กรมการพฒั นาชุมชน อทุ ศิ ตน พฒั นาคน สร้างชมุ ชนอยา่ ง ยง่ั ยนื
พฒั นา คือ สร้างสรรค์ คาขวญั พระราชทานของพระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั เนื่องในวนั พฒั นา พฒั นาชุมชนใจคนไปพร้อมกบั วตั ถุ คาขวญั พระราชทาน สมเด็จพระนางเจา้ สิริกิต์ิ พระบรมราชินีนาถ
ปรัชญาพฒั นาชุมชน หลักความเป็ นจริ งแห่งชีวิต ที่นักพัฒนาชุมชนยึดถือ สรณะคือ ความเช่ือมั่นและศรัทธา ในมนุษยชาติวา่ มนุษยท์ ุกชีวิตมีคุณค่าและมคี วามหมาย มศี กั ด์ิศรี และ มศี กั ยภาพ กล่าวคือ มีฐานะแห่งความเป็นมนุษยท์ ่ีไม่ควรจะไดร้ ับการเหยยี บยา่ ดูหมิ่น เหยยี ดหยาม จากเพือ่ น มนุษยด์ ว้ ยกนั เอง มีความสามารถจากการเป็นมนุษยท์ ่ีควรไดร้ ับการยอมรับและทาใหป้ รากฎเป็นจริงในทาง ปฏบิ ตั ิจากเพื่อนมนุษยด์ ว้ ยกนั เอง หลกั การพฒั นาชุมชน หลกั การพฒั นาชุมชนที่แทจ้ ริง คือ หลกั ประชาชน ๑.เริ่มต้นท่ีประชาชน ยืนจุดเดียวกับประชาชน มองโลก มองชีวิต มองปัญหา จากทัศนะ ของประชาชน เพือ่ ใหเ้ ขา้ ใจปัญหา ความตอ้ งการประชาชนเพือ่ ใหเ้ ขา้ ถึงชีวติ จิตใจของประชาชน ๒.ทางานร่วมกบั ประชาชน (ไม่ใช่ทางานใหแ้ ก่ประชาชนเพราะจะทาใหเ้ กิดความคิดมาทวงบุญ ทวงคุณจากประชาชนในภายหลัง) การที่จะทาให้ประชาชนเข้าใจปัญหาของตนเองและมีกาลงั ใจ ลุกข้ึนต่อสูก้ บั ปัญหาช่วยกนั คิดช่วยกนั แกไ้ ขปัญหาน้นั ยอ่ มมีหนทางท่ีจะกระทาไดโ้ ดยไม่ยากหากเขา้ ใจ ปัญหาและเขา้ ถงึ จิตใจประชาชน ๓.ยึด ประชาชนเป็ นพระเอก ประชาชนต้องเป็ นผูก้ ระทาการพฒั นาด้วยตนเอง ไม่ใช่เป็ น ผูถ้ ูกกระทาหรือฝ่ ายรองรับขา้ งเดียว เพราะผลของการกระทาการพฒั นาน้นั ตกอยู่ที่ประชาชนโดยตรง ประชาชนเป็ นผู้รับโชคหรื อเคราะห์จากการพัฒนา น้ัน ดังน้ันการพัฒนาชุมชนจึงมีหลักการ ที่มจี ุดหมาย ๓ เชิงในการพฒั นาทรัพยากรมนุษยแ์ ละชุมชนมนุษยด์ งั น้ี ๑. จุดหมาย เชิงกระบวนการ (Process Goal) เป็นกระบวนการต่อเนื่องในการพฒั นาความคิด/ จิตใจมนุษย์ ใหค้ ิดพ่งึ ตนเองมีจิตใจเอ้ือเฟ้ื อช่วยเหลือเพื่อนมนุษย์ ๒. จุดหมาย เชิงสัมพนั ธภาพ (Relationship Goal) เป็ นการทาให้มนุษยม์ ีความสมั พนั ธท์ ี่ดีต่อ กนั ร่วมมอื ร่วมใจกนั ทางานเพือ่ กนั และกนั คือ เพ่อื กลมุ่ ๓. .จุดหมาย เชิงการงาน (Task Goal) เป็ นการทางานพฒั นาความเป็ นอยขู่ องมนุษยเ์ พือ่ ความ อยเู่ ยน็ เป็นสุข
ก่อนจะเป็ นกรมการพฒั นาชุมชน จากบูรณะชนบท ผ่านพฒั นาการท้องถ่ิน สู่การพฒั นาชุมชน (พ.ศ. ๒๔๘๓-๒๕๐๔) แนวความคิดเกี่ยวกบั การพฒั นาชุมชนของโลกเกิดข้ึนในช่วงคร่ึงหลงั ปี พ.ศ. ๒๔๘๓ โดยประเทศ ในเครื อจักรภพอังกฤษที่เริ่ มเปล่ียนแนวคิดเกี่ยวกับการพฒั นามาเห็นความสาคัญของประชาชน ในการเป็ นแกนกลางของพลังขับทางสังคม แนวความคิดน้ีถูกเผยแพร่ ออกไปยังนานาประเทศ จนเกิดปรัชญาเก่ียวกบั การทางานร่วมกนั อย่างใกลช้ ิดและสนับสนุนกนั ระหว่างรัฐบาลกบั ประชาชน ใ น ก า ร ป รั บ ป รุ ง ค ว า ม เ ป็ น อ ยู่ ข อ ง ชุ ม ช น ที่ รู้ จั ก กัน ใ น ช่ื อ ว่ า ข บ ว น ก า ร พัฒ น า ชุ ม ช น (Community Development ) การนาแนวคิดการพฒั นาชุมชนมาดาเนินการในประเทศไทยก็ไดอ้ ิทธิพล มาจากกระแสการพฒั นาท่ีเปล่ยี นแปลงไปดงั กล่าวขา้ งตน้ เช่นกนั โดยมีความเป็นมาของการพฒั นาชุมชน พ.ศ ๒๔๘๓ ประกาศของกระทรวงมหาดไทยกาหนดให้มีการดาเนิ นงา นแผนการบูรณะชนบทมี วตั ถุประสงค์ ๒ ประการ ๑.สร้างสรรคช์ ีวติ จิตใจของประชาชนในชนบทใหเ้ หมาะสมที่จะเป็นพลเมืองดี ๒.ส่งเสริมใหป้ ระชาชนมีการครองชีพดีข้ึน พ.ศ ๒๔๙๗ กระทรวงศึกษาธิการดาเนินงานพฒั นาการทอ้ งถิ่นในรูปของโครงการมูลสารศกึ ษาและจดั ต้งั ศนู ย์ ฝึ กอบรมศึกษาผใู้ หญ่จงั หวดั อุบลราชธานี (ศ.บ.ศ.อ.) โดย UNESCO สนับสนุนเป็ น ๑ ใน๖ แห่งของโลก ที่ผลิต สารนิเทศก์ (อบรม ๒ ปี รุ่นแรกสาเร็จปี ๒๔๙๙ ออกปฏิบตั ิงานในหน่วยมูลสารศึกษาในจงั หวดั ต่างๆ พ.ศ ๒๔๙๙ กรมประชาสงเคราะห์ต้ังสานักงานพัฒนาการท้องถิ่นเป็ นสานักงานอิสระข้ึนตรงกับ กระทรวงมหาดไทย มุ่งใหป้ ระชาชนมีส่วนร่วม ร่วมคิด ร่วมลงทุน และร่วมแรงงาน เพื่อแกป้ ัญหาทอ้ งถน่ิ ตามคติการปกครองระบอบเสรีประชาธิปไตย พ.ศ ๒๕๐๐ กรมมหาดไทยริ เร่ิ มโครงการพัฒนาท้องถิ่นข้ึนได้ทดลองปฏิบัติมีความเป็ นไปได้ จึง คดั เลือกปลดั อาเภอเขา้ อบรมเป็น ปลดั อาเภอพฒั นากร ส่งออกปฏิบตั ิงานพฒั นาในเขตพฒั นาท่ีกาหนด
พ.ศ ๒๕๐๒ คณะรัฐมนตรีมีมติเม่ือ ๑๕ กรกฎาคม ๒๕๐๒ มอบกระทรวงมหาดไทยเป็ นเจา้ ของเรื่องงาน พฒั นาการทอ้ งถิน่ และมีมติเมือ่ ๕ สิงหาคม ๒๕๐๒ ใหก้ รมมหาดไทยรับโอนสารนิเทศ จานวน ๒๖๐ คน และงานมูลสารศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการมาสังกดั กรมมหาดไทย วนั ท่ี ๒๑ สิงหาคม ๒๕๐๒ กรม มหาดไทยเป็นเจา้ ของเรื่องในงานพฒั นาการทอ้ งถ่ินแห่งชาติ แทนกรมประชาสงเคราะห์ พ.ศ ๒๕๐๓ สานักงานพฒั นาการทอ้ งถ่ินไดร้ ับการยกฐานะเป็น ส่วนพฒั นาการทอ้ งถ่ิน ข้ึนกบั กรมมหาดไทย มีหน้าที่รับผิดชอบการฝึ กอบรมขา้ ราชการพฒั นาทอ้ งถ่ินแห่งชาติ เจ้าหน้าที่ประสานงานและเป็ นศูนย์ วางแผนพฒั นาทอ้ งถ่ินเป็นสานกั งานเลขาธิการคณะกรรมการพฒั นาทอ้ งถน่ิ แห่งชาติ กฎ ก.พ. ฉบบั ท่ี ๒๔๐ ออกตาม พ.ร.บ. ขา้ ราชการพลเรือนพ.ศ. ๒๔๙๗ เทียบตาแหน่งปลดั อาเภอ พัฒนากรและสารนิเทศก์ในกรมมหาดไทยว่า”พัฒนากร” (Community development Worker หรื อ Community Development Organizer) พ.ศ ๒๕๐๔ รัฐบาลไทยดว้ ยการสนบั สนุนขององคก์ ารสนธิสญั ญาเอเชียอาคเนย์ (SEATO) จดั ต้งั ศนู ยช์ ่วยเหลือ ทางวิชาการพฒั นาการท้องถิ่นประจาภาคไทย-สปอ. (ศ.ว.พ.) ข้ึนท่ีจงั หวดั อุบลราชธานีเป็ นแห่งแรก ภายหลงั เปลี่ยนช่ือเป็นศูนยช์ ่วยเหลอื ทางวิชาการพฒั นาชุมชนไทย-สปอ.
ความเป็ นมาของกรมการพฒั นาชุมชน : รากฐานการพฒั นาชนบทไทย จากพฒั นาการท้องถ่นิ ผ่านกรมมหาดไทย สู่กรมการพฒั นาชุมชน (พ.ศ. ๒๕๐๕-๒๕๕๐) ชนบทไทยเม่ือ ๕๐ ปี ก่อนประชากรส่วนใหญ่ยงั ดอ้ ยความเจริญมีการศกึ ษาต่า ยากจนเจา้ หนา้ ท่ีของ รัฐเขา้ ไม่ถงึ ประชาชน ซ่ึงส่งผลต่อความมนั่ คงของประเทศ เพ่ือใหก้ ารพฒั นาเกิดความยง่ั ยนื ประชาชนตอ้ ง เขา้ มามสี ่วนร่วมในการตดั สินใจและพฒั นาทอ้ งถนิ่ ของตนเอง ใน ปี พ.ศ. ๒๕๐๕ ได้มีพระราชบัญญัติปรับปรุ งกระทรวง ทบวง กรม ฉบับท่ี ๑๐ และ พระราชบญั ญตั ิโอนกิจการบริหารของกระทรวงมหาดไทย ซ่ึงมกี ารปรับปรุงใหม่ พ. ศ. ๒๕๐๕ ประกาศใน ราชกิจจานุเบกษาฉบบั พิเศษเล่มที่ ๗๙ ตอนท่ี ๘๙ เม่ือวนั ที่ ๓๐ กนั ยายน ๒๕๐๕ ให้ แยกงานพฒั นาการ ทอ้ งถนิ่ ออกจากกรมมหาดไทยมาต้งั เป็นกรมใหม่ช่ือวา่ “ กรมการพฒั นาชุมชน” ส่วนกรมมหาดไทยเปล่ยี น ช่ือเป็น“ กรมการปกครอง” โดยรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยไดแ้ ถลงต่อสภาฯ ถงึ เหตุผลความจาเป็น ของการต้งั หน่วยงานใหม่ ดังน้ัน กรมการพัฒนาชุมชนจึงก่อต้ังข้ึนเม่ือวันที่ ๑ ตุลาคมพ. ศ. ๒๕๐๕ โดยพันธกิจ ท่ีกระทรวงมหาดไทยและรัฐบาลมเี จตนารมณ์ มอบหมายใหก้ รมการพฒั นาชุมชน คือ ปรับปรุงระดบั ความ เป็ นอยู่และมาตรฐานการครองชีพของประชาชนในหมู่บ้านให้ดียิง่ ข้ึน โดยเน้นหนักในทางส่งเสริมให้ ราษฎรเขา้ มาร่วมมือดาเนินงานในแบบการช่วยตวั เองอนั เป็ นปัจจยั สาคญั ตามหลกั การพฒั นาชุมชนท่ีว่า พฒั นากรจะตอ้ งทางานกบั ประชาชน มิใช่ทาให้ประชาชนเพื่อใหบ้ ังเกิดผลสมตามเจตนารมณ์ท่ีสาคญั ๓ ประการ
๑. ประชาชนชาวไทยมมี าตรฐานการครองชีพสูงข้ึน ๒. ทัศนคติของประชาชนเปล่ียนจาก “ การรอคอยหวงั ความช่วยเหลือจากรัฐบาลอย่างเดียว” มาเป็น“ร่วมมือกนั ช่วยเหลือตนเอง” ๓. ประชาชนรู้จกั สิทธิและหนา้ ท่ี สามารถปกครองตนเองไดต้ ามวิถีทาง ในระบอบประชาธิปไตย โดยมี“ พฒั นากร” เป็นขา้ ราชการหลกั ทางานร่วมกบั ประชาชนในหม่บู า้ น ตาบล กรมการพฒั นาชุมชนไดป้ รับปรุงพฒั นาองคก์ ารอยา่ งเป็นระบบนบั ต้งั แต่ไดม้ ีการก่อต้งั ข้ึนเม่ือวนั ท่ี ๑ ตุลาคม ๒๕๐๕ โดยการปรับปรุงกระบวนการทางานและภารกิจให้สอดคลอ้ งกบั กระแสการพฒั นา และ สภาพการณ์ของสงั คมในแต่ละยคุ สมยั ตามความเหมาะสม จาแนกเป็น ๕ ระยะคือ ระยะแรก : ก่อร่างสร้างองคก์ าร (พ. ศ. ๒๕๐๕-๒๕๑๔) ระยะท่ี ๒ : สร้างพลงั ชุมชน (พ. ศ. ๒๕๑๕-๒๕๒๔) ระยะท่ี ๓ : สู่ระบบบริหารการพฒั นาชนบทแห่งชาติ (พ. ศ. ๒๕๒๕-๒๕๓๔) ระยะที่ ๔ : เสริมสร้างความเขม้ แข็งของชุมชน (พ. ศ. ๒๕๓๕-๒๕๔๔) ระยะที่ ๕ : สู่ยคุ ใหมข่ องระบบราชการพ. ศ. ๒๕๔๕-๒๕๕๔)
ยุคแรก ก่อร่างสร้างองค์กร (พ ศ.๒๕๐๕-๒๕๑๔) การดาเนินงานพฒั นาชุมชนในระยะน้ีเนน้ การกระตุน้ ประชาชนใหร้ ่วมมือกนั แกป้ ัญหาของตนเอง และหมู่บ้านเพ่ือความมน่ั คงของชาติรวมท้งั กระตุน้ ให้ประชาชนรับเอาบริการของรัฐบาลมาทาใหเ้ กิด ประโยชน์ในการพฒั นาหมู่บ้านชุมชนของตน ได้มีการพฒั นาต้นแบบกิจกรรมพฒั นาชุมชนและ กระบวนการพฒั นาชุมชนในหลายเรื่องที่ยงั คงใชม้ าจนถึงปัจจุบนั ไดแ้ ก่ การจดั ทาแผนพฒั นาชุมชน ๕ ปี การจดั ต้งั ศนู ยพ์ ฒั นาเดก็ เลก็ ทดลองรูปแบบศนู ยพ์ ฒั นาอาชีพสร้างหลกั สูตรพฒั นาผนู้ าทอ้ งถนิ่ พฒั นาระบบ การสารวจขอ้ มูลชุมชน จดั ต้งั องคก์ รบริหารการพฒั นาระดบั หมู่บา้ น ตาบล ในยุคน้ีมีอธิบดีกรมการพฒั นาชุมชนผูม้ ีบทบาทกาหนดทิศทางสร้างสรรค์งานพฒั นาชุมชน จานวน 2 ท่าน ไดแ้ ก่ ลาดบั ที่ ๑ นายสาย หตุ ะเจริญ ดารงตาแหน่ง ๑ ตุลาคม ๒๕๐๕-๓๐ กนั ยายน ๒๕๑๒ มอี ุดมการณ์ในการทางาน คือ รักชนบท อดทน ประสานงาน คือ อดุ มการณ์ของงานพฒั นาชุมชนเป็นผูก้ ่อต้งั กรมการพฒั นาชุมชน ริเร่ิมนาหลกั การพฒั นาชุมชนมาใชใ้ หก้ าเนิด พฒั นากร คากล่าว ขอใหพ้ ฒั นากรระลึก ไวเ้ สมอว่าพฒั นากรมีบทบาทและหน้าที่สาคญั ท่ีสุดในการพฒั นาคน ให้มีการศึกษาดี มีเงินใชไ้ ร้ราคา เพ่อื ใหม้ ีความรู้ความสามารถ และร่วมมอื ในการสร้างความเจริญท้งั ทางดา้ นเศรษฐกิจและสงั คมแก่ชุมชน สหกรณ์ออมทรัพยก์ รมการพฒั นาชุมชน จดั ต้งั เม่ือ ปี พ.ศ. ๒๕๑๑ ในสมยั ของ นายสาย หุตะเจริญ อธิบดีกรมการพฒั นาชุมชน เพือ่ เป็นสวสั ดิการและช่วยเหลอื ขา้ ราชการและลกู จา้ งของกรมการพฒั นาชุมชน ท่ีประสบปัญหาด้านการเงิน โดยสหกรณ์เป็ นแหล่งเงินกู้และแก้ปัญหาทางการเงินของสมาชิก ปัจจุบนั มจี านวนสมาชิกกวา่ ๙ พนั คน และมีสินทรัพยร์ วมกว่า ๕,๖๕๓ลา้ นบาท ลาดบั ท่ี ๒ นายประสงค์ อศิ รภักดี ดารงตาแหน่ง ๑ ตลุ าคม ๒๕๑๒-๓๐กนั ยายน ๒๔๑๔ มีอุดมการณ์ในการทางาน คือ การพัฒนาชุมชน เป็ นวิธีนาความเปล่ียนแปลงไปสู่ชนบทให้เจริ ญ โดยอาศยั ความร่วมมือของประชาชนและเจา้ หนา้ ท่ีของรัฐบาลเป็นหลกั สาคญั
ระยะแรก ก่อร่างสร้างองค์การ (พ. ศ. ๒๕๐๕-๒๕๑๔) ในระยะแรกของการก่อต้ังกรมการพฒั นาชุมชนไดก้ าหนดหน้าที่ของกรมการพฒั นาชุมชน ไว้ ๘ ประการ ตามคาสงั่ กรมการพฒั นาชุมชนที่ ๑๐๗ / ๒๕๐๖ ลงวนั ท่ี ๕ กรกฎาคม ๒๕๐๖ เรื่องการแบ่ง งานและระเบียบวธิ ีปฏิบตั ิราชการของกรมการพฒั นาชุมชนคือ ๑. ยกมาตรฐานการครองชีพประชาชนในชนบทใหส้ ูงข้ึน และมคี วามมนั่ คง ๒. ฝึกอบรมเจา้ หนา้ ที่และผนู้ าทอ้ งถ่นิ เพือ่ ใหเ้ ขา้ ใจในหลกั การ และ วิธีดาเนินงาน ในการพฒั นาชุมชน ๓. ใหก้ ารศกึ ษาและฝึกอบรมประชาชนใหม้ คี วามรู้ในแบบและงานฝีมือสมยั ใหม่ เพือ่ การครองชีพที่ดีข้ึน ๔. ส่งเสริมและฝึกอบรมประชาชนใหเ้ ขา้ ใจวิถีการปกครองตามระบอบประชาธิปไตย ๕. นิเทศการปฏิบตั ิงานของเจา้ หนา้ ที่และทาการวิจยั และประเมินผลงานพฒั นาชุมชน ๖. เป็นสถาบนั เพ่ือการศกึ ษาคน้ ควา้ ทางวิชาการเก่ียวกบั งานพฒั นาชุมชนของนานาประเทศ ท้งั ในทางทฤษฎีและปฏบิ ตั ิ ๗. เป็นศนู ยก์ ลางในการบริหารงานพฒั นาชุมชน ประสานการบริการทางวชิ าการ ของกระทรวง ทบวง กรม และองคก์ รต่าง ๆ ที่เกี่ยวขอ้ ง ๘. เป็นสานกั งานเลขาธิการของคณะกรรมการพฒั นาชุมชนแห่งชาติและคณะกรรมการบริหาร และประสานงานพฒั นาชุมชนแห่งชาติ
โครงการปฏบิ ตั งิ านในปี พ. ศ. ๒๕๐๖ มจี านวน ๙ โครงการ ๑. โครงการเปิ ดเขตพฒั นาอาเภอ ๒. โครงการฝึกอบรมเจา้ หนา้ ที่ ๓. โครงการพฒั นาผนู้ าทอ้ งถนิ่ ๔. โครงการพฒั นากลุม่ อาชีพ ๕. โครงการส่งเสริมสาธารณะสมบตั ิของชุมชน ๖. โครงการพฒั นากิจกรรมสตรี เด็ก และเยาวชน ๗. โครงการส่งเสริมและเผยแพร่ ๘. โครงการวิจยั และประเมินผล ๙. โครงการศนู ย์ ศวพ.(ศนู ยช์ ่วยเหลอื ทางวชิ าการพฒั นาชุมชน) การดาเนินงานพฒั นาชุมชนในระยะน้ีเนน้ การกระตุน้ ประชาชนใหร้ ่วมมอื กนั แกป้ ัญหาของตนเอง และหมู่บ้านเพื่อความมน่ั คงของชาติ รวมท้ังกระตุ้นให้ประชาชนรับเอาบริ การของรัฐบาลมาทาให้ เกิดประโยชน์ในการพฒั นาหมู่บา้ นชุมชนของตนซ่ึงเป็นการส่งเสริมให้โครงการพฒั นาที่หน่วยงานต่างๆ ริเร่ิมดาเนินการไดบ้ ังเกิดผลดีย่ิงข้ึนแก่ประชาชน ไดม้ ีการพฒั นาตน้ แบบกิจกรรมพฒั นาชุมชนและ กระบวนการพฒั นาชุมชนในหลายเรื่องท่ียงั คงใชม้ าจนถึงปัจจุบนั บางเรื่องก็มีการพฒั นาต่อในระยะหลงั จน กลายเป็นระบบของชาติและบางเรื่องก็มหี น่วยงานอืน่ นาไปประยกุ ตใ์ ชอ้ ย่างแพร่หลาย งานสาคญั ทร่ี ิเร่ิมและพฒั นาขนึ้ มาในระยะนีไ้ ด้แก่ ๑. การพฒั นารูปแบบการจัดทาแผนพัฒนาชุมชน ๕ ปี ซ่ึงเป็ นรูปแบบของการจดั ทาแผนพฒั นา เศรษฐกิจและสงั คมของชุมชนระดบั ตาบลดว้ ยการดาเนินการวิจยั เชิงปฏิบตั ิการโดยมี นายวิชิต ศุขะวริ ิยะ รองอธิบดีฯฝ่ ายปฏิบัตินายสุวิทย์ ย่ิงวรพนั ธุ์ หัวหน้ากองวิจัยและประเมินผลนายเสน่ห์ วฒั นาธร หวั หนา้ กองปฏบิ ตั ิการ และดร.อมร รักษาสตั ย์ ที่ปรึกษางานวจิ ยั ของกรมการพฒั นาชุมชนเป็นผดู้ าเนินการ และทา้ ยที่สุดผลการวิจัยก็ไดน้ ามาแกไ้ ขระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าดว้ ยการจดั ทาแผนพฒั นาชุมชน ๕ ปี พ. ศ. ๒๕๐๕ เมอื่ เดือนกนั ยายน ๒๕๐๘
๒. การจดั ต้ังศูนย์พฒั นาเด็กเลก็ ท่ีบริหารงานโดยชุมชน เพ่ือแบ่งเบาภาระของผปู้ กครองและดูแล เด็กเลก็ วยั ๓-๖ ปี ให้ไดร้ ับการพฒั นาท้งั ร่างกาย จิตใจ และสติปัญญาชุมชนที่จดั การโดยชุมชน และชุมชน ได้สมทบท้ังแรงงาน เงิน วสั ดุและสติปัญญาในการดาเนินต้ังแต่สร้างอาคาร ดูแลเด็ก บริ หารศูนย์ จนถึงการหาทุน กรมการพฒั นาชุมชนร่วมกบั องคก์ ารยนู ิเซฟดาเนินการทดลองโครงการพฒั นาเดก็ เลก็ เมอ่ื ปี ๒๕๑๐ ในจังหวัดนครปฐม สระบุรี นครราชสีมามิการออกแบบระบบการบริ หารศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก โดยชุมชน ภายใตก้ ารดูแลของคณะกรรมการพฒั นาหมู่บา้ นและคณะกรรมการพฒั นาตาบล และผดู้ ูแลเด็ก (ผดด.) ซ่ึงเป็ นสตรีในหมู่บา้ นอายุ ๑๖-๔๖ ปี ท่ีได้รับการคัดเลือกจากคณะกรรมการพัฒนาหมู่บา้ น และคณะกรรมการพฒั นาตาบลให้ทาหน้าที่ผูด้ ูแลเด็กโดยกรมฯไดพ้ ฒั นาหลกั สูตรฝึ กอบรมผูด้ ูแลเด็ก ก่อนประจาการร่วมกบั โรงเรียนอนุบาลละอออุทิศ วิทยาลยั ครูสวนดุสิต เป็นหลกั สูตรพิเศษใชเ้ วลา ๙๐ วนั ผลของการทดลองเป็นท่ีสนใจของประชาชนในจงั หวดั ต่างๆ อยา่ งกวา้ งขวางจนถงึ ปี ๒๕๑๕ มกี ารขยายเขต ดาเนินงานเพ่มิ อกี ๔ จงั หวดั คือ อุดรธานีชยั ภูมปิ ระจวบคีรีขนั ธ์ และสงขลา กรมการพฒั นาชุมชนจึงกาหนด เป็นนโยบายส่งเสริมการดาเนินงานศนู ยพ์ ฒั นาเด็กเลก็ ออกไปทว่ั ประเทศต้งั แต่ ปี ๒๕๑๕ เป็นตน้ มา
๓. การทดลองรูปแบบศูนย์พฒั นาอาชีพ การจดั ต้งั ศูนยพ์ ฒั นาอาชีพทดลองแห่งแรกดาเนินการ ใน ปี ๒๕๑๒ ท่ีตาบลซาผกั แพว อาเภอแก่งคอย จงั หวดั สระบุรี โดยการสนบั สนุนจากองค์การแรงงาน ระหวา่ งประเทศ (ILO) ร่วมกบั หน่วยงานต่างๆ ที่เก่ียวขอ้ ง เพื่อสร้างสถาบนั ฝึกอบรมอาชีพในระดบั หมบู่ า้ น อย่างถาวร เปิ ดการฝึ กอบรมรุ่ นแรกเมื่อเดือนสิงหาคม ๒๕๑๑ การฝึ กอบรมเน้นด้านช่างเครื่ อง และการเกษตร และในปี ๒๕๑๔ ไดร้ ับการสนับสนุนจากสานักงบประมาณจดั ต้งั ศูนยพ์ ฒั นาอาชีพ ข้ึนอีกแห่งหน่ึงที่ตาบลหนองบวั อาเภอเมอื ง จงั หวดั กาญจนบุรี ๔. การทดลองรูปแบบการพัฒนาหมู่บ้านเกษตรกรรมซ่ึงเป็ นการนาแนวทางการดาเนินงาน พฒั นาชุมชนที่ตาบลบอร์โกอามอสซาโน ประเทศอิตาลี มาปรับใช้ โดยการสนับสนุนของบริษทั เชลล์ แห่งประเทศไทยจากดั ดาเนินการในปี ๒๕๐๘ ที่ตาบลสารภี อาเภอโชคชยั จังหวัดนครราชสี มาใช้ชื่อว่าโครงการสารภี ต่อมาในปี ๒๕๑๔ มูลนิ ธิเพ่ือการศึกษา และประชาสงเคราะห์กไ็ ดใ้ ห้ความช่วยเหลือการดาเนินงานในลกั ษณะเดียวกนั ที่ตาบลขวั มุง อาเภอสารภี จงั หวดั เชียงใหมแ่ ละตาบลละงู อาเภอละงู จงั หวดั สตูลโครงการสารภีน้ีเป็นจุดเร่ิมตน้ ของการริเร่ิมกิจกรรม สาคญั ของกรมการพฒั นาชุมชนในระยะต่อมานน่ั คือ กล่มุ ออมทรัพย์เพ่ือการผลติ ๕. การพัฒนาหลักสูตรพัฒนาผู้นาท้องถ่ินประเภทต่างๆไดแ้ ก่คณะกรรมการพฒั นาหมู่บา้ น คณะกรรมการพฒั นาตาบล ผูน้ าเยาวชนผูน้ าสตรีโดยหลกั สูตรการฝึ กอบรมที่พฒั นาข้ึนเป็ นเอกลกั ษณ์ ของการพฒั นาคนตามแบบพฒั นาชุมชนท่ีสาคัญยิ่ง กล่าวคือ เป็ นการฝึ กอบรมท่ีมุ่งพฒั นาภาวะผูน้ า และทกั ษะการบริหารจดั การกิจกรรมชุมชน รวมท้งั การทางานเป็ นกลุ่มเป็ นสาคญั กรมการพฒั นาชุมชน ได้นาหลักการทางานแบบช่วยกันคิด (Non-directive approach) มาผสมผสานเข้ากับการฝึ กอบรม อย่างกลมกลืน ผูน้ าท่ีผ่านหลกั สูตรน้ีไดก้ ลายเป็ นทรัพยากรบุคคลที่สาคญั ในการบริหารจัดการชุมชน และการจดั ต้งั กลุ่มองคก์ รในชุมชนในระยะต่อมา
๖. การพฒั นาระบบการสารวจข้อมลู ชุมชน ท้งั น้ีดว้ ยเห็นจาเป็นท่ีว่าการทางานดว้ ยการพฒั นาชุมชน น้ันเจ้าหน้าท่ีตอ้ งมีความเขา้ ใจในลกั ษณะของชุมชนและประชาชนที่จะเขา้ ไปทางานดว้ ยอย่างถ่องแท้ และต้องมีเคร่ื องบ่งช้ีความก้าวหน้าในการพัฒนาจึงมีการพัฒนาระบบการสารวจข้อมูลชุ มชน ข้ึน และออกเป็ นระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการสารวจเบ้ืองต้นเม่ือเปิ ดเขตพฒั นาอาเภอ พ.ศ. ๒๕๐๙ รวมท้งั ออกแบบงานวิจยั และประเมินผลให้มีหน่วยงานรับผิดชอบระดบั กองใช้งานวิจยั เป็น“ เสมอื นเครื่องเรดาร์ท่ีคน้ หาและแนะแนวทางที่เหมาะสมในการปฏิบตั ิงาน” และใชก้ ารประเมินเป็ น“ เคร่ืองวดั และตาชง่ั ” ซ่ึงวดั ผลการดาเนินงานว่าตรงตามเป้าหมายหรือไม่ แลว้ นาผลไปเปรียบเทียบพจิ ารณา วา่ งานที่ดาเนินการไปแลว้ มปี ระสิทธิภาพเพียงใดการวจิ ยั สารวจสภาวะเร่ิมแรกของประชาชนในเขตพฒั นา จึงมีช่ือเป็ นภาษาอังกฤษว่า“ Benchmark Survey” รายงานการสารวจถือได้ว่าเป็ นข้อมูลท่ีสาคัญ ทางประวตั ิศาสตร์ของชุมชนในปัจจุบนั ๗. การพัฒนาระบบการส่ งเสริมการพัฒนาแบบช่ วยกันคิด ซ่ึงหน่ วยงานหลายแห่ ง ก็ไดม้ ีความพยายามท่ีจะใชแ้ นวทางการทางานรูปแบบน้ีอยูเ่ ช่นกนั ในขณะน้นั แต่ความเขา้ ใจและความเช่ือ ในการทางานยงั ไม่ถูกตอ้ งกรมการพฒั นาชุมชนไดศ้ ึกษาคน้ ควา้ และเผยแพร่เอกสารเก่ียวกบั การทางาน แบบช่วยกนั คิดน้ีอย่างจริงจงั และกวา้ งขวาง อีกท้งั มีการวางและพฒั นาระบบงานให้เอ้ือกบั การทางาน แบบช่วยกันคิดอย่างแท้จริ งและได้ทาความเข้าใจกับเจ้าหน้าท่ีหลายคร้ัง จนเป็ นองค์ความรู้สาคัญ ต่อวงการพฒั นาจนถึงปัจจุบนั ๘.การพัฒนารูปแบบการบริหารจัดการโดยชุมชน การจัดต้ังให้มีองค์กรบริ หารการพฒั นา ระดับหมู่บ้าน ระดับตาบลการวางแผนงานโครงการพฒั นาชุมชน การประชุมปรึกษาหารื อระหว่าง ประชาชนการมีศูนยป์ ฏิบตั ิการหรือศูนยก์ ลางการพฒั นาของหมู่บ้านตาบลท้งั ในรูปของศาลาประชาคม หรือศูนยพ์ ฒั นาตาบล ลว้ นแต่พฒั นารูปแบบให้ชัดเจนข้ึนต้งั แต่ในช่วง ๑๐ ปี แรก ของการก่อต้ังกรม การพฒั นาชุมชนท้ังสิ้น นอกจากน้ี ยงั ไดร้ ิเร่ิมการคดั เลือกผูน้ าทอ้ งถิ่นที่มีจิตใจเสียสละเพื่อส่วนรวม เป็ นผูน้ าอาสาพฒั นาชุมชนเพื่อช่วยเหลือการทางานของคณะกรรมการพฒั นาหมู่บา้ นและคณะกรรม
การพัฒนาตาบล ท้ังหมดน้ี ก็เพ่ือให้ตาบลสามารถยกระดับข้ึนเป็ นองค์การบริ หารส่วนตาบล หรือหน่วยการปกครองตนเองไดใ้ นที่สุด ๙. การพัฒนาระบบการประสานงานระหว่างหน่วยงานต่างๆ เพ่ือการพฒั นาชุมชน โดยมีแผนการ พฒั นาชุมชนและขอ้ มูลชุมชนเป็ นกลไกไดม้ ีการปรับปรุงแผนการพฒั นาชุมชนแห่งชาติและจดั ระบบการ บริหารการพฒั นาชุมชนใหเ้ กิดการประสานระหว่างหน่วยงานต่างๆ ไดอ้ ยา่ งจริงจงั ซ่ึงระบบน้ีมีรูปแบบ ใกลเ้ คียงกบั ระบบการบริหารการพฒั นาของชาติที่ใชใ้ นปัจจุบนั อยา่ งมาก ขา้ ราชการของกรมการพฒั นา ชุมชนที่ไดร้ ับแต่งต้งั ใหป้ ระจาปฏบิ ตั ิงานในตาบล / หมบู่ า้ นท่ีเปิ ดเขต พฒั นา คือ “ พฒั นากร” มบี ทบาทเป็น ตัวเชื่อมประสานระหว่างหน่วยงานของรัฐกับประชาชนที่อยู่ในบ้าน นาเอาปัญหาความต้องการของ ประชาชนมาใหห้ น่วยงานของรัฐ พฒั นากร ๑ คนรับผดิ ชอบ ๑ ตาบล และเน่ืองจากหน่วยงานของรัฐมีน้อย และยงั ไม่สามารถส่งเจา้ หนา้ ที่ลงไปปฏิบตั ิงานในระดบั ตาบลได้ เพื่อความรวดเร็วและแกไ้ ขปัญหาเฉพาะ หนา้ “ พฒั นากร” จึงตอ้ งทางานเอนกประสงค์ (Multipurpose Worker) กล่าวคือรับผิดชอบการดาเนินงาน พฒั นาชุมชนในทุกดา้ นรวมท้งั เป็นผนู้ าบริการจากหน่วยงานภายนอกเขา้ ไปถงึ มปี ระชาชนและขณะเดียวกนั ก็นาปัญหาความตอ้ งการของชาวบา้ นมาสู่เจา้ หน้าท่ีของรัฐพร้อมกบั จดั ใหม้ เี จา้ หนา้ ท่ีวิชาการประจาอาเภอ เรียกว่าพฒั นากรสดย. (สตรีเด็กเยาวชน) จานวน ๓ คนต่ออาเภอโดยให้เป็ นผรู้ ับผิดชอบสนับสนุนทาง วิชาการแก่พฒั นากรในดา้ นการพฒั นาสังคมการพฒั นาอุตสาหกรรมในครัวเรือนการพฒั นาการบริโภค และการถนอมอาหาร
สรุประยะแรก ในระยะแรกจะเนน้ การกระตุน้ ประชาชนให้มีร่วมมือกนั ในการแกป้ ัญหาของตนเองและหมูบ่ า้ น เพ่ือความมน่ั คงของชาติรวมท้งั กระตุน้ ใหป้ ระชาชนรับเอาบริการของรัฐบาลมาทาใหเ้ กิดประโยชน์ในการ พฒั นาหมู่บา้ นชุมชนของตน และไดม้ ีการพฒั นาตน้ แบบกิจกรรมพฒั นาชุมชนและกระบวนการพฒั นา ชุมชนในหลายเรื่องที่ยงั คง ใชม้ าจนถึงปัจจุบนั ไดแ้ ก่ การจดั ทาแผนพฒั นาชุมชน ๕ ปี การจดั ต้งั ศูนยพ์ ฒั นา เด็กเล็ก ทดลองรูปแบบศูนยพ์ ฒั นาอาชีพสร้างหลกั สูตรพฒั นาผนู้ าทอ้ งถิ่น พฒั นาระบบการสารวจขอ้ มลู ชุมชน จดั ต้งั องคก์ รบริหารการพฒั นาระดบั หม่บู า้ น ตาบล ในยคุ น้ีมอี ธิบดีกรมการพฒั นาชุมชน จานวน๒ ท่านไดแ้ ก่ ๑. นายสาย หุตะเจริญ ดารงตาแหน่ง ๑ ตุลาคม ๒๕๐๕-๓๐ กนั ยายน ๒๕๑๒ ๒.นายประสงค์ อิศรภกั ดี ดารงตาแหน่ง ๑ ตุลาคม ๒๕๑๒-๓๐กนั ยายน ๒๔๑๔ มีอุดมการณ์ในการทางาน แต่ละท่านมี อดุ มการณ์ในการทางานที่แตกต่างกนั ไป โดยส่วนใหญ่จะมงุ่ เนน้ ในเร่ืองการริเร่ิมนาหลกั การพฒั นาชุมชน มาใชใ้ ห้กาเนิด พฒั นากรมีบทบาทและหน้าที่สาคญั ที่สุดในการพฒั นาคนและอาศยั ความร่วมมือของ ประชาชนและเจา้ หนา้ ที่ของรัฐบาลเป็นหลกั สาคญั งานสาคญั ที่ริเร่ิมและพฒั นาข้ึนมาในระยะน้ีไดแ้ ก่๑. การ พฒั นารูปแบบการจดั ทาแผนพฒั นาชุมชน ๕ ปี ๒. การจดั ต้งั ศูนยพ์ ฒั นาเด็กเลก็ ที่บริหารงานโดยชุมชน๓. การทดลองรูปแบบศูนยพ์ ฒั นาอาชีพ๔. การทดลองรูปแบบการพฒั นาหมู่บา้ นเกษตรกรรม๕. การพฒั นา หลกั สูตรพฒั นาผนู้ าทอ้ งถ่ินประเภทต่างๆ๖. การพฒั นาระบบการสารวจขอ้ มูลชุมชน๗. การพฒั นาระบบ การส่งเสริมการพฒั นาแบบช่วยกนั คิด๘.การพฒั นารูปแบบการบริหารจดั การโดยชุมชน๙. การพฒั นาระบบ การประสานงานระหวา่ งหน่วยงานต่างๆ ในระยะน้ีเนน้ การกระตุน้ ประชาชนใหร้ ่วมมอื กนั แกป้ ัญหาของ ตนเองและหมู่บา้ นเพ่ือความมนั่ คงของชาติ รวมท้งั กระตุน้ ใหป้ ระชาชนรับเอาบริการของรัฐบาลมาทาให้ เกิดประโยชน์ในการพฒั นาหมู่บา้ นชุมชนของตนเป็ นการส่งเสริมใหเ้ กิดโครงการที่เป็ นผลดีแก่ประชาชน มากข้ึน
ยุคที่ ๒ สร้างพลงั ชุมชน (พ. ศ. ๒๕๐๕-๒๕๒๔) การดาเนินงานพัฒนาชุมชนในระยะน้ี เน้นการทางานตามแนวความคิดการมีส่วนร่ วม ของประชาชน ส่งเสริมใหป้ ระชาชนรู้จกั การช่วยเหลือตนเองและชุมชนยงิ่ ข้ึนเนน้ ยุทธศาสตร์ต่อสูก้ บั การ แทรกซึมของคอมมิวนิสต์ให้ความสาคญั ต่อการสร้างผูน้ าและการรวมกลุ่มให้มีกลุ่มกิจกรรมต่าง ๆข้ึน ในหมู่บ้าน / ตาบลเพื่อเป็ นฐานหรือเป็ นพลงั ในการพฒั นา นอกจากน้ียงั ได้ริ เริ่ มงานอาสาสมคั รข้ึน โดยมีจุดหมายที่สาคญั ไดแ้ ก่ การสร้างพลงั ของหมู่บา้ น (ชุมชน) ใหเ้ กิดข้ึนแลว้ นาพลงั น้นั มาใชป้ ระโยชน์ ในการพฒั นาในยคุ น้ีมีอธิบดีกรมการพฒั นาชุมชนผมู้ ีบทบาทกาหนดทิศทางสร้างสรรคง์ านพฒั นาชุมชน จานวน ๓ ท่าน ไดแ้ ก่ ลาดบั ท่ี ๓ นายพฒั น์ บุญยรัตน์พนั ธ์ุ ดารงตาแหน่ง ๑ ตุลาคม ๒๕๑๔ – ๓๐กนั ยายน ๒๕๑๘ มอี ุดมการณ์ในการทางาน คือ สร้างพลงั ชุมชนและใชพ้ ลงั ชุมชนในการพฒั นาชุมชน คาปฏญิ าณของนกั ปกครอง ความทุกขข์ องประชาชนอยทู่ ี่ไหนเราตอ้ งไปที่น้นั ลาดบั ที่ ๔ นายนริ ุติ ไชยกลู ดารงตาแหน่ง ๑ ตลุ าคม ๒๕๑๘-๓๐ กนั ยายน ๒๕๒๒ มอี ุดมการณ์ในการทางาน คือ ขยนั เช่ือมนั่ ประสานงาน คือ อุดมการณ์ของงานพฒั นาชุมชน ลาดบั ท่ี ๕ ร.ต.ท. ระดม มหาศรานนท์ ดารงตาแหน่ง ๑ ตุลาคม ๒๕๒๒-๓๐ กนั ยายน ๒๕๒๖ มีอุดมการณ์ ในการทางาน คือ เสียสละ มานะ อดทน ร่วมช่วยเหลือ เพ่ือสร้างสรรค์ คุณภาพของคน ท้งั จากองคก์ ารเอกชน ราษฎร และราชการ คือ อดุ มการณ์ของงานพฒั นาชุมชน
ระยะที่ ๒ สร้างพลงั ชุมชน (พ. ศ. ๒๕๑๕-๒๕๒๔) ระยะสร้างพลังชุมชนเน้นการทางานตามแนวคิดการมีส่วนร่ วมของประชาชน ส่งเสริ ม ให้ประชาชนรู้จกั การช่วยเหลือตนเองและชุมชนยิ่งข้ึน ใหค้ วามสาคญั ต่อการสร้างผูน้ าและการรวมกลุ่ม ใหม้ ีกิจกรรมต่าง ๆข้ึน ในหมู่บา้ น / ตาบล เพือ่ เป็นฐานหรือเป็นพลงั ในการพฒั นา เร่ิมงานอาสาสมคั ร มีจุดหมายที่สาคญั คือ การสร้างพลงั ของหม่บู า้ น (ชุมชน) ใหเ้ กิดข้ึนแลว้ นาพลงั น้นั มาใชป้ ระโยชนใ์ นการพฒั นา พ. ศ. ๒๕๑๕ มีการเปล่ียนแปลงองคก์ รบริหารการพัฒนาระดบั ตาบล โดยประกาศคณะปฏิวตั ิ ฉบบั ท่ี ๓๒๖ ลงวนั ท่ี ๑๓ ธนั วาคม ๒๕๑๕ ใหม้ สี ภาตาบลเป็นองคก์ รเดียว โดยพฒั นากรเป็นที่ปรึกษา บทบาทของกรมการพฒั นาชุมชน ปรับเป็นดงั น้ี ๑. ร่วมกับประชาชนในการยกระดับการครองชีพให้สูงข้ึนสอดคลอ้ งกบั แผนพฒั นาเศรษฐกิจ และสงั คมแห่งชาติ ๒. แก้ปัญหาอุปสรรคและความเดือดร้อนของประชาชนเก่ียวกบั ปัจจยั ข้นั พ้ืนฐานที่จาเป็ น ในการดารงชีวิต ๓. ให้ความช่วยเหลือและสนับสนุนการพฒั นาท้องถ่ินท่ีจาเป็ น และเกินขีดความสามารถ ของประชาชน ๔. ฝึ กอบรมเจ้าหน้าที่ผูป้ ฏิบัติงาน ผูน้ าท้องถิ่นและเจ้าหน้าที่อื่นๆที่เก่ียวข้องเพ่ือเผยแพร่ และใหค้ วามรู้ในหลกั การและวธิ ีการพฒั นาชุมชน ๕. ให้การศึกษาและฝึ กอบรมการประกอบอาชีพ และดาเนินชีวิตในครอบครัว แก่ประชาชน ระดบั การครองชีพและสุขภาพอนามยั ๖.ส่งเสริมและรักษาไวซ้ ่ึงขนบธรรมเนียมประเพณี และวฒั นธรรมอนั ดีงาม
๗. สนบั สนุนการกระจายอานาจการปกครองทอ้ งถ่นิ โดยฝึกดาเนินงานตามระบอบประชาธิปไตย ข้นั พ้นื ฐานแก่ประชาชน ๘. ศึกษาวิจัยและประเมินผลงานพัฒนาชุมชนท้ังในทางทฤษฎีและปฏิบัติเพ่ือเสนอ แนวคิดหลกั การ วธิ ีการ และผลการดาเนินงาน ๙. สนบั สนุนใหบ้ ุคคล กล่มุ บุคคล และอาสาสมคั รเอกชนใชค้ วามรู้ความสามารถใหเ้ ป็นประโยชน์ ต่อชุมชน สงั คมและประเทศชาติ ๑๐. เป็ นศูนยก์ ลางบริหารงานพฒั นาชุมชนและทาหน้าที่ประสานงานกบั กระทรวง ทบวงกรม และองคก์ รต่างๆท่ีเก่ียวขอ้ ง ๑๑. เป็นสานกั งานเลขาธิการของคณะกรรมการบริหารและประสานงานพฒั นาชุมชนและกรรมการ อนื่ ๆ ที่สนบั สนุน ๑๒. หนา้ ท่ีอืน่ ๆ ตามท่ีรัฐบาลหรือกระทรวงมหาดไทยมอบหมายนอกจากน้ียงั มกี ารปรับโครงสร้าง องคก์ ารของกรมการพฒั นาชุมชนในปี ๒๕๑๙ ทาใหม้ ีการปรับโครงการปฏบิ ตั ิงานเป็น ๑๒ โครงการ ดงั น้ี ๑. โครงการพฒั นาผนู้ า ๒. โครงการพฒั นากล่มุ อาชีพ ๓. โครงการพฒั นาเยาวชน ๔. โครงการพฒั นาสตรี ๕. โครงการพฒั นาเดก็ ๖. โครงการพฒั นาอาสาสมคั ร ๗. โครงการส่งเสริมสาธารณสมบตั ิของชุมชน ๘. โครงการส่งเสริมความสมั พนั ธ์ ๙. โครงการส่งเสริมการใชเ้ วลาวา่ งใหเ้ ป็นประโยชน์ ๑๐ โครงการฝึกอบรมเจา้ หนา้ ที่ ๑๑. โครงการวิจยั และวางแผน ๑๒. โครงการพฒั นาพเิ ศษ ในช่วง ๑๐ ปี น้ีการบริหารงานพฒั นาชุมชนไดป้ รับปรุงถึง ๒ คร้ังดงั น้ี คร้ังที่ ๑ : โครงสร้างการพฒั นาชุมชน ๔-๔-๕-๔ ๑. ๑ นโยบายการพฒั นาชุมชน ประกอบดว้ ย ๑) ขจดั ความขดั แยง้ ระหวา่ งประชาชนต่อประชาชนและต่อรัฐบาล ๒) ปรับปรุงส่งเสริมการครองชีพของประชาชนในชนบทใหส้ ูงข้ึน ๓) ส่งเสริมความสามารถของกลุ่มบุคคลในการทางานร่วมกนั ๔) ส่งเสริมประชาชนในหมู่บ้านให้มีความพึงใจมีความเช่ือมน่ั และสามารถรับผิดชอบในการ พฒั นา และคุม้ ครองชุมชนของตน
๑. ๒ วตั ถุประสงค์การพฒั นาชุมชน ประกอบดว้ ย ๑) เพ่ือดาเนินการใหป้ ระชาชนมีความคิดเห็นตรงกนั มีศรัทธาอยา่ งเดียวกนั ๒) เพื่อกระตุน้ เตือนประชาชนใหม้ ีความคิดริเริ่มเกิดความตอ้ งการในสิ่งจาเป็ นแก่การดารงอยู่ และร่วมกนั ทางานตามความสามารถของตน ๓) เพื่อพฒั นาประชาชนใหม้ ีความรู้ความสามารถสูงข้ึนในการประกอบอาชีพและฝี มือในการ ทางานประเภทต่างๆ ๔) เพ่ือฝึ กใหป้ ระชาชนไดท้ างานเป็ นกลุ่ม เพื่อใหเ้ กิดพลงั ในการทางาน และฝึ กหดั การดาเนินงาน แบบประชาธิปไตย ๑. ๓ เป้าหมายของการพฒั นาชุมชน ประกอบด้วย ๑) เร่งการเพิ่มผลผลติ เพม่ิ รายได้ และลดรายจ่ายของชุมชน ๒) ปรับปรุงส่งเสริมส่ิงแวดลอ้ มในชุมชนใหด้ ีข้ึน ๓) ปรับปรุงส่งเสริมการอนามยั และสุขาภิบาล ๔) ส่งเสริมการศกึ ษาและวฒั นธรรม ตลอดจนใหเ้ รียนรู้ในสิ่งจาเป็น ๕) พฒั นาประชาชนใหใ้ ชเ้ วลาวา่ งใหเ้ ป็นประโยชนต์ ่อตนเองและชุมชน ๑. ๔ จดุ มุ่งหมายการดาเนินงานพฒั นาชุมชน ประกอบดว้ ย ๑) มงุ่ แปรเปล่ยี นทศั นะของประชาชน ๒) สร้างศรัทธาใหเ้ กิดข้ึนในหม่ปู ระชาชน ๓) ส่งเสริมใหเ้ กิดการรวมกล่มุ ๔) ส่งเสริมใหก้ ล่มุ มพี ลงั ความสามารถในการปฏิบตั ิงาน และครองตนตามระบอบประชาธิปไตย คร้ังท่ี ๒: หลกั การปฏิบัตพิ จิ ารณาสภาวการณ์หลกั การปฏิบตั งิ านพฒั นาชุมชนคือหลกั การ ๔ ป ประชาชน หมายถึง ทางานกบั ประชาชน พฒั นาทศั นคติของประชาชนทุกเพศ ทุกวยั และพจิ ารณา สภาวการณ์และปัญหาของชุมชน และประชาชนเป็นหลกั ในการเร่ิมงาน ประชาธิปไตย หมายถึง ทางานในรูปคณะกรรมการ ซ่ึงเป็ นตัวแทนของประชาชนในท้องถิ่น ระดบั หมู่บา้ นตาบล สนบั สนุนใหป้ ระชาชนรวมกลุ่มกนั ริเริ่มโครงการและกิจกรรมเพ่ือปรับปรุงทอ้ งถ่นิ ตนเอง และอาศยั หลกั การเข้าถึงประชาชนในการทางานและร่วมงานกับผูน้ าท้องถิ่นและประชาชน ในรูปกลมุ่ ประสานงาน หมายถึง ร่วมมอื และประสานงานกบั ทุกหน่วยงานองคก์ ารท้งั ของรัฐบาลและเอกชน ชกั นาบริการของนักวิชาการไปสู่ประชาชนและกระตุน้ ให้ประชาชนไปหานักวิชาการเพ่ือรับ บริการ ตามความตอ้ งการโดยเหมาะสม พฒั นากร จะเป็นผเู้ ช่ือมประสานงานระหวา่ งนกั วชิ าการกบั ประชาชน ประหยัด หมายถึง ให้ประชาชนช่วยตนเองเป็ นหลกั รัฐช่วยเหลือในสิ่งท่ีเกินความสามารถ ของประชาชนเท่าน้ัน ในการจดั ทาโครงการกิจกรรมต่างๆ พยายามนาทรัพยากรในทอ้ งถ่ินท้งั ในดา้ น กาลงั คนและวสั ดุมาใช้ให้เกิดประโยชน์มากที่สุด ทุกฝ่ ายร่วมกันคิดและวางแผนการปฏิบัติงานตาม
โครงการไวล้ ว่ งหนา้ ผลงานระยะน้ีเนน้ ยทุ ธศาสตร์ต่อสูก้ บั การแทรกซึมของคอมมิวนิสต์ การสร้างและการ พฒั นาความสมั พนั ธท์ างสงั คมในชุมชน งานสาคญั ๆ ที่ริเร่ิมและพฒั นาในระยะนี้ ได้แก่ ๑. การพฒั นาข้นั ตอนการส่งเสริมและพฒั นากล่มุ ใหเ้ ป็นองคค์ วามรู้สาคญั ในการพฒั นากลุม่ องคก์ ร ชุมชนที่ใชก้ นั แพร่หลายในปัจจุบนั และไดร้ ับการนาไปอา้ งอิงเชิงวชิ าการอยเู่ สมอ ซ่ึงเรียกว่าหลกั การ ๓ ข้นั ๘ ตอนของการพฒั นากลุ่ม ๒. การพัฒนารูปแบบศูนย์เยาวชนชุมชนโดยใหม้ ีการจดั ต้งั ศูนยเ์ ยาวชนระดบั ตาบลข้ึนโดยใหใ้ ช้ อาคารศูนยพ์ ฒั นาตาบลหรือท่ีทาการของคณะกรรมการพฒั นาตาบล เพอ่ื เป็นศูนยร์ วมการติดต่อส่ือสมั พนั ธ์ และใหก้ ารสนบั สนุนซ่ึงกนั และกนั ระหว่างสมาชิกของกล่มุ เยาวชนประเภทกิจกรรมต่างๆ นอกจากน้ียงั ทาหนา้ ท่ีสนบั สนุนกิจกรรมและประสานกิจกรรมใหต้ ่อเนื่องกบั กิจกรรมของกลุ่มคนวยั อื่นๆ ท้งั ในระดบั ตาบลและหมู่บา้ นช่วยให้ความรู้และให้ความช่วยเหลือที่ผูป้ กครองของสมาชิกศูนย์ เยาวชนดว้ ยพร้อมกบั ออกแบบการบริหารงานศูนยเ์ ยาวชน ใหม้ ีองคก์ รบริหารงานศูนยเ์ ป็ นเยาวชนในตาบลน้นั และมที ่ีปรึกษาเป็นผนู้ าเยาวชนท่ีพน้ วยั เยาวชนไปแลว้ และผนู้ าชุมชนอืน่ ๆ อนั เป็นรูปแบบของการบริหารจดั การโดยชุมชนอกี กิจกรรมหน่ึง ๓. ทดลองจดั ต้งั ศูนย์ฝึ กอบรมเยาวสตรี ในจงั หวดั ภาคเหนือข้ึนเพื่อฝึกอบรมเยาวสตรีในภาคเหนือ ใหส้ มเป็ นกุลสตรีมีความรู้ความสามารถพอท่ีจะประกอบอาชีพและมีชีวิตอย่ใู นสังคมไดด้ ว้ ยดีและเป็ น ตัวอย่างแก่เยาวสตรี อื่นๆในหมู่บ้านชนบทอีกด้วยกรมการพัฒนาชุมชนได้นาโครงการน้ีเสนอต่อ คณะกรรมการส่งเสริมเยาวชนแห่งชาติ สภาบริหารคณะปฏวิ ตั ิ และสานกั งบประมาณไดร้ ับความเห็นชอบ ในหลกั การใหด้ าเนินงานเป็นการทดลองก่อนในปี งบประมาณ ๒๕๑๖ โดยใชส้ านกั งานพฒั นาชุมชนเขต ๕ จงั หวดั ลาปางเป็นสถานท่ีฝึกอบรมทดลองฝึกอบรม ๒ รุ่นรวม ๑๐๐ คน
๔. ริเริ่มให้มีวนั กตญั ญู เพ่ือยกฐานะผอู้ าวุโสในชุมชนใหส้ ูงข้ึนเพื่อให้พน้ วิถีทางของการต่อตา้ น การเปลยี่ นแปลงโดยส่งเสริมและสนบั สนุนใหช้ าวบา้ นในเขตพฒั นาทุกแห่ง ร่วมมือร่วมใจกนั แสดงออกซ่ึง ความกตญั ญูต่อผูอ้ าวุโสอนั มีพระคุณอยา่ งพร้อมเพียง และเป็ นกิจจะลกั ษณะ ท้ังให้ถือว่าวนั น้ันเป็ นวนั สาคญั เรียกวา่ “ วนั กตญั ญ” อนั เป็นการจรรโลงวฒั นธรรมอนั ดีงามของชาติใหม้ น่ั คงถาวรสืบไปชว่ั กาลนาน โดยถือเอาวนั สารท กลางปี เป็ นวนั กตญั ญดาเนินการประกอบพิธีตามขนบประเพณีและศาสนาของชุมชน น้นั ๆ ซ่ึงต่อมาไดผ้ นวกเขา้ กบั งานพฒั นาเยาวชน และกาหนดใหว้ นั ท่ี ๑๓ เมษายนของทุกปี เป็นวนั กตญั ญู ๕. ริเร่ิมให้ มีกิจกรรมวันพัฒนาโดยถือโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษาพระบาทสมเด็จ พระเจา้ อยหู่ วั ๕ ธนั วาคมของทุกปี เชิญชวนประชาชนระดมพลงั พฒั นาสภาพแวดลอ้ มในหมบู่ า้ นถวายเป็ น ราชสกั การะจนปัจจุบนั ทุกหน่วยราชการไดร้ ่วมกนั จดั งานวนั พฒั นาในช่วงวนั ท่ี ๔-๖ ธนั วาคมของทุกปี จน เป็นประเพณีไปแลว้ พระบาทสมเด็จพระเจา้ อยหู่ วั ทรงพระราชทานคาขวญั เน่ืองในวนั พฒั นาคือ “ พฒั นาคือ สร้างสรรค”์ เพอ่ื เป็นแนวทางในการปฏบิ ตั ิตวั และปฏบิ ตั ิหนา้ ที่ของนกั พฒั นา
๖. ริเร่ิมการส่งเสริมกฬี าชนบท โดยส่งเสริมความสาคญั ของการกีฬาสละที่ดินของตนเพื่อสร้าง สนามกีฬาของชุมชนซ่ึงต่อมาไดผ้ นวกไวก้ บั โครงการพฒั นาเยาวชน และมีการจดั การแข่งขนั กีฬาเยาวชน บทเป็ นประจาทุกปี ๗. ส่งเสริมการพฒั นาห้องสมุดชนบท โดยให้มีห้องสมุดอยตู่ ามศูนยพ์ ฒั นาตาบลเพ่ือการส่งเสริม การศึกษาแก่ประชาชนและเยาวชนในชนบทใหม้ ีนิสยั รักการอ่าน รู้จกั ใชเ้ วลาวา่ งใหเ้ กิดประโยชน์และเป็ น แหล่งคน้ ควา้ หาความรู้ดว้ ยตนเอง ๘. ริเร่ิมการประกวดหมู่บ้านพัฒนาดีเด่น โดยร่วมกับองค์การ สปอ. ให้หมู่บ้านไดม้ ีโอกาส แสดงผลงานอนั เป็ นเกียรติยศแก่หมู่บา้ นและตาบลน้นั ๆโดยให้จงั หวดั คดั เลือกหมู่บ้านท่ีมีลกั ษณะดีเด่น ส่งเขา้ ประกวด ซ่ึงเป็นตน้ แบบของการประกวดหมู่บา้ นในระยะต่อมา ๙. พัฒนาต้นแบบกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลติ โดยเร่ิมทดลองในพ้ืนท่ีโครงการสารภี ๒ แห่ง คือตาบลขวั มุง อาเภอสารภี จงั หวดั เชียงใหม่ และ ตาบลละงู อาเภอละงู จงั หวดั สตูล โดยมีวตั ถุประสงค์ เพื่อให้เป็ นสถาบันพฒั นาคนพฒั นาคุณธรรมในชุมชน พฒั นาเงินทุนระดบั ทอ้ งถิ่นในการพฒั นาอาชีพ และสวัสดิการของชุมชนเป็ นศูนย์บริ หารวิชาการต่างๆ ในการพัฒนาอาชีพอีกท้ังให้การบริ การ ทางดา้ นการตลาดการจดั หาทุนและวสั ดุอปุ กรณ์ในการประกอบอาชีพของสมาชิกสนบั สนุนใหส้ มาชิกรู้จกั การสะสมทุน ออมประหยดั ซ่ึงปัจจุบนั ไดข้ ยายผลออกไปอยา่ งแพร่หลาย
“ กลุ่มออมทรัพยเ์ พื่อการผลิต” ใช“้ เงิน” เป็ นเคร่ืองมือในการพฒั นาคนดาเนินงานโดยยดึ หลกั คุณธรรม ๕ ประการ คือ ความซ่ือสัตยค์ วามเสียสละความรับผดิ ชอบความเห็นอกเห็นใจกนั และความ ไวว้ างใจซ่ึงกนั และกนั เพื่อสร้างโอกาสให้ประชาชนยากจนในชนบทเขา้ ถึงแหล่งทุนช่วยเหลือซ่ึงกนั และ กัน ต้ังแต่ใช้จ่ายยามเดือดร้อนจาเป็ นการลงทุนประกอบอาชีพการจดั สวสั ดิการต่างๆ แก่สมาชิก และ ผดู้ อ้ ยโอกาสในชุมชน มีการพฒั นาธุรกิจของกลุ่ม หลายรูปแบบเช่น การสร้างลานรวมผลผลิต ยุง้ / ฉาง / ธนาคารขา้ วศูนยส์ าธิตการตลาด ป้ัมน้ามนั โรงงานแปรรูปผลผลิต โรงงานน้าดื่มปัจจุบนั มีกลุ่มออมทรัพย์ เพอ่ื การผลติ จานวน ๓๔, ๕๓๐ กลมุ่ มีเงินออมของประชาชน๒๕, 000 ลา้ นบาท ๑๐. พัฒนารูปแบบการดาเนินงานหมู่บ้านพฒั นาทางยุทธศาสตร์ เพ่ือต่อต้านการแทรกซึมของ ผู้ก่อการร้ายคอมมิวนิสต์เป็ นสาคัญ โดยกาหนดให้มีหมู่บ้านที่เป็ นจุดยุทธศาสตร์ในการพฒั นา เรียกว่า หมูบ่ า้ นพฒั นาเนน้ หนกั ข้ึน หมบู่ า้ นน้ีจะเป็นหมู่บา้ นที่จุดประกายไฟขยายการพฒั นาชุมชนออกไป ทานองเดียวกบั ไฟลามทุ่ง พร้อมกนั น้นั กไ็ ดก้ าหนดใหห้ ม่บู า้ นพฒั นาเนน้ หนกั แห่งหน่ึงเป็นหมบู่ า้ นพฒั นา วิเคราะห์ซ่ึงใชเ้ ป็นสถานท่ีทดลองคน้ ควา้ หาความชานาญในทางวชิ าการเฉพาะกรณีไปใชใ้ นหมบู่ า้ นพฒั นา เน้นหนักทั่วไป แนวความคิดของหมู่บ้านพัฒนาวิเคราะห์น้ีเป็ นต้นแบบของ Social lab ของ ศพช. เขตในปัจจุบนั นอกจากน้ี ผลการศึกษาคน้ ควา้ ทดลองในหมู่บา้ นพฒั นาวิเคราะห์ยงั ก่อให้เกิดภารกิจการ ส่งเสริมครอบครัวพฒั นาในเวลาต่อมาอกี ดว้ ย ๑๑. การพัฒนาทฤษฎีการพัฒนา ๓ มิติ เพ่ือเป็ นกรอบความคิดในการกาหนดนโยบาย และแนวทางการทางานพฒั นาชุมชนใน ๕ ปี แรกของทศวรรษท่ีสองของกรมการพฒั นาชุมชนโดยช้ีให้เห็น วา่ การที่จะสร้างพลงั ชุมชนและใชพ้ ลงั ชุมชนเพื่อใหเ้ กิดประโยชน์ต่อชุมชนไดน้ ้นั จาเป็นตอ้ งอาศยั หลกั การ สร้างพลงั มวลชนที่มีอยใู่ นชุมชนให้มคี วามสามารถที่จะปรับปรุงสภาพสิ่งแวดลอ้ มและสถานการณ์ดว้ ยตวั ของเขาเอง ซ่ึงต้องใช้วิธีการพัฒนาท้ังในด้านรู ปธรรมและนามธรรมให้เป็ นไปอย่างกวา้ งขวาง รวดเร็วไดส้ ดั ส่วน และมน่ั คงถาวร ในช่วงทา้ ยของทศวรรษน้ีระบบการบริหารการพฒั นาของชาติไดม้ ีความเคลื่อนไหวที่จะปฏิรูป ระบบคร้ังใหญ่ กรมการพัฒนาชุมชนก็ได้มีส่วนเข้าร่ วมในการพฒั นาระบบดังกล่าวกับสานักงาน คณะกรรมการพฒั นาการเศรษฐกิจและสงั คมแห่งชาติดว้ ย และเพ่ือสนบั สนุนการเปล่ียนแปลงของระบบ การบริ หารการพัฒนาของชาติ ระบบการบริ หารการพัฒนาชุมชน จึงมีการเปลี่ยนแปลงไปด้วย ในช่วงทศวรรษต่อมา
ในยุคน้ี “ พฒั นากร” ไดร้ ับมอบหมายให้เป็ นผูใ้ ห้ความรู้แก่ประชาชนและสนับสนุนส่งเสริม ใหป้ ระชาชนรวมกนั เป็นกลมุ่ เพือ่ ใชข้ บวนการกลุ่มเป็นวธิ ีการแกป้ ัญหาของชุมชน มีหนา้ ท่ีความรับผดิ ชอบ ท้ังต่อประชาชน และต่อรัฐในการทางานร่วมกบั ประชาชนช่วงท่ีการต่อสู้กับการก่อการร้ายรุนแรง “ พฒั นากร” มีบทบาทในฐานะผูน้ าการเปล่ียนแปลง ในช่วงท้ายของทศวรรษน้ีพฒั นากรเปล่ียนไป มี บทบาท ๓ ประการคือ ๑. เป็นผเู้ ชื่อมประสานระหว่างหน่วยงานของรัฐเอกชนกบั ประชาชนตลอดจนและรายงาน ๒. เป็นผรู้ ่วมปฏบิ ตั ิงานกบั องคก์ รประชาชนและประชาชนดา้ นการวางแผนพฒั นาตาบลการจดั การ รวมกลุ่มและปฏิบตั ิงานตามโครงการพฒั นา ๓. เป็ นผสู้ ่งเสริมเผยแพร่ทกั ษะโดยการฝึ กอบรมการสาธิตจดั นิทรรศการต่างๆเพื่อเผยแพร่ความรู้ ทางวิชาการดา้ นต่างๆ แก่ประชาชน
สรุประยะที่๒ ในระยะท่ี๒ น้ีเนน้ การทางานตามแนวความคิดการมสี ่วนร่วมของประชาชน ส่งเสริมใหป้ ระชาชน รู้จกั การช่วยเหลือตนเองและชุมชนมากข้ึนเน้นยุทธศาสตร์ในการต่อสูก้ บั การแทรกซึมของคอมมิวนิสต์ และใหค้ วามสาคญั ต่อการสร้างผนู้ าและการรวมกล่มุ ใหม้ กี ล่มุ กิจกรรมต่าง ๆข้ึนในหมู่บา้ น / ตาบล เร่ิมงาน อาสาสมคั ร มีจุดหมายที่สาคัญ คือ การสร้างพลงั ของหมู่บา้ น (ชุมชน) ให้เกิดข้ึนแลว้ นาพลงั น้นั มาใช้ ประโยชน์ในการพฒั นา ในยุคน้ีมีอธิบาดีกรมการพฒั นาชุมชน จานวน ๓ท่าน ๑.นายพฒั น์ บุญยรัตน์พนั ธุ์ ดารงตาแหน่ง ๑ ตุลาคม ๒๕๑๔ – ๓๐กนั ยายน ๒๕๑๘ ๒.นายนิรุติ ไชยกูล ดารงตาแหน่ง ๑ ตุลาคม ๒๕๑๘-๓๐ กนั ยายน ๒๕๒๒ ๓.ร.ต.ท. ระดม มหาศรานนท์ ดารงตาแหน่ง ๑ ตุลาคม ๒๕๒๒-๓๐ กนั ยายน ๒๕๒๖แต่ละท่านมีอุดมการณ์ในการทางานที่แตกต่างกนั ไป โดยส่วนใหญ่จะมุ่งเน้นการสร้างสรรค์ คุณภาพของคนท้งั จากองคก์ ารเอกชน ราษฎร และราชการ คือ อดุ มการณ์ของงานพฒั นาชุมชน สร้างพลงั ให้ ชุมชนไดเ้ กิดการพฒั นา งานสาคญั ๆ ท่ีริเร่ิมและพฒั นาในระยะน้ี ไดแ้ ก่ ๑. การพฒั นาข้นั ตอนการส่งเสริม และพฒั นากลมุ่ ๒. การพฒั นารูปแบบศนู ยเ์ ยาวชนชุมชน๓. ทดลองจดั ต้งั ศูนยฝ์ ึกอบรมเยาวสตรี๔. ริเริ่มใหม้ ี วนั กตญั ญู๕. ริเริ่มใหม้ ีกิจกรรมวนั พฒั นา๖. ริเริ่มการส่งเสริมกีฬาชนบท๗. ส่งเสริมการพฒั นาห้องสมุด ชนบท ๘. ริเริ่มการประกวดหมู่บา้ นพฒั นาดีเด่น ๙. พฒั นาตน้ แบบกลุ่มออมทรัพยเ์ พ่ือการผลิต๑๐. พฒั นา รูปแบบการดาเนินงานหมูบ่ า้ นพฒั นาทางยทุ ธศาสตร์๑๑. การพฒั นาทฤษฎีการพฒั นา ๓ มิติ ในยคุ น้ีพฒั นา กรไดร้ ับมอบหมายเร่ืองการให้ความรู้แก่ประชาชนและสนับสนุนส่งเสริม ใหป้ ระชาชนรวมกนั เป็ นกลุม่ เพื่อใชข้ บวนการกลุ่มเป็นวิธีการแกป้ ัญหาของชุมชนเพื่อใหช้ ุมชนไดม้ ีพลงั ในการพฒั นาต่อไป
ยุคที่ ๓ สู่ระบบบริหารการพฒั นาชนบทแห่งชาติ (พ. ศ. ๒๕๒๕-๒๕๓๔) เป็นระยะที่อยใู่ นช่วงแผนพฒั นาเศรษฐกิจและสงั คมแห่งชาติฉบบั ท่ี ๕ และ ๖ ซ่ึงเป็นช่วงที่รัฐบาล ไดใ้ ห้ความสนใจและใหค้ วามสาคญั ในการพฒั นาชนบทมากข้ึนโดยเน้นให้ประชาชนรู้จกั การช่วยตวั เอง และการมีส่วนร่ วมเป็ นหลัก มีหน่วยงานลงสู่ชนบทเพิ่มข้ึนในระยะน้ีกรมการพฒั นาชุมชนมุ่งเน้น การปรับปรุ งขีดความสามารถของกลุ่มกิจกรรมให้เป็ นองค์กรบริ หารที่มีขีดความสามารถ และมี ประสิทธิภาพเพ่มิ ข้ึน ในยุคน้ีมีอธิบดีกรมการพฒั นาชุมชนผูม้ ีบทบาทกาหนดทิศทางสร้างสรรค์งานพฒั นาชุมชน จานวน ๓ ท่าน ไดแ้ ก่ ลาดบั ท่ี ๖ นายสุวนัย ทองนพ ดารงตาแหน่ง ๑ ตลุ าคม ๒๕๒๖- ๓๐กนั ยายน ๒๕๓๑ มอี ุดมการณ์ในการทางาน คือ พฒั นาใหห้ มู่บา้ นในชนบท เป็ นท่ีอย่รู วมกนั ของชาวบา้ นที่เขาตอ้ งการอยู่ ร่วมกนั ดว้ ยผาสุกตลอดไป ลาดบั ท่ี ๗ นายศักดา อ้อพงษ์ ดารงตาแหน่ง ๑ ตลุ าคม ๒๕๓๑-๓๐ กนั ยายน ๒๕๓๒ มอี ุดมการณ์ในการทางาน คือ คิด พดู ทา
ลาดบั ท่ี ๘ ดร.ยุวฒั น์ วฒุ เิ มธี ดารงตาแหน่ง ๑ ตลุ าคม ๒๕๓๒ –๓๐กนั ยายน ๒๕๓๔ มอี ดุ มการณในการทางาน คือ ระเบียบครบ ระบบดี มีคุณธรรม เป็ นผตู้ ่อยอดและพฒั นา กลุ่มออมทรัพยเ์ พื่อการผลิต โดยมีแนวคิด ใชเ้ งินเป็ นเคร่ืองมือเพื่อการพฒั นาคน ตามหลกั คุณธรรมประการไดแ้ ก่ ความซื่อสัตย์ ความเสียสละ ความรับผดิ ชอบความไวใ้ จและความเห็นอก เห็นใจกนั
ระยะท่ี ๓ สู่ระบบบริหารการพฒั นาชนบทแห่งชาติ (พ. ศ. ๒๕๒๕-๒๕๓๔) เป็นระยะท่ีอยใู่ นช่วงแผนพฒั นาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบบั ท่ี ๕ และ ๖ ซ่ึงเป็นช่วงที่รัฐบาล ไดใ้ ห้ความสนใจและใหค้ วามสาคญั ในการพฒั นาชนบทมากข้ึน มีการกาหนดรูปแบบและวิธีการปฏบิ ตั ิท่ี ชดั เจนต้งั แต่ระดบั ชาติ จงั หวดั อาเภอ และตาบลหมู่บา้ น โดยเนน้ ใหป้ ระชาชนรู้จกั การช่วยตวั เอง และการมี ส่วนร่วมเป็นหลกั มหี น่วยงานลงสู่ชนบทเพ่ิมข้ึน มกี ารยบุ เลิกคณะกรรมการบริหารและประสานงานพฒั นา ชุมชน คณะกรรมการประสานงานพฒั นาชุมชนส่วนจงั หวดั และอาเภอ คณะกรรมการพฒั นาตาบล ใหใ้ ช้ โครงสร้างองคก์ รบริหารการพฒั นาชนบทของชาติที่จดั ต้งั ข้ึนใหมแ่ ทนรวมท้งั รัฐบาลไดร้ ับเอาแนวความคิด เกี่ยวกบั การมรี ะบบขอ้ มูลและการใชร้ ะบบแผนมาเป็นส่วนหน่ึงของระบบการบริหารการพฒั นาชนบทของ ชาติดว้ ย พร้อมกนั น้นั กระทรวงมหาดไทย ก็ไดใ้ ห้ยุบเลิกคณะกรรมการพฒั นาหมู่บา้ น และออกขอ้ บงั คบั กระทรวงมหาดไทยว่าดว้ ยคณะกรรมการหมู่บา้ น พ. ศ. ๒๕๒๖ ให้มีคณะกรรมการหมู่บา้ น (กม.) เป็ น องคก์ รเดียวในการบริหารงานระดบั หมู่บา้ น ซ่ึงประกอบดว้ ยฝ่ ายต่างๆ ๘ ฝ่ าย โดยใหอ้ ยภู่ ายใตก้ ารดูแลของกรมการปกครอง จึงกลา่ วไดว้ า่ เป็นการส้ินสุดของระบบการบริหาร ที่ออกแบบและขบั เคล่ือนโดยกรมการพฒั นาชุมชนมาเป็ นเวลา ๒๐ ปี และเป็ นการเริ่มตน้ ของระบบการ บริหารการพฒั นาชนบทที่กลไกต่างๆ แทบจะไม่มีความแตกต่างกนั เปลี่ยนแต่เพียงส่วนประกอบบางส่วน และพลขบั เท่าน้นั สาหรับบทบาทของกรมการพฒั นาชุมชน ซ่ึงเดิมไดป้ ูพ้ืนฐานงานพฒั นาโดยใหก้ ารศึกษาอบรม ประชาชนให้มีความรู้พ้ืนฐานด้านต่างๆ สามารถคิด ทาและแกไ้ ขปัญหาของตนเองและชุมชนโดยมี คณะกรรมการพฒั นาตาบลและหม่บู า้ นเป็นองคก์ รหลกั ในการบริหารการพฒั นาชุมชน
เมื่อยุบเลิกคณะกรรมการพัฒนาตาบลและหมู่บ้านเปลี่ยนเป็ นกรรมการสภาตาบลและ คณะกรรมการหมู่บา้ นในความรับผดิ ชอบของกรมการปกครองแทน กรมการพฒั นาชุมชนจึงเพิ่มการให้ ความสาคญั กบั การดาเนินการปรับปรุงขีดความสามารถขององคก์ รกลุ่มกิจกรรมพฒั นาชุมชนใหเ้ ป็นองคก์ ร บริหารที่มีขีดความสามารถและมีประสิทธิภาพเพิ่มข้ึนและมุ่งใหป้ ระชาชนไดม้ ีส่วนร่วมในการพฒั นากบั ส ภ า ต า บ ล แ ล ะ ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร ห มู่ บ้า น ม า ก ข้ึ น ต า ม น โ ย บ า ย ก า ร พัฒ น า ช น บ ท แ น ว ใ ห ม่ โ ด ย ใ ช้ กระบวนการพฒั นาชุมชนเป็นหลกั ในการดาเนินงานอยา่ งต่อเน่ืองในรูปแบบการใหก้ ารศกึ ษาเพอ่ื การพฒั นา ในการน้ียงั ไดร้ ่วมพฒั นาศกั ยภาพและส่งเสริมบทบาทของสภาตาบลและคณะกรรมการหมู่บา้ นในการ บริหารการพฒั นาชนบทอยา่ งจริงจงั รวมท้งั เขา้ ร่วมในการพฒั นาระบบการบริหารการพฒั นาชนบทของชาติ อยา่ งแขง็ ขนั แมว้ ่าตลอดระยะเวลาน้นั จะถกู “ ช่วงชิง” บทบาทการนาอยหู่ ลายคร้ังจากหน่วยงานขา้ งเคียงใน กระทรวงเดียวกนั กต็ าม โดยกาหนด นโยบายของกรมการพฒั นาชุมชน ไวด้ งั น้ี ๑.ปลูกฝังอุดมการณ์ใหป้ ระชาชนมคี วามขยนั ความเช่ือมนั่ ในการช่วยตนเองความร่วมมอื ช่วยเหลอื กนั ในการสร้างความเจริญใหก้ บั ชุมชนของตน ๒. ให้ประชาชนรู้จักการทางานเป็ นกลุ่ม และใชส้ ถาบนั ต่าง ๆ เพื่อฝึ กสอนการปกครองตาม ระบอบประชาธิปไตย โดยมีพระมหากษตั ริยเ์ ป็นประมุข ๓. ให้ประชาชนไดม้ ีส่วนร่วมกาหนดความตอ้ งการ วางแผน และดาเนินงานเพ่ือสนองความ ตอ้ งการของชุมชนดว้ ยตนเอง ๔. ให้ประชาชนรู้จกั เสียสละ และอาสาสมคั รเพ่ือช่วยชุมชนของตนในดา้ นความมน่ั คงปลอดภยั และบริการสงั คม ๕. พฒั นาคุณภาพของประชาชนทุกเพศ ทุกวยั โดยเนน้ เดก็ ก่อนวยั เรียน เยาวชน และสตรี ๖. ใหป้ ระชาชนรู้จกั ใชว้ ิชาการและทรัพยากรท่ีเหมาะสมในการประกอบอาชีพและดารงชีวิตของ ตน เพอ่ื ยกฐานะทางเศรษฐกิจ และความเป็นอยใู่ หด้ ีข้ึน ๗. ให้ประชาชนปรับปรุงและสร้างเสริมสาธารณสมบตั ิต่าง ๆ โดยเน้นปัจจยั การผลิตทางดา้ น เกษตรกรรม และอตุ สาหกรรมในครัวเรือน ๘. พฒั นากลุ่มอาชีพต่าง ๆ ใหส้ ามารถรับผิดชอบดา้ นการลงทุนการผลิต การตลาด การบริโภค และการเกบ็ ออมเพ่ือเตรียมการไปสู่ระบบสหกรณ์ต่อไป ๙.สนับสนุนส่งเสริมการจดั ต้งั และพฒั นาองค์กรประชาชนระดบั หมู่บา้ น ตาบล ให้เป็ นองคก์ ร พ้ืนฐานท่ีสามารถคิดตดั สินใจในการวางแผน และปฏบิ ตั ิงานเพื่อแกป้ ัญหาของชุมชนตามวถิ ีทางของระบอบ ประชาธิปไตย โครงการปฏิบตั ิงานในช่วงน้ีปรับไปเป็นแผนงานซ่ึงมีแผนการดาเนินงานพฒั นาชุมชนระดบั ตาบล ๙ แผนงาน ดงั น้ี ๑. แผนงานพฒั นาเดก็
๒. แผนงานพฒั นาเยาวชน ๓. แผนงานพฒั นาสตรี ๔. แผนงานสร้างเสริมรายได้ ๕. แผนงานส่งเสริมการออมทรัพยเ์ พ่อื การผลติ ๖. แผนงานพฒั นาส่ิงแวดลอ้ ม ๗. แผนงานอาสาพฒั นาชุมชน ๘. แผนงานพฒั นาจิตใจ ๙. แผนงานพฒั นาองคก์ ร อย่างไรก็ตามการเปล่ียนแปลงของระบบการบริ หารการพฒั นาชนบทของชาติก็เป็ นโอกาส ใหก้ รมการพฒั นาชุมชนหนั กลบั มาสร้างความชดั เจนให้กบั กิจกรรมพฒั นาชุมชนที่ไดแ้ ตกแขนงออกไป อย่างกวา้ งขวางอนั เป็ นผลมาจากการพฒั นางานในช่วงทศวรรษที่ ๒ มีการปรับกระบวนการวตั ถุประสงค์ และวิธีการดาเนินงานในหลายเร่ืองโดยมุ่งเน้นความเช่ือมโยงกนั และการเพ่ิมศกั ยภาพของกลุ่มองคก์ ร ในการดูดซบั ประโยชนจ์ ากระบบการบริหารการพฒั นาชนบท งานสาคญั ๆ ที่ริเริ่มและพฒั นาในระยะนี้ ได้แก่ ๑. การพัฒนาอาชีพแบบครบวงจรของกิจกรรมพัฒนาชุมชน ได้ดาเนินงานนโยบายพฒั นา เศรษฐกิจหมู่บา้ นซ่ึงจาแนกหมู่บา้ นตามระดบั ความจาเป็ นในการพฒั นาเศรษฐกิจเป็ น ๓ ระดบั กาหนด วตั ถุประสงคใ์ นการพฒั นาตามระดบั แลว้ จดั กิจกรรมให้เหมาะสมท้งั น้ีมีการปรับความเช่ือมโยงระหว่าง กิจกรรมที่เก่ียวขอ้ งกบั การพฒั นาอาชีพท่ีมีอยทู่ ้งั หมดโดยใหก้ ลุ่มออมทรัพยเ์ พือ่ การผลิตเป็นกิจกรรมแกน ๒. การฝึ กอบรมองค์กรในงานพฒั นาชุมชนด้านการบริหารการพฒั นา หลกั สูตรฝึกอบรมในช่วงน้ี เน้นหนักการทาความเขา้ ใจกบั ระบบการบริหารการพฒั นาชนบทของชาติท้งั ระบบองคก์ รระบบขอ้ มูล และระบบแผนงานมกี ารเรียนรู้กระบวนการวางแผน วางโครงการ อยา่ งเขม้ ขน้ เพื่อใหอ้ งคก์ รสามารถจดั ทา แผนและเขียนโครงการไปขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากองค์กรบริหารการพฒั นาระดบั ต่างๆ ไดส้ ะดวกข้ึน
๓. ปรับรูปแบบขององค์กรสตรีจากกล่มุ กจิ กรรมให้เป็ นองค์กรบริหารการพัฒนาสตรีทางานใหม้ ี บทบาทในการพฒั นาสตรีเดก็ เยาวชนและมสี ่วนร่วมในการพฒั นาหมู่บา้ นตาบลเคียงคู่ไปกบั คณะกรรมการหมบู่ า้ น สภาตาบล คณะกรรมการพฒั นาอาเภอ คณะกรรมการพฒั นาจงั หวดั ในช่อื วา่ คณะการพฒั นาสตรีระดบั ตาบล คณะกรรมการพฒั นาสตรีระดับอาเภอ และกรรมการพฒั นาสตรีระดับ จงั หวดั เพือ่ ใหส้ ตรีมสี ่วนร่วมในการพฒั นาชุมชนและสามารถพ่งึ ตนเองไดม้ ากท่ีสุดโดยการพฒั นาสตรีถูก จดั แบ่งเป็นงาน ๓ ดา้ น คือ งานการมีส่วนร่วมทางการเมอื งของสตรี งานการรวมกลมุ่ และพฒั นาอาชีพสตรี และงานสร้างเสริมสถานภาพสตรี ๔. พัฒนาภาวะผู้นาของเยาวชนให้สูงขึ้น ผ่านโครงการแลกเปล่ียนเยาวชนระหว่างประเทศ ไทย-แคนาดา ซ่ึงนับว่าเป็นหน่วยงานแรกที่ส่งเสริมโอกาสให้เยาวชนชนบทไดไ้ ปใชช้ ีวิตอยู่กบั ครอบครัว ชาวต่างชาติในต่างประเทศ ทาให้เยาวชนได้เรี ยนรู้วิถีชีวิต วัฒนธรรม ประเพณีของกลุ่มสังคมอ่ืน เกิดความสานึกในคุณค่าความเป็ นไทย มีโลกทศั น์กวา้ งข้ึนมีความเช่ือมนั่ ในตนเองสูงข้ึนปัจจุบนั งาน โครงการน้ีก็ยงั ดาเนินการอยแู่ ละขยายจานวนประเทศที่จะมกี ารแลกเปลยี่ นเยาวชนออกไปอีกหลายประเทศ ๕. พัฒนาบุคลากรของกรมด้านการใช้เคร่ืองมือในการบริหารจัดการเพ่ือเพ่ิมประสิทธิภาพในการ ทางานบริหารการพฒั นาชนบทและการบริหารการพฒั นาชุมชน เช่น การวางแผนและควบคุมการทางาน ตามแผนดว้ ย PERT และ Logical Framework การวเิ คราะห์และตีความขอ้ มูลการทาแผนที่ขอ้ มลู ฯลฯ ๖. พัฒนากระบวนการทางานของนักพัฒนาช่ือ“ CED Process” ซ่ึงย่อมาจาก Community Education for Development Process เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการทางานส่งเสริมการเรียนรู้ของประชาชน ๗. จัดการรับรองสถานภาพกจิ กรรมและองค์กรในงานพฒั นาชุมชน เนื่องจากมีหน่วยงานหลาย หน่วยเร่ิมขยายงานมาซ้าซอ้ นกบั งานที่กรมการพฒั นาชุมชนส่งเสริมและสนับสนุนอยู่และหน่วยงาน เหล่าน้ันมกั ใช้ระเบียบกฎหมายเป็ นกลไกในการทางาน เพื่อให้การทางานขององค์กรชุมชนไดร้ ับการ รับรองอย่างเป็ นทางการจึงเสนอออกระเบียบกระทรวงมหาดไทยกาหนดสถานภาพให้กบั องคก์ รดงั กลา่ ว เช่น ระเบียบเก่ียวกบั ศูนยเ์ ยาวชนตาบล ฯลฯ
๘. ปรับปรุงศูนย์พฒั นาตาบลให้เป็ นศูนย์ข้อมลู ประจาตาบล และศูนยส์ ่งเสริมความรู้ประจาตาบล เพ่ือสนบั สนุนใหส้ ภาตาบลใชเ้ ป็ นศนู ยก์ ารบริหารการพฒั นาของตาบลในขณะเดียวกนั ก็ไดร้ ับมอบหมาย จากคณะกรรมการพฒั นาชนบทแห่งชาติใหร้ ับผดิ ชอบโครงการพฒั นาชนบทระดบั หมู่บา้ นตามแผนพฒั นา ชนบทยากจน และในส่วนภูมิภาคพฒั นาการอาเภอเป็ นเลขานุการคณะกรรมการพฒั นาอาเภอ ตามระเบียบ สานกั นายกรัฐมนตรี ว่าดว้ ยการบริหารการพฒั นาชนบท พ. ศ. ๒๕๒๔ ลงวนั ที่ ๒๕ กรกฎาคม ๒๕๒๔ ต่อมาวนั ท่ี ๒๗ มกราคม ๒๕๒๕ ไดแ้ กไ้ ขใหป้ ลดั อาเภอ (อาวุโส) เป็นเลขานุการแต่พฒั นาการอาเภอกย็ งั คง มีบทบาทในการบริหารการพฒั นาในคณะกรรมการสร้างงานในชนบทระดบั อาเภอ ดูแลการดาเนินงาน โครงการสร้างงานในชนบท โดยพฒั นาการอาเภอเป็ นเลขานุการคณะกรรมการสร้างงานในชนบทระดบั อาเภอ บทบาทของพฒั นากร เปลีย่ นจากเดิมบทบาทในฐานะผนู้ าการเปล่ยี นแปลงกลายเป็น “ ผู้จดั การการพัฒนา” (DevelopmentManager) ทาหนา้ ท่ีเป็ นที่ปรึกษาของสภาตาบลและเป็ นเลขานุการ คณะทางานสนบั สนุนการปฏิบตั ิการพฒั นาชนบทระดบั ตาบล (คปต.)
สรุป ระยะท่ี ๓ เป็นระยะที่อยใู่ นช่วงแผนพฒั นาเศรษฐกิจและสงั คมแห่งชาติฉบบั ท่ี ๕ และ ๖ ซ่ึงเป็นช่วงท่ีรัฐบาล เนน้ ใหป้ ระชาชนรู้จกั การช่วยตวั เองและการมสี ่วนร่วมเป็นหลกั และมหี น่วยงานลงสู่ชนบทเพ่มิ ข้ึนในระยะ น้ีกรมการพฒั นาชุมชนมุ่งเนน้ การปรับปรุงขีดความสามารถของกลุ่มกิจกรรมให้เป็นองค์กรบริหารท่ีมีขีด ความสามารถ และมปี ระสิทธิภาพเพิม่ ข้ึน ในยคุ น้ีมอี ธิบดี จานวน ๓ ท่าน ไดแ้ ก่ ๑. นายสุวนยั ทองนพ ดารง ตาแหน่ง ๑ ตุลาคม ๒๕๒๖- ๓๐กันยายน ๒๕๓๑ ๒.นายศักดา ออ้ พงษ์ ดารงตาแหน่ง ๑ ตุลาคม ๒๕๓๑-๓๐ กนั ยายน ๒๕๓๒ ๓.ดร.ยวุ ฒั น์ วฒุ ิเมธี ดารงตาแหน่ง ๑ ตุลาคม ๒๕๓๒ –๓๐กนั ยายน ๒๕๓๔ แต่ละท่านมีอุดมการณในการทางานท่ีแตกต่างกนั ไปโดยส่วนใหญ่จะมุ่งเนน้ พฒั นา ใหห้ มู่บา้ นในชนบท และประชาชนอยู่ร่วมกนั อย่างมีความสุข สาหรับบทบาทของกรมการพฒั นาชุมชน ซ่ึงเดิมไดป้ ูพ้ืนฐาน งานพฒั นาโดยใหก้ ารศึกษาอบรมประชาชนให้มีความรู้พ้ืนฐานดา้ นต่างๆ สามารถคิด ทาและแกไ้ ขปัญหา ของตนเอง และชุมชนโดยมีคณะกรรมการพฒั นาตาบลและหมู่บา้ นเป็ นองค์กรหลกั ในการบริหารการ พฒั นาชุมชน เม่ือยุบเลิกคณะกรรมการพัฒนาตาบลและหมู่บ้านเปลี่ยนเป็ นกรรมการสภ าตาบลและ คณะกรรมการหมู่บา้ นในความรับผิดชอบของกรมการปกครองแทน กรมการพฒั นาชุมชนจึงเพิ่มการให้ ความสาคญั กบั การดาเนินการปรับปรุงขีดความสามารถขององคก์ รกลุ่มกิจกรรมพฒั นาชุมชนใหเ้ ป็นองคก์ ร บริหารท่ีมีขีดความสามารถและมีประสิทธิภาพเพิ่มข้ึนและมุ่งให้ประชาชนไดม้ ีส่วนร่วมในการพฒั นากบั สภาตาบลและคณะกรรมการหมู่บ้านมากข้ึนตามนโยบายการพฒั นาชนบทแนวใหม่ อย่างไรก็ตามการ เปลี่ยนแปลงของระบบการบริหารการพฒั นาชนบทของชาติก็เป็ นโอกาส ให้กรมการพฒั นาชุมชนหนั กลบั มาสร้างความชดั เจนใหก้ บั กิจกรรมพฒั นาชุมชน และงานสาคญั ๆท่ีริเร่ิมและพฒั นาในระยะน้ี มีจานวน ๘ งานไดแ้ ก่ ๑. การพฒั นาอาชีพแบบครบวงจรของกิจกรรมพฒั นาชุมชน ๒. การฝึ กอบรมองคก์ รในงาน พฒั นาชุมชนดา้ นการบริหารการพฒั นา ๓. ปรับรูปแบบขององค์กรสตรีจากกลุ่มกิจกรรมใหเ้ ป็ นองค์กร บริหารการพฒั นาสตรี ๔. พฒั นาภาวะผนู้ าของเยาวชนให้สูงข้ึน ผา่ นโครงการแลกเปล่ียนเยาวชนระหวา่ ง ประเทศ ๕. พฒั นาบุคลากรของกรมดา้ นการใชเ้ คร่ืองมือในการบริหารจดั การเพ่ือเพ่ิมประสิทธิภาพ ๖. พฒั นากระบวนการทางานของนักพฒั นาชื่อ“ CED Process” ๗. จัดการรับรองสถานภาพกิจกรรมและ องคก์ รในงานพฒั นาชุมชน ๘. ปรับปรุงศูนยพ์ ฒั นาตาบลใหเ้ ป็นศนู ยข์ อ้ มูลประจาตาบล บทบาทของพฒั นา กร เปลี่ยนแปลงกลายเป็ น ผูจ้ ัดการพฒั นา ทาหน้าที่เป็ นที่ปรึ กษาของสภาตาบลและเป็ นเลขานุการ คณะทางานสนบั สนุนการปฏิบตั ิการพฒั นาชนบทระดบั ตาบล (คปต.)
ยคุ ท่ี ๔ เสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชน (พ. ศ. ๒๕๓๕-๒๕๔๔) ในทศวรรษน้ีเป็ นยคุ ท่ีสงั คมมีการเปล่ียนแปลงรวดเร็วมคี วามซบั ซอ้ นโดยเฉพาะการปฏิรูประบบ ราชการ การกระจายอานาจสู่ทอ้ งถิ่น รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจกั รไทย พ. ศ. ๒๕๔๐ ซ่ึงส่งผลต่อการ ทางานของกรมการพฒั นาชุมชนท้งั ส้ิน ระยะน้ีกรมการพฒั นาชุมชนจึงปรับระบบงานและการบริหารให้ เหมาะสมอย่บู ่อยคร้ังการปรับเพื่อสนับสนุนการปกครองทอ้ งถ่ิน รวมท้งั กาหนดยุทธศาสตร์การพฒั นา ชุมชนข้ึนเป็ นคร้ังแรกให้ความสาคญั ต่อการพฒั นาความเขม้ แข็งของชุมชนผสมผสานการส่งเสริมการมี ส่วนร่วมของประชาชนในการพฒั นาประชาธิปไตยข้ันพ้ืนฐานกบั การพฒั นาเศรษฐกิจปากทอ้ งของ ประชาชน รวมท้งั การปลกู ฝังจิตสานึกและความรับผดิ ชอบ ของครอบครัวและชุมชนในการพฒั นา ซ่ึงเป็น การบูรณาการการพฒั นาดา้ นต่าง ๆ ของชุมชนใหเ้ กิดข้ึนพร้อม ๆ กนั ในยคุ น้ีมีอธิบดีกรมการพฒั นาชุมชนผมู้ บี ทบาทกาหนดทิศทางสร้างสรรคง์ านพฒั นาชุมชน จานวน ๕ ท่าน ไดแ้ ก่ ลาดบั ท่ี๙ นาย สมติ ร กจิ จาหาญ ดารงตาแหน่ง ๑ ตลุ าคม ๒๕๓๔ – ๓๐ กนั ยายน ๒๕๓๖ มอี ุดมการณ์ในการทางาน คือประสิทธิภาพของคน ประสิทธิผลของงานคือ อุดมการณของงานพฒั นาชุมชน ลาดบั ท่ี ๑๐ นายอภยั จนั ทนจุลกะ ดารงตาแหน่ง ๑ ตุลาคม ๒๕๓๖-๓๐ กนั ยายน ๒๕๓๙ มอี ุดมการณ์ในการทางาน คือ ศรัทธาในหนา้ ที่ มวี นิ ยั ใหบ้ ริการ
ลาดับท่ี ๑๑ นายสมศักด์ิ ศรีวรรธนะ ดารงตาแหน่ง ๑ ตลุ าคม ๒๕๓๙-๓๐พฤษภาคม ๒๕๔๑ มีอุดมการณ์ในการทางาน คือ ยึดมน่ั ในหลกั การแนวทางการพฒั นาชุมชนท่ีถูกตอ้ ง ทางานอย่างเขา้ ถึง เป็ นที่ยอมรับศรัทธาของประชาชน ลาดบั ที่ ๑๒ นายไพโรจน์ พรหมส์น ดารงตาแหน่ง ๑ มถิ ุนายน ๒๕๔๑-๓๐ กมุ ภาพนั ธ์ ๒๕๔๑ มอี ดุ มการณ์ในการทางาน คือ วสิ ยั ทศั นก์ วา้ งไกล รวมใจแกป้ ัญหา สร้างศรัทธาประชาชน ลาดบั ที่ ๑๓ นายจเดจ็ อนิ ทร์สว่าง ดารงตาแหน่ง ๑ มนี าคม๒๕๔๓-๓๐กนั ยายน ๒๕๔๔ มอี ดุ มการณ์ในการทางาน คือ คิดดี ทาดี พดู ดี คบคนดี และไปในท่ีดี ระยะที่ ๔
เสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชน (พ. ศ. ๒๕๓๕-๒๕๔๔) กรมการพฒั นาชุมชนปรับตวั ในช่วงถ่ายโอนงานภารกิจตามพระราชบัญญัติกระจายอานาจสู่ ทอ้ งถ่ินในช่วงแผนพฒั นาเศรษฐกิจและสงั คมแห่งชาติฉบบั ท่ี ๗ การเผชิญวิกฤตเศรษฐกิจในช่วงแผนพฒั นา เศรษฐกิจและสงั คมแห่งชาติฉบบั ที่ ๘ และการปฏริ ูปราชการในช่วงแผนพฒั นาเศรษฐกิจและสงั คมแห่งชาติ ฉบบั ท่ี ๙ สู่ภารกิจการดาเนินงานพฒั นาชุมชนโดยเนน้ การเสริมสร้างความเขม้ แข็งของชุมชน พระราชกฤษฎีกา แบ่งส่วนราชการกรมการพฒั นาชุมชนกระทรวงมหาดไทย พ. ศ. ๒๕๓๕ กาหนด อานาจหนา้ ท่ีของกรมการพฒั นาชุมชนไว้ ๗ ประการ ๑. ฝึกอบรมและพฒั นาขา้ ราชการและลูกจา้ งในสงั กดั รวมท้งั ใหค้ วามร่วมมอื ในการฝึกอบรมด้าน การพฒั นาชุมชนแก่องคก์ รและหน่วยงานท้งั ในและต่างประเทศ ๒. ให้การศึกษาและพฒั นากระบวนการเรียนรู้ โดยเฉพาะการปลูกฝังวถิ ีประชาธิปไตยข้นั พ้ืนฐาน แก่ประชาชน โดยจดั ต้งั และพฒั นากลุ่มประชาชนเป้าหมาย เพ่ือใหส้ ามารถพ่ึงตนเองไดท้ ้งั ในดา้ นสงั คม เศรษฐกิจ และสิ่งแวดลอ้ มชุมชน รวมท้งั ประชาสมั พนั ธก์ ิจกรรม และการปฏิบตั ิงานของหน่วยงานในสงั กดั ๓. พฒั นาองคก์ ร อาสาสมคั ร และผนู้ าทอ้ งถ่ินในระดบั ตาบลและหมู่บา้ น ดว้ ยวธิ ีการพฒั นาชุมชน เพ่อื ใหเ้ ป็นพ้ืนฐานในการปกครองตามระบอบประชาธิปไตย ๔. พฒั นาระบบ รูปแบบ และวิธีการพฒั นา จดั ทาและประสานแผนงานของกรมฯ ใหเ้ ป็ นไปตาม นโยบายและแผนแม่บทของกระทรวง กากบั เร่งรัด ติดตามและประเมินผลการปฏิบตั ิงานแผนงานของ หน่วยงานในสังกดั รวมท้งั แผนพฒั นาตาบล ตลอดจนจดั ระบบขอ้ มูล และเป็ นศูนยข์ อ้ มูลเพื่อการพฒั นา ชนบทของประเทศ ๕. ใหค้ วามช่วยเหลอื ทางดา้ นวิชาการ และสนบั สนุนการปฏิบตั ิงานพฒั นาชุมชนในส่วนภูมิภาค ๖. ดาเนินการและประสานงานเกี่ยวกบั การพฒั นาชุมชนในส่วนภูมภิ าค ๗. ปฏบิ ตั ิราชการอ่ืนใดกต็ ามท่ีกฎหมายกาหนดใหเ้ ป็นหนา้ ท่ีกรมฯ
กรมการพฒั นาชุมชนได้ปรับวตั ถุประสงค์เป้าหมายและวิธีการดาเนินงานให้สอดคลอ้ งกับ แผนพฒั นาเศรษฐกิจและสงั คมแห่งชาติฉบบั ท่ี ๗ เพือ่ พฒั นาคุณภาพชีวติ และส่ิงแวดลอ้ มของประชาชนให้ ดีข้ึนโดยยดึ หลกั การมสี ่วนร่วมของประชาชนตามเกณฑค์ วามจาเป็นพ้นื ฐาน (จปฐ.) จาแนกเป็น ๙ งานคือ ๑. งานพฒั นาโครงสร้างพ้นื ฐานชนบท ๒. งานพฒั นาเศรษฐกิจชนบท ๓. งานพฒั นาชุมชนในเขตพ้นื ท่ีเป้าหมายเฉพาะ ๔. งานพฒั นาองคก์ ร ๕. งานพฒั นาเดก็ ๖. งานพฒั นาและส่งเสริมอาชีพสตรี ๗. งานพฒั นาเยาวชน ๘. งานส่งเสริมและเผยแพร่ ๙. งานอาสาพฒั นาชุมชน วิธีการในการดาเนินงานพฒั นาชุมชนกาหนดไว้ ๒ ประการคือ (๑) ให้การศึกษาและพฒั นา กระบวนการเรียนรู้ของประชาชน (๒) พฒั นาองคก์ รประชาชนและอาสาสมคั ร งานสาคญั ๆ ท่ีได้พฒั นาและริเร่ิมนี้ ในช่วงทศวรรษท่ี ๔ ได้แก่ ๑. โครงการแก้ไขปัญหาความยากจน (กข. คจ.) ซ่ึงมีวตั ถุประสงคเ์ พ่ือกระจายโอกาสให้ครัวเรือน ยากจนในชนบทมีเงินทุนในการประกอบอาชีพสามารถเพ่มิ รายไดใ้ หพ้ น้ เกณฑค์ วามจาเป็นข้นั พ้นื ฐานโดย การสนับสนุนเป็ นกองทุนของหมู่บา้ นๆละ ๒๘๐, 000 บาทรูปแบบการบริหารจัดการกองทุนเป็ นการ ส่งเสริมการบริหารจดั การโดยชุมชนอยา่ งแทจ้ ริง ๒. การส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้และตัดสินใจร่วมกันของชุมชนไดม้ ีการพฒั นารูปแบบการจดั กระบวนการชุมชนเพ่ือการเรียนรู้และตดั สินใจร่วมกนั ของชุมชนในลกั ษณะเวทีชาวบา้ นหรือเวทีประชาคม โดยการใชเ้ คร่ืองมือส่งเสริมแบบใหม่ๆ เช่น PLP AIC PRA FSC ALS ฯลฯ ทาให้พฒั นากรมีเคร่ืองมือมาก ข้ึนในการดาเนินงานกระบวนการเวทีประชาคม ๓. นาเทคโนโลยสี ารสนเทศ เข้ามาใช้ในการบริหารงานพฒั นาชุมชนการสนบั สนุนระบบขอ้ มลู เพ่ือ การพฒั นาชนบท และการส่งเสริมกิจกรรมชุมชน
๔. ยกระดับองค์กรชุมชนให้มีฐานะเป็ นนติ บิ ุคคล พฒั นาเครือข่ายองคก์ รและผนู้ าชุมชนยกระดบั องคก์ รชุมชนใหม้ ฐี านะเป็นนิติบุคคล ทาใหเ้ กิดชมรม สมาคม ซ่ึงจะเป็นกาลงั สาคญั ในการส่งเสริมกิจกรรม พฒั นาชุมชนแทนภาครัฐท่ีจะตอ้ งลดขนาดและกาลงั คนลงในอนาคต ๕. ปรับประสิทธิภาพการบริหารงานภายในโดยการดาเนินกิจกรรม ๕ ส การทาขอ้ ตกลงว่าดว้ ย ความร่วมมอื ในการขอรับการส่งเสริมเพื่อเขา้ สู่ระบบมาตรฐานสากลของประเทศไทยดา้ นการจดั การและ สมั ฤทธ์ิผลของงานภาครัฐกบั สถาบนั มาตรฐานสากลภาครัฐแห่งประเทศไทยสานักงาน ก. พ. การพฒั นา ตวั ช้ีวดั ตามระบบการบริหารแบบมงุ่ ผลสมั ฤทธ์ิการใชร้ ะบบการรายงานอิเลก็ ทรอนิกส์ ๖. ส่งเสริมการนาทุนทางสังคมในงานพฒั นาชุมชนออกมาใช้สนับสนุนนโยบายสาคญั ของรัฐบาล เช่น แผนปฏิบตั ิการเสริมสร้างความเขม้ แข็งของชุมชนเพอื่ เผชิญปัญหาวกิ ฤติ นโยบายกองทุนหมู่บา้ นและ ชุมชนเมือง นโยบายส่งเสริมเศรษฐกิจฐานราก วิสาหกิจชุมชน โครงการหน่ึงตาบลหน่ึงผลิตภณั ฑก์ าร แกป้ ัญหายาเสพติดโดยพลงั ชุมชน ฯลฯ
๗. การส่ งเสริมกระบวนการพัฒนาชุมชนในเขตเมือง โดยให้จังหวดั และอาเภอประสานงาน กับผูบ้ ริหารเทศบาลในการร่วมมือกนั จดั เก็บขอ้ มูลคุณภาพชีวิตของประชาชนในเขตเมืองแลกเปลี่ยน ประสบการณ์ในการส่งเสริมกิจกรรมพฒั นาชุมชนท่ีเหมาะสมสาหรับเขตเมือง ซ่ึงการประสานงานกนั ได้ กลาย เป็นทุนอนั สาคญั ในการร่วมมือกนั ส่งเสริมการจดั ต้งั กองทุนหมบู่ า้ นและชุมชนเมืองรวมท้งั โครงการ หน่ึงตาบลหน่ึงผลิตภณั ฑใ์ นระยะเวลาต่อมา ระยะน้ีกาหนดหนา้ ท่ีของพฒั นากรใหเ้ ป็นการสนบั สนุนความเขม้ แขง็ ในการบริหารการพฒั นาของ อบต. โดยไม่ก้าวก่ายอานาจหน้าท่ีที่ อบต. มีตามกฎหมายไม่ขดั ขวางการพฒั นาศกั ยภาพของอบต. และอยภู่ ายในขอบเขตหนา้ ท่ีความรับผดิ ชอบของกรมฯโดยมีหนา้ ท่ีจดั เก็บวเิ คราะห์ ประมวลผล เผยแพร่ ขอ้ มูลเพื่อการพฒั นา อบต. สนับสนุนการจดั ทาแผนพฒั นาตาบล ๕ ปี แผนพฒั นาตาบลประจาปี เป็ นที่ ปรึกษาดา้ นการวางแผนของ อบต. จดั ต้งั บริหาร และพฒั นาศูนยข์ อ้ มูลตาบล รวมท้งั การให้บริการขอ้ มลู ข่าวสารพฒั นาแก่หน่วยราชการองคก์ รเอกชนและบุคคลทวั่ ไป สรุป ระยะ ๔ เป็ นยุคท่ีสังคมมีการเปลี่ยนแปลงรวดเร็วมีความซบั ซ้อนโดยเฉพาะการปฏิรูประบบราชการ การกระจายอานาจสู่ทอ้ งถิ่น รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจกั รไทย พ. ศ. ๒๕๔๐ ซ่ึงส่งผลต่อการทางานของ กรมการพฒั นาชุมชนท้งั ส้ิน ระยะน้ีกรมการพฒั นาชุมชนจึงปรับระบบงานและการบริหารใหเ้ หมาะสม รวมท้งั กาหนดยทุ ธศาสตร์การพฒั นาชุมชนข้ึนเป็นคร้ังแรก และใหค้ วามสาคญั ต่อการพฒั นาความเข้มแข็ง ของชุมชนผสมผสานการส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชนในการพฒั นาประชาธิปไตยข้นั พ้ืนฐาน กบั การพฒั นาเศรษฐกิจปากท้องของประชาชนรวมท้ังการปลูกฝังจิตสานึก และความรับผิดชอบของ ครอบครัวและชุมชนในการพฒั นา ซ่ึงเป็นการพฒั นาดา้ นต่าง ๆ ของชุมชนใหเ้ กิดข้ึนพร้อม ๆกนั ในยคุ น้ีมอี ธิบดีกรมการพฒั นาชุมชน จานวน ๕ ท่าน นายสมติ ร กิจจาหาญ ดารงตาแหน่ง ๑ ตุลาคม ๒๕๓๔ – ๓๐ กนั ยายน ๒๕๓๖ ๒.นายอภยั จนั ทนจุลกะ ดารงตาแหน่ง ๑ ตุลาคม ๒๕๓๖-๓๐ กนั ยายน ๒๕๓๙ ๓.นายสมศกั ด์ิ ศรีวรรธนะดารงตาแหน่ง ๑ ตุลาคม ๒๕๓๙-๓๐พฤษภาคม ๒๕๔๑ ๔.นายไพโรจน์ พรหมสน์ ดารงตาแหน่ง ๑ มถิ ุนายน ๒๕๔๑-๓๐ กมุ ภาพนั ธ์ ๒๕๔๑ ๕.นายจเด็จ อินทร์สวา่ ง ดารงตาแหน่ง ๑ มีนาคม๒๕๔๓-๓๐กันยายน ๒๕๔๔ แต่ละท่านมีอุดมการณ์ในการทางานที่แตกต่างกันไป โดยส่วนใหญ่จะมุง่ เนน้ การยดึ มน่ั ในหลกั การแนวทางการพฒั นาชุมชน รวมใจแกป้ ัญหา ศรัทธาในหนา้ ที่ งานสาคญั ๆ ที่ไดพ้ ฒั นาและริเริ่มน้ี ในระยะที่ ๔ ไดแ้ ก่ ๑. โครงการแกไ้ ขปัญหาความยากจน (กข. คจ.)๒. การส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้และตดั สินใจร่วมกนั ของชุมชน ๓. นาเทคโนโลยสี ารสนเทศ เขา้ มา ใชใ้ นการบริหารงานพฒั นาชุมชน ๔. ยกระดบั องคก์ รชุมชนใหม้ ฐี านะเป็นนิติบุคคล ๕. ปรับประสิทธิภาพ การบริหารงานภายใน ๖. ส่งเสริมการนาทุนทางสังคมในงานพฒั นาชุมชนออกมาใช้สนบั สนุนนโยบาย สาคญั ของรัฐบาล ๗. การส่งเสริมกระบวนการพฒั นาชุมชนในเขตเมือง ในระยะน้ีกาหนดหนา้ ท่ีของพฒั นา กรใหเ้ ป็นการสนบั สนุนความเขม้ แขง็ ในการบริหารการพฒั นาของอบต.
ยุคท่ีห้า สู่ยคุ ใหม่ของระบบราชการ (พศ. ๒๕๕๕-๒๕๕๕) ในยุคน้ี กรมการพัฒนาชุมชนได้ปรับกิจกรรมโดยมียุทธศาสตร์ เป็ นตัวกาหนดทิศทาง รวมท้งั นาระบบบริหารจดั การยคุ ใหม่เขา้ มาจดั ระบบความคิดปรับระบบงานกากบั การบริหารงานพฒั นา ระบบการบริหารและพฒั นาทรัพยากรบุคคลและออกแบบระบบการวดั ประเมินผลท้งั หมดให้เป็ นไป เพื่อการเป็ น “ องค์กรราชการท่ีมีสมรรถนะสูงของระบบการบริหารราชการยุคใหม่” ในยุคน้ีมีอธิบดี กรมการพฒั นาชุมชนผมู้ บี ทบาทกาหนดทิศทางสร้างสรรคง์ านพฒั นาชุมชน จานวน ๑๑ ท่าน ไดแ้ ก่ ลาดบั ท่ี ๑๔ นายสุจริต ปัจฉิมนนั ท์ ดารงตาแหน่ง ๑ ตุลาคม ๒๕๔๔ – ๓๐กนั ยายน ๒๕๔๕ มอี ุดมการณ์ในการทางาน คือ การพฒั นาจะไม่มที างสาเร็จ ถา้ ไมพ่ ฒั นาคน ลาดบั ที่ ๑๕ นายสุจริต นันทมนตรี ดารงตาแหน่ง ๑ตลุ าคม ๒๕๔๕-๔ มถิ ุนายน ๒๕๔๖ มอี ุดมการณ์ในการทางาน คือ ขอใหค้ วามสาเร็จจงเป็นของประชาชนและแผน่ ดิน ลาดบั ท่ี ๑๖ นายชัยสิทธ์ิ โหตระกติ ย์ ดารงตาแหน่ง ๕ มถิ ุนายน ๒๕๔๖-๓๐ กนั ยายน ๒๕๔๘ มอี ุดมการณ์ในการทางาน คือ สงั คมหนา้ อยเู่ ชิดชูคุณธรรม
ลาดบั ที่ ๑๗ ดร.นิรันดร์ จงวุฒเิ วศน์ ดารงตาแหน่ง ๑ตลุ าคม ๒๕๔๘-๓๐กนั ยายน ๒๕๕๐ มอี ุดมการณ์ในการทางาน คือ เปล่ยี นแปลงเพอื่ ใหด้ ีข้ึน ลาดบั ท่ี ๑๘ นาย ปรีชา บุตรศรี ดารงตาแหน่ง ๑ตลุ าคม ๒๕๕๐ -๑๙ ตุลาคม ๒๕๕๑ มอี ุดมการณ์ในการทางาน คือ บา้ นเมืองน่าอยู่ ชุมชนเข็มแข็ง ลาดบั ท่ี ๑๙ นายชุมพร พลรักษ์ ดารงตาแหน่ง ๒๐ ตลุ าคม ๒๕๕๑-๑๕มนี าคม ๒๕๕๒ มอี ดุ มการณ์ในการทางาน คือ เขา้ ใจเขา้ ถึง คือ หวั ใจของการพฒั นา ลาดบั ท่ี ๒๐ นาย ไพรัตน์ สกลพนั ธ์ุ ดารงตาแหน่ง ๑๖ มนี าคม ๒๕๕๒-๓๐ กนั ยายน ๒๕๕๒ มอี ุดมการณ์ในการทางาน คือ ถูกตอ้ ง กวา้ งไกล ทนั ใจประชาชน
ลาดบั ท่ี ๒๑ นาย มงคล สุระสัจจะ ดารงตาแหน่ง๑ ตุลาคม ๒๕๕๒ -๒๙ เมษายน ๒๕๕๓ มอี ดุ มการณ์ในการทางาน คือ ธรรมาภิบาล ประสานสามคั คี วถิ พี อเพียง ลาดบั ที่ ๒๒ นายวเิ ชียร ชวลติ ดารงตาแหน่ง ๓ พฤษภาคม ๒๕๕๓ - ๑๕ธันวาคม ๒๕๕๓ มอี ดุ มการณ์ในการทางาน คือ ความสาเร็จของงานพฒั นาชุมชนคือ การทางานให้ประชาชนมีความสุข ลาดบั ที่ ๒๓ นายสุรชัย ขนั อาสา ดารงตาแหน่ง ๒๐ ธันวาคม๒๕๕๓- ๒๔ พฤจกิ ายน ๒๕๕๔ มอี ุดมการณ์ในการทางาน คือ พฒั นาคือสร้างสรรค์ สร้างสุขทวั่ แผน่ ดิน ลาดบั ที่ ๒๔ นายประภาส บุญยนิ ดี ดารงตาแหน่ง ๒๔ พฤจกิ ายน ๒๕๕๔-๓๐กนั ยายน-๒๕๕๕ มอี ดุ มการณ์ในการทางาน คือ การส่งเสริมชุมชนแห่งความเก้ือกลู คานิยม - งานทุกงานเรี ยบเรี ยงกระบวนการให้ง่ายกระบวนการ ให้เป็ นไปตามความจริ ง ถูกต้อง และทางานอยา่ งมคี วามสุข บนความพากเพียรจะเกิดประโยชนต์ ่อเราและประเทศชาติ
ระยะที่ ๕ สู่ยคุ ใหม่ของระบบราชการ (พ. ศ. ๒๕๔๕-๒๕๕๔) เมื่อก้าวสู่ปี ท่ี ๔๑ ของกรมการพฒั นาชุมชนเป็ นช่วงที่ต้องมีการเปลี่ยนผ่านอันเนื่องมาจาก การปฏิรูประบบราชการ เป็ นการทางานในรูปแบบใหม่ของงานพฒั นาชุมชน กรมการพฒั นาชุมชน ไดพ้ ฒั นายกระดบั งานจากพ้ืนฐานความรู้เดิมใหส้ อดคลอ้ งกบั สถานการณ์ของการปฏิรูประบบราชการการ กระจายอานาจใหแ้ ก่องคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถ่ิน เป้าหมายยทุ ธศาสตร์ชาติ ปัญหา และทิศทางของชุมชน มากยง่ิ ข้ึน ในทศวรรษน้ีได้ปรับบทบาทภารกิจกรมการพฒั นาชุมชน จานวน ๒ คร้ัง คือพ. ศ. ๒๕๔๕ และ พ.ศ. ๒๕๕๒ และไดป้ รับเปล่ียนกิจกรรมโดยมยี ทุ ธศาสตร์เป็ นตวั กาหนดทิศทางของการดาเนินงาน พฒั นาชุมชน รวมท้งั นาระบบบริหารจัดการยุคใหม่เขา้ มาจดั ระบบความคิด ปรับระบบงานกากับการ บริหารงาน พฒั นาระบบการบริหาร และพฒั นาทรัพยากรบุคคล และออกแบบระบบการวดั ประเมินผล ท้งั หมดใหเ้ ป็นไปเพื่อการเป็น“ องคก์ รราชการท่ีมสี มรรถนะสูง” ของระบบการบริหารราชการยคุ ใหม่ การปรับบทบาทภารกจิ ของกรมการพฒั นาชุมชนมี ดังนี้ คร้ังท่ี ๑ กฎกระทรวงแบ่งส่วนราชการกรมการพฒั นาชุมชนกระทรวงมหาดไทย พ. ศ. ๒๕๔๕ กาหนดอานาจหนา้ ท่ีของกรมการพฒั นาชุมชนไว้ ดงั น้ี (๑) กาหนดนโยบาย แนวทาง แผน และมาตรการในการพฒั นาชุมชนเพื่อเสริมสร้างศกั ยภาพ และ ความเขม้ แขง็ ของชุมชน (๒) ส่งเสริมศกั ยภาพของประชาชน ผนู้ าชุมชน องคก์ รชุมชน และเครือข่ายองคก์ รชุมชน เพ่ือใหม้ ีส่วนร่วม และเกิดการรวมกลมุ่ ใหส้ ามารถพ่งึ ตนเองได้ (๓) ส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้ของประชาชน ผนู้ าชุมชน องคก์ รชุมชน และเครือข่ายองคก์ รชุมชน เพือ่ พฒั นา และแกไ้ ขปัญหาของชุมชน (๔) ส่งเสริมวสิ าหกิจชุมชน เพื่อเสริมสร้างเศรษฐกิจชุมชน
(๕) พฒั นาระบบขอ้ มูลเพ่ือการวางแผน และการบริหารการพฒั นา (๖) วิจยั และพฒั นารูปแบบ และวิธีการพฒั นาชุมชนใหส้ อดคลอ้ งกบั ความตอ้ งการของประชาชน และสภาพพ้นื ที่ (๗) ฝึ กอบรม และพฒั นารูปแบบ และพฒั นาผนู้ าชุมชน องคก์ รชุมชน และเครือข่ายองคก์ รชุมชน รวมท้งั ใหค้ วามร่วมมือในการฝึกอบรมดา้ นการพฒั นาชุมชน (๘) ปฏิบัติราชการอื่นใดตามท่ีกฎหมายกาหนดให้เป็ นอานาจหน้าท่ี หรื อตามท่ี กระทรวง หรือคณะรัฐมนตรีมอบหมาย คร้ังท่ี ๒ กฎกระทรวงแบ่งส่วนราชการกรมการพัฒนาชุมชนกระทรวงมหาดไทย พ. ศ. ๒๕๕๒ ใหก้ รมการพฒั นาชุมชน มีภารกิจเก่ียวกบั การส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้และการมีส่วนร่วมของประชาชน ส่งเสริมและพฒั นาเศรษฐกิจชุมชนฐานรากให้มีความมน่ั คง มีเสถียรภาพ โดยสนับสนุนให้มีการจดั ทา และใชป้ ระโยชน์ขอ้ มูลสารสนเทศ ศึกษา วิเคราะห์ วิจยั จดั ทายทุ ธศาสตร์ชุมชน ตลอดจนการฝึ กอบรม และพฒั นาบุคลากรที่เก่ียวขอ้ งในการพฒั นาชุมชน เพ่ือใหเ้ ป็นชุมชนเขม้ แขง็ อยา่ งยง่ั ยนื โดยมีอานาจหนา้ ท่ี ดงั ต่อไปน้ี (๑) กาหนดนโยบาย ยุทธศาสตร์ มาตรการ และแนวทางในการพฒั นาชุมชนระดบั ชาติเพ่ือให้ หน่วยงานของรัฐ เอกชน และผูม้ ีส่วนเก่ียวขอ้ งด้านการพฒั นาชุมชน ได้ใช้เป็ นกรอบแนวทางในการ ดาเนินงานเพ่อื เสริมสร้างความสามารถ และความเขม้ แขง็ ของชุมชน (๒) จดั ทาและพฒั นาระบบมาตรฐานการพฒั นาชุมชน เพื่อใช้เป็ นเครื่องมือสาหรับประเมิน ความกา้ วหนา้ และมาตรฐานการพฒั นาของชุมชน (๓) พฒั นาระบบและกลไกในการส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้ การจัดการความรู้ การอาชีพ การออม และการบริหารจดั การเงินทุนของชุมชน เพือ่ เสริมสร้างขีดความสามารถของประชาชนชุมชนผนู้ า ชุมชนกลุ่มองคก์ ารชุมชนและเครือข่ายองคก์ ารชุมชน (๔) สนับสนุ นและพัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศชุ มชนส่ งเสริ มการใช้ประโยชน์ และการใหบ้ ริการขอ้ มลู สารสนเทศชุมชน เพอ่ื ใชใ้ นการวางแผนบริหารการพฒั นาไดอ้ ยา่ งมปี ระสิทธิภาพ (๕) ศึกษา วิเคราะห์ วิจัย พัฒนาและสร้ างองค์ความรู้ เพ่ือใช้ในงานพัฒนา ชุมชน และการจดั ทายทุ ธศาสตร์ชุมชน ๖.ฝึ กอบรมและพฒั นาขา้ ราชการ เจา้ หน้าที่ ที่เกี่ยวขอ้ ง ผนู้ าชุมชน องค์การชุมชน และเครือข่าย องคก์ ารชุมชนใหม้ ีความรู้ ทกั ษะ ทศั นคติ และสมรรถนะในการทางาน รวมท้งั ใหค้ วามร่วมมือทางวิชาการ ดา้ นการพฒั นาชุมชนแก่หน่วยงานท้งั ในประเทศ และต่างประเทศ
(๗) ปฏิบตั ิราชการอื่นใดตามท่ีกฎหมายกาหนดใหเ้ ป็นอานาจหนา้ ที่ของกรม หรือตามที่กระทรวง หรือคณะรัฐมนตรีมอบหมาย ระยะน้ีกาหนดให้“ พฒั นากร” มีหนา้ ที่ ในการศึกษา วิจยั เพ่ือคน้ หาศกั ยภาพของชุมชนส่งเสริม สนับสนุน และพฒั นากระบวนการเรียนรู้ และการมีส่วนร่วมของประชาชน ให้การศึกษาประสานงาน และแสวงหาความร่ วมมือ ให้คาปรึ กษา รวมท้ังติดตาม และประเมินการทางานของชุมชน คือเป็ น “ นักยทุ ธศาสตร์ชุมชน” คือ รู้ว่าจะตอ้ งทาอะไร เพ่ือใหช้ ุมชนเขม้ แข็ง ประชาชนพ่ึงตนเองได้ ครอบครัว มีความสุข ตอ้ งรู้จกั วิเคราะห์สถานการณ์ภายใน / ภายนอกชุมชน เพ่ือกาหนดเป้าหมาย วิธีการแผนงาน / โครงการ / กิจกรรม ผลกั ดนั ขบั เคลือ่ นใหเ้ ป็นไปตามตวั ช้ีวดั พร้อมรับมือกบั การเปลี่ยนแปลง ในทศวรรษน้ี กรมการพฒั นาชุมชน มีงานใหม่ๆ เกิดข้ึนมากมายจนยากที่จะบนั ทึกไวไ้ ดท้ ้งั หมด หลายเร่ืองเริ่มต้นพฒั นาข้ึนมาในระยะน้ี ซ่ึงเป็ นผลมาจากการพฒั นาระบบราชการ และความกา้ วหนา้ ของเทคโนโลยี งานสาคญั ๆ ทเี่ กดิ ขึน้ ในระยะนี้ ได้แก่ ๑. ส่งเสริมการจดั ต้งั ศูนย์ประสานงานเครือข่ายองค์กรชุมชนประจาตาบล (ศอช. ต) ซ่ึงเป็ นการพฒั นารูปแบบเครือข่ายองค์การชุมชน โดยการจดั ต้งั ศูนยป์ ระสานงานเครือข่ายองคก์ รชุมชน ประจาตาบล (ศอช.ต) ทั่วประเทศ เพ่ือเป็ นศูนยก์ ลางในการประสานการทางานขององค์กรชุมชน และเครือข่าย ใหส้ ามารถช่วยเหลอื เก้ือกลู กนั และกนั โดยศนู ยป์ ระสานงานองคก์ ารชุมชน (ศอช.) เป็นกลไก หลกั ในการบูรณาการแผนชุมชนระดบั ตาบล สู่แผนพฒั นาทอ้ งถน่ิ แผนพฒั นาอาเภอ และแผนพฒั นา จงั หวดั ๒. พัฒนาระบบมาตรฐานงานชุมชน (มชช.) ให้เป็ นเคร่ื องมือส่งเสริ มการพัฒนาของผูน้ า องคก์ รชุมชนเครือข่าย องคก์ รชุมชน และชุมชน ใหม้ ีความเขม้ แข็งอยา่ งยงั่ ยนื ดว้ ยการเรียนรู้ ตนเองกาหนด ทิศทางการพฒั นา ดาเนินการพฒั นา และประเมินผลความสาเร็จดว้ ยตนเอง ระบบน้ีสามารถทาใหช้ ุมชน ตอบสังคมไดว้ ่า“ การเป็ นคนคุณภาพ และชุมชนเขม้ แข็งเป็ นอยา่ งไร” และถือเป็ น “ เครื่องช้ีวดั การพฒั นา แบบบูรณาการท่ีมีชุมชนเป็นศนู ยก์ ลาง”
๓. พัฒนางานส่ งเสริมระบบบริหารจัดการชุมชน โดยการจดั ทาแผนชุมชน ซ่ึงเป็ นเครื่องมือ สะทอ้ นปัญหา/ความตอ้ งการของชุมชน จากล่างข้ึนสู่บน ส่งเสริมใหห้ มู่บา้ นใชแ้ ผนชุมชน เป็ นเคร่ืองมือ เสริมสร้างขีดความสามารถของชุมชน และแกไ้ ขปัญหาของชุมชน พฒั นากลไกสนบั สนุนกระบวนการ บูรณาการแผนชุมชนระดับตาบล / อาเภอ / จังหวัดเพื่อเชื่อมโยงแผนชุมชนกับแผนพัฒนาท้องถ่ิน แผนพฒั นาอาเภอ และแผนพฒั นาจงั หวดั และพฒั นาระบบรับรองมาตรฐานแผนชุมชนเพ่อื ใหแ้ ผนชุมชน มีคุณภาพได้มาตรฐานไดร้ ับการยอมรับ และนาไปใช้ประโยชน์อย่างจริงจังท่ีมีเอกลักษณ์แตกต่าง จากหน่วยงานอื่นท่ีเนน้ การจดั ทาแผนชุมชนระดบั หมูบ่ า้ นในขณะที่หน่วยงานอ่นื จะเนน้ ที่ระดบั ตาบล ๔. พัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ โดยการนา Pocket PC และพฒั นาโปรแกรม Ayuda forecaster มาใชก้ บั การจดั เก็บขอ้ มูล จปฐ. กชช.๒ ค การพฒั นาเวปไซดบ์ ริการ การพฒั นาระบบ e-Mail, e-Learning, EPMS, e-สารบรรณ, GIS, e-Reporting รวมถึง ระบบสานักงานอตั โนมตั ิ (OA) และล่าสุด Community Portal ในช่ือ moobanthai. com ๕. ส่งเสริมให้วเิ คราะห์ข้อมลู และนาเสนอข้อมูลชุมชนในลกั ษณะสารสนเทศชุมชน ๖.ดาเนินการโครงการแก้ปัญหาความยากจนแบบเข้าถึงทุกครัวเรือน เพื่อยกระดบั รายไดค้ รัวเรือน ยากจนให้พ้นเส้นความยากจนใช้วิธีประสาน ๒ พลัง คือ ใช้พลังจากภายในชุมชน (Inside-out) โดยกระบวนการแผนชุมชน และพลงั จากภายนอก (Outside-in) โดยแกใ้ นระดบั ครัวเรือนแบบเขา้ ถึงทุก ครัวเรือนโดย ใชห้ ลกั ๔ ท คือ ๑) ทศั นะ ๒) ทรัพยากร ๓) ทกั ษะ ๔) ทางออก คือการปรับทศั นคติของคน จนใหพ้ ร้อมท่ีจะแกป้ ัญหาความจนดว้ ยตนเองบนพ้นื ฐานทรัพยากร และทกั ษะที่มี และส่วนราชการร่วมหา ทางออกจากความจนโดยการปรับวิถีการดารงชีวิตเพื่อให้ฝึ กทักษะในการประกอบอาชีพ สนับสนุน ทรัพยากร ส่งผลให้ครัวเรือนมี ๓ พ คือการดารงชีวิตตามแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง มีความสุขพอเพียง และมีครอบครัวอบอุน่ พอเพยี ง
๗. การพฒั นาโมเดลการฝึ กอบรม ในชื่อ PLACE Model มาใชก้ บั การฝึกอบรมบุคลากรทุกระดบั ๘. กาหนดค่านิยมองค์กร ที่ส่งเสริมให้ขา้ ราชการในหน่วยงานถือปฏิบัติ มีการกาหนดตวั ช้ีวดั และระดบั พฤติกรรม ๓ ระดบั คือ ระดบั พฤติกรรมพ้ืนฐาน ระดบั ทา้ ทาย และระดบั พฤติกรรม ระดบั ตน้ แบบ ค่านิยมองค์กร ท่ีส่งเสริ มให้บุคลากรในหน่วยงานไดป้ ฏิบัติตามค่านิยมที่พึงประสงค์ ประกอบดว้ ย A: Appreciation: ช่ื น ช ม B: Bravery: ก ล้า หา ญ C: Creativity: สร้ า ง สร ร ค์ D: Discovery: ใฝ่ รู้ E: Empathy: เขา้ ใจ F: Facilitation: เอ้อื อานวยต่อมาเพิม่ อกี ๒ ตวั คือ S: Simplify P: Practical ๙. พัฒนารูปแบบศูนย์ส่ งเสริมการเรียนรู้ขององค์กรชุมชนและองค์กรท้องถ่ินในลักษณะ e-learning และออกแบบงานส่งเสริมการจดั การความรู้ของชุมชนอยา่ งเป็นกิจลกั ษณะในรูปของศนู ยเ์ รียนรู้ ชุมชน โดยส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้ การสืบทอดภูมิปัญญาทอ้ งถิ่นเพื่อพฒั นาคุณภาพชีวิตและยกระดบั รายไดข้ องประชาชน ๑๐. ขับเคล่ือนปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ให้เป็ นรากฐานของชีวิตประชาชนในหมู่บ้าน โดย ใชต้ ัวช้ีวดั ๖x๒ เป็ นเป้าหมาย “ ลดรายจ่ายเพิ่มรายได้ออมเรียนรู้อนุรักษเ์ อ้ืออารีต่อกนั ” ในปี ๒๕๕๔ ดาเนินโครงการ “ หมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงต้นแบบเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจา้ อยู่หัว เน่ืองในพธิ ีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา ๗ รอบ ๕ ธนั วาคม ๒๕๕๔ จานวน ๑, ๗๕๖ หมบู่ า้ นผลสาเร็จ ท่ีเป็นรูปธรรมคือ “ ไมม่ ี ยาเสพติด ไม่มีคนจน ไม่มีหน้ีนอกระบบ มีการจดั สวสั ดิการชุมชน มีการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ และส่ิงแวดลอ้ ม และมีการยกระดบั การประเมนิ ผลการพฒั นาเชิงคุณภาพดว้ ยการวดั ความสุขมวลรวมชุมชน (Gross Village Happiness: GVH) ๑๑. พฒั นากจิ กรรมส่งเสริมการพฒั นากลุ่มออมทรัพย์เพ่ือการผลติ หลายกิจกรรม ไดแ้ ก่ การตรวจ สุขภาพกลุ่มออมทรัพยเ์ พ่ือการผลิต การจัดต้ังโรงเรี ยนกลุ่มออมทรัพยฯ์ และการพัฒนาผูเ้ ชี่ยวชาญ กลุ่มออมทรัพย์ ฯลฯ
๑๒. ส่งเสริมการจดั ต้งั สถาบันการจัดการเงินทุนชุมชน ซ่ึงเป็ นองคก์ รการเงินชุมชนของพ่ีน้อง ประชาชนในหมู่บา้ นชุมชน ท่ีจดั ต้งั ข้ึนมาเพ่ือบูรณาการดา้ นการบริหารจดั การเงินทุนในหมู่บ้านชุมชน เพื่อใหเ้ กิดเอกภาพ สามารถใชเ้ งินทุนอยา่ งคุม้ ค่าเกิดประโยชนส์ ูงสุดมปี ระสิทธิภาพในการแกไ้ ขปัญหาของ หมูบ่ า้ นชุมชน ๑๓. พัฒนาแนวความคิดการพฒั นาทุนชุมชน เพ่ือใชใ้ นการวิเคราะห์สถานการณ์ และการพฒั นา ข อ ง ชุ ม ช น โ ด ย ทุ น ชุ ม ช น ป ร ะ ก อ บ ด้ ว ย ทุ น ก า ย ภ า พ ทุ น ม นุ ษ ย์ทุ น สั ง ค ม ทุ น ก า ร เ งิ น และทุนทรัพยากรธรรมชาติ ๑๔. พัฒนาแนวความคิด “ ส่ งเสริมชุมชนแห่งความเกื้อกูล” เพื่อก่อให้เกิดความเข้มแข็ง และพ่ึงตนเองไดอ้ ย่างยง่ั ยืนของชุมชน งานที่ดาเนินการไดแ้ ก่ ร้ือฟ้ื นวฒั นธรรมลงแขก ส่งเสริมระบบ การเก้ือกูลคนทุกขย์ ากในชุมชน โดยการจดั ใหม้ ีกิจกรรมช่วยเหลือคนยากจน คนดอ้ ยโอกาส และคนชรา โดยกองทุนชุมชนจดั ใหม้ กี ารบริหารจดั การทรัพยากรของชุมชน เช่น ครัวชุมชน คลงั ชุมชนตูเ้ ยน็ ธรรมชาติ ส่งเสริมการผลิตในระบบเศรษฐกิจชุมชนเก้ือกูล เพื่อลดตน้ ทุนการผลิต และปลูกฝังจิตสานึกสาธารณะ ใหค้ นในชุมชนมีความรับผดิ ชอบต่อตนเอง และชุมชนปลูกฝังใหป้ ระชาชนมีความรักภกั ดีในชาติศาสนา และพระมหากษตั ริย์ สรุป ระยะที่๕ ในยุคน้ี กรมการพัฒนาชุมชนได้ปรับกิจกรรมโดยมียุทธศาสตร์ เป็ นตัวกาหนดทิศทาง รวมท้งั นาระบบบริหารจดั การยุคใหม่เขา้ มาจดั ระบบความคิดปรับระบบงานกากบั การบริหารงานพฒั นา ระบบการบริ หารและพฒั นาทรัพยากรบุคคลและออกแบบระบบการวดั ประเมินผลท้ังหมดให้เป็ น ไปเพื่อการเป็ น “ องค์กรราชการท่ีมีสมรรถนะสูงของระบบการบริหารราชการยุคใหม่” ในช่วงปี พศ. ๒๕๕๕-๒๕๕๕ ในยคุ น้ีมีอธิบดีกรมการพฒั นาชุมชน จานวน ๑๑ ท่าน ไดแ้ ก่ ๑.นายสุจริต ปัจฉิมนนั ท์ ดารงตาแหน่ง ๑ ตุลาคม ๒๕๔๔ – ๓๐กนั ยายน ๒๕๔๕ ๒.นายสุจริต นนั ทมนตรี ดารงตาแหน่ง ๑ตุลาคม ๒๕๔๕-๔ มิถุนายน ๒๕๔๖ ๓.นายชยั สิทธ์ิ โหตระกิตย์ดารงตาแหน่ง ๕ มิถุนายน ๒๕๔๖-๓๐ กนั ยายน ๒๕๔๘ ๔. ดร.นิ รันดร์ จงวุฒิเวศน์ ดารงตาแหน่ ง ๑ตุลาคม ๒๕๔๘-๓๐กันยายน ๒๕๕๐ ๕.นาย ปรี ชา บุตรศรี ดารงตาแหน่ง ๑ตุลาคม ๒๕๕๐ -๑๙ ตุลาคม ๒๕๕๑ ๖.นายชุมพร พลรักษ์ ดารงตาแหน่ง ๒๐ ตุลาคม ๒๕๕๑-๑๕มีนาคม ๒๕๕๒ ๗. นาย ไพรัตน์ สกลพนั ธุ์ ดารงตาแหน่ง ๑๖ มีนาคม ๒๕๕๒- ๓๐ กนั ยายน ๒๕๕๒ ๘.นาย มงคล สุระสัจจะ ดารงตาแหน่ง๑ ตุลาคม ๒๕๕๒ - ๒๙ เมษายน ๒๕๕๓ ๙. นายวเิ ชียร ชวลิต ดารงตาแหน่ง ๓ พฤษภาคม ๒๕๕๓ - ๑๕ธนั วาคม ๒๕๕๓ ๑๐. นายสุรชยั ขนั อาสา ดารงตาแหน่ง ๒๐ ธนั วาคม๒๕๕๓ -๒๔ พฤจิกายน ๒๕๕๔ ๑๑นายประภาส บุญยนิ ดี ดารงตาแหน่ง ๒๔ พฤจิกายน ๒๕๕๔-๓๐กนั ยายน๒๕๕๕แต่ละท่านมีอดุ มการณ์ในการทางานที่แตกต่าง กนั ไป โดยส่วนใหญ่จะม่งุ เนน้ ใหป้ ระชาชนมกี ารเปลี่ยนแปลงที่ดีข้ึน ชุมชนเกิดความเขม้ แขง็ ส่งเสริมชุมชน
แห่งความเก้ือกูล การปรับบทบาทภารกิจของกรมการพฒั นาชุมชนมี ดงั น้ี คร้ังท่ี ๑ กฎกระทรวงแบ่งส่วน ราชการกรมการพฒั นาชุมชนกระทรวงมหาดไทย พ. ศ. ๒๕๔๕ คร้ังที่ ๒ กฎกระทรวงแบ่งส่วนราชการ กรมการพฒั นาชุมชนกระทรวงมหาดไทย พ. ศ. ๒๕๕๒ ในทศวรรษน้ี กรมการพฒั นาชุมชน มีงานใหม่ๆ เกิดข้ึนมากมายจนยากที่จะบนั ทึกไวไ้ ดท้ ้งั หมดหลายเรื่องเร่ิมตน้ พฒั นาข้นึ มาในระยะน้ี ซ่ึงเป็นผลมาจากการ พฒั นาระบบราชการ และความกา้ วหนา้ ของเทคโนโลยีงานสาคญั ๆ ท่ีเกิดข้ึนในระยะน้ี ไดแ้ ก่ ๑. ส่งเสริม การจดั ต้งั ศูนยป์ ระสานงานเครือข่ายองค์กรชุมชนประจาตาบล (ศอช. ต)๒. พฒั นาระบบมาตรฐานงาน ชุมชน (มชช.)๓. พฒั นางานส่งเสริมระบบบริหารจดั การชุมชน ๔. พฒั นาระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศ ๕. ส่งเสริมใหว้ ิเคราะห์ขอ้ มูลและนาเสนอขอ้ มูลชุมชนในลกั ษณะสารสนเทศชุมชน ๖.ดาเนินการโครงการ แกป้ ัญหาความยากจนแบบเขา้ ถงึ ทุกครัวเรือน ๗. การพฒั นาโมเดลการฝึกอบร๘. กาหนดค่านิยมองคก์ ร ๙. พฒั นารูปแบบศนู ยส์ ่งเสริมการเรียนรู้ขององคก์ รชุมชนและองคก์ รทอ้ งถิ่นในลกั ษณะ ๑๐. ขบั เคลื่อนปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ๑๑. พฒั นากิจกรรมส่งเสริมการพฒั นากลุ่มออมทรัพยเ์ พ่ือการผลิต ๑๒. ส่งเสริมการจัดต้งั สถาบันการจดั การเงินทุนชุมชน ๑๓. พฒั นาแนวความคิดการพฒั นาทุนชุมชน ๑๔. พฒั นาแนวความคิด “ ส่งเสริมชุมชนแห่งความเก้ือกลู ”
ยคุ ที่ หก (พศ. ๒๕๕๕-ปัจจบุ ัน) ลาดบั ที่ ๒๕ นายขวญั ชัย วงศ์นิตกิ ร ดารงตาแหน่ง ๑ ตลุ าคม ๒๕๕๕ –๓๐ กนั ยายน ๒๕๕๘ 8 ลาดบั ท่ี ๒๖ นายไมตรี อนิ ทุสุต ดารงตาแหน่ง ๑ ตุลาคม ๒๕๕๘ -๑ตลุ าคม ๒๕๕๘ ลาดบั ที่ ๒๗ นายอภิชาติ โตดลิ กเวชช์ ดารงตาแหน่ง ๒ ตลุ าคม๒๕๕๘-๓๐กนั ยายน๒๕๕๙ ลาดบั ที่ ๒๘ นายนิสิต จนั ทร์สมวงศ์ ดารงตาแหน่ง ๑ ตลุ าคม ๒๕๖๑ – ปัจจบุ ัน อธบิ ดกี รมการพฒั นาชุมชน วสิ ัยทศั น์ เศรษฐกิจรากมนั่ คงและชุมชนพ่งึ ตนเองไดภ้ ายในปี 2564 แนวคดิ ประเทศ4.0 คือ การสร้างความ เขม้ แขง็ จากภายใน เมอื่ ภายในเขม้ แขง็ แลว้ ตอ้ งเช่ือมโยงเศรษฐกิจโลก ซ่ึงจะนาพาประเทศไทยสู่ความมนั่ คง มง่ั คงั่ และยง่ั ยนื ได้ สงั คมไทยเป็นสงั คมท่ีท่ีมคี วามหวงั มคี วามสุขและความสมานฉนั ทไ์ ดอ้ ยา่ งแทจ้ ริง
Search