ ทย่ี ากข้ึนทำใหเ้ กดิ คำถามว่า จะทำอยา่ งไรกบั ผลพวงของการเปลยี่ นแปลงเหล่านนั้ ในดา้ นสุขภาพก็มีการเปล่ียนแปลงเกิดขึ้นอยา่ งรวดเรว็ การแพรก่ ระจายของเชื้อโรคผ่านการระบาดในพน้ื ท่ีที่ พร่องภมู ิคุ้มกนั และพรอ้ มทจ่ี ะกระจายตวั อยา่ งรวดเร็ว แม้ว่าเทคโนโลยที างการแพทยจ์ ะถูกพัฒนาให้ดีข้นึ มา จากอดตี มากข้นึ ขนาดไหน ก็ยงั ไม่พอทจี่ ะรองรับโรคอุบัติใหม่และโรคเรือ้ รังที่ได้ครา่ ชีวิตมนษุ ยม์ ากมาย ในอีก มุมหนึ่งการสร้างเสริมสุขภาพเป็นทางเลือกของการเตรียมพร้อมรองรบั สงิ่ ที่จะเกดิ ขนึ้ กับระบบสุขภาพ เป็น ทางออกท่ใี ชแ้ ละเกยี่ วข้องในการสรา้ งกระบวนการเรียนรู้ทตี่ ่อเนื่อง และรองรับความเส่ียงใหม้ นุษย์ใชศ้ ักยภาพ ของตนเพื่อให้สขุ ภาพดใี ห้นานที่สุด วงการสขุ ภาพทว่ั โลก มีการปฏิบัติงานด้านการสร้างเสริมสขุ ภาพมาเปน็ เวลานาน แตด่ ้วยเหตุผลขา้ งต้นถึง การเปลี่ยนแปลงท่รี วดเร็ว ทั้งสภาพเศรษฐกจิ สงั คม ในช่วงปลายศตวรรษ น้ี ตัวกำหนด (Determinants) ของสขุ ภาพได้แปรเปลีย่ น มีความซบั ซ้อนมากขน้ึ จงึ มนี ักวชิ าการด้านการ

29 สร้างเสรมิ สขุ ภาพไดศ้ กึ ษาคน้ ควา้ กระบวนการ วิธกี าร รวมไปถึงรปู แบบ นวัตกรรมใหม่ๆ มาจดั การกบั ตวั กำหนดต่างๆ ที่มีผลตอ่ สขุ ภาพของมนุษย์ การสร้างเสริมสขุ ภาพคืออะไร มกี ารดำเนินการ หลกั การและ กจิ กรรมการสรา้ งเสริมสขุ ภาพเป็นอยา่ งไร รายละเอยี ดมีดังตอ่ ไปน้ี

30 1. ความหมายของการสรา้ งเสริมสขุ ภาพ จากกฎบตั รออตตาวา พ.ศ. 2529 (World Health Organization, 1986) การสง่ เสริมสุขภาพหรือ การสร้างเสริมสุขภาพ หมายถึง กระบวนการที่จะเอื้ออำนวยใหป้ ระชาชนสามารถเพิ่มความสามารถในการ ควบคุมและปรับปรงุ สุขภาพของตนเอง การจะเขา้ ถงึ สภาวะทีส่ มบรู ณ์ทั้งกายจติ และสงั คมนัน้ บุคคลหรอื กลุ่ม บคุ คลตอ้ งสามารถระบถุ ึงสง่ิ ที่ตอ้ งการบรรลุและบรรลใุ นสง่ิ ทตี่ ้องการได้ รวมถงึ สามารถปรบั เปลีย่ น ส่งิ แวดลอ้ มหรอื สามารถปรับตวั ใหเ้ ขา้ กบั ส่งิ แวดล้อมทีเ่ ปล่ียนแปลงไปได้ สุขภาพจงึ มิใช่เป้าหมายแห่งการ ดำรงชีวิตอยอู่ ีกตอ่ ไป หากแต่เปน็ แหลง่ ประโยชน์ของทุกวันทเี่ ราดำเนนิ ชีวิต สขุ ภาพเป็นแนวคิดดา้ นบวกที่ มงุ่ เนน้ แหลง่ ประโยชน์ทางสังคมและแหล่งประโยชน์สว่ นบุคคล รวมถึงศักยภาพทางกายของบุคคล ดงั นั้นการ สรา้ งเสรมิ สขุ ภาพ จงึ ไม่เปน็ เพียงความรบั ผดิ ชอบของภาคส่วนทด่ี ูแลสขุ ภาพเทา่ น้ัน แต่ยงั มุ่งไปท่ีรปู แบบการ ดำเนินชีวิตทสี่ ่งผลดีต่อสขุ ภาพซง่ึ จะนำไปสู่การมสี ขุ ภาวะในท่สี ดุ (สนิ ศกั ดิช์ นม์ อ่นุ พรมมี, 2556) หลายประเทศทั่วโลกได้ให้ความสำคญั และพัฒนาการสร้างเสรมิ สุขภาพแนวใหม่ มีทัง้ ภาพของ ความสำเรจ็ ความล้มเหลว ทำให้นกั สร้างเสรมิ สขุ ภาพต่างก็ไดว้ เิ คราะห์กันว่า หากจะดำเนินการส่งเสริม สุขภาพให้สำเร็จไดน้ ัน้ ต้องแสวงหาผ้สู ร้างเสริมสขุ ภาพใหม่ ที่มกี ารเปล่ยี นแปลงและการนำพาการสรา้ งเสรมิ สขุ ภาพเขา้ สู่ศตวรรษใหม่ท่ีใกล้จะมาถงึ น้ี และประเด็นทสี่ ำคญั อีกประเด็นหนงึ่ ก็คอื \"ตัวกำหนด\" (Determinants) ของสุขภาพ ได้เพ่มิ มากข้นึ มคี วามซบั ซ้อนหลากหลายมากข้ึนตามสภาพส่ิงแวดล้อม และ ปัจจัยจากระบบเศรษฐกจิ สังคม และระบบนิเวศ ผู้สร้างเสรมิ สุขภาพใหมจ่ ึงเปน็ แนวทางในการพัฒนาระบบ การสร้างเสริมสขุ ภาพ เพราะความสำเรจ็ ของการพัฒนาไม่ไดม้ าจากแนวทางการทำงานเดมิ ๆ โดยผู้มีส่วน รบั ผดิ ชอบเดมิ แต่ดแู ลทั้งสังคม ผู้สรา้ งเสรมิ สุขภาพใหม่จึงประกอบดว้ ยผคู้ นหลากหลายสถานะ อาชีพ ท่ีตา่ ง กม็ สี ว่ นไดส้ ่วนเสีย เปน็ เจ้าของสุขภาพมสี ทิ ธิอนั ชอบธรรมท่ีจะมาชว่ ยกันคิดนวัตกรรมการสร้างเสรมิ สขุ ภาพ แนวทางใหม่ ความเชอ่ื เร่ืองการสรา้ งเสรมิ สุขภาพตามกระบวนทศั นใ์ หม่ ให้แนวทางการทำงานด้านการสร้างเสริม สขุ ภาพโดยเปลี่ยนจาก การมุ่งไปท่ีการปรบั เปล่ยี นวิถชี ีวิตหรอื พฤติกรรมสุขภาพเป็นหลักอย่างเดยี ว มาเปน็ การตอ้ งชว่ ยสร้างพลังอำนาจ เพมิ่ ความสามารถในการควบคุมตนใหค้ น (Empowerment) จงึ จะทำให้ ประชาชนสุขภาพดีขน้ึ ในความเชอ่ื นี้ ผทู้ มี่ ีพลังอำนาจอย่างแทจ้ ริง จะสามารถควบคุมหรือปรับวิถีชีวิตสุขภาพ (Life style) และปรบั เปลยี่ นภาวะความเป็นอยู่ (Living condition) ของตนได้ (วรรณภา ศรธี ัญรัตน์ และ คณะ, 2555) การศกึ ษาขององค์การอนามยั โลกได้สรุปว่าผู้สร้างเสรมิ สขุ ภาพใหม่ ประกอบด้วย องค์กรของรฐั ท่ีมี สถานะเปน็ \"หนุ้ สว่ น\" ซ่งึ จากเดมิ รฐั เป็นผู้รบั ผดิ ชอบงานสร้างเสริมสุขภาพเปน็ ส่วนใหญ่ บทบาททเ่ี ปลยี่ นไป จะเป็นผปู้ ระสานหรือผทู้ ีบ่ ทบาทรเิ ร่มิ ในนโยบายสาธารณะเพือ่ สุขภาพ บทบาทท่ีสำคญั ในการประสานงานกบั องค์กรของรัฐในภาคอ่ืน และมบี ทบาทส่งเสริมเกื้อหนุนให้องค์กรทไี่ มใ่ ช่รฐั จัดสรรทรพั ยากร เปดิ พ้นื ที่ให้ หุ้นสว่ นต่างๆใหม้ บี ทบาทท่ีสูงขึน้ และในช่วงทา้ ยศตวรรษที่ 20 บทบาทและสถานะของภาครฐั จะเปลีย่ นแปลง ไปมากขนึ้ การเคลื่อนย้ายของอำนาจในการตดั สินใจ รวมไปถึงทรัพยากรไปเป็น ภาคเอกชน (Privatization) มากขนึ้ ส่วนองค์กรทไี่ ม่ใช่รฐั (Non - government organization) หรือทีเ่ ราเรียกวา่ NGOs ถือว่าเป็นส่วน

31 หนึ่งของผูส้ ร้างเสรมิ สุขภาพใหม่ทม่ี ีความสำคัญและนบั วันจะเพ่ิมความสำคัญมากข้นึ องค์กรเหล่าน้ีเรียกรวมๆ ได้ว่าเป็น เครือขา่ ยประชาสังคม (Civil society) ถอื วา่ เป็นตวั กลางในการช้แี นะให้กับสาธารณะ รวมไปถึงการ ผลกั ดนั เชงิ นโยบาย การดำเนินงานที่ไมม่ กี รอบระเบยี บที่แข็งเหมือนภาครฐั ทำใหเ้ กดิ ความคลอ่ งตัวในการ ดำเนินงานเปน็ อย่างมาก และผู้สร้างเสริมสุขภาพใหม่ที่น่าจับตามองอีกภาคสว่ นหน่งึ กค็ ือ ภาคเอกชน ทีเ่ ปน็ กลุ่มทมี่ ีพลังเข้มแข็งมากในแง่ของทรพั ยากร อำนาจใหม่จากการปรับเปลย่ี นแนวคิดการพฒั นาแนวใหม่ทใี่ ห้ โอกาสภาคเอกชนมากข้นึ ภารกจิ ของรฐั บาลในหลายเรื่อง กำลงั ถูกแปรสภาพเปน็ เอกชนมากขึ้น ผ้สู ร้างเสริม สขุ ภาพใหมท่ ่ีถกู จับตามองถงึ การเตบิ โตข้ึน คือ ชุมชนวชิ าการ (Academic community) กล่มุ นเี้ ปน็ ผู้สรา้ ง เสรมิ สุขภาพใหม่ทใี่ ชค้ วามรู้เปน็ ตน้ ทุนในการขบั เคล่ือน แสวงหาความรใู้ นหลากหลายวิธีเพือ่ นำมาประยุกต์ และปฏิบตั ิการต่างๆของงานสร้างเสรมิ สขุ ภาพ จึงเปน็ กลุ่มท่มี พี ลงั อยา่ งมากในแง่ของการขับเคลอ่ื นที่มี เปา้ หมายชดั เจน ในประเทศไทยมผี ้สู ร้างเสริมสุขภาพใหม่อีกกลุม่ ที่สำคญั คือ กลุม่ องค์กรส่วนทอ้ งถนิ่ หรอื อปท. กลุม่ น้เี ป็นผลผลิตจากการกระจายอำนาจของรัฐ ให้ชุมชนมีอำนาจในการจัดการตนเองได้ ผ่านคน ทอ้ งถิน่ ทรี่ ู้จักตวั ตนของตนเองดี ความคาดหวงั ในการส่งเสรมิ สุขภาพจึงถูกพุ่งเปา้ ลงที่ท้องถิน่ ค่อนข้างมาก ใน ปจั จุบันงานสรา้ งเสริมสขุ ภาพแนวใหม่ จึงมีความสำคัญอย่างมากกับประเทศไทย ทเ่ี ป็นองคป์ ระกอบของ สังคมโลกทมี่ ปี ัจจัยต่างๆตามที่ไดก้ ลา่ วมาแลว้ เหตุการณ์หนง่ึ ๆทีเ่ กดิ ข้ึน ณ มุมโลก จากนัน้ ไมน่ านก็สง่ ผา่ นด้วย ความเร็วไปท่ัวโลกในทันที การเปลย่ี นแปลงทีม่ ีความรุนแรงในศตวรรษนีแ้ ละจะรุนแรงมากขึ้นในศตวรรษหน้า การดำเนนิ งานสรา้ งเสรมิ สุขภาพจงึ ต้องให้ความสำคัญกบั ผู้สรา้ งเสรมิ สขุ ภาพใหม่ เรียนรู้กันผา่ นบรบิ ทแบบ ไทยๆวา่ ผ้สู ร้างเสริมสุขภาพใหม่จะเข้ามาเปน็ หนุ้ ส่วนในการสง่ เสริมสุขภาพได้อยา่ งไร จะร่วมมือกันอยา่ งไร เพ่อื พลังความเขม้ แข็งในการขบั เคล่ือนงานส่งเสรมิ สขุ ภาพอยา่ งไร ดงั นนั้ แมภ้ าครฐั มบี ทบาทสำคัญตอ่ สขุ ภาพ แตส่ ุขภาพกไ็ ดร้ บั อทิ ธพิ ลอย่างสูงจากภาคเอกชน กลมุ่ ธุรกจิ องค์กรพัฒนาเอกชน และองค์กรชุมชนต่างๆ ศกั ยภาพของแตล่ ะภาคสว่ นในการดูแลและสรา้ งเสริม สขุ ภาพของประชาชนควรได้รับการส่งเสริม องคก์ รทางการคา้ การพานิชย์ ภาคอตุ สาหกรรม สมาคมวิชาการ และผูน้ ำศาสนามีโอกาสอยา่ งมากในการดำเนินการเพ่ือผลประโยชนท์ างสขุ ภาพของชมุ ชน เราจึงควรสรา้ ง เครอื ข่ายพันธมติ รใหมๆ่ เพื่อให้เกดิ กจิ กรรมด้านสขุ ภาพอย่างฉับพลัน (สินศักด์ิชนม์ อนุ่ พรมมี, 2556) 2. การดำเนินการสร้างเสริมสขุ ภาพ สรา้ งเสริมสขุ ภาพต้องเป็นการเปลี่ยนแปลงจากภายใน (Inside out) เป็นการปฏิบตั ติ วั เพ่อื เปล่ยี นแปลงตัวเองในการสรา้ งเสรมิ สุขภาพ แต่การเปลีย่ นแปลงโดยการพงึ่ พาหรือได้รบั ความชว่ ยเหลอื จาก ภายนอกหรอื จากบุคคลอื่นจะเปน็ การเปล่ยี นแปลงภายนอก (Out-side in) การสร้างเสริมสุขภาพจะเปน็ ไป ได้และมคี วามยั่งยนื ตอ้ งมกี ารเปลย่ี นแปลงจากภายใน ซึ่งมีแนวทางในการสรา้ งเสริมสขุ ภาพ ดังนี้ 1) การสร้างนโยบายสาธารณะเพอ่ื สขุ ภาพ การสง่ เสรมิ สุขภาพ มใิ ชเ่ ปน็ ความรบั ผิดชอบของ หนว่ ยงานทางการแพทย์และสาธารณสขุ เทา่ น้ัน ดงั นั้นการมีนโยบายในระดบั กระทรวงสาธารณสุขจึงไม่ เพยี งพอ จำเปน็ จะต้องมนี โยบายสาธารณะท่ีทุกหน่วยงานทงั้ ภาครฐั และเอกชน จะต้องขานรับและมีการ ปฏิบตั ิอย่างเปน็ จริง นโยบายสาธารณะเพ่ือสุขภาพ จะเกี่ยวข้องกับ กฎหมาย มาตรการทางเศรษฐกจิ การเงนิ

32 การคลงั การเกบ็ ภาษี รวมท้งั การจดั ตัง้ องค์กรทีแ่ นช่ ัดเพื่อรับผดิ ชอบ ซงึ่ กลวธิ นี ี้มีจุดมงุ่ หมายเพื่อกระตนุ้ ทุกคน ให้มีส่วนเก่ียวขอ้ งในการดูแลสขุ ภาพ ให้มน่ั ใจว่าสขุ ภาพเป็นสว่ นหนงึ่ ทีร่ วมอย่ใู นการตัดสนิ ในด้านสาธารณะ เพราะการสร้างเสริมสุขภาพเปน็ มากกว่าการดูแลสขุ ภาพ (อาภาพร เผา่ วัฒนาและคณะ, 2555) 2) การสร้างสิ่งแวดล้อมท่ีเอ้ือตอ่ สุขภาพ การสร้างสง่ิ แวดลอ้ มที่เออ้ื ต่อสขุ ภาพ คือการอนุรกั ษ์ ทรพั ยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมที่มอี ย่ใู นระดบั ชมุ ชน ระดับประเทศ และระดบั โลก ทั้งนเ้ี นอ่ื งจากสมดุล ของธรรมชาตยิ ่อมมผี ลโดยตรงตอ่ การมสี ุขภาพดีของมวลมนษุ ย์ นอกจากนี้ยังรวมถึงการจัดส่งิ แวดล้อมให้ สอดคล้องกบั การเปลี่ยนแปลงของการดำเนนิ ชวี ิต การทำงาน และการใช้เวลาวา่ ง โดยการสร้างสงั คมที่มี สขุ ภาพดี (Healthy society), การสร้างเมืองทีม่ สี ุขภาพดี (Healthy city), การจัดทที่ ำงานทเ่ี อ้ือตอ่ สุขภาพ (Healthy workplace) และการทำใหเ้ ปน็ โรงเรยี นเพอ่ื สุขภาพ (Healthy school) 3) การเพิ่มความสามารถของชุมชนหรือศกั ยภาพของชุมชน หวั ใจสำคัญของกระบวนการเพ่ิม ความสามารถของชุมชน คือ การสรา้ งพลงั อำนาจให้กบั ชมุ ชน ซ่ึงเปน็ กระบวนการทางสังคม ทีส่ ่งผลใหส้ มาชิก ในชุมชนมคี วามร้สู กึ เปน็ “เจ้าของชวี ติ และชุมชนของตนเอง” ให้ชมุ ชนสามารถควบคุมการปฏิบัตงิ านและ เป้าหมายของชมุ ชนเองได้ ซงึ่ ชมุ ชนจะต้องไดร้ บั ข้อมูลข่าวสาร โอกาสในการเรยี นรเู้ กีย่ วกับสุขภาพ และการ สนับสนุนทางดา้ นการเงนิ อยา่ งเพียงพอและต่อเน่ือง การสร้างเสรมิ สขุ ภาพจะตอ้ งเปน็ กิจรรมตอ่ เน่ืองทช่ี ุมชน ดำเนินการดว้ ยตัวเอง ในบางกรณอี าจจะอาศัยความชว่ ยเหลอื ทางการเงิน ทรัพยากรและทางเทคนคิ จาก ภายนอก แต่ในระยะยาวชมุ ชนนน้ั ต้องดำเนินกิจกรรมนี้ดว้ ยตวั เอง หรอื ดยี งิ่ ไปกว่านน้ั เมอ่ื ประสบความสำเรจ็ กถ็ ่ายทอดประสบการณค์ วามสำเรจ็ และเทคนิคการดำเนินงาน ให้กับชมุ ชนอ่ืนๆ ไปปฏิบตั ติ าม (สนิ ศักดิ์ชนม์ อนุ่ พรมม,ี 2556) 4) การพัฒนาทักษะสว่ นบุคคล การสร้างเสรมิ สุขภาพควรช่วยใหบ้ ุคคลและสงั คมเกิดการพฒั นา มี ความรู้และทักษะในการดำรงชวี ิต (life skills) ซ่ึงเป็นทางเลอื กหนง่ึ สำหรบั ประชาชนท่ีจะควบคมุ สุขภาพของ ตนเองและควบคุมสง่ิ แวดล้อม ซง่ึ ส่งผลต่อสขุ ภาพ เชน่ พฒั นาศักยภาพการออกกำลังกายและการเลิกบุหร่ี ให้ บคุ คลเห็นความสำคัญและตระหนกั วา่ เปน็ เรื่องที่ต้องลงมือปฏิบตั เิ อง แพทย์และบคุ ลากรทางการแพทย์ไม่ สามารถออกกำลังกายและเลิกบุหรี่แทนได้ คนจำนวนมากทราบถึงพิษภัยของการสูบบหุ รแ่ี ตไ่ ม่สามารถเลิก บหุ รไี่ ด้ อาจเป็นเพราะยังไม่มีความคิดในเชงิ บวกว่าตวั เองสามารถกำหนดทางเลือกให้ตัวเองได้วา่ จะสบู บหุ รี่ หรือไม่ แล้วมีความเข้าใจทจี่ ะเลอื กทางเลอื กท่ีดีต่อสุขภาพคอื การเลิกบหุ ร่ี การปรบั เปล่ียนพฤติกรรมสขุ ภาพ ในระดับบคุ คล มักสง่ ผลให้เกิดการเปลีย่ นแปลงในพฤติกรรมระดบั บุคค องค์กร ชมุ ชน และประเทศตามมา เพราะบุคคลเปน็ สมาชิกของกลมุ่ บุคคล บคุ คลเปน็ ผู้มบี ทบาทในการบรหิ ารองค์กร มบี ทบาทในการเลือกตั้ง หรอื เสนอผูน้ ำหรอื ผแู้ ทนของตน และมบี ทบาทในการสนบั สนนุ การออกกฏหมายแต่ละฉบับ ซึง่ จะสง่ ผลต่อ ความสำเรจ็ ในการปรับเปล่ียนนโยบาย หรอื แม้แต่การเปล่ียนแปลงภายในองคก์ ร ดังน้นั การสรา้ งเสรมิ สุขภาพ โดยการพฒั นาทักษะส่วนบุคคล จงึ มคี วามสำคัญและเป็นพน้ื ฐานการเปลีย่ นแปลงหรือพฒั นาในระดบั ทใ่ี หญ่ กวา่ (สนิ ศักด์ชิ นม์ อุ่นพรมมี, 2556)

33 5) การปรับระบบบริการสาธารณสขุ ต้องมกี ารปรับเปล่ียนระบบบรกิ ารสุขภาพจากเชิงรับเป็นเชงิ รุก หรอื จากการซอ่ มสขุ ภาพเปน็ การสร้างสขุ ภาพ โดยใหม้ ีกิจกรรมการสง่ เสรมิ สุขภาพให้มากขึ้น มีการส่อื สารกับ หนว่ ยงานภายนอกให้กวา้ งขวางยง่ิ ขึ้น เชน่ หน่วยงานด้านสิง่ แวดลอ้ ม ดา้ นสังคม ดา้ นการเมอื ง และเศรษฐกิจ นอกเหนือจากการใหบ้ ริการด้านการรักษาพยาบาลเท่านน้ั นอกจากนน้ั ยงั ต้องให้ความสนใจเกย่ี วกับการวิจัย เพื่อปรบั เปลีย่ นระบบและการฝึกอบรมเจ้าหนา้ ทใี่ ห้มีแนวคิดเก่ยี วกับการส่งเสริมสขุ ภาพ การปรบั ระบบ บริการสาธารณสขุ คนส่วนใหญอ่ าจจะเข้าใจว่าเป็นการเปล่ียนแปลงเฉพาะบุคลากรทางการแพทย์ และ สาธารณสุขเทา่ นนั้ ทจ่ี ะตอ้ งเปล่ียนวธิ คี ิด วธิ ีทำงานจากการเป็นผู้ให้บริการสขุ ภาพมาเป็นผใู้ หก้ ารสนบั สนนุ ประชาชนให้มคี วามสามารถในการควบคมุ และพฒั นาสขุ ภาพของประชาชนเอง แตท่ ่สี ำคัญไม่ย่ิงหยอ่ นไปกวา่ กัน คือทัศนคติและวิธีคิดของประชาชนเองว่าจะต้องสรา้ งเสรมิ สขุ ภาพและไปพึง่ พาระบบบริการสุขภาพตั้งแต่ ในขน้ั ตอนการสร้างเสรมิ สขุ ภาพ ไม่ใช่รอให้ป่วยแล้วจึงไปใชบ้ ริการระบบสขุ ภาพเพ่ือการรกั ษาพยาบาลเทา่ นั้น (สนิ ศกั ด์ิชนม์ อุ่นพรมมี, 2556)

34 3. หลักในการสรา้ งเสริมสุขภาพ 1) เนน้ กจิ กรรมหลายลกั ษณะทมี่ งุ สร้างสมรรถนะของการสรา้ งสุขภาพดี ลดหรอื ควบคุมปัจจยั เส่ียง และพฤติกรรมเส่ยี ง และเป็นกระบวนการทม่ี ุ่งดำเนนิ การกันทงั้ บคุ คลและสังคม 2) เนน้ กระบวนการส่งเสริมให้ประชาชนเพ่ิมสมรรถนะในการควบคุมดแู ลและพัฒนาสุขภาพของ ตนเอง 4. การสร้างเสรมิ สุขภาพเฉพาะพฤตกิ รรม การสรา้ งเสริมสุขภาพเปน็ กระบวนการในการพัฒนาศกั ยภาพของบุคคลและชมุ ชนในการดูแลตนเอง พฤติกรรมการดูแลสขุ ภาพจึงครอบคลุมโภชนการ การออกกำลังกาย การจัดการความเครียดและการป้องกนั พฤติกรรมเสี่ยงต่างๆ เช่น พฤติกรรมเสยี่ งทางเพศ บุหร่ี และสรุ า ในการสร้างเสรมิ สุขภาพเฉพาะพฤติกรรม เหล่าน้จี งึ ยึดถอื กลยุทธ์ในการช้ีแนะสาธารณะ การประสานงาน และการพฒั นาศักยภาพส่วนบคุ คล โดยใช้ กลวิธีของการสรา้ งนโยบายสาธารณะ การสรา้ งส่ิงแวดล้อมท่ีเหมาะสมกับการดแู ลสขุ ภาพการสร้างความ เขม้ แข็งของชุมชน การพัฒนาทักษะสว่ นบุคคล และการปรับเปล่ียนรปู แบบบรกิ ารสุขภาพ ในการดำเนินการ ซงึ่ มคี วามเฉพาะของแตล่ ะพฤติกรรมเปน็ เน้ือหาสาระหลักและใชแ้ นวคิดของการสร้างการมีส่วนร่วมเพอ่ื ใหเ้ กดิ การสร้างเสรมิ สุขภาพชมุ ชนท่ีย่ังยืน (อาภาพร เผา่ วัฒนา และคณะ, 2555) การสรา้ งเสริมสุขภาพจะ ประกอบดว้ ยกิจกรรมต่างๆกันออกไป กจิ กรรมการสรา้ งเสริมสขุ ภาพแตล่ ะระดับอาจจะมคี วามแตกตา่ งกัน บา้ งหรอื บางครัง้ อาจจะมีความเกยี่ วโยงสมั พนั ธก์ นั 5. กจิ กรรมการสร้างเสริมสขุ ภาพ 5.1 กจิ กรรมการสร้างเสริมสุขภาพระดบั บุคคล 1) รับประทานอาหารที่มคี ุณค่าทางโภชนาการ ในปจั จบุ ันประชากรโลกเริม่ ตระหนกั ถงึ พิษ ภยั ของการรบั ประทานอาหารท่ไี ม่ถกู ต้องตามหลักโภชนาการ หนั มาใหค้ วามสำคัญกับการควบคุมและเลอื ก รบั ประทานอาหารที่มปี ระโยชน์ต่อสุขภาพมากข้นึ เช่น ลดการรบั ประทานเน้อื สัตว์ นม เนย ให้เพิ่มการ รบั ประทาน พืช ผัก และธญั พชื ซง่ึ อุดมด้วยเสน้ ใยจากธรรมชาติ และวติ ามนิ ในวัยเด็ก เน้ือสตั วแ์ ละนมยังเป็น ส่ิงจำเปน็ เนือ่ งจากร่างกายมีการเจรญิ เติบโต ในวยั ผู้ใหญ่ร่างกายต้องการโปรตนี ลดลง การรบั ประทาน เนื้อสัตว์และนมมากเกินไปยังทำใหร้ ่างกายไดร้ ับไขมนั เพิ่ม เนอื่ งจากในเน้อื สัตวแ์ ละนมจะมปี รมิ าณไขมัน ค่อนข้างสงู นอกจากนั้นยงั พบวา่ ผู้ท่รี ับประทานเนื้อสัตวม์ ากๆ มีโอกาสเกดิ มะเรง็ ลำไสใ้ หญ่ได้สงู ควร เปลี่ยนแปลงมารบั ประทานโปรตีนจากพชื พวกถ่ัวแทน อาหารอกี กลมุ่ ซึง่ ไมค่ วรรบั ประทานมากเกินไป คือ นำ้ ตาล พบว่าน้ำตาลทำใหห้ ลอดเลอื ดมคี วามเสื่อมเรว็ ข้ึน ในผ้ปู ว่ ยเบาหวานท่ีมีน้ำตาลสงู จะพบวา่ หลอดเลือด แก่ก่อนวยั ไขมันก็เป็นอกี กลุ่มหนึง่ ทีค่ วรจำกัด และใชน้ ำ้ มันจากพืชแทนน้ำมนั จากสัตว์ ยกเวน้ น้ำมนั มะพรา้ ว และนำ้ มนั ปาล์มควรหลีกเลี่ยงเนือ่ งจากมี โคเรสเตอรอลสงู อาหารท่ีควรรับประทานคือ ผกั ผลไม้ ธัญพชื เช่น ข้าวซ้อมมอื ถ่วั เพราะอุดมไปดว้ ย กากใยธรรมชาติ วิตามนิ และเกลือแร่

35 2) ออกกำลังกายสมำ่ เสมอ การออกกำลังกายเปน็ การเพิ่มหรือคงไวซ้ ง่ึ ความทนทานของ ระบบไหลเวียนโลหิตและปอด โดยมีขบวนการใชอ้ อกซิเจน ในขบวนการเผาผลาญ เพื่อใหเ้ กดิ พลังงานสำหรับ การออกกำลังกายอย่างตอ่ เน่ือง ประโยชน์ของการออกกำลังกาย 1) ระบบการไหลเวียนโลหิตดี ทำใหก้ ล้ามเนื้อหวั ใจแข็งแรงมากขึน้ สามารถสูบฉดี โลหติ ได้ ปรมิ าณมากขน้ึ เพ่มิ หลอดโลหิตฝอยมาเลี้ยงกลา้ มเนื้อหวั ใจ ลดอตั ราการเต้นของหัวใจ ทัง้ ในขณะพักและออก กำลงั กาย ทำใหไ้ มเ่ หน่ือยง่าย นอกจากน้ียังชว่ ยลดแรงต้านทานส่วนปลายของหลอดโลหติ ฝอยทำให้ความดนั โลหติ ลดลงทั้งขณะพกั และออกกำลังกายลดความเสยี่ งต่อการเกิดโรคความดนั โลหติ สงู 2) ระบบการหายใจ ทำให้ความจุปอดเพม่ิ ขึ้น ทำให้การแลกเปลยี่ นออกซิเจนมากข้นึ เพิ่ม ปริมาณโลหติ ไปสปู่ อด ทำให้การไหลเวียนของปอดดีข้นึ เพม่ิ ประสทิ ธิภาพในการแลกเปลยี่ นกา๊ ซท่ปี อด ทำให้ ประสทิ ธิภาพการหายใจดีข้ึน 3) ระบบชวี เคมใี นเลือด ชว่ ยลดปริมาณคอเลสเตอรอล (Cholesterol) และไตรกลีเซอไรด์ (Triglyceride) จงึ ลดอัตราเสี่ยงต่อโรคหลอดเลือดหัวใจอุดตนั และโรคหลอดเลือดสมองอุดตนั ชว่ ยเพ่ิม HDL Cholesterol ซ่ึงชว่ ยลดการเป็นโรคหลอดเลอื ดหัวใจอดุ ตัน ลดนำ้ ตาลส่วนเกินในเลือด เปน็ การชว่ ยปอ้ งกัน โรคเบาหวาน 4) ระบบประสาทและจติ ใจ ลดความวิตกกังวลและคลายความเครยี ด ทำใหม้ คี วามสุขและ รู้สึกสบายใจจากสาร Endorphin ท่ีหลั่งออกมาจากสมองขณะออกกำลังกาย ขน้ั ตอนและหลักในการปฏิบตั ิออกกำลังกาย ถา้ มอี ายุมากกวา่ 35 ปี ควรตรวจสุขภาพ ว่ามโี รคหัวใจหรอื ไม่ก่อนการออกกำลังกายชนิดนี้ ควรรูว้ ิธเี หยยี ดและยดื กลา้ มเนอ้ื รวมทัง้ อนุ่ เครื่อง (Warm up) และเบาเครื่อง (Cool down) หลักในการ ปฏิบตั ิ เป็นการใช้กล้ามเนื้อมัดใหญ่อยา่ งน้อย 1 ใน 6 ส่วนของร่างกาย ออกกำลังอย่างสมำ่ เสมอ ซงึ่ รปู แบบ การออกกำลังกายมหี ลากหลายชนดิ เช่น วิ่งเหยาะ, เดนิ เร็ว, ขจ่ี ักรยาน, วา่ ยน้ำ, เตน้ แอโรบิค, ฟตุ บอล, บาส เกต็ บอล, เทนนสิ , แบดมนิ ตัน, ตระกรอ้ ข้ามตาขา่ ย, วอลเลยบ์ อล เปน็ ตน้ 3) การจัดการความเครยี ดหรือสร้างสุขภาพจติ ใหแ้ ข็งแรง โดยการสรา้ งปัจจยั ปอ้ งกนั และ ลดปจั จัยเสี่ยงของสาเหตุปัญหาสขุ ภาพจติ ด้านตา่ งๆ ดงั น้ี 1) การสง่ เสรมิ สุขภาพร่างกาย การรกั ษารา่ งกายให้แข็งแรง ปราศจากโรค การออกกำลัง กายอย่างสม่ำเสมอ 2) การส่งเสริมทางจติ ใจ โดยการฝึกสปู้ ัญหาใหเ้ กิดความเคยชิน ไม่หลบเลยี่ งปัญหา พัฒนา ตนเองให้ปรบั ตวั ได้มากขึ้นเมื่อพบปัญหา มองหาทางแก้อย่างท้าทาย พจิ ารณาหาสาเหตุของปญั หาและแก้ไขท่ี สาเหตุ เปลีย่ นแปลงตนเองให้ค้นุ เคย ยอมรับสงิ่ ทเี่ ปลี่ยนแปลงไมไ่ ด้ ทำใจให้ยอมรบั สนกุ กับการเปลย่ี นแปลง รจู้ กั สรา้ งวธิ ีคิดท่ดี ี มที ักษะคดิ เป็น คดิ ดี คดิ ถูกทาง เบนความคดิ มองโลกในแง่ดี มองโลก หลายมมุ มอง ควบคมุ ความคิด หยดุ คิดได้ อารมณข์ ัน ทักษะการแก้ปญั หาอยา่ งถูกทาง มสี ตเิ ตือนตนเอง ร้จู ักตนเอง พจิ ารณา ตนเองว่ามีความคิด อารมณ์ความร้สู ึกอยา่ งไร ร้ตู ัวเม่ือมคี วามกงั วล ความเครียด ความกลัว สขุ ภาพจติ ดีหรอื ไม่ มสี าเหตุจากอะไร มีทักษะในการจัดการอารมณต์ นเอง ลดความเครียดลดอารมณ์เศร้าได้

36 ดว้ ยตนเอง ปลุกปลอบใจให้กำลังใจตนเองได้ สรา้ งแรงจูงใจในการกระทำส่ิงต่างๆ สรา้ งความรสู้ ึกดตี ่อ ตนเอง ใหอ้ ภัยตนเองได้ มีกิจกรรมสร้างความสุขและความสงบ มีความเข้าใจตนเอง รูจ้ ุดดีจดุ อ่อนของตน มี ความภาคภูมิใจในตนเอง ยอมรับตัวเอง สร้างแรงจงู ใจจากภายใน ให้มีความชอบ ความสำเร็จ สนกุ กับงาน ไม่ ท้อแท้ผิดหวังกบั ความล้มเหลว มองความผดิ พลาดเปน็ ครู หรือบทเรียนท่ีจะพฒั นาตนเอง แก้ไขปรับปรุงตัวเอง ใหด้ ีขน้ึ ได้ทางออกทางแก้ไขปัญหาใหม่ๆที่ดีกว่าเดมิ มีความสุขจากการให้ผู้อื่น มีเมตตา เห็นแกป่ ระโยชน์ สว่ นรวมและส่งิ แวดล้อม มีกจิ กรรมผอ่ นคลาย ฝึกการผอ่ นคลายตนเอง ออกกำลงั กาย กีฬา งานอดิเรก ศลิ ปะ ดนตรี กจิ กรรมเหล่าน้ีจะชว่ ยคลายเครยี ด มีมุมสงบ พกั ผอ่ นจิตใจ ธรรมชาติ ต้นไม้ 3) การปรกึ ษาผ้อู ่ืนท่สี ามารถพ่งึ พาได้ ได้แก่ พอ่ แม่ พี่น้อง ครู อาจารย์ เพ่ือน ผ้บู งั คับบัญชา หน่วยงานทเ่ี กยี่ วข้อง เพื่อแสวงหาขอ้ มลู ทางเลอื ก ทางแก้ปญั หาในมุมมองอนื่ 4) มนษุ ยสมั พนั ธด์ ี มีทักษะในการสื่อสารใหค้ นอืน่ เขา้ ใจ ทำงานร่วมกับผ้อู ืน่ อย่างมีความสขุ กลา้ พดู กล้าบอก ชื่นชมผ้อู ่ืน บอกความคิด ความรูส้ ึก และตอ้ งการของตนเอง สอบถามผอู้ ่ืนเมอ่ื ไมเ่ ข้าใจ มีวธิ ี พดู บอกกันดีๆ ดว้ ยเจตนาทเ่ี ปน็ มิตร มีวิธีเตือนผอู้ ืน่ อยา่ งนุ่มนวล ชกั ชวนใหค้ นทำงานด้วยดี 5) ทกั ษะในการเผชญิ ความเครยี ด มีกจิ กรรมผ่อนคลายสลับ เชน่ พกั สายตา มองไปไกลๆ ขยับร่างกาย กายบริหาร ฟงั เพลง ร้องเพลง ฝึกการผอ่ นคลายตนเอง ด้วยเทคนคิ ตา่ งๆ 6) เม่ือมีปัญหาสามารถระบายความไม่สบายใจ กบั คนทใี่ กล้ชิด ไว้ใจได้ รบั ฟงั และใช้ คำแนะนำจากผู้อ่นื แก้ปัญหาได้ 7) การใช้ยารักษาอาการทางอารมณ์ ยาคลายเครียด ยาตา้ นโรคซมึ เศรา้ หรือรักษาอาการที่ เกิดข้ึนทางรา่ งกาย เปน็ การรักษาตามพยาธสิ ภาพท่ีเกดิ ข้ึนทางรา่ งกาย 8) การเปลย่ี นแปลงสงิ่ แวดล้อมให้เหมาะสมกบั ตนเอง บรรยากาศสงบ เสยี งไม่ดัง ไมร่ ้อน มากเกินไป สี แสง บรรยากาศผอ่ นคลาย การมีธรรมชาติ ต้นไม้ ภาพวาด ภาพผนงั ห้อง การหางานที่ชอบและ ถนดั สร้างความสามัคคใี นทมี งาน มกี ารประสานงานกนั ดี บรรยากาศการทำงานเอื้อเฟื้อช่วยเหลอื มนี ำ้ ใจตอ่ กัน จดั แบ่งเวลาทำงาน แบง่ งานเปน็ ช่วงๆ มีเวลาพกั ผ่อนหยอ่ นใจ เวลาทำงาน 8 ช่ัวโมง เวลาพักผ่อนหย่อนใจ และออกกำลังกาย 8 ช่วั โมง และนอนหลบั 8 ชั่วโมง 4) การป้องกันพฤติกรรมเสี่ยงต่างๆ คือ การละเวน้ สารเสพติดทุกชนิดทจ่ี ะบั่นทอนสขุ ภาพ พษิ ภยั หรอื โทษของสารเสพตดิ ซึง่ เป็นโทษทมี่ องไม่เหน็ ชัด เปรียบเสมือนเปน็ ฆาตกรเงยี บ ท่ีทำลายชวี ติ บุคคล เหล่าน้ันลงไปทกุ กอ่ ปัญหาอาชญากรรม ปัญหาสขุ ภาพ ก่อความเส่ือมโทรมให้แกส่ ังคมและบ้านเมืองอยา่ ง ร้ายแรง เพราะสารเสพยต์ ิดทุกประเภทท่ีมฤี ทธิเ์ ปน็ อนั ตรายตอ่ รา่ งกายในระบบประสาท สมอง ซง่ึ เปรยี บเสมอื นศูนยบ์ ัญชาการของร่างกายและชีวิตมนุษย์ การติดสารเสพตดิ เหลา่ น้นั จงึ ไมม่ ีประโยชน์อะไร เกิดขน้ึ แกร่ า่ งกายเลย แตก่ ลับจะเกิดโรคและพษิ รา้ ยตา่ งๆ จนอาจทำใหเ้ สียชีวติ หรอื เกิดโทษและอนั ตรายต่อ ครอบครวั เพื่อนบา้ น สังคม และชุมชนต่างๆ ต่อไปได้อีกมาก นอกจากการสร้างเสริมสุขภาพเฉพาะพฤติกรรมดงั กล่าวแล้ว การตรวจสุขภาพประจำปี กเ็ ปน็ การ ดูแลและสง่ เสริมสุขภาพทดี่ มี าก ช่วยทำใหท้ ราบภาวะสุขภาพของคุณวา่ สมบูรณเ์ พียงใด มสี ่ิงผิดปกติหรือไม่ เพือ่ จะได้รบี แก้ไข และป้องกันความรุนแรงที่อาจจะเกดิ ขนึ้ หรือการตรวจสขุ ภาพประจำปีเปน็ การตรวจแกผ่ ูท้ ี่

37 ยังไม่มีอาการผดิ ปกติใดๆหรอื อาจมีอาการผดิ ปกตเิ พยี งเล็กนอ้ ยไมช่ ัดเจน การตรวจสุขภาพประจำปีถอื ว่าเปน็ การตรวจเพอ่ื ค้นหาโรคหรอื ความผิดปกตติ งั้ แตร่ ะยะเริม่ แรก จะทำใหส้ ามารถป้องกนั ภาวะแทรกซ้อน ลด ความรุนแรงของโรคหรือความพกิ ารทีอ่ าจเกดิ ข้นึ ในบางโรคได้ ตา่ งๆทจ่ี ะเกดิ ข้นึ จากโรคนนั้ ตลอดจนสามารถ ทำให้สามารถรักษา ได้ต้งั แต่อาการยงั ไม่มาก ตัวอยา่ งโรคท่ีสามารถตรวจพบไดจ้ ากการตรวจสขุ ภาพประจำปี ได้แก่ โรคโลหิตจาง ความดนั โลหิตสงู โรคเบาหวาน โรคไขมนั ในเลือดสงู โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ โรคพยาธิ โรคระบบทางเดินปัสสาวะ วัณโรค และมะเรง็ ชนดิ ต่างๆ เปน็ ต้น อย่างไรก็ตามการตรวจนี้ไม่ได้เป็นการ รบั ประกันวา่ จะไมเ่ ป็นโรคดังกลา่ วในอนาคต ดังน้นั สงิ่ ท่ีดีท่ีสดุ คือการดแู ลสขุ ภาพให้ดี รบั ประทานอาหารครบ หมู่ ออกกำลังกายสม่ำเสมอ พักผ่อนเพยี งพอ หลกี เลี่ยงจากปจั จัยเส่ยี งของโรคต่างๆ เช่น งดการสบู บุหรี่และ ด่มื เหลา้ เป็นตน้ ซึ่งจะนำมาสู่สขุ ภาพทด่ี ตี ่อไป 5) การดูแลสุขภาพบคุ คล การดูสขุ ภาพบุคคลต้องเร่ิมตน้ ต้งั แตป่ ฏสิ นธิซ่ึงต้องมีการวางแผนเพื่อให้ ทารกไดเ้ จริญเติบโตจากในครรภ์ด้วยการต้งั ครรภ์คณุ ภาพ ทารกเกิดรอดปลอดภยั ได้รับการดูแลให้ เจริญเตบิ โตมีพัฒนาการท่ดี ีภายใต้บริบทของครอบครัวและสงั คม ได้รบั การอบรมสง่ั สอนใหม้ ที กั ษะชวี ิต ทกั ษะอาชีพ เม่ือเป็นผู้ใหญก่ ็สามารถประกอบอาชีพหาเลีย้ งตนเองและครอบครวั ดูแลตนเองใหม้ สี ุขภาพดี ดูแลตนเองเพอื่ ป้องกนั โรค หากเจ็บปว่ ยก็สามารถแสวงหาแนวทางปฏบิ ตั เิ พ่ือใหต้ นหายจากโรคได้ หากบคุ คล ทกุ ชว่ งวัยสามารถดูแลสุขภาพของตนไดด้ ีทั้งในภาวะปกติและภาวะเจ็บปว่ ยแล้วก็จะช่วยทำให้ทุกคนดำรงชวี ติ ไดอ้ ย่างเป็นสุข แนวทางการดูแลสขุ ภาพบคุ คลตั้งแตช่ ่วงวัยรนุ่ เยาวชน วยั ผ้ใู หญ่ มดี ังน้ี 1) การดูแลสุขภาพเด็กวัยรุ่นอายุ 13 – 18 ปี ส่งิ สำคญั ท่ีเกย่ี วข้องกับการดแู ลสุขภาพวัยร่นุ เพอ่ื ให้จำไดง้ ่ายใชห้ ลกั HEADS (อัมพร เบญจพลพิทกั ษ์ ลัดดา ดำรกิ ารเลศิ , 2553 หนา้ 48) ซง่ึ เกย่ี วข้องกบั สิ่งต่อไปน้ี 1) บ้าน (Home) คนในบ้านหรือในครอบครวั มีบทบาทสำคัญในการดูแลวยั รุ่นด้วยความรักความ อบอ่นุ และห่วงใย 2) วยั รุ่นควรได้รบั การสง่ เสรมิ การศึกษาและพัฒนาทักษะทีเ่ ด็กวัยรนุ่ ให้ความสนใจ (Education) 3) วยั รนุ่ ควรได้รับการสร้างเสริมลกั ษณะนิสยั ในการบรโิ ภคอาหารที่มีประโยชนต์ ่อร่างกาย (Eating) 4) วยั รุ่นควรไดร้ บั การสง่ เสรมิ การออกกำลงั กายอยา่ งเหมาะสม (Exercise) 5) วัยรุน่ ควรไดร้ ับการ สง่ เสรมิ ความคาดหวังในอนาคต (Ambition) 6) ควรสง่ เสรมิ วัยร่นุ ใหท้ ำกจิ กรรมทางสงั คมและการพักผ่อน หย่อนใจทีเ่ ปน็ ประโยชน์ต่อตนเองครอบครวั และสังคม (Activities) 7) ควรป้องกนั พฤตกิ รรมเสยี่ งของวัยรุน่ เกี่ยวกบั การใชย้ าสุราบหุ รี่หรือสงิ่ เสพติด (Drug use) 8) ควรปอ้ งกันพฤติกรรมเส่ียงของวัยรุน่ จากกจิ กรรมทาง เพศ (Sexuality) 9) ควรป้องกนั พฤตกิ รรมเสยี่ งของวัยรุ่นจากการเกดิ ความเครียดจนคดิ การฆ่าตวั ตาย (Suicide) จุดเนน้ ที่สำคญั คือ “วัยรุน่ ควรรู้จักรกั และห่วงใยตนเอง” วยั ร่นุ จึงควรพฒั นาตนเองเรอื่ งต่อไปน้ี - รักตนเองห่วงใยตนเองป้องกันพฤติกรรมเสี่ยง เด็กวยั รุ่นควรรู้จกั รกั หว่ งใยตนเอง ควรหนั มา ใส่ใจในกิจกรรมสร้างสรรค์ มีความพร้อมสำหรับการเปน็ ผนู้ ำ ใหค้ วามสำคัญกับหน้าท่ีและการเป็นพลเมืองดี ป้องกันตนเองจากพฤติกรรมเสีย่ ง ได้แก่ การยุง่ เกยี่ วกับอบายมขุ และส่งิ เสพติด การมีพฤตกิ รรมรุนแรงตบตีทะ เลาวิวาท เป็นตน้ - พัฒนาทกั ษะพน้ื ฐาน เดก็ วยั รนุ่ ควรได้รบั การพัฒนาทักษะพ้นื ฐานทสี่ ำคัญ คือ การอา่ นออก เขียนได้อย่างเขา้ ใจ คดิ เลขได้ ว่ายน้ำเป็น ใช้คอมพวิ เตอรส์ ัมผสั ไทยอังกฤษได้ รอ้ งเพลง เล่นดนตรี เลน่ กีฬาได้

38 อย่างน้อย 1 ชนิด ใชภ้ าษาต่างประเทศได้อย่างน้อย 1 ภาษา ได้รบั การเตรยี มให้สามารถประกอบอาชีพได้หลัง จบการศกึ ษา สนใจสง่ิ แวดล้อม (คณะกรรมการส่งเสรมิ พฒั นาเดก็ และเยาวชนแหง่ ชาติ, 2554 หน้า 35) - เข้าใจเพศศึกษา เดก็ วยั รุ่นควรไดเ้ รยี นรเู้ กย่ี วกับความเปลย่ี นแปลงทางร่างกายของตนเอง โดยเฉพาะการเปล่ยี นแปลงทางเพศ เรยี นร้เู ก่ียวกบั อนามัยเจริญพนั ธุ์ เด็กควรได้รับบริการการใหค้ ำปรึกษา เร่อื งเพศอย่างเหมาะสม มีการปอ้ งกันการเขา้ ถึงข้อมูลเรื่องเพศที่ไม่เหมาะสม 2) การดแู ลสุขภาพเยาวชนอายุ 18 - 25 ปี มีจดุ เน้นท่สี ำคัญคือ “การพัฒนาให้เยาวชนมี จิตสำนกึ สาธารณะเพือ่ พัฒนาสังคม” ดงั นี้ - จิตสำนึกสาธารณะ เยาวชนควรไดร้ บั การพฒั นาใหม้ จี ิตสาธารณะซึง่ แบง่ ได้เป็นระดับ ครอบครัว คือ มีความขยัน รู้จกั หนา้ ท่รี บั ผิดชอบ ซื่อสัตยส์ ุจริต สามารถดำเนนิ ชวี ติ ได้อย่างปลอดภยั รกั สิ่งแวดล้อม มีจิตอาสา มีคุณธรรมจริยธรรม ยดึ มั่นในหลกั ธรรมคำสอนทางศาสนา มีความผูกพนั กับครอบครวั ร้เู ทา่ ทนั และเลอื กรบั เทคโนโลยมี าใชอ้ ยา่ งสรา้ งสรรค์ สว่ นจิตสาธารณะระดับหมบู่ า้ น คือ รู้จกั การบำเพ็ญ ประโยชน์เพือ่ ครอบครวั และชุมชน มจี ติ สำนึกรักบา้ นเกิด มีความภมู ใิ จในความเป็นไทย มีสำนึกความเป็น พลเมืองดี ช่วยเหลอื เกอ้ื กูลผู้อื่นแบง่ ปนั และจติ สาธารณะระดับสงั คม คอื มวี ิถีประชาธิปไตย เคารพสิทธิของ ผู้อ่ืน มสี ว่ นรว่ มในการพฒั นาชมุ ชนและประเทศชาติ (ดวงกมล ทองอยู่, 2555 หนา้ 13) - วางแผนชีวิต เยาวชนควรมคี วามรู้ทัศนคติที่ถกู ต้องเกยี่ วกับเร่อื งเพศ ความเปน็ หญงิ ชาย อนามัยเจรญิ พนั ธุ์ เพ่ือการเตรียมพร้อมสำหรบั การมีครอบครวั เม่ือเข้าสูว่ ัยผใู้ หญ่ ร้จู กั การวางแผนการออมเพ่อื อนาคต มีความพร้อมสูเ่ ส้นทางการประกอบอาชีพดว้ ยระบบการศกึ ษาท่ีหลากหลายสอดคลอ้ งกับความ ตอ้ งการทางสงั คม 3) การดูแลสขุ ภาพวยั ทำงาน อายุ 25–60 ปี จุดเนน้ ที่สำคญั คือ “ควบคุมป้องกนั โรคทไี่ ม่ ติดตอ่ ลดพฤติกรรมเส่ยี ง” ประชากรวยั ทำงานจัดเป็นกำลังอนั สำคญั ในการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของ ชาติจึงควรได้รบั การดูแลให้มีสขุ ภาพดดี ้วยการมีวิถชี วี ิตท่เี หมาะสมท้ังในบ้าน ที่ทำงาน สถานท่สี าธารณะตา่ ง ๆ เพือ่ ลดการเจบ็ ป่วยจากโรคไมต่ ดิ ต่อ เชน่ โรคเบาหวาน โรคความดนั โลหิตสูง โรคมะเร็ง โรคหลอดเลือด สมอง โรคปอดอุดกน้ั เรอื้ รงั ลดการเกดิ โรคทีอ่ าจเกิดขน้ึ จากการประกอบอาชีพ ลดอบุ ตั เิ หตทุ างท้องถนน ซึ่ง สามารถทำไดโ้ ดยการปรบั พฤติกรรมสรา้ งเสริมสขุ ภาพดังน้ี - อาหารจำกัดเกลือ นำ้ ตาล และไขมัน อาหารทม่ี ีน้ำตาลและไขมันมากจะทำใหเ้ กดิ โรคอ้วน นำ้ ตาลและไขมันในเลอื ดสงู ความดนั โลหติ สงู ควรรับประทานผักผลไม้เพม่ิ ขึ้น รบั ประทานไข่แดง กงุ้ หอย ปลาหมึกใหน้ ้อยลงเพื่อลดปริมาณโคเลสเตอรอล รับประทานปลาให้ยอ่ ยงา่ ยขน้ึ ปรับวิธกี ารปรุงอาหารจาก ทอดมาเป็นปิง้ นง่ึ ย่างแทน เพิ่มอาหารที่มีแคลเซยี มสงู เพื่อป้องกนั ภาวะกระดูกพรุน กระดูกเปราะบางแตกหัก งา่ ยโดยเฉพาะในวัยหมดประจำเดือน - งดสบู บหุ ร่ีงดดม่ื สรุ า สรา้ งส่งิ แวดล้อมปลอดบหุ รีท่ ้ังในที่สาธารณะและท่ีทำงาน - ออกกำลงั กายให้พอเหมาะ ลดพุงลดโรค จดั ส่ิงแวดลอ้ มให้เออื้ ต่อการออกกำลังกาย การ ออกกำลงั กายจะช่วยทำให้รา่ งกายแข็งแรงกระฉับกระเฉงและป้องกันการเกิดโรค โดยปฏบิ ตั ิต่อเนอ่ื งสมำ่ เสมอ สปั ดาหล์ ะอย่างน้อย 3 - 5 วนั วันละอยา่ งนอ้ ย 30 นาที เช่น เตน้ แอโรบิก เดินเร็ว ว่ายน้ำ เป็นตน้ ควรมกี าร

39 อบอ่นุ ร่างกายก่อนออกกำลงั กายอยา่ งต่อเนื่องและผอ่ นคลายกลา้ มเนื้อเมื่อส้ินสดุ การออกกำลงั กาย (กองสขุ ศึกษา กรมสนบั สนุนบรกิ ารสุขภาพ กระทรวงสาธารณสขุ , 2555) - สถานที่ทำงานปลอดโรคปลอดภยั กายใจเปน็ สุข (สำนักโรคไม่ติดตอ่ กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสขุ , 2556 หน้า 2) - สง่ เสรมิ การตรวจสุขภาพประจำปี เพื่อคดั กรองโรค ไดแ้ ก่ การชงั่ นำ้ หนกั วดั รอบเอว ประเมินดัชนีมวลกาย ตรวจน้ำตาลและไขมนั ในเลอื ด ตรวจมะเร็งปากมดลูก มะเร็งเต้านม มะเร็งปอด ตรวจ สขุ ภาพชอ่ งปากและฟัน - สง่ เสรมิ การรบั วัคซนี ป้องกนั โรคท่จี ำเปน็ เช่น บาดทะยัก คอตบี หัดเยอรมนั ไข้หวัดใหญ่ ตบั อักเสบบี เป็นตน้ 5.2 กจิ กรรมสร้างเสรมิ สุขภาพระดบั ครอบครวั การสรา้ งเสริมสขุ ภาพในครอบครัวเป็นสงิ่ ทสี่ ำคญั เพราะครอบครวั เปน็ หน่วยของสงั คมทใี่ กล้ชดิ กับ บุคคล ตงั้ แต่เกดิ จนตาย ครอบครัวทำหนา้ ท่ถี ่ายทอดคา่ นยิ ม ความเชอื่ วฒั นธรรมจากคนรุ่นหน่งึ ไปยังคนอีก รุ่นหนง่ึ ดงั น้ันการมีสุขนิสยั ที่ดีในครอบครัว จึงมีอิทธพิ ลตอ่ สมาชกิ ในครอบครัวมาก ซ่ึงเปน็ ส่ิงทจ่ี ะช่วยให้ สมาชกิ ในครอบครัวมสี ขุ ภาพดีได้ (ศิริพร ขมั ภลิขติ และคณะ, 2555) การสรา้ งเสรมิ สขุ ภาพระดบั ครอบครวั จะแบ่งออกตามระยะพัฒนาการของครอบครวั ดังนี้ 1. ระยะก่อนแต่งงาน ควรมีการตรวจสขุ ภาพร่างกาย การเตรียมความพร้อมสำหรบั การมีบุตรและ ทกั ษะการใชช้ วี ติ คู่ 2) ระยะแตง่ งานใหม่ ควรมีการให้คำปรกึ ษาชวี ติ คู่ และให้คำปรกึ ษาอนามยั เจรญิ พนั ธ์ทั้งผทู้ ่พี ร้อมจะ มีบตุ รและยงั ไม่พรอ้ มจะมีบุตร 3) ระยะก่อนคลอดบตุ ร ควรมีการส่งเสรมิ ให้พอ่ แมท่ ำกิจกรรมรว่ มกัน และมีการประเมินสมั พนั ธภาพ ระหว่างพ่อแม่ 4) ระยะมบี ตุ รแรกเกิด – 5 ขวบ ควรมีการจดั กิจกรรมสำหรับพ่อ แม่ ลูก กระตุน้ พัฒนาการของลูกใน ทุกๆดา้ น การให้ความร้เู รื่องพัฒนาการของลูก และการกระตนุ้ พฒั นาการของเดก็ และการฝกึ ทักษะการ สงั เกตความผดิ ปกตขิ องลูก การพดู กบั ลูก 5) ระยะมบี ตุ ร 6-12 ปี ควรเนน้ กจิ กรรมการส่งเสริมภายในครอบครวั มากขน้ึ มีการจัดกิจกรรมการให้ คำปรกึ ษาวัยรุ่นรว่ มกับพ่อ แม่ และจัดกิจกรรมครอบครวั ให้สมาชิกมีโอกาสทำกิจกรรมรว่ มกนั ในส่วนของการดูแลสุขภาพครอบครัวนน้ั นอกจากจะต้องดูแลใหท้ กุ คนมโี ภชนาการทดี่ ี ไดร้ ับการ ส่งเสริมสุขภาพปอ้ งกนั โรค เม่ือเจ็บปว่ ยก็มีการดแู ลรกั ษาให้หายได้อยา่ งเหมาะสมแล้วยังตอ้ งดูแลดา้ น สงิ่ แวดลอ้ มของครอบครวั และการทำหนา้ ทข่ี องครอบครัว ดงั นี้ การดูแลสิ่งแวดล้อมของครอบครัว

40 - บริบทชมุ ชุนที่อยู่อาศยั ครอบครวั ควรมที ีอ่ ยู่อาศัยเปน็ หลกั แหล่ง ครอบครองท่ีอยูอ่ าศัยในบรบิ ท ของชุมชนท่ีดี ต้ังอยใู่ นแหลง่ ชมุ ชนที่ปราศจากสิง่ รบกวนอันเปน็ มลพษิ มีความสะดวกสบายดา้ นสาธารณปู โภค มถี นน น้ำประปา ไฟฟ้า มีสถานท่ีออกกำลังกายและสถานท่ีพกั ผ่อนหยอ่ นใจ สามารถเดินทางเข้าถึงระบบ บริการสุขภาพได้งา่ ย เช่น คลินิก โรงพยาบาล สถานีอนามัย การเดนิ ทางกลับเข้าบ้านมีความปลอดภัยในชีวติ และทรัพยส์ นิ ชมุ ชนบริเวณละแวกบ้านปราศจากแหล่งม่ัวสุมอบายมุข - ลกั ษณะบ้าน บ้านทีอ่ ยู่อาศัยควรมคี วามม่นั คงแขง็ แรง มีสิง่ อำนวยความสะดวกท่เี พยี งพอต่อการ ดำรงชีวิตของคนในครอบครวั - สขุ าภบิ าลทอี่ ย่อู าศัย ส่งิ แวดลอ้ มทัง้ ภายในและภายนอกบา้ นควรมคี วามปลอดภัยและถูก สขุ ลกั ษณะตามหลักสขุ าภิบาล มีเพ่ือนบ้านท่เี ปน็ มิตรและใหค้ วามชว่ ยเหลอื ได้ การดูแลด้านการทำหน้าทข่ี องครอบครัว ครอบครัวที่มสี ขุ ภาพดจี ะต้องมีการทำหนา้ ท่ีของครอบครวั ท่ดี เี ปน็ “ครอบครวั อบอนุ่ ” ซึ่งสมาชิกใน ครอบครวั ควรมีลักษณะเกย่ี วขอ้ งกับส่ิงต่อไปนี้ (มนัส วณชิ ชานนท, 2550 หนา้ 28 - 29) สัมพันธภาพของคนในครอบครวั จะทำใหค้ นในครอบครัวอยดู่ ้วยความรักความเอือ้ อาทรตอ่ กนั โดย ปฏบิ ัตดิ งั นี้ - มปี ฏิสมั พันธ์ สมาชิกในครอบครัวใชเ้ วลารว่ มกัน มคี วามสุขเมื่อไดท้ ำกิจกรรมรว่ มกัน และมี เครือข่ายทางสังคมทด่ี ี พอ่ แม่เป็นแบบอยา่ งทดี่ ีของลกู เลี้ยงดลู กู แบบใชเ้ หตุผล ลกู ไดร้ บั การดูแลเอาใจใส่ อบรมสง่ั สอน พัฒนาทักษะชวี ิต พอ่ แม่เปดิ โอกาสให้ลูกได้พัฒนาไปสู่ความเป็นผู้ใหญ่ ลูกประพฤติตนเป็นคนดี เคารพเชอ่ื ฟังพ่อแม่ กตัญญูกตเวที ต้ังใจศึกษาเลา่ เรยี น รกั ษาชอื่ เสยี งวงศ์ตระกูล สามีให้เกยี รตภิ รรยามคี วาม ซ่ือสัตย์ ภรรยายกยอ่ ให้เกยี รติสามแี ละซ่ือสตั ย์ - มคี วามผกู พนั ทางอารมณ์ที่เหมาะสม ไม่ห่างเหนิ กนั เกนิ ไปหรอื ใกล้ชดิ กนั เกินไปจนขาด ความเป็นตวั ของตัวเอง สมาชิกในครอบครวั ใสใ่ จดา้ นอารมณแ์ ละความรู้สกึ หว่ งใยเอื้ออาทรซ่งึ กนั และกัน มี ความรกั ใคร่ปรองดอง มีความสามคั คี ยอมรบั และชืน่ ชมยนิ ดตี ่อกัน ทุกคนมีอสิ ระทแ่ี ตกต่างกันและมคี วาม เปน็ ตัวของตวั เองแตย่ อมรับข้อตกลงและปฏบิ ตั ติ ามข้อตกลงร่วมกนั - มีการสื่อสารทีม่ ีประสิทธิภาพ สมาชิกในครอบครัวมที ักษะการส่ือสารทางบวกเพ่ือสร้าง ความสมั พันธ์ที่ดีของคนในครอบครัว บทบาทหนา้ ที่ของคนในครอบครัว เด็กได้รับการดแู ลอบรมสงั่ สอนพฒั นาหลักคิดและแนวทาง ดำเนินชวี ติ ซึ่งต้องดำเนนิ การดังน้ี - มบี ทบาทหน้าทีช่ ดั เจน ทุกคนในครอบครวั ตระหนักรู้ถึงบทบาทหนา้ ที่ความรบั ผดิ ชอบของตนเอง ช่วยเหลอื กันทำงานบา้ น การปฏิบัตหิ น้าท่ีของสมาชิกมีความยืดหยนุ่ และเหมาะสม การจัดระบบภายใน ครอบครัวมปี ระสิทธิภาพ กำหนดรปู แบบการดำเนนิ ชีวติ ของสมาชกิ ในครอบครวั ได้อยา่ งเหมาะสม มกี าร จดั ลำดบั อำนาจและความเป็นผนู้ ำท่ีชัดเจน ผู้นำครอบครวั มีความเปน็ ประชาธปิ ไตย สมาชิกในครอบครวั ละ เว้นอบายมุข ไม่มีความผดิ ทางกฎหมาย รูจ้ ักการวางแผนการใชเ้ งนิ และการออม

41 - แก้ไขความขดั แยง้ ท่ีมีประสิทธิภาพ เมื่อมปี ญั หาความเครียด ความขัดแย้ง หรอื เผชญิ วิกฤตก็ สามารถพดู คุยและจดั การปัญหาได้อย่างเหมาะสม ไม่มีความรุนแรงในครอบครวั 5.3 กจิ กรรมการสรา้ งเสรมิ สุขภาพระดับชุมชน การสร้างเสรมิ สขุ ภาพในระดับชมุ ชนเม่ือพจิ ารณาดบู ริบทของชมุ ชน ซึ่งกว้างขวางครอบคลุมคน มากกว่าคนหนึ่งคน มากกวา่ หน่งึ ครอบครวั มากกวา่ หนง่ึ กลมุ่ คน ดงั นัน้ การสร้างเสรมิ สุขภาพชุมชนยอ่ ม ตอ้ งการสมรรถนะที่หลากหลายและต้องหลากหลายวิชาชพี ด้วย น่ันคือท่ีมาของหลักการสำคัญข้อแรกใรการ สรา้ งเสรมิ สุขภาพชุมชน คือ การสรา้ งการประสานความร่วมมอื ระหว่างภาคสว่ นต่างๆและภาคส่วนหรอื ดรมี ทมี ทีท่ ุกคนต้องการ คือ ภาคประชาสังคม ภาครัฐและภาควิชาการ (วรรณภา ศรธี ญั รตั น์ และคณะ, 2555) ปัจจุบนั สังคมไทยมกี ารต่ืนตัวและสนใจการดูแลสุขภาพมากยิง่ ขนึ้ จะเหน็ ไดจ้ ากมกี ารจัดต้ังองค์กรด้านสุขภาพ เกดิ ข้ึนมากมาย (การคุ้มครองผู้บรโิ ภค การแพทยท์ างเลือก) และมีการรวมตัวกันของกลุ่มคนท่สี นใจดา้ น สขุ ภาพ (ชมรมตา่ งๆ) กระบวนการสรา้ งเสริมสุขภาพระดบั ชุมชน การสร้างเสรมิ สุขภาพระดบั ชุมชนในแนวคิดสังคมเชิงระบบนิเวศน์ ท่มี กี ารวิเคราะหป์ จั จัยดว้ นบคุ คล และสิง่ แวดลอ้ มหลายระดับ ตลอดจนช่วงชวี ิต การสร้างเสรมิ สุขภาพระดับชมุ ชนทใ่ี ห้ความสำคัญกับความ เข้าใจสงั คม การสร้างการมสี ว่ นร่วม การสรา้ งความรว่ มมือในการพัฒนาความสามารถของชมุ ชน มีการ ประสานงานท้งั ในแนวดิ่งและแนวราบ คอื การประสานระดับหน่วยงานและ การประสานระหวา่ งกลุ่มเพอ่ื แลกเปล่ยี นประสบการณ์ ทรัพยากรและกลวธิ ีในการแก้ปัญหา นอกจากน้กี ารสง่ เสรมิ สุขภาพระดับชมุ ชนจะ ใหค้ วามสำคญั กับการทำประชาคมเพ่ือนำไปสู่การทำกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพ เป้าหมายคือสขุ ภาวะทีด่ รี ะดับ ชุมชน (อาภาพร เผ่าวัฒนาและคณะ, 2555) แนวทางการสรา้ งเสริมสุขภาพระดบั ชุมชน กลวธิ ีในการสรา้ งเสริมสขุ ภาพในยคุ ปจั จุบันใหค้ วามสำคัญกับสภาพแวดล้อมทเ่ี ออ้ื ต่อการสร้างเสรมิ สขุ ภาพและกลวิธที บี่ ูรณาการในการแกไ้ ขปญั หาซึง่ มปี จั จยั ทห่ี ลากหลาย (อาภาพร เผา่ วฒั นาและคณะ, 2555) การสรา้ งเสริมสุขภาพระดับชุมชน จงึ เป็นกระบวนการเรียนร้ขู องชมุ ชน ควรมกี ารสนบั สนุนใหม้ ีนโยบาย สาธารณะ สนับสนนุ การใช้ภมู ปิ ญั ญาท้องถิ่น การกระตุ้นระบบส่ือมวลชน และการสง่ เสรมิ ระบบสวสั ดกิ าร ชุมชน กองทุน สวสั ดิการชมุ ชน การสรา้ งเสริมสุขภาพระดบั ชุมชนตอ้ งอาศัยความรว่ มมือจากทกุ ภาคสว่ นและสอดคลอ้ งกับนโยบาย สขุ ภาพของประเทศด้วย นโยบายสขุ ภาพของประเทศมีดงั น้ี นโยบายสุขภาพของไทย 1) สง่ เสรมิ ความรบั ผิดชอบต่อสงั คม โดยการกำหนดนโยบาย คือ 1.1) หลีกเลยี่ งการกระทำที่เป็นอนั ตรายต่อสขุ ภาพบุคคล (มาตรการขับขีป่ ลอดภยั ) 1.2) ดูแลและสร้างส่งิ แวดล้อมให้ดขี ้นึ เช่น กำหนดให้มีสวนสุขภาพ สวนสาธารณะ 1.3) การจำกดั การผลิตและการจำหนา่ ยบุหร่ี สรุ า

42 1.4) การคุ้มครองดา้ นสขุ ภาพผู้บริโภค 1.5) การติดตามประเมนิ ผลกระทบด้านสุขภาพจากโครงการทั้งของรัฐและเอกชน 2) การเพม่ิ การลงทนุ เพือ่ พฒั นาสขุ ภาพ 2.1) สนับสนุนดา้ นการวิจัยและพฒั นาด้านสุขภาพ 2.2) สนบั สนนุ เพ่อื การวิจัยสมุนไพร และการแพทย์แผนไทย 2.3) เพ่มิ การกระจายอำนาจสทู่ ้องถิ่น 2.4) สนับสนุนการสง่ เสรมิ สุขภาพระดับสงั คมโดยประชาชนสามารถขอทนุ ได้ 3) การสร้างและขยายภาคีเครอื ข่าย 3.1) เกดิ ขนึ้ โดยธรรมชาติ จากความตระหนกั และกำหนดระบบการจัดการดว้ ยประชาชนเอง 3.2) เกิดจากการสง่ เสรมิ โดยรัฐ 3.3) โดยการสนบั สนุนขององคก์ รพฒั นาเอกชน (NGO) 4) การเพ่ิมความสามรถของชุมชนและอำนาจของปัจเจกบุคคล โดยการสง่ เสรมิ การศกึ ษาภาคปฏิบัติ อบรมผู้นำชุมชน การเข้าถงึ ทรพั ยากรและแหล่งประโยชน์ 5) การจดั โครงสร้างพื้นฐานเพอ่ื การส่งเสริมสขุ ภาพ 5.1) ชุมชนสุขภาพ เมอื งสขุ ภาพ 5.2) โรงเรยี นสุขภาพ เน้นการจัดสง่ิ แวดล้อม การจดั กิจกรรมเพื่อสุขภาพ 5.3) ทท่ี ำงานสุขภาพ ส่งเสรมิ พฤติกรรมสขุ ภาพทีเ่ หมาะสม การดแู ลสขุ ภาพชุมชน ชมุ ชนท่ดี ีจะมีองคป์ ระกอบคุณภาพทมี่ ีลักษณะเปน็ ชมุ ชนแหง่ การเรียนรู้ ชุมชนแหง่ การรว่ มมือ ชุมชนรรู้ กั ษ์สิง่ แวดลอ้ ม ชมุ ชนทมี่ ีความสมานฉนั ท์และเอื้ออาทร ชุมชนแห่งสันติสขุ จงึ จะทำให้คนในชุมชนมี สุขภาพดี รายงานวิจยั พบวา่ การพัฒนาระบบการดูแลสุขภาพของชมุ ชนใหย้ ่ังยนื นั้นจำเป็นต้องเกดิ จากต้นทนุ คนในพนื่ ทซี่ ่ึงต้องมีจติ อาสาในการทำงาน รูปแบบการทำงานน้ันตอบสนองความต้องการของชุมชน มีระบบ สนบั สนุนที่เอ้อื ต่อการทำงานในพนื้ ท่ี (เพ็ญจนั ทร์ สทิ ธปิ รชี าชาญ, ปนัดดา ปรยิ ฑฤฆ, 2557 หน้า 1 – 15) องคป์ ระกอบทสี่ ่งผลต่อความสำเรจ็ ในการดูแลสุขภาพของชมุ ชนประกอบด้วย คนในชุมชนต้องได้รับการ พฒั นาอบรมให้ความรู้และสร้างเครือขา่ ยในการดแู ลสขุ ภาพ มคี วามตระหนกั ในการพฒั นา มีส่วนร่วมในการ พัฒนาจัดทำแผนงานโครงการเพ่ือการดูแลสุขภาพ พฒั นารูปแบบวธิ กี ารดแู ลสขุ ภาพของชมุ ชน มสี ิง่ แวดล้อม ในชุมชนทจ่ี ะทำให้เกิดการกำหนดระเบยี บกติการ่วมกันในการพัฒนาการดแู ลสุขภาพชมุ ชน เพือ่ ให้มีแนว ปฏิบัติที่ชดั เจน มวี ัสดุอปุ กรณท์ ่เี กย่ี วข้องกบั การพฒั นาการดแู ลสุขภาพ มีกลวิธกี ารพัฒนาและ กระบวนการพฒั นา ซ่ึงคนในชมุ ชนต้องมีทักษะในการคดิ วิเคราะห์ วางแผนแกไ้ ขปัญหา หาวิธดี ำเนนิ การ เพ่ือใหบ้ รรลเุ ป้าหมายของการดูแลสุขภาพชุมชน มกี ารบริหารจดั การท่ีมปี ระสทิ ธิภาพจะชว่ ยใหบ้ รรลุ เปา้ หมายของการพฒั นาสขุ ภาพ มกี ารสนบั สนนุ ช่วยเหลอื ทงั้ หน่วยงานภาครฐั และเอกชนเพื่อใหเ้ กิดการ จดั การดแู ลสุขภาพชมุ ชนอย่างย่ังยนื (สุเทพ พลอยพลายแก้ว และคณะ, 2556)

43 ชุมชนแห่งการเรียนรู้ (Social society) การเรยี นรมู้ ิได้จำกัดอยเู่ พียงแค่เด็กวัยเรียนเทา่ น้นั แตท่ ุกคนควรได้รบั การดูแลด้านการเรยี นร้ใู ห้ เหมาะสม โดยระดับปฐมวัยจำเปน็ ต้องไดร้ ับการดแู ลเพ่ือให้มีพัฒนาการของร่างกายและสมองอยา่ งสมบูรณ์ แข็งแรง พอ่ แม่ใหม้ สี ่วนสำคัญในการดูแลและสร้างการเรียนรู้ใหเ้ กดิ ข้นึ ต้ังแต่ระยะทารกในครรภ์ ช่วยส่งเสริม พัฒนาการของเด็กใหเ้ หมาะสมท้ังทางด้านการใช้กลา้ มเน้ือมดั เลก็ การใช้กลา้ มเน้ือมัดใหญ่ ส่งเสรมิ พฒั นาการ ทางดา้ นภาษา พฒั นาการทางด้านสตปิ ัญญา พัฒนาการทางด้านสงั คม อารมณ์และจติ ใจ เด็กวัยเรยี นและ วยั รุ่นควรไดร้ ับการดูแลให้มคี วามสุขกบั การเรียนรู้ พฒั นาลักษณะนิสยั ให้เปน็ ผู้ใฝเ่ รียนรู้ไปตลอดชีวิต สามารถ คน้ หาความถนัดของตนเอง มีทกั ษะการคดิ มีภมู ิคุ้มกนั มีทักษะการใช้ชีวติ ทีด่ งี าม เมื่อเติบโตข้นึ กร็ ู้จักการคิด วเิ คราะหใ์ ชเ้ หตุผล สามารถนำความรแู้ ละทกั ษะตา่ ง ๆ ที่ได้เรยี นรู้มาประยุกตใ์ ช้ในการทำงาน สามารถพัฒนา ขีดความสามารถของตนเองในการทำงานอยา่ งต่อเนื่องและไมห่ ยุดย้ัง เม่อื อยูร่ ่วมกันในชมุ ชนกต็ อ้ งพฒั นา ชุมนแหง่ การมีสว่ นรว่ ม ความรว่ มมือของคนในชุมชนจะเกิดขน้ึ ไดเ้ มือ่ คนในชุมชนรู้จักบทบาทหน้าทขี่ องตนเอง ไมเ่ ห็นแก่ตวั และบำเพ็ญตนใหเ้ ปน็ ประโยชนต์ อ่ ชมุ ชน ร่วมมือร่วมใจสร้างสรรคแ์ ละพัฒนาชุมชนโดยไม่เห็นแก่พวกพ้อง การมสี ว่ นรว่ มของกลมุ่ ประชาชนในชมุ ชนจะทำใหเ้ กิดการตัดสนิ ใจและดำเนนิ กิจกรรมร่วมกันอย่างต่อเน่อื งทำ ให้เกิดการพัฒนาชมุ ชนอย่างย่งั ยืน ชุมชนแหง่ ความสมานฉนั ทแ์ ละเอือ้ อาทร ความสมานฉันท์และเออื้ อาทรของคนในชมุ ชนเกดิ จากความมีไมตรจี ติ ทด่ี ีต่อกัน มองโลกในแง่ดี มี ความรักความหว่ งใย ช่วยเหลอื เก้ือกูลกันด้วยความเต็มใจ ชมุ ชนรู้รักษ์สิ่งแวดล้อม ภเู ขา แมน่ ำ้ ลำคลอง ปา่ ไม้ ท้องนา ธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดล้อมมีความสำคญั ตอ่ ชวี ติ มนษุ ย์สง่ ผลต่อวิถี ชวี ติ ของคนในชมุ ชน ชมุ ชนจะอยู่ดีมีสขุ ได้หากไม่ได้รับผลกระทบจากธรรมชาติและสิง่ แวดล้อมท่เี ปน็ มลพิษ คนในชุมชนจึงตอ้ งร่วมมอื กนั อนุรกั ษส์ ิ่งแวดล้อม เพือ่ ให้คนในชุมชนได้อาศยั อยู่ในส่งิ แวดลอ้ มทปี่ ราศจาก มลพษิ ทางอากาศ มอี าหารน้ำดืม่ นำ้ ใช้ทีส่ ะอาดปลอดภยั และเพียงพอ ปราศจากพาหะนำโรคและส่งิ รำคาญ รบกวนความเป็นอยู่ของคนในชมุ ชน มีการกำจดั ขยะและสง่ิ ปฏกิ ลู ท่ีถูกหลกั สุขาภบิ าล ชมุ ชนแหง่ สนั ตสิ ขุ สนั ติสขุ จะเกิดข้นึ ได้เมอ่ื คนรจู้ ักใช้ปญั ญารวมพลังรว่ มแรงร่วมใจสานประโยชน์เพ่ือสังคม เชอ่ื มโยง ความรักความเขา้ ใจเพ่ือใหเ้ กิดมติ รภาพอย่างถาวร สรปุ ท้ายบท จากการเปลี่ยนแปลงของสิง่ แวดลอ้ มและสังคมทเี่ กิดข้ึนในปัจจบุ ัน ส่งผลกระทบต่อภาวะสุขภาพของ ประชาชนเป็นอยา่ งมาก ในชีวิตประจำวนั ตอ้ งการเผชิญกับการเปลย่ี นแปลง ความเสีย่ ง ภัยคุกคาม ความไม่ ม่นั คงท่สี ะท้อนให้เห็นถึงความไม่พรอ้ มของการรบั มือปัญหาใหม่ กวา่ จะแก้ไขให้อยใู่ นสภาพท่สี มดุลได้ ก็ใช้ เวลาและมีความสูญเสียเกิดข้ึน การสรา้ งเสริมสุขภาพเป็นทางเลือกของการเตรียมพร้อมรองรบั สง่ิ ท่จี ะเกิด

44 ข้ึนกับระบบสุขภาพ เปน็ ทางออกท่ีใช้และเกยี่ วข้องในการสรา้ งกระบวนการเรียนรู้ที่ตอ่ เนื่อง และรองรบั ความ เสยี่ งให้มนษุ ย์ใชศ้ ักยภาพของตนเพื่อใหส้ ุขภาพดีใหน้ านที่สุด กิจกรรมในการสร้างเสริมสุขภาพมีทั้งระดบั บุคคล ครอบครัวและชุมชน ซ่ึงมคี วามหลากหลายและ แตกตา่ งกนั ออกไป ต้องเลือกใหเ้ หมาะสมกับบคุ คล เชน่ อายุ เพศ หรอื ภาวะสุขภาพ ส่วนกิจกรรมการสรา้ ง เสรมิ สุขภาพระดับครอบครัวและชุมชนตอ้ งอาศยั ความร่วมมือจากทุกภาคส่วนจงึ จะประสบความสำเร็จได้

45 เอกสารอา้ งอิง ธนิดา ผาตเิ สนะ. (2550). พฤติกรรมสขุ ภาพและสขุ ศึกษา. นครราชสีมา: มหาวิทยาลยั ราชภฏั นครราชสีมา. นิตย์ ทัศนิยม และสมพนธ์ ทัศนยิ ม. (2555). การสร้างเสรมิ สขุ ภาพและการสรา้ งพลงั อำนาจ. ขอแก่น: หา้ งหนุ้ ส่วนจำกัดโรงพิมพ์คลงั นานาวิทยา. รุจินาถ อรรถสิษฐ์, เสาวนยี ์ กลุ สมบรู ณ์, อรอนงค์ ดเิ รากบุษราคม, กมลาภรณ์ คงสขุ ววิ ัฒน์,วชิ ัย จันทรก์ ิตวิ ัฒน,์ อรจิรา ทองสกุ มาก และคณะ. (2548). ส่เู สน้ ทางการสรา้ งสุขภาพชมุ ชน. สำนกั งาน โครงการสร้างเสรมิ ศกั ยภาพชุมชนและการสรา้ งสรรคช์ ุมชนน่าอยู่ กลมุ่ งานแพทยพ์ ้นื บ้าน กรมพฒั นา การแพทย์แผนไทยและการแพทยท์ างเลอื ก กระทรวงสาธารณสขุ . นนทบุรี: อุษาการพิมพ์. วรรณภา ศรีธญั ญรตั น์, ผอ่ งพรรณ อรณุ แสง, พมิ ภา สตุ รา และเพญ็ จันทร์ เลิศรตั น.์ (2555). สร้างเสรมิ สุขภาพองค์รวม สู่สุขภาวะสงั คม. แผนงานพฒั นาเครอื ข่ายพยาบาลศาสตร์เพอ่ื การสร้างเสรมิ สขุ ภาพ (พย.สสส.) ระยะท่ี 2 คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. ขอนแก่น: ห้างหุ้นสว่ นจำกัด โรงพิมพ์คลังนานา. ศริ ิพร ขมั ภลิขติ , จฬุ าลกั ษณ์ บารมี (บรรณาธกิ าร). (2555). คมู่ ือการสอนการสร้างเสรมิ สขุ ภพในหลักสตู ร พยาบาลศาสตรบัณฑติ . ขอนแก่น: แผนงานพฒั นาเครอื ขา่ ยพยาบาลศาสตรเ์ พือ่ การสร้างเสริมสุขภาพ (พย.สสส.) ระยะที่ 2 คณะพยาบาลศาสตร์ มห าวทิ ยาลยั ขอนแก่น. สนิ ศักดชิ์ นม์ อุน่ พรมมี (ผแู้ ปลและเรยี บเรยี ง). (2556). พัฒนาการสำคญั ของการสร้างเสรมิ สุขภาพ: รายงาน การประชุมระดบั โลกเรือ่ งการสร้างเสรมิ สุขภาพ. นนทบรุ ี: โครงการสวสั ดกิ ารวชิ าการ สถาบันพระ บรมราชนก สำนกั งานปลัดกระทรวงสาธารณสุข. อมั พล จนิ ดาวฒั นะ, สรุ เกยี รติ อาชานานุภาพ, และสรุ ณี พิพฒั นโ์ รจนกมล. (2550). การสรา้ งเสริมสขุ ภาพ: แนวคิด หลกั การ และบทเรียนของไทย. กรงุ เทพมหานคร: สำนักพิมพห์ มอชาวบ้าน. อาภาพร เ ผา่ วัฒนา, สุรนิ ธร กลมั พากร, สนุ ยี ์ ละกำป่นั และขวัญใจ อำนาจสัตย์ซอ่ื . (2555). การสร้างเสริม สุขภาพและการป้องกนั โรคในชมุ ชน: การประยกุ ต์แนวคดิ และทฤษฏสี ่กู ารปฏิบตั ิ (พิมพ์ครัง้ ท่ี 2). กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์คลงั นานาวิทยา. Barbara K. Rimer, Karen Glanz. สนิ ศักดิ์ชนม์ อุน่ พรมมี, ศรเี สาวลักษณ์ อนุ่ พรมมี (ผู้แปล). (2556). Theory at a Glance: A Guide for Health Promotion Practice. ทฤษฎกี ารสร้างเสรมิ สขุ ภาพ ฉบบั สรปุ สาระสำคญั . นนทบุรี: โครงการสวัสดิการวชิ าการ สถาบนั พระบรมราชนก สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสขุ . อัมพร เบญจพลพิทักษ์ ลดั ดา ดำรกิ ารเลศิ . (2553). การจดั การความรู้และสังเคราะห์แนวทางปฏบิ ัติของโรงพยาบาลส่งเสรมิ สุขภาพตำบล: แนวทางการดแู ลสขุ ภาพวยั รุน่ . นนทบรุ ี: สถาบันวิจยั สาธารณสขุ . คณะกรรมการสง่ เสรมิ พฒั นาเดก็ และเยาวชนแห่งชาติ (2554). แผนพฒั นาเด็กและเยาวชนแห่งชาติ พ.ส. 2555 – 2559. กรุงเทพฯ: สำนักงานสง่ เสรมิ สวสั ดภิ าพและพิทักษ์เดก็ เยาวชนผ้ดู อ้ ยโอกาสและผู้สูงอาย.ุ ดวงกมล ทองอย.ู่ (2555). การประยุกต์ทฤษฎีทางจติ วิทยาเพ่ือพัฒนาจิตสาธารณะให้เด็ก และเยาวชนไทย.วารสารวไลยอลงกรณ์ปรทิ ศั น์ ปที ่ี2 ฉบับท1่ี มกราคม-มถิ นุ ายน หนา้ 11 – 22. กองสุขศกึ ษา กรมสนับสนนุ บริการสขุ ภาพ กระทรวงสาธารณสขุ . (2555). คูม่ อื สุขภาพสำหรบั ประชาชนปรบั พฤตกิ รรม เปล่ยี นสุขภาพคนไทย. กรุงเทพฯซ สามเจรญิ พานชิ . สำนักโรคไมต่ ิดต่อ กรมควบคมุ โรคกระทรวงสาธารณสขุ . (2556). แนวทางการดำเนินงานวิสาหกิจชมุ ชน ปลอดโรค ปลอดภยั กายใจเป็นสขุ . นนทบุรี: ชมุ นมุ สหกรณ์การเกษตรแหง่ ประเทศไทย. มนัส วณชิ ชานนท์ (2550). การสรา้ งองคค์ วามร้แู ละตวั ชวี้ ัดความอบอุ่นของครอบครวั ไทยความสุขทยี่ ั่งยนื . วารสารเศรษฐกจิ และสงั คม ปีที่ 44 ฉบบั ที่ 1 เดือน มกราคม – มนี าคม หนา้ 26 – 33.

46 เพ็ญจนั ทร์ สทิ ธปิ รชี าชาญ, ปนดั ดา ปรยิ ฑฤฆ. (2557). กระบวนการพฒั นาระบบการดูแลสุขภาพชมุ ชน: 14 กรณีศึกษาชมุ ชน ในพื้นทีภ่ าคกลาง. วารสารพยาบาลสาธารณสขุ . ปที ่ี 28 ฉบับท่ี 1 มกราคม – เมษายน หนา้ 1 – 15 สุเทพ พลอยพลายแก้ว นษิ ฐา หรนุ่ เกษม อรนชุ ภาชน่ื ศักดช์ิ าย เพช็ รตรา. (2556). การพัฒนารูปแบบการดูแล สขุ ภาพตนเองของชมุ ชนจังหวัดลพบรุ ี.วารสารพยาบาลทหารบก ปีที่ 14 ฉบับท่ี 1 (ม.ค. - เม.ย.) หน้า 61 – 70.