Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ปฏิบัติงานเครือข่ายคอมพิวเตอร์

ปฏิบัติงานเครือข่ายคอมพิวเตอร์

Published by panyaponphrandkaew2545, 2021-08-23 07:45:31

Description: ปฏิบัติงานเครือข่ายคอมพิวเตอร์

Search

Read the Text Version

หน่วยที่ 1 หลกั การทํางานและองค์ประกอบของระบบเครือข่าย ความหมายและความสําคญั ของระบบเครือข่ายคอมพวิ เตอร์ เครือข่าย (Network) หมายถึง กลุ่มของคอมพิวเตอร์หรืออุปกรณ์สื่อสารชนิดตา่ งๆ ที่นาํ มาเชื่อมต่อกนั เพ่ือให้ ผใู้ ชใ้ นเครือขา่ ยสามารถติดต่อสื่อสาร แลกเปล่ียนขอ้ มูล และใชอ้ ปุ กรณ์ตา่ งๆ ร่วมกนั ในเครือขา่ ยได้ ตวั อยา่ งของ เครือข่าย ไดแ้ ก่ เครือขา่ ยของโทรศพั ท์ เครือขา่ ยดาวเทียม เครือขา่ ยวิทยุ หรือเครือข่ายคอมพวิ เตอร์ โดยช่องทางท่ี ติดตอ่ สื่อสารกนั เรียกวา่ ช่องสญั ญาณ(Communication Channel) ระบบเครือข่ายคอมพวิ เตอร์ (Computer Network) หมายถึง การเชื่อมตอ่ คอมพวิ เตอร์ต้งั แต่ 2 เคร่ืองข้ึนไปเขา้ ดว้ ยกนั ดว้ ยสายเคเบิล หรือสื่ออ่ืนๆ ทาํ ใหค้ อมพวิ เตอร์สามารถรับส่งขอ้ มูลแก่กนั และกนั ได้ ในกรณีท่ีเป็นการ เช่ือมตอ่ ระหวา่ งเครื่องคอมพิวเตอร์หลายๆ เคร่ืองเขา้ กบั เครื่องคอมพวิ เตอร์ขนาดใหญท่ ี่เป็นศนู ยก์ ลางเรียกวา่ โฮสต์ (Host) และเรียกคอมพิวเตอร์ขนาดเลก็ ท่ีเขา้ มาเชื่อมต่อวา่ ไคลเอนต์ (Client) ระบบเครือข่าย(Network) จะเชื่อมโยง คอมพิวเตอร์เขา้ ดว้ ยกนั เพื่อการติดต่อสื่อสาร ซ่ึงจะสามารถส่งขอ้ มูลภายในอาคารหรือขา้ มระหวา่ งเมืองไปจนถึง ซึกหน่ึงของโลก ซ่ึงขอ้ มูลตา่ งๆ อาจเป็นท้งั ขอ้ ความ รูป เสียง ก่อใหเ้ กิดความสะดวกรวดเร็วแก่ผใู้ ช้ ซ่ึง ความสามารถเหล่าน้ีทาํ ใหเ้ ครือขา่ ยคอมพวิ เตอร์มีความสาํ คญั และจาํ เป็นตอ่ การใชง้ านในดา้ นตา่ งๆ ส่วนประกอบของการส่ือสารข้อมูล ส่วนประกอบของการส่ือสารข้อมูล การสื่อสารขอ้ มลู มีองคป์ ระกอบ 5 อยา่ ง (ดงั รูป) ไดแ้ ก่

1. ผ้สู ่ง (Sender) เป็นอุปกรณ์ที่ใชใ้ นการส่งข่าวสาร (Message) เป็นตน้ ทางของการส่ือสารขอ้ มูลมีหนา้ ท่ี เตรียมสร้างขอ้ มลู เช่น ผพู้ ดู โทรทศั น์ กลอ้ งวิดีโอ เป็นตน้ 2. ผ้รู ับ (Receiver) เป็นปลายทางการส่ือสาร มีหนา้ ท่ีรับขอ้ มูลที่ส่งมาให้ เช่น ผฟู้ ัง เครื่องรับโทรทศั น์ เครื่องพิมพ์ เป็นตน้ 3. ส่ือกลาง (Medium) หรือตวั กลาง เป็นเส้นทางการส่ือสารเพ่อื นาํ ขอ้ มูลจากตน้ ทางไปยงั ปลายทาง ส่ือส่ง ขอ้ มลู อาจเป็นสายคู่บิดเกลียว สายโคแอกเชียล สายใยแกว้ นาํ แสง หรือคลื่นที่ส่งผา่ นทางอากาศ เช่น เลเซอร์ คลื่นไมโครเวฟ คล่ืนวทิ ยภุ าคพ้นื ดิน หรือคลื่นวทิ ยผุ า่ นดาวเทียม 4. ข้อมูลข่าวสาร (Message) คือสญั ญาณอิเลก็ ทรอนิกส์ท่ีส่งผา่ นไปในระบบสื่อสาร ซ่ึงอาจถูกเรียกวา่ สารสนเทศ (Information) โดยแบง่ เป็น 5รูปแบบ ดงั น้ี 4.1 ข้อความ (Text) ใชแ้ ทนตวั อกั ขระตา่ ง ๆ ซ่ึงจะแทนดว้ ยรหสั ตา่ ง ๆ เช่น รหสั แอสกี เป็นตน้ 4.2 ตวั เลข (Number) ใชแ้ ทนตวั เลขต่าง ๆ ซ่ึงตวั เลขไม่ไดถ้ กู แทนดว้ ยรหสั แอสกีแต่จะถูกแปลงเป็น เลขฐานสองโดยตรง 4.3 รูปภาพ (Images) ขอ้ มลู ของรูปภาพจะแทนดว้ ยจุดสีเรียงกนั ไปตามขนาดของรูปภาพ 4.4 เสียง (Audio) ขอ้ มูลเสียงจะแตกต่างจากขอ้ ความ ตวั เลข และรูปภาพเพราะขอ้ มลู เสียงจะเป็นสญั ญาณ ตอ่ เน่ืองกนั ไป 4.5 วดิ ีโอ (Video) ใชแ้ สดงภาพเคล่ือนไหว ซ่ึงเกิดจากการรวมกนั ของรูปภาพหลาย ๆ รูป 5. โปรโตคอล (Protocol) คือ วิธีการหรือกฎระเบียบท่ีใชใ้ นการสื่อสารขอ้ มลู เพ่ือใหผ้ รู้ ับและผสู้ ่งสามารถ เขา้ ใจกนั หรือคุยกนั รู้เร่ือง โดยท้งั สองฝั่งท้งั ผรู้ ับและผสู้ ่งไดต้ กลงกนั ไวก้ ่อนลว่ งหนา้ แลว้ ในคอมพิวเตอร์

โปรโตคอลอยใู่ นส่วนของซอฟตแ์ วร์ท่ีมีหนา้ ที่ทาํ ใหก้ ารดาํ เนินงาน ในการส่ือสารขอ้ มูลเป็นไปตามโปรแกรม ที่กาํ หนดไว้ ตวั อยา่ งเช่น X.25, SDLC, HDLC, และ TCP/IP เป็นตน้ รูปแบบของการส่งสัญญาณข้อมูล เราสามารถแบง่ รูปแบบของการส่งสัญญาณขอ้ มูลไดเ้ ป็น 3 รูปแบบดงั น้ี 1. แบบทศิ ทางเดยี วหรือซิมเพลก็ ซ์ (One-Way หรือ Simplex) ในการส่งสัญญาณขอ้ มูลแบบซิมเพลก็ ซ์ ขอ้ มลู จะถกู ส่งไปในทาง เดียวเทา่ น้นั และตลอดเวลา ตวั อยา่ งเช่น การกระจายเสียงของสถานีวิทยุ หรือการแพร่ ภาพทางโทรทศั น์ 2. แบบกงึ่ ทางหรือคร่ึงดเู พลก็ ซ์ (Either-Way of Two Ways หรือ Half Duplex) การส่ือสารแบบคร่ึงดู เพลก็ ซ์ เราสามารถส่งขอ้ มลู สวน ทางกนั ไดแ้ ต่ตอ้ งสลบั กนั ส่ง จะทาํ ในเวลาเดียวกนั ไมไ่ ด้ ตวั อยา่ งเช่น วทิ ยุ ส่ือสารของตาํ รวจแบบวอลก์ ก้ี-ทอลก์ ก้ี ซ่ึงตอ้ งอาศยั การสลบั สวติ ซเ์ พอื่ แสดงการเป็นผสู้ ่งสัญญาณ และใหท้ าง อีกทางหน่ึงเป็นผรู้ ับสัญญาณคือ ตอ้ งผลดั กนั พูด 3. แบบทางคู่หรือดเู พลก็ ซ์เตม็ (Both-Way หรือ Full Duplex) ในแบบน้ีเราสามารถส่งขอ้ มลู ไดพ้ ร้อมๆ กนั ท้งั สองทาง ตวั อยา่ งเช่น ในการพดู โทรศพั ท์ เราสามารถพูดพร้อมกนั กบั คู่สนทนาได้ การทาํ งานจะเป็นดู เพลก็ ซ์เตม็ แตใ่ นการใชง้ านจริงๆ แลว้ จะเป็นแบบคร่ึงดูเพลก็ ซค์ ือผลดั กนั พูด ดงั น้นั โทรศพั ทจ์ ึงเป็น อปุ กรณ์ แบบดูเพลก็ ซเ์ ตม็ ที่มีการใชง้ านแบบคร่ึงดูเพลก็ ซ์ประโยชน์ในการใชง้ านของการ ส่งสัญญาณแบบดูเพลก็ ซ์ เตม็ ยอ่ มให้ ประโยชน์ใชส้ อยดีกวา่ รวมท้งั ลดเวลาในการส่ง สญั ญาณ เพอ่ื สลบั การเป็นผสู้ ่งในแบบคร่ึงดู

เพลก็ ซ์ อยา่ งไรกต็ ามค่าใชจ้ ่ายในการติดต้งั อุปกรณ์ ของระบบการส่งสัญญาณแบบดูเพลก็ ซเ์ ตม็ ยอ่ มแพงกวา่ และยงุ่ ยากกวา่ ชนิดของสัญญาณในการสื่อสารข้อมูล 1. สัญญาณแอนะลอ็ ก (Analog Signal) เป็นสญั ญาท่ีมีลกั ษณะเป็นคล่ืนต่อเนื่อง โดยแต่ละคล่ืนจะมี ความถี่ และความเขม้ ขน้ ของสญั ญาณทีละนอ้ ย เช่น การส่งผา่ นระบบโทรศพั ท์ สญั ญาณอนาลอ็ ก เป็นสญั ญาณ ที่มกั จะเกิดข้ึนตามธรรมชาติ เป็นสญั ญาณท่ีมีความต่อเน่ือง ไมไ่ ดเ้ ปลี่ยนแปลงอยา่ งรวดเร็ว สญั ญาณแบบน้ี เช่น เสียงสูง เสียงดนตรี เป็นตน้ 2. สัญญาณดจิ ทิ ลั (Digital Signal) เป็นสญั ญาณท่ีมีคา่ ไดส้ องสถานะ คือ สถานะเปิ ดหรือปิ ด ซ่ึงแทนค่า ดว้ ย \"0\" หรือ \"1\" สัญญาณดิจิตอลน้ีเป็นสญั ญาณที่ใชใ้ นการสื่อสารของระบบคอมพวิ เตอร์ สัญญาณ โทรศพั ทม์ ือถือ สัญญาณทีวีดิจิตอล เป็นตน้ การสื่อสารข้อมูล

สื่อกลางประเภทมีสาย (Wired Media) ส่ือกลางประเภทมีสาย หมายถึง ส่ือกลางท่ีเป็นสายซ่ึงใชใ้ นการ เชื่อมโยงโดยอปุ กรณ์ตา่ ง ๆ เพ่ือใชใ้ นการส่งผา่ นขอ้ มลู ระหวา่ งอปุ กรณ์ และอปุ กรณ์ในระยะทางท่ีห่างกนั ไม่ มากนกั 1) สายคู่บิดเกลยี ว (Twisted Pair) เป็นสายที่ประกอบดว้ ยลวดทองแดงท่ีหุม้ ดว้ ยฉลวนพลาสติก จาํ นวน 4 คู่ แต่ละคูจ่ ะพนั เป็นเกลียว ซ่ึง 2 คู่ จะใชส้ าํ หรับช่องทางการสื่อสาร 1 ช่องทาง สายบิดเกลียวคูเ่ ป็น ตวั กลางที่เป็นมาตรฐานใชส้ ่งสัญญาณเสียงและขอ้ มูลได้ ในระยะเวลานาน ซ่ึงนิยมใชเ้ ป็นสายโทรศพั ท์ (Telephone Line) เพื่อส่งสัญญาณโทรทพั ท์ 2) สายโคแอกเชียล (Coaxial Cable) เป็ นสายท่มี ที องแดงเพยี งเส้นเดียวเป็ นแกนกลางหุ้มด้วยฉนวน พลาสตกิ สามารถส่งขอ้ มูลไดม้ ากหวา่ สายคูบ่ ิดเกลียวถึง 80 เทา่ โดยส่วนใหญจ่ ะใชใ้ นการส่งสญั ญาณ โทรศพั ท์ เช่น เคเบิลทีวี เป็นตน้ 3) เส้นใยนาํ แสง (Fiber Optic) เป็นสารที่ประกอบดว้ ยใยแกว้ ขนาดเลก็ ซ่ึงหุม้ ดว้ ยฉลวนหลายช้นั โดย การส่งขอ้ มูล ใชห้ ลกั การสะทอ้ นแสงผา่ นหลอดแกว้ ขนาดเลก็ ทาํ ใหส้ ามารถส่งขอ้ มลู ไดเ้ ร็วถึง 26,000 เทา่ ของสายบิดเกลียวมีน้าํ หนกั เบาและมีความน่าเช่ือถือในการส่งขอ้ มลู มากกวา่ สายโคแอกเชียล

สื่อกลางประเภทไร้สาย (WirelessMedia) การส่ือสารขอ้ มูลแบบไร้สายน้ีสามารถส่งขอ้ มูลไดท้ ุกทิศทางโดยมีอากาศเป็นตวั กลางในการส่ือสาร 1) คลื่นวทิ ยุ (RadioWave) วิธีการสื่อสารประเภทน้ีจะใชก้ ารส่งคลื่นไปในอากาศเพือ่ ส่งไปยงั เคร่ืองรับ วทิ ยโุ ดยรวมกบั คลื่นเสียงมีความถี่เสียงที่เป็นรูปแบบของคล่ืนไฟฟ้าดงั น้นั การส่งวทิ ยกุ ระจายเสียงจึงไม่ตอ้ งใช้ สายส่งขอ้ มูลและยงั สามารถส่งคลื่นสญั ญาณไปไดร้ ะยะไกลซ่ึงจะอยใู่ นช่วงความถี่ระหวา่ ง 104 - 109 เฮิรตซ์ ดงั น้นั เครื่องรับวทิ ยจุ ะตอ้ งปรับช่องความถี่ใหก้ บั คล่ืนวิทยทุ ่ีส่งมาทาํ ใหส้ ามารถรับขอ้ มลู ไดอ้ ยา่ งชดั เจน 2)สัญญาณไมโครเวฟ (Microwave) เป็นส่ือกลางในการส่ือสารท่ีมีความเร็วสูงส่งขอ้ มูลโดยอาศยั สัญญาณ ไมโครเวฟซ่ึงเป็นสัญญาณคลื่นแมเ่ หลก็ ไฟฟ้าไปในอากาศพร้อมกบั ขอ้ มูลท่ีตอ้ งการส่งและจะตอ้ งมีสถานีที่ทาํ หนา้ ที่ส่งและรับขอ้ มลู และเน่ืองจากสัญญาณไมโครเวฟจะเดินทางเป็นเสน้ ตรง ไม่สามารถเล้ียวหรือโคง้ ตาม ขอบโลกที่มีความโคง้ ไดจ้ ึงตอ้ งมีการต้งั สถานีรับ - ส่งขอ้ มลู เป็นระยะๆและส่งขอ้ มูลต่อกนั เป็นทอดๆระหวา่ ง สถานีต่อสถานีจนกวา่ จะถึงสถานีปลายทางและแตล่ ะสถานีจะต้งั อยใู่ นที่สูง ซ่ึงจะอยใู่ นช่วงความถ่ี 108 - 1012 เฮิรตซ์ 3)แสงอนิ ฟราเรด (Infrared) คล่ืนแมเ่ หลก็ ไฟฟ้าท่ีมีความถ่ีอยใู่ นช่วง 1011 – 1014 เฮิรตซ์ หรือความยาว คล่ืน 10-3 – 10-6 เมตร เรียกวา่ รังสีอินฟราเรด หรือเรียกอีกอยา่ งหน่ึงวา่ คล่ืนความถ่ีส้นั (Millimeter waves) ซ่ึงจะมียา่ นความถี่คาบเกี่ยวกบั ยา่ นความถ่ีของคลื่นไมโครเวฟอยบู่ า้ ง วตั ถุร้อน จะแผร่ ังสีอินฟราเรดท่ี มีความยาวคลื่นส้นั กวา่ 10-4 เมตรออกมา ประสาทสัมผสั ทางผิวหนงั ของมนุษยส์ ามารถรับรังสีอินฟราเรด ลาํ แสงอินฟราเรดเดินทางเป็นเส้นตรงไมส่ ามารถผา่ นวตั ถุทึบแสง และสามารถสะทอ้ นแสงในวสั ดุผิวเรียบได้ เหมือนกบั แสงทวั่ ไปใชม้ ากในการส่ือสารระยะใกล้

4) ดาวเทยี ม (satilite) ไดร้ ับการพฒั นาข้ึนมาเพอื่ หลีกเลี่ยงขอ้ จาํ กดั ของสถานี รับ- ส่งไมโครเวฟบนผิวโลก วตั ถปุ ระสงคใ์ นการสร้างดาวเทียมเพอื่ เป็นสถานี รับ – ส่งสัญญาณไมโครเวฟบนอวกาศและทวนสญั ญาณใน แนวโคจรของโลกในการส่งสัญญาณดาวเทียมจะตอ้ งมีสถานีภาคพ้ืนดินคอยทาํ หนา้ ที่รับและส่งสัญญาณข้ึนไป บนดาวเทียมที่โคจรอยสู่ ูงจากพ้ืนโลก 22,300 ไมล์ โดยดาวเทียมเหล่าน้นั จะเคลื่อนท่ีดว้ ยความเร็วที่เท่ากบั การ หมุนของโลก จึงเสมือนกบั ดาวเทียมน้นั อยนู่ ิ่งอยกู่ บั ที่ ขณะที่โลกหมุนรอบตวั เองทาํ ใหก้ ารส่งสญั ญาณ ไมโครเวฟจากสถานีหน่ึงข้ึนไปบนดาวเทียมและการกระจายสัญญาณจากดาวเทียมลงมายงั สถานีตามจุดตา่ งๆ บนผวิ โลกเป็นไปอยา่ งแมน่ ยาํ ดาวเทียมสามารถโคจรอยไู่ ดโ้ ดยอาศยั พลงั งานท่ีไดม้ าจากการเปลี่ยนพลงั งาน แสงอาทิตยด์ ว้ ยแผงโซลาร์ (solarpanel) หลกั การพจิ ารณาเลือกใช้สื่อกลาง หลกั การพิจารณาเลือกใชส้ ่ือกลาง การเลือกใชง้ านดา้ นการส่ือสารขอ้ มลู หรือการออกแบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ สิ่งที่สาํ คญั ท่ีควรพจิ ารณาคือการใชส้ ื่อกลางท่ีเหมาะสม เพราะหากเลือกใชส้ ื่อไม่เหมาะสมแลว้ การเช่ือมต่อ เครือขา่ ยอาจไม่สมบูรณ์ หรือมีปัญหาในการใชง้ านใหเ้ กิดความลม้ เหลวได้ ซ่ึงควรพจิ ารณาดงั น้ี 1. ตน้ ทนุ – พจิ ารณาตน้ ทุนของตวั อุปกรณ์ที่ใช้ – พจิ ารณาตน้ ทนุ การติดต้งั อุปกรณ์ – เปรียบเทียบราคาของอุปกรณ์ และประสิทธิภาพการใชง้ าน 2. ความเร็ว – ความเร็วในการส่งผา่ นขอ้ มูล (บิตตอ่ วินาที)

– ความเร็วในการแพร่สญั ญาณ ขอ้ มลู ที่สามารถเคล่ือนท่ีผา่ นส่ือกลางไปได้ 3. ระยะทาง การเลือกสื่อกลางแตล่ ะชนิด จะตอ้ งทราบขอ้ กาํ จดั ดา้ นระยะทาง เพื่อที่จะตอ้ งทาํ การติดต้งั อุปกรณ์ ทวนสัญญาณเพอ่ื เพม่ิ ระยะทางในการส่งสัญญาณใหไ้ ดร้ ะยะไกลข้ึน 4. สภาพแวดลอ้ ม เป็นปัจจยั สาํ คญั ในเลือกใชส้ ื่อกลาง เช่น สภาพแวดลอ้ มที่เป็น อาคาร ตึกหลายช้นั โรงพยาบาท หรือโรงงานอตุ สาหกรรมที่มีเคร่ืองจกั รกล จะมีการส่งคลื่นแมเ่ หลก็ ไฟฟ้าออกมารบกวนสื่อสารขอ้ มลู ได้ ควรมี การเลือกสื่อกลางท่ีทนต่อสัญญาณรบกวนไดด้ ี 5. ความปลอดภยั ของขอ้ มลู หากส่ือกลางที่เลือกใชไ้ ม่สามารถป้องกนั การลกั ลอบนาํ ขอ้ มูลไปได้ ในการส่ือสาร ขอ้ มลู ควรมีการเขา้ รหสั ขอ้ มูลก่อนท่ีจะส่งไปยงั ส่ือกลางและผรู้ ับตอ้ งการถอดรหสั ที่ใชม้ าตรฐานเดียวกนั จึงจะ สามารถนาํ ขอ้ มลู น้นั ไปใชง้ านได้ เพือ่ ความปลอดภยั ของขอ้ มลู มาตรฐานของระบบเครือข่ายคอมพวิ เตอร์ มาตรฐานของเครือขา่ ยคอมพิวเตอร์ ถกู กาํ หนดโดยคณะกรรมการจาก IEEE หรือเรียกเป็นทางการวา่ IEEE 802 Local and Metropolitan Area Network Standard Committee โดยจะเนน้ การคุณสมบตั ิในระดบั ของอุปกรณ์การ ส่ือสารขอ้ มูล และการสื่อสารขอ้ มลู ในเครือข่ายคอมพวิ เตอร์ มาตรฐานจาํ นวนมากถูกกาํ หนดออกมาจากกลมุ่ กรรมการกลมุ่ น้ี และไดน้ าํ มาใชก้ าํ หนดรูปแบบโครงสร้างระบบเครือขา่ ยปัจจุบนั โดยมาตรฐานที่สาํ คญั มี ดงั ตอ่ ไปน้ี - IEEE 802.1 (Higher Layer LAN Protocols) เป็นมาตรฐานดา้ นโปรโตคอลบนเครือขา่ นทอ้ งถ่ิน (LAN) - IEEE 802.2 (Logical Link Control) เป็นมาตรฐานดา้ นฟังกช์ นั และโปรโตคอล LLC บนเครือขา่ ยทอ้ งถ่ิน - IEEE 802.3 เป็นมาตรฐานกาํ หนดการส่ือสารขอ้ มูลในระดบั ฮาร์ดแวร์แบบ Carrier Sense Multiple Access with Collision Detect เรียกยอ่ ๆ วา่ CSMA/CD คือการส่ือสารขอ้ มูลในระบบ อีเธอร์เนต็ (Ethernet) น้นั เอง ซ่ึงใน มาตรฐานดงั กล่าวยงั แบง่ เป็นมาตรฐานยอ่ ยๆ อีก เช่น IEEE 802.3a หรือ มาตรฐาน 10 BASE 2 - IEEE 802.3i หรือ มาตรฐาน 10 BASE T - IEEE 802.3u หรือ มาตรฐาน 100 BASE T - IEEE 802.3z หรือ มาตรฐาน 1000 BASE X - IEEE 802.3ab หรือ มาตรฐาน 10 BASE T

- IEEE 802.4 เป็นมาตรฐานเกี่ยวกบั การส่ือสารขอ้ มูลในแบบ Token Bus - IEEE 802.5 เป็นมาตรฐานเก่ียวกบั การสื่อสารขอ้ มุลในแบบ Token Ring - IEEE 802.6 เป็นมาตรฐานกาํ หนดเกี่ยวกบั การสื่อสารขอ้ มลู ในเครือข่ายแบบ MAN - IEEE 802.7 เป็นมาตรฐานกาํ หนด Boardband ในการส่ือสารขอ้ มูล - IEEE 802.8 เป็นมาตรฐานเกี่ยวกบั การสื่อสารขอ้ มูลโดยใช้ Fiber Optic - IEEE 802.9 เป็นมาตรฐานเก่ียวกบั การสื่อสารขอ้ มูลดว้ ยเสียงและขอ้ มูลบนสื่อส่งขอ้ มลู เดียวกนั เช่น การส่ือสาร ขอ้ มลู โดยใชเ้ ทคโนโลยี ADSL - IEEE 802.10 เป็นการกาํ หนดมาตรฐานเก่ียวกบั ความปลาอดภยั ในระบบเครือข่าย - IEEE 802.11 มาตรฐานเก่ียวกบั ระบบเครือขา่ ยไร้สาร (Wireless LAN) - IEEE 802.12 เป็นมาตรฐานเกี่ยวกบั ระบบเครือขา่ ยความเร็วสูง - IEEE 802.14 เป็นการใชม้ าตรฐานท่ีใชแ้ ทนมาตรฐาน - IEEE 802.13 ที่ถูกยกเลิกโดยเป็นเร่ืองเก่ียวกบั การส่ือสารขอ้ มลู ผา่ ยสายเคเบิลทีวี องค์ประกอบของเครือข่ายคอมพวิ เตอร์ การติดต่อสื่อสารระหวา่ งคอมพวิ เตอร์ จะมีองคป์ ระกอบที่ทาํ ใหค้ อมพิวเตอร์ส่ือสารกนั ไดน้ ้นั ประกอบดว้ ย 4 องคป์ ระกอบ ดงั น้ี 1. เครื่องคอมพวิ เตอร์ท่ีเช่ือมโยงกนั (Computer) คือ เครื่องคอมพิวเตอร์ต้งั แต่ 2 เครื่องข้ึนไปที่จะนาํ มาเพอ่ื เชื่อมโยงกนั 2. อุปกรณ์ที่ใชใ้ นการส่ือสาร (Communication Equipment) คือ อปุ กรณืที่ทาํ หนา้ ที่ส่งผา่ นขอ้ มลู ระหวา่ ง คอมพวิ เตอร์ดว้ ยกนั เช่น สายสัญญาณ, การ์ดเครือขา่ ย (LAN Card) เราเตอร์ (Router), กล่องแยกสลบั สัญญาณ (Switching) เป็นตน้ 3. ช่องทางการส่ือสาร (Communication Channel) คือ ขอ่ งทางหรือเสน้ ทางที่ขอ้ มูลจะส่งผา่ นออกไป ช่องทาง เหลา่ น้ีมีท้งั ที่อยใู่ นรูปแบบสายตา่ ง และรูปแบบการสื่อสารไร้สาย ซ่ึงมีความแตกต่างในการรับส่งสญั ญาณต่างกนั ไป

4. โปรแกรมหรือระบบปฏิบตั ิการท่ีใชใ้ นการติดต่อสื่อสาร (Communication Software) ไดแ้ ก่ โปรแกรมหรือ ระบบปฏิบตั ิการที่สร้างข้ึนมาเพื่อรับรองการทาํ งานและส่งขอ้ มลู ในระบบเครือข่ายคอมพวิ เตอร์ โปรแกรมเหลา่ น้ี ในปัจจุบนั ถูกรวมไวเ้ ป็นส่วนหน่ึงของระบบปฏิบตั ิการแลว้ หน่วยที่ 2 อุปกรณ์ระบบเครือข่าย อุปกรณ์เกยี่ วกบั เครือข่ายคอมพวิ เตอร์ การเชื่อต่อคอมพิวเตอร์ ต้งั แต่ 2 เครื่อง เคร่ืองเขา้ ดว้ ยกนั น้นั นอกจากมีเครื่องคอมพิวเตอร์ต้งั แต่ 2 เครื่องแลว้ ยงั ตอ้ งมีอุปกรณ์ที่เรียกวา่ อุปกรณ์เน็ตเวิร์กท่ีใชใ้ นการเช่ือมตอ่ ระหวา่ งกนั อีกดว้ ยซ่ึงผใู้ ชง้ านจะตอ้ งจดั หามาเพอ่ื ทาํ การติดต้งั อุปกรณ์พ้ืนฐานที่จาํ เป็นในการติดต้งั เช่ือมต่อเชื่อมตอ่ เครือขา่ ยคอมพวิ เตอร์เขา้ ดว้ ยกนั มีดงั ตอ่ ไปน้ี 1. การ์ดในการเชื่อมตอ่ เครือขา่ ย (Network Interface Card) 2. สายสัญญาณ หรือ สายเคเบิล 3. พอร์ต RJ - 11 และ RJ - 45 (Registstered Jack) 4. โมเดม็ (Modem) 5. เราเตอร์ (Router) 6. ฮบั (Hub) 7. อปุ กรณ์สวติ ช์ (Switch) 8. เคร่ืองทวนสัญญาณ (Repeater) 9. บริดจ์ (Bridge) 10. เกตเวต์ (Gateway) 11. เคร่ืองแมข่ า่ ยหรือเคร่ืองเซิร์ฟเวอร์ (Server) 12. ไคลเอนต์ (Client) หรือเครื่องลูกขา่ ย การ์ดในการเช่ือมต่อเครือข่าย

การ์ดเช่ือมต่อเครือข่าย (NIC: Network Interface Card) การ์ดเชื่อมต่อเครือขา่ ย หรือเรียกวา่ การ์ด LAN เป็น การ์ดสาํ หรับตอ่ เครื่องพซี ี เขา้ กบั สายเคเบิล ดงั น้นั จึงตอ้ งมีพอร์ตสาํ หรับเสียบสายแบบใดแบบหน่ึงที่จะใช้ หรือ อาจมีพอร์ตสาํ หรับสายหลายแบบก็ได้ เช่น มีพอร์ตสาํ หรับสายโคแอกเชียล และสาํ หรับสายคู่ตีเกลียว แต่สาํ หรับ การ์ดรุ่นใหมๆ่ มกั จะเหลือแต่พอร์ตสาํ หรับสายคู่ตีเกลียวเพราะปัจจุบนั กาํ ลงั เป็นที่นิยม นอกจากน้ียงั มีการ์ดที่ทาํ มาสาํ หรับใชต้ อ่ กบั สายใยแกว้ นาํ แสงซึงมกั จะมีราคาแพงและใชเ้ ฉพาะบางงาน การ์ด LAN จะมีสลอ็ ตท่ีใชอ้ ยู่ 2 ชนิดคือ ISA 8 และ 16 บิต การ์ดแบบน้ีจะสามารถรับส่งขอ้ มูลกบั เคร่ืองพีซีไดท้ ีละ 8 หรือ 16 บิตที่ความถ่ีประมาณ 8 MHz เทา่ น้นั โดยผา่ นบสั และสลอ็ ตแบบ ISA ตวั อยา่ งเช่น การ์ด NE1000 และ NE2000 ที่ผลิตตามแบบของ บริษทั Novell เป็นตน้ ซ่ึงความเร็วในการทาํ งานจะต่าํ กวา่ แบบ PCI ซ่ึงในปัจจุบนั แทบจะไมพ่ บแลว้ PCI 32 บติ เป็นการ์ดที่ใชอ้ ยทู่ วั่ ไปในปัจจุบนั ซ่ึงสามารถรับส่งขอ้ มูลไดท้ ีละ 32 บิตผา่ นบสั แบบ PCI ดว้ ย ความเร็วสูงถึง 33 MHz ปัจจุบนั การ์ดแบบสลอ็ ต PCI ราคาลดลงมาก ทรานซีฟเวอร์ (transceiver) เป็นส่วนหน่ึงของการ์ด LAN โดยจะทาํ หนา้ ที่แปลงสัญญาณของคอมพวิ เตอร์เป็น สญั ญาณท่ีใชใ้ นเครือขา่ ย ทรานซีฟเวอร์รุ่นเก่า ๆ จะเชื่อมต่อกบั สายเคเบิลและการ์ด LAN แตใ่ นปัจจุบนั จะนาํ ท รานซีฟเวอร์น้ีบรรจุเขา้ ไปในตวั การ์ด LAN เลย บนการ์ด LAN บางแบบจะมีท่ีเสียบชิปหน่วยความจาํ ROM เป็นซ็อคเกต็ วา่ ง ๆ ทิ้งไว้ สาํ หรับใชใ้ นกรณีที่ ตอ้ งการใหเ้ ครื่องท่ีใชก้ าร์ดน้นั สามารถบูตจากหน่วยความจาํ ของเคร่ืองที่เป็นเซิร์ฟเวอร์ในระบบ LAN ได้ ซ่ึงก็ จะตอ้ งมี ROM ท่ีมีโปรแกรมพิเศษมาใส่ในซ็อคเก็ตวา่ งน้ี เรียกวา่ เป็น bootROM โดยโปรแกรมใน ROM ดงั กล่าวจะอยใู่ นตาํ แหน่งแอดเดรสท่ีซีพียจู ะเรียกใชใ้ นตอนท่ีบูตเคร่ือง เช่นเดียวกบั ROM บนเมนบอร์ดนน่ั เอง

เม่ือมีโปรแกรมดงั กล่าวเพ่มิ เขา้ มา กจ็ ะทาํ ใหซ้ ีพยี ไู ปทาํ การบูตเคร่ืองผา่ นการ์ด LAN และหน่วยความจาํ ของ เครื่องที่เป็นเซิร์ฟเวอร์ แทนที่จะบตู จากหน่วยความจาํ ของเครื่องน้นั ๆ ตามปกติ เช่น ในกรณีท่ีตอ้ งการใชง้ าน พซี ีน้นั ในลกั ษณะเคร่ืองลูกข่ายท่ีไม่มีฮาร์ดดิสก์ เป็ นตน้ Wake-On-Lan (WOL) เป็นคุณสมบตั ิท่ีทาํ ใหเ้ คร่ืองท่ีอยใู่ นสภาพ standby หรือ sleep อยสู่ ามารถต่ืน (wake up) ข้ึนมาไดเ้ มื่อมีสญั ญาณเขา้ มาทางการ์ด LAN ซ่ึงคลา้ ยกบั wake-on-modem ที่พอมีสัญญาณโทรศพั ทเ์ ขา้ มาทาง โมเด็มกจ็ ะปลกุ ใหเ้ คร่ืองตื่นข้ึนมาทาํ งานตอ่ ได้ ทาํ ใหส้ ามารถปล่อยใหเ้ ครื่องที่ต่อกบั LAN อยสู่ ามารถเปิ ดทิ้งไว้ ตลอดเวลา ซ่ึงเครื่องจะเขา้ สู่โหมดประหยดั พลงั งานเม่ือไม่มีใครใช้ และจะต่ืนกลบั ข้ึนมาทาํ งานทนั ทีท่ีมีผตู้ ิดต่อ ผา่ น LAN เขา้ มา ท้งั น้ีการ์ด LAN โดยทว่ั ไปจะตอ้ งมีสายสญั ญาณพิเศษสาํ หรับทาํ หนา้ ที่น้ีมาให้ โดยเสียบเขา้ ท่ี คอนเนค็ เตอร์เลก็ ๆ บนเมนบอร์ด (มกั อยขู่ า้ งสลอ็ ตที่เสียบการ์ด LAN นน่ั เอง) ถา้ ไม่เสียบ คุณสมบตั ิน้ีกจ็ ะไม่ ทาํ งาน สายสัญญาณ หรือ สายเคเบิล สายเคเบิล้ ในการเช่ือมต่อ ในการเช่ือมตอ่ แบบตา่ งๆ จะตอ้ งใชส้ ายเคเบิ้ลเป็นตวั กลาง (Media) ซ่ึงการใชง้ านจะ ข้ึนอยกู่ บั รูปแบบการเช่ือมต่อ เช่นแบบ Bus จะใชส้ ายเคเบิล้ Coaxial, แบบ Star จะใชส้ ายเคเบิล้ UTP สายเคเบิ้ล ท่ีใชง้ านในระบบเนต็ เวริ ์กจะมีอยู่ 3 ประเภทคือ สาย Coaxial เป็นสายเสน้ เดียวมีลวดทองแดงเป็นแกนกลางหุม้ ดว้ ยฉนวนสายยาง โดยจะมีลวดถกั หุม้ ฉนวน สายยางอีกช้นั (shield) ป้องกนั สญั ญาณรบกวน และมีฉนวนดา้ ยนอกเป็นยาง สีดาํ หุม้ อีกช้นั จะมีอยู่ 2 แบบ ดว้ ยกนั คือ อยา่ งหนา (thick) อยา่ งบาง (thin) ส่วนมากจะใชง้ านบนระบบ Ethernet โดยที่ปลายสายท้งั 2 ดา้ ย จะตอ้ งมีตวั terminator ปิ ดดว้ ย มีความเร็วในการส่งขอ้ มูลต่าํ กวา่ สายแบบ UTP สาย Coaxial อยา่ งบาง (thin) มี ขอ้ เสียคือ ไมส่ ามารถใชร้ ับ-ส่งสัญญาณไดเ้ กิน185 เมตร อาจตอ้ งใชต้ วั ทวนสัญญาณ (Repeater) ช่วยขยาย สญั ญาณให้

สาย UTP (Unshielded Twisted Pair) หรือสาย CAT (Category) เป็นสายเสน้ เล็กจาํ นวน 8 เส้นตีเกลียวคู่ มีอยู่ 4 คู่ ไม่มีเส้นลวดถกั (shield) เพราะการตีเกลียวคูเ่ ป็นการลดสญั ญาณรบกวนอยแู่ ลว้ การใชง้ านจะตอ้ งมี การแคม๊ หวั RJ-45เขา้ กบั สาย UTP แลว้ นาํ ไปเสียบเขา้ กบั Hub มีความเร็วในการรับ-ส่ง ขอ้ มลู 10/100Mbps ปัจจุบนั นิยมใชส้ าย CAT 5 กนั มาก เพราะสนบั สนุนการรับ-ส่งขอ้ มูลความเร็วต้งั แต่ 10-100 Mbps สาย STP (Shielded Twisted Pair) เป็นสายเส้นคูต่ ีเกลียวมีอยู่ 2 คู่ มีเสน้ ลวดถกั (shield) ป้องกนั สัญญาณ รบกวน ใชง้ านในการเชื่อมต่อระยะทางไกลๆ ซ่ึงสาย UTP ทาํ ไมไ่ ด้

หัวต่อสายแลนด์ หวั ต่อสายแลนดจ์ ะมีอยู่ 3 ประเภทดว้ ยกนั คือ BNC, RJ-45 และ AUI แต่ละประเภทจะใช้ สายแลนดแ์ ตกตา่ งกนั ไป รวมท้งั วธิ ีการเขา้ หวั ต่อก็ไม่เหมือนกนั หัวต่อแบบ BNC จะใชส้ ายแลนดแ์ บบ Coaxial ซ่ึงเป็นสายเสน้ เดียวมีลวดทองแดง เป็นแกนกลาง หุม้ ดว้ ย ฉนวนสายยาง หวั ตอ่ BNC จะเป็นโลหะรูปวงกลมมีเกลียวสาํ หรับลอ๊ ก และยงั ตอ้ งใชต้ วั Terminator (มีความตา้ ย ทาน 50 โอหม์ ) ปิ ดปลายสายท้งั 2ดา้ ยอีกดว้ ย หวั ตอ่ แบบ RJ-45 จะใชส้ ายแลนดแ์ บบ CAT (Category) 5 หรือ สาย UTP เป็นสายเสน้ เลก็ จาํ นวน 8 เสน้ ตี เกลียวคู่ มีอยู่ 4 คู่ รูปแบบในการเขา้ หวั ต่อแบบ RJ-45 มีอยู่ 2 แบบดว้ ยกนั คือ 1. Peer to peer

2. มาตรฐาน TIA/EIA 568B Peer to peer เป็นการเชื่อมต่อโดยตรงระหวา่ งเครื่องคอมพวิ เตอร์ท้งั 2 เครื่อง ดว้ ยสาย UTP เพียง 1 เสน้ โดยเสียบหวั ต่อ RJ-45ไปที่การ์ดเน็ตเวิร์กของท้งั สองเครื่อง รูปแบบการเขา้ สาย UTP กบั หวั ต่อ RJ-45 มีดงั น้ี

มาตรฐาน TIA/EIA 568B เป็นการเช่ือมตอ่ ระหวา่ งเคร่ืองคอมพิวเตอร์กบั ฮบั รูปแบบการเขา้ สาย UTP กบั หวั ตวั RJ-45 มีดงั น้ี พอร์ต RJ - 11 และ RJ - 45 (Registstered Jack) พอร์ต RJ - 11 และ RJ - 45 (Registstered Jack) เป็นพอร์ตท่ีใชเ้ ชื่อต่อสาย LAN และสายโทรศพั ท์ เพื่อการ ติดต่อสื่อสารสื่อสารผา่ นเครือข่ายคอมพิวเตอร์ โดย RJ - 11 ขนาดเลก็ กวา่ เนื่องจากตวั พอร์ตมีขาเพียง 4 ขา เอาไวใ้ ช้ เช่ือมต่อโมเด็มทางสายโทรศพั ท์ RJ-45 จะมีขนาดใหญ่กวา่ ตวั พอร์ตมีขา 8 เพื่อเชื่อมตอ่ กบั สาย LAN พอร์ต RJ-45 คือ หวั ตอ่ ที่ใชก้ บั สายสญั ญาณเช่ือมเครือขา่ ยแบบสายคู่ตีเกลียว (สายUTP) ตวั ผมู้ ี2ชนิดไดแ้ ก่

1.หวั ต่อตวั ผู้ RJ-45 (หรือ RJ-45 connecter หรือ RJ-45 jack Plug) เป็นอุปกรณ์สาํ หรับใส่ที่ปลายสาย UTP มี ลกั ษณะเป็นพลาสติกสี่เหล่ียมคลา้ ยหวั ต่อโทรสัพท์ มีช่องสาํ หรับเสียบสายท่ีดา้ นหลงั ดา้ นลา่ งเรียบ ส่วนดา้ นบนมี ตวั ลอ็ ก ถา้ หนั หนา้ เขา้ ดา้ นหนา้ ของหวั ต่อหิน 1จะอยทู่ างซา้ ยมือ ในขณะที่พิน8จะอยทู่ างขวามือ 2.หวั ต่อตวั เมยี RJ-45 (RJ-45 jack Face) มีลกั ษณะเป็นเบา้ เสียบสาํ หรับหวั ต่อRJ-45 ตวั ผู้ เม่ือมองจากดา้ นที่ จะนาํ หวั ต่อตวั ผเู้ สียบ พิน 8 จะอยทู่ างซา้ ย ส่วนพนิ 1 จะอยทู่ างขวาหวั ตอ่ ตวั เมียจะเป็นกลอ่ งมีช่องสาํ หรับเสียบ หวั ต่อ ดา้ นในกลอ่ งจะมีข้วั ซ้ึงจะเป็นส่วนที่เช่ือมกบั สายนาํ สัญญาณ พอร์ตเป็นช่องทางในการติดต่อสื่อสารระหวา่ งตวั คอมพวิ เตอร์กบั อปุ กรณ์ภายนอกเสริมความสามารถให้ คอมพิวเตอร์ โดยปกติพอร์ตจะอยดู่ า้ นหลงั เคร่ืองคอมพวิ เตอร์ โมเด็ม (Modem) เป็นอุปกรณ์สาํ หรับคอมพิวเตอร์อยา่ งหน่ึงที่ช่วยใหค้ ุณสมั ผสั กบั โลกภายนอกไดอ้ ยา่ งง่ายดาย โมเดม็ เป็นเสมือน โทรศพั ทส์ าํ หรับคอมพิวเตอร์ที่จะช่วยใหร้ ะบบคอมพวิ เตอร์ของคุณสามารถส่ือสารกบั คอมพวิ เตอร์อื่นๆ ไดท้ วั่ โลก โมเดม็ จะสามารถทาํ งานของคุณใหส้ าํ เร็จไดก้ ด็ ว้ ยการเช่ือมต่อระหวา่ งคอมพิวเตอร์ของคุณเขา้ คูส่ ายของโทรศพั ท์ ธรรมดาคูห่ น่ึงซ่ึงโมเดม็ จะทาํ การแปลงสัญญาณดิจิตอล (digital signals) จากเคร่ืองคอมพวิ เตอร์ใหเ้ ป็นสัญญาณอนาล (analog signals) เพอื่ ใหส้ ามารถส่งไปบนคู่สายโทรศพั ท์ โมเด็ม มาจากคาํ ว่า MOdulator/DEModulator โดยแยกการทาํ งานออกเป็น Modulation คือการ แปลงสญั ญาณดิจิตอล จากเครื่องคอมพวิ เตอร์ ตน้ ทางใหก้ ลายเป็นสญั ญาณอะนาลอกแลว้ ส่งไปตาม สายโทรศพั ท์ และ Demodulation คือการเปลี่ยนจากสัญญาณอะนาลอก ที่ไดจ้ ากสายโทรศพั ทใ์ ห้ กลบั ไปเป็นสญั ญาณดิจิตอล เพอ่ื ส่งตอ่ ไปยงั เคร่ืองคอมพิวเตอร์ปลายทาง สัญญาณจากคอมพิวเตอร์เป็น สัญญาณ Digital มีแค่ 0 กบั 1 เท่าน้นั เมื่อเปลี่ยนมาเป็นสัญญาณอะนาลอกอยใู่ นรูปที่คลา้ ยกบั

สญั ญาณไฟฟ้าของ โทรศพั ท์ จึงส่งไปทางสายโทรศพั ทไ์ ดโ้ มเด็มแตล่ ะประเภทจะมีคุณลกั ษณะท่ี แตกต่างกนั ดงั น้ี 1. ความเร็วในการรับ – ส่งสัญญาณ ความเร็วในการรับ – ส่งสญั ญาณ หมายถึง อตั รา (rate) ที่โมเดม็ สามารถทาํ การแลกเปลี่ยนขอ้ มลู กบั โมเด็มอ่ืนๆมีหน่วยเป็น บิต/วินาที (bps) หรือ กิโลบิต/วนิ าที (kbps) ในการบอกถึง ความเร็วของโมเดม็ เพอื่ ใหง้ ่ายในการพูดและจดจาํ มกั จะตดั เลขศนู ยอ์ อกแลว้ ใชต้ วั อกั ษรแทน เช่น โมเดม็ 56,000 bps จะเรียกวา่ โมเดม็ ขนาด 56K 2. ความสามารถในการบบี อดั ข้อมูล ขอ้ มลู ขา่ วสารที่ส่งออกไปบนโมเดม็ น้นั สามารถทาํ ใหม้ ีขนาดกะทดั รัดดว้ ย วธิ ีการบีบอดั ขอ้ มลู (compression) ทาํ ใหส้ ามารถส่งขอ้ มลู ไดค้ ร้ังละเป็นจาํ นวนมากๆ เป็นการเพ่มิ ความเร็วของ โมเดม็ ในการรับ – ส่งสัญญาณ 3. ความสามารถในการใช้เป็ นโทรสาร โมเด็มรุ่นใหม่ๆ สามารถส่งและรับโทรสาร (Fax capabilities) ไดด้ ี เช่นเดียวกบั การรับ – ส่งขอ้ มูล หากคุณมีซอฟทแ์ วร์ที่เหมาะสมแลว้ คุณสามารถใชแ้ ฟคซโ์ มเด็มเป็นเครื่องพิมพ์ (printer)ไดเ้ ม่ือคุณพมิ พเ์ ขา้ ไปท่ีแฟคซโ์ มเดม็ มนั จะส่งเอกสารของคุณไปยงั เครื่องโทรสารท่ีปลายทาง ได้ 4. ความสามารถในการควบคมุ ความผิดพลาด โมเดม็ จะใชว้ ิธีการควบคุมความผิดพลาด (error control) ต่างๆ มากมายหลายวธิ ีในการตรวจสอบเพ่ือการยนื ยนั วา่ จะไมม่ ีขอ้ มูลใดๆสูญหายไประหวา่ งการส่งถ่ายขอ้ มลู จาก คอมพิวเตอร์เครื่องหน่ึงไปยงั อีกเครื่องหน่ึง 5. ออกแบบให้ใช้ได้ท้งั ภายในและภายนอก โมเดม็ ท่ีจาํ หน่ายในทอ้ งตลาดทว่ั ๆ ไปจะมี 2 รูปแบบ คือ โมเดม็ แบบติดต้งั ภายนอก (external modems) และ แบบติดต้งั ภายใน (internal modems) 6. ใช้เป็ นโทรศัพท์ได้ โมเดม็ บางรุ่นมีการใส่วงจรโทรศพั ทธ์ รรมดาเขา้ ไปพร้อมกบั ความสามารถในการรับ– ส่ง ขอ้ มลู และโทรสารดว้ ย โมเดม็ (Modems) สามารถแบง่ การใชง้ านออกไดเ้ ป็น 3 อยา่ งคือ

1. Internal 2. External 3. PCMCIA 1. (InternalModem) (Internal Modem) เป็นโมเดม็ ท่ีมีลกั ษณะเป็นการ์ดเสียบกบั สลอ็ ตของเคร่ืองอาจจะเป็นแบบ ISA หรือPCI ขอ้ ดี ก็คือ ไม่เปลืองเน้ือท่ี ราคาไมแ่ พงมากนกั ใชไ้ ฟเล้ียงจาก Mainboard ขอ้ เสียคือ ติดต้งั ยากกวา่ แบบภายนอก เนื่องจากติดต้งั ภายในเคร่ืองทาํ ใหใ้ ชไ้ ฟในเคร่ืองอนั ส่งผลใหเ้ พิ่มความร้อน ในเครื่อง เคล่ือนยา้ ยไดไ้ มสะดวก ยาก ใชไ้ ดเ้ ฉพาะเคร่ืองคอมแบบ PC เท่าน้นั ไม่สามารถใชง้ านกบั NoteBook ได้ 2. (External Modem) (External Modem) เป็นโมเดม็ ท่ีติดต้งั ภายนอกโดยจะต่อกบั Serial Port โดยใชห้ วั ตอ่ ที่เป็น DB-25 หรือ DB-9 ต่อกบั Com1, Com2 หรือ USB ขอ้ ดีคือ สามารถเคลื่อนยา้ ยไปใชก้ บั เคร่ืองอื่นได้ ติดต้งั ไดง้ ่าย ไม่เพม่ิ ความร้อนใหก้ บั เครื่องคอมพิวเตอร์ เน่ืองจากติดต้งั อยภู่ ายนอกและใชแ้ หล่งจ่ายไฟภายนอก สามารถใช้ งานกบั เคร่ือง NoteBook ไดเ้ น่ืองจากต่อกบั Serial Port หรือ Parallel Port มไี ฟแสดง สภาวะการทาํ งานของโมเดม็ ขอ้ เสีย มีราคาคอ่ นขา้ งสูง เกิดปัญหาจากสายตอ่ ไดง้ ่าย ในการเลือกใชจ้ ึงตอ้ งดูหลายประการเช่น ความสะดวกใน การใชง้ าน คอมพิวเตอร์ เป็นรุ่นเก่า กค็ วรใชแ้ บบ internal และหากมีแต่ Slot ISA กต็ อ้ งเลือกแบบ ISA Internal หากตอ้ งการเคลื่อนยา้ ยไปใชก้ บั เคร่ืองอื่นอยเู่ รื่อยก็ตอ้ งใชแ้ บบภายนอก หากใหส้ ะดวกก็ควรเป็น แบบ Internal ครับจะไดค้ วามไวท่ี โดยมากจะสูงกวา่ แบบภายนอก มีปัจจยั หลายอยา่ งในการเลือกตอ้ งดูดว้ ยวา่ ISP (Internet Service Provider) ผใู้ หบ้ ริการอินเทอร์เนต็ ที่คุณใชน้ ้นั รองรับ มาตรฐาน V.90 ขอ้ เสียของโมเด็มรุ่นใหม่ ๆ ที่มี

ราคาถูกที่เป็น Internal PCI คือผผู้ ลิดเขาจะตดั ชิพที่ ทาํ หนา้ ท่ี ตรวจสอบความผดิ พลาด แกไ้ ขสญั ญาณรบกวน (Error Correction) ที่มีมาก ในสายโทรศพั ทใ์ นบางท่ี แลว้ ไปใชค้ วามสามารถของซีพยี มู าทาํ หนา้ ท่ีน้ีแทน ทาํ ให้ เกิดการใช้ งานซีพียเู พม่ิ มากข้ึนทาํ ใหค้ วามเร็วของ เคร่ืองลดลง หรือสัญญาณโทรศพั ทอ์ าจตดั หรือ เรียกวา่ สาย หลุดได้ สาํ หรับคุณสมบตั ิ ที่ควรมีของโมเด็มคือ DSVD ที่ทาํ ใหโ้ มเดม็ สามารถส่งผา่ น ขอ้ มลู Voice และ Data ไดใ้ นขณะเดียวกนั ไดโ้ ดยความ เร็วไม่ลดลง และดสู ่ิงที่ใหม้ าดว้ ยเช่น ซอฟทแ์ วร์ตา่ ง ๆ รวมท้งั ดูวา่ สามารถใช้ อ่านอ่ืน ๆ ไดเ้ ช่น Fax, Voice, Mail และ Call ID เป็นตน้ PCMCIA (PCMCIA)เป็น Card ท่ีใชง้ านเฉพาะ โดยใชก้ บั Notebook เป็น Card เสียบเขา้ ไปในช่องสาํ หรับเสียบ Card โดยเฉพาะสะดวกในการพกพา ในปัจจุบนั Modem สาํ หรับ Notebook จะติดมาพร้อมกนั อยแู่ ลว้ ทาํ ให้ ความนิยมในการใช้ Card Modem ชนิดน้ีลดนอ้ ยลง เราเตอร์ (Router) เราเตอร์เป็นอปุ กรณ์ที่ซบั ซอ้ นกวา่ บริดจ์ ทาํ หนา้ ท่ีเชื่อมตอ่ LAN หลายๆ เครือขา่ ยเขา้ ดว้ ยกนั คลา้ ยกบั สวิตช์ แต่จะมีส่วนเพิม่ เติมข้ึนมาคือ เราเตอร์สามารเช่ือมต่อ LAN ท่ีใชโ้ ปรโตคอลในการรับส่งขอ้ มูลเหมือนกนั แตใ่ ช้ ส่ือส่งขอ้ มลู หรือสายส่งต่างชนิดกนั ได้ เช่น เช่ือมตอ่ Ethernet LAN ที่ใชร้ ับส่งขอ้ มลู แบบ UTP เขา้ กบั Ethernet

อีกเครือข่ายหน่ึงท่ีใชส้ ายขอ้ มูลแบบ coaxial cable ได้ เราเตอร์ทาํ งานเสมือนเป็นเครื่องหรือโหนดหน่ึงใน LAN ซ่ึงจะทาํ การรับขอ้ มลู เขา้ มาแลว้ ส่งตอ่ ไปยงั ปลายทางโดยอาจส่งในรูปแบบของ packet ที่ตา่ งออกไปจากเดิม เพ่อื ไปผา่ นสายสญั ญาณแบบอ่ืน ๆ เช่น สายโทรศพั ทท์ ี่ตอ่ ผา่ นโมเด็มกไ็ ด้ ดงั น้นั เราจึงอาจใชเ้ ราเตอร์เพือ่ เชื่อมตอ่ LAN หลาย ๆ แบบเขา้ ดว้ ยกนั ไดด้ ว้ ย และจากการท่ีมนั ทาํ ตวั เสมือนเป็นโหนด ๆ หน่ึงใน LAN ทาํ ใหเ้ ราเตอร์สามารถทาํ งานอ่ืน ๆ อีกมาก เช่น รวบรวมขอ้ มลู เพ่ือหาเส้นทางที่ดีที่สุดในการส่งขอ้ มลู ต่อ หรือตรวจสอบวา่ ขอ้ มูลท่ีเขา้ มาน้นั มาจากไหน ควรจะ ใหผ้ า่ นหรือไม่ เพือ่ ช่วยในเร่ืองการรักษาความปลอดภยั ดว้ ย สิ่งท่ีแตกต่างกนั ระหวา่ งบริดจก์ บั เราเตอร์คือ เราเตอร์มีการทาํ งานท่ีสูงกวา่ คือ ในระดบั ช้นั ท่ี 3 ของ โมเดล OSI นน่ั คือคือ Network Layer โดยจะใช้ logical address หรือ Network Layer address ซ่ึงเป็นท่ีอยซู่ ่ึงต้งั โดย ซอฟตแ์ วร์ที่ผใู้ ชแ้ ต่ละเคร่ืองจะต้งั ข้ึนใหโ้ ปรโตคอลในระดบั Network Layer รู้จกั หนา้ ท่ีหลกั ของเราเตอร์คือ การหาเส้นทางท่ีดีที่สุดในการส่งผา่ นขอ้ มลู และเป็นตวั กลางในการส่งต่อขอ้ มลู ไปยงั เครือข่ายอื่น โดยในแต่ละเครือขา่ ยจะมีรูปแบบของ packet ท่ีแตกตา่ งกนั ตามโปรโตคอลท่ีทาํ งานใน ระดบั บน (ต้งั แตเ่ ลเยอร์ท่ี 3 ข้ึนไป) เช่น IP, IPX หรือ AppleTalk เมื่อมีการส่งขอ้ มูลก็จะบรรจุขอ้ มลู น้นั เป็น packet ในรูปแบบของเลเยอร์ท่ี 2 เมื่อเราเตอร์ไดร้ ับขอ้ มูลกจ็ ะ ตรวจดูใน packet น้ีเพื่อจะทราบวา่ ใชโ้ ปรโตคอลแบบใด ซ่ึงเราเตอร์จะเขา้ ใจโปรโตคอลตา่ ง ๆ แลว้ จากน้นั กจ็ ะ

ตรวจดูเส้นทางส่งขอ้ มลู จากตาราง routing table วา่ จะตอ้ งส่งขอ้ มลู น้ีไปยงั เครือข่ายใดตอ่ จึงจะถึงปลายทางได้ แลว้ จึงบรรจุขอ้ มลู ลงเป็น packet ตามรูปแบบของเลเยอร์ท่ี 2 อีกคร้ังเพ่ือส่งต่อไปยงั เครือขา่ ยถดั ไป ข้อดขี องการใช้เราเตอร์ 1. ในการใชเ้ ราเตอร์เชื่อมต่อเครือข่ายเขา้ ดว้ ยกนั ปริมาณการส่งขอ้ มูลของแต่ละเครือข่ายยอ่ ยจะแยกจากกนั โดย เด็ดขาด นน่ั คือปริมาณการไหลเวยี นของขอ้ มูลในเครือข่าย LAN หน่ึงจะไมร่ บกวนการไหลเวยี นขอ้ มูลของอีก เครือข่าย LAN หน่ึง 2. มีความคล่องตวั ในการทาํ งานสูง เนื่องจากสามารถทาํ งานร่วมกบั โทโพโลยไี ดท้ กุ ชนิด 3. สามารถกาํ หนดความสาํ คญั ในการส่งขอ้ มูลได้ เช่น สามารถกาํ หนดไดว้ า่ หากขอ้ มลู ที่ส่งไปอยใู่ นรูปแบบของ โปรโตคอลท่ีมีลาํ ดบั ความสาํ คญั สูง ก็สามารถลดั คิวส่งออกไปไดก้ ่อน 4. การปิ ดก้นั เครือขา่ ย หรือแยกเครือข่ายออกจากเครือข่ายที่ไม่ตอ้ งการจะติดตอ่ ดว้ ย ซ่ึงเป็นการรักษาความ ปลอดภยั วธิ ีหน่ึง 5. การเลือกเสน้ ทางในการท่ีจะส่งขอ้ มลู สามารถใชเ้ ราเตอร์ช่วยในการเลือกเสน้ ทางที่ดีท่ีสุด ข้อเสีย 1. เราเตอร์ทาํ งานภายใต้ OSI เท่าน้นั และจะไมต่ ิดต่อหรือส่งขอ้ มลู ในรูปแบบของโปรโตคอลท่ีไมร่ ู้จกั 2. ราคาแพงกวา่ สวิตชแ์ ละฮบั มาก ฮับ (Hub) ฮบั เป็นอปุ กรณ์สาํ คญั ในการเชื่อมโยงสญั ญาณของเคร่ืองคอมพวิ เตอร์และอุปกรณ์เนต็ เวิร์กเขา้ ดว้ ยกนั ปกติจะ เป็นเครือข่ายแบบ Ethernet 10 BaseT รูปแบบการเช่ือมต่อ หรือ LAN Topology จะเป็นแบบ Star การเชื่อมต่อ แบบน้ีจะใชฮ้ บั เป็นศนู ยก์ ลางในการเชื่อมต่อทุกเคร่ืองจะเช่ือมต่อผา่ ยฮบั และใชส้ าย UTP (Unshielded Twisted Pair) หรือ CAT5 กบั หวั ต่อแบบ RJ-45 ในการรับ-ส่งขอ้ มลู ฮบั จะเป็นเสมือนตวั ทวนสัญญาณ (Repeater) และฮบั บางรุ่นยงั สามารถตรวจจบั ขอ้ มลู (Data Detection) ต่างๆ เช่น Receive Sent Data, Jabbers, Collision Data, Short Frames

ฮับ จะอตั ราความเร็วในการรับ-ส่งขอ้ มลู ต้งั แต่ 10 Mbps (Mega Bit per sec.) จนถึง 100 mbps และจะมี จาํ นวนช่องขนาดเลก็ ต้งั แต่ 4 ช่อง หรือเรียกวา่ ฮบั 4 port (8 port, 12 port,16 port และ 24 port) การเลือกใช้ การ์ดเน็ตเวริ ์กกค็ วรเลือกใหเ้ หมาะสมกบั ความเร็วของฮบั ถา้ ใชก้ าร์ดเน็ตเวิร์กท่ีมีความเร็วเพียง 10 Mbps แลว้ นาํ มาเชื่อมตอ่ กบั ฮบั แบบ 10 Mbps จะทาํ ใหม้ ีอตั ราความเร็วเพยี ง 10 Mbps เท่าน้นั (หรือ ใชก้ าร์ดเนต็ เวริ ์กที่มี ความเร็ว 10 Mbps กบั ฮบั แบบ 10 Mbps กจ็ ะทาํ ใหอ้ ตั ราความเร็วต่าํ ท่ี 10 Mbps เช่นกนั ) ฮบั บางรุ่นจะมีพอร์ต Uplink เอาไวเ้ ช่ือมตอ่ กบั พอร์ตธรรมดาของฮบั ตวั อ่ืนเพื่อขยายช่องสัญญาณ และยงั มีสวิตซ์ในการเลือกความเร็ว ระหวา่ ง 10 หรือ 100 Mbps อปุ กรณ์สวติ ช์ เป็นอปุ กรณ์เครือขา่ ยเช่นเดียวกนั กบั ฮบั ( hub) และมีหนา้ ที่คลา้ ยกบั ฮบั มาก แตม่ ีความแตกต่างที่ ในแตล่ ะพอร์ต (p มีความสามารถในการส่งขอ้ มูลไดส้ ูงกวา่ เช่น สวติ ชท์ ่ีมีความเร็ว 10 Mbps น้นั จะหมายความวา่ ในแตล่ ะพอร์ตจะสามา ขอ้ มูลไดท้ ี่ความเร็ว 10 Mbps และนอกจากน้นั เครื่องทุกเครื่องท่ีตอ่ มายงั สวิตชย์ งั ไม่ไดอ้ ยใู่ น Collision Domain เดียวกนั (ซ่ึงถา้ ฮบั จะอยทู่ ี่เดียวกนั ) นน่ั หมายความวา่ แตล่ ะเครื่องจะไดค้ รอบครองสายสัญญาณแตเ่ พยี งผเู้ ดียว จะไมเ่ กิดปัญหาการแยง่ สายสญั ญาณ และการ ของสัญญาณเกิดข้ึน สวติ ชจ์ ะมีความสามารถมากกวา่ ฮบั แต่ยงั มีการใชง้ านอยใู่ นวงจาํ กดั เพราะราคายงั คอ่ นขา้ งสูงกวา่ ฮบั อยมู่ าก ดงั น้นั นาํ สวิตชม์ าใชใ้ นระบบเครือขา่ ยท่ีตอ้ งการแบ่ง domain เพ่ือเพ่มิ ความเร็วในการติดต่อกบั ระบบ โดยอาจนาํ สวติ ชม์ าเป็น ศูนยก์ ลาง และใชต้ ่อเขา้ กบั เครื่องท่ีมีการเช่ือมตอ่ กบั เครื่องอื่น ๆ เป็นจาํ นวนมาก ซ่ึงส่วนใหญ่จะเป็นเครื่องเซิร์ฟเวอร์ เพ ส่งขอ้ มลู ไดท้ ีละมาก ๆ และส่งดว้ ยความเร็วสูง

การท่ีสวิตชส์ ามารถทาํ งานไดเ้ ร็วกวา่ ฮบั น้นั นอกจากสวติ ชจ์ ะสามารถส่งขอ้ มลู ออกไดม้ ากกวา่ แลว้ ในสวติ ชย์ งั มี r table ซ่ึงเป็นหน่วยความจาํ ของสวิตช์ ที่สามารถจาํ ไดว้ า่ พอร์ตใดมี IP address หรือ MAC address ใดทาํ การเชื่อมตอ่ อยบู่ ใหก้ ารส่งขอ้ มลู เป็นไปไดอ้ ยา่ งรวดเร็ว และยงั ไมเ่ ป็ นการส่งขอ้ มูลในลกั ษณะกระจายไปทุกเคร่ืองของเครือขา่ ยที่เรียกวา่ broadcast ซ่ึงเป็นการสิ้นเปลือง bandwidth โดยไมจ่ าํ เป็น Collision Domain คาํ วา่ collision มีความหมายวา่ การชนกนั ซ่ึงในทางคอมพวิ เตอร์จะหมายความถึง การที่เคร่ืองคอมพวิ เตอร์ในระบ เครือข่ายมากกวา่ 1 เครื่องพยายามที่จะทาํ การส่งขอ้ มลู ในเวลาเดียวกนั ทาํ ใหเ้ กิดการชนกนั ของขอ้ มลู ที่ทาํ การส่ง ซ่ึงคาํ ว collision domain น้นั จะมีความหมายวา่ เคร่ืองท่ีอยใู่ นกลุ่มเดียวกนั และมีความเป็นไปไดท้ ี่จะทาํ ใหเ้ กิด collision ข้ึนได้ c จะมีโอกาสเกิดไดน้ อ้ ยหากวา่ จาํ นวนเคร่ืองที่อยใู่ น collision domain เดียวกนั มีจาํ นวนนอ้ ย ซ่ึงสวิตชจ์ ะทาํ ใหเ้ ครือข่ายท เขา้ กนั แยกออกเป็นโดเมนยอ่ ย ๆ ดงั รูป

เคร่ืองทวนสัญญาณ (repeater)

เป็นอุปกรณ์ที่ทาํ หนา้ ท่ีรับสัญญาณดิจิทลั แลว้ ส่งตอ่ ออกไปยงั อุปกรณ์ต่ออ่ืน เหตุท่ีตอ้ งใชอ้ ุปกรณ์ทวนสญั ญาณ เน่ืองจากการส่งสัญญาณไปในตวั กลางท่ีเป็นสายสัญญาณน้นั เมื่อระยะทางมากข้ึนแรงดนั ของสัญญาณจะลดลงเร่ือย ๆ ไม่สามารถส่งสญั ญาณในระยะทางไกลๆ ได้ ดงั น้นั การใชอ้ ุปกรณ์ทวนสัญญาณจะทาํ ใหส้ ามารถส่งสัญญาณไปไดไ้ ก โดยสัญญาณไมส่ ูญหาย บริดจ์ ( Bridge) เป็นอุปกรณ์ที่ใชใ้ นการเชื่อมตอ่ เครือข่ายสองเครือข่ายเขา้ ดว้ ยกนั ซ่ึงดูแลว้ คลา้ ยกบั เป็นสะพานเช่ือมสองฟากฝั่งเ ดว้ ยกนั ดว้ ยเหตุน้ีจึงเรียกอุปกรณ์น้ีวา่ “ บริดจ”์ ซ่ึงแปลวา่ สะพาน เครือขา่ ยสองเครือข่ายที่นาํ มาเช่ือมตอ่ กนั จะตอ้ งเป็นเครือข่ายชนิดเดียวกนั และใชโ้ ปรโตคอลในการรับส่งขอ้ มลู เหมือนกนั เช่น ใชใ้ นการเชื่อมตอ่ เครือขา่ ยตามมาตรฐานอีเทอร์เนต็ สองเครือข่ายเขา้ ดว้ ยกนั หรือต่อ Token Ring สอง เครือขา่ ยเขา้ ดว้ ยกนั บริดจช์ ่วยลดปริมาณขอ้ มลู บนสาย LAN ไดบ้ า้ ง โดยบริดจจ์ ะแบ่งเครือข่ายออกเป็นเครือขา่ ยยอ่ ย และกรองขอ้ มูล จาํ เป็นเพ่อื ส่งต่อใหก้ บั เครือขา่ ยยอ่ ยท่ีถูกตอ้ งได้ หลกั การทาํ งานของบริดจจ์ ะพิจารณาจากหมายเลขของเครื่องหรือ Me Access Control address (MAC address) ซ่ึงเป็นที่อยทู่ ี่ฝังมาในฮาร์ดแวร์ของการ์ด LAN แต่ละการ์ด ซ่ึงจะไม่ซ้าํ กนั แต หมายเลขจะมีเพียงการ์ดเดียวในโลก บริดจจ์ ะมีการทาํ งานในระดบั ช้นั ที่ 2 คือ Data Link Layer ของ โมเดล OSI คือ มองขอ้ มลู ที่รับส่งกนั เป็น packet เท่าน้นั โดยไมส่ นใจโปรโตคอลท่ีใชส้ ่ือสาร บริดจจ์ ะตรวจสอบขอ้ มลู ที่ส่งโดยพิจารณาจากท่ีอยขู่ องผรู้ ับปลายทาง ถา้

เป็นเครื่องท่ีอยคู่ นละฟากของเครือขา่ ยก็จะขยายสัญญาณ (เช่นเดียวกบั รีพตี เตอร์) แลว้ จึงคอ่ ยส่งต่อให้ แตจ่ ะไมส่ นใจว ส่งใหถ้ ึงเคร่ืองปลายทางจะใชเ้ สน้ ทางใด การติดต้งั บริดจจ์ ะคลา้ ยกบั การติดต้งั Hub ซ่ึงไม่จาํ เป็นตอ้ งปรับแตง่ ค่าตา่ งๆ ท่ีมีอยู่ สามารถต่อใชง้ านไดท้ นั ที แต อาจจะกาํ หนดตวั แปรของค่าท่ีใชค้ วบคุมบริดจไ์ ดถ้ า้ ตอ้ งการ ซ่ึงไม่ยากมากนกั ผดู้ ูแลเครือขา่ ยขนาดเลก็ ๆ ก็สามารถทาํ ในปัจจุบนั ระบบเครือข่ายเร่ิมนิยมใชอ้ ุปกรณ์ท่ีเรียกวา่ สวิตช์ (switch) ซ่ึงทาํ งานในลกั ษณะเดียวกบั บริดจ์ เกตเวย์ (Gateway) เป็นอุปกรณ์ที่มีความสามารถสูงในการเชื่อมตอ่ เครือข่ายตา่ งๆ เขา้ ดว้ ยกนั โดยสามารถเชื่อมตอ่ LAN หลายๆ เครือข่า โปรโตคอลต่างกนั และใชส้ ื่อส่งขอ้ มูลต่างชนิดกนั ไดอ้ ยา่ งไม่มีขีดจาํ กดั ตวั อยา่ งเช่น เช่ือมตอ่ Ethernet LAN ที่ใชส้ าย แบบ UTP เขา้ กบั Token Ring LAN ได้ เกตเวยเ์ ป็นเหมือนนกั แปลภาษาท่ีทาํ ใหเ้ ครือข่ายที่ใชโ้ ปรโตคอลตา่ งชนิดกนั สามารถส่ือสารกนั ได้ หากโปรโตคอ รับส่งขอ้ มูลของเครือขา่ ยท้งั สองไม่เหมือนกนั เกตเวย์ ก็จะทาํ หนา้ ท่ีแปลงโปรโตคอลใหต้ รงกบั ปลายทางและเหมาะส อุปกรณ์ของฮาร์ดแวร์ที่แตล่ ะเครือขา่ ยใชง้ านอยนู่ ้นั ไดด้ ว้ ย ดงั น้นั อุปกรณ์เกตเวยจ์ ึงมีราคาแพงและข้นั ตอนในการติดต ซบั ซอ้ นท่ีสุดในบรรดาอุปกรณ์เครือข่ายท้งั หมด

ในการท่ีเกตเวยจ์ ะสามารถส่งขอ้ มลู จากเครือข่ายหน่ึงไปยงั อีกเครือขา่ ยหน่ึงไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ งน้นั ตวั ของเกตเวยเ์ อง สร้างตารางการส่งขอ้ มูล หรือที่เรียกวา่ routing table ข้ึนมาในตวั ของมนั ซ่ึงตารางน้ีจะบอกวา่ เซิร์ฟเวอร์ไหนอยเู่ ครือข และอยภู่ ายใตเ้ กตเวยอ์ ะไร ตารางน้ีจะมีการปรับปรุงขอ้ มูลทกุ ระยะ สาํ หรับเครือข่ายขนาดใหญ่ อปุ กรณ์ท่ีทาํ หนา้ ท่ีเป็นเกตเวยอ์ าจจะรวมเอาฟังกช์ นั การทาํ งานที่เรียกวา่ Firewall ไวใ้ นตวั ดว้ ย ซ่ึง Firewall เป็นเ กาํ แพงท่ีทาํ หนา้ ที่ป้องกนั ไม่ใหค้ อมพิวเตอร์ที่อยนู่ อกเครือขา่ ยของบริษทั เขา้ มาเช่ือมตอ่ ลกั ลอบนาํ ขอ้ มูลภายในออกไ เคร่ืองแม่ข่ายหรือเคร่ืองเซิร์ฟเวอร์ (Server) เครื่องแม่ข่าย (SERVER) เคร่ืองศนู ยบ์ ริการขอ้ มูล โดยมกั เรียกวา่ เคร่ืองเซิร์ฟเวอร์ เป็นคอมพวิ เตอร์ที่ทาํ หนา้ ท่ีบริการทรัพยากรใหก้ บั เคร่ืองลูกขา่ ยบนเครือข่าย เช่น บริการไฟล์ (File Server), การบริการงานพมิ พ์ (Print Server) เป็นตน้ เครื่อง เซิร์ฟเวอร์อาจเป็นคอมพวิ เตอร์ระดบั เมนเฟรม มินิคอมพวิ เตอร์ หรือไมโครคอมพิวเตอร์กไ็ ด้ โดยคอมพิวเตอร์ท่ี ออกแบบมาเพื่อใชง้ านเป็ นเซิร์ฟเวอร์น้ีมกั จะมีสมรรถนะสูง รวมถึงถูกออกแบบมาเพือ่ รองรับความทนทานตอ่ ความผิดพลาด (Fault Tolerance) เนื่องจากตอ้ งทาํ งานหนกั หรือตอ้ งรองรับงานตลอด 24 ชวั่ โมง ดงั น้นั เครื่อง เซิร์ฟเวอร์จึงมีราคาที่สูงมากเม่ือเทียบกบั คอมพิวเตอร์ที่ใชง้ านทวั่ ๆ ไป สถานีงาน สถานีงาน (Workstation or Terminal) หมายถึง อุปกรณ์หรือเคร่ืองไมโครคอมพวิ เตอร์ ท่ีเช่ือมต่อ กบั เครือขา่ ย คอมพวิ เตอร์ ทาํ หนา้ ที่เป็ นสถานีปลายทางหรือสถานีงาน ที่ไดร้ ับการบริการจากเครื่อง คอมพวิ เตอร์แมข่ า่ ย เรียกวา่ เป็นคอมพิวเตอร์ลูกขา่ ย (Workstation) ในระบบเครือข่ายระยะใกล้ มกั มีหน่วยประมวลผล หรือซีพียขู องตนเอง ใน ระบบท่ีใชเ้ คร่ืองคอมพิวเตอร์เมนเฟรม เป็นศูนยก์ ลาง เรียกสถานีปลายทางวา่ เทอร์มินอล (Terminal) ประกอบดว้ ย

จอภาพและแป้นพิมพเ์ ท่าน้นั ไมม่ ีหน่วยประมวลกลางของตวั เอง ตอ้ งใชห้ น่วยประมวลผลของคอมพิวเตอร์ ศนู ยก์ ลางหรือ Host ไคลเอนต์ (Client) หรือเครื่องลกู ข่าย ไคลเอนต์/เซิร์ฟเวอร์ (client/server) คือ การที่มีเครื่องผใู้ หบ้ ริการ (server) และเครื่องผใู้ ชบ้ ริการ (client) เช่ือมต่อกนั อยู่ และเคร่ืองผใู้ ชบ้ ริการไดม้ ีการติดตอ่ ร้องขอบริการจากเครื่องผใู้ หบ้ ริการ เคร่ืองผู้ ใหบ้ ริการก็จะจดั การตามท่ีเครื่องผขู้ อใชบ้ ริการร้องขอ แลว้ ส่งขอ้ มูลกลบั ไปใหเ้ ครือข่ายแบบ ไคลเอนต/์ เซิร์ฟเวอร์ เหมาะกบั ระบบเครือข่ายที่ตอ้ งการเชื่อมต่อกบั เครื่องลูกขา่ ยจาํ นวนมาก โดยการรองรับจาํ นวนเครื่อง ลูกข่าย (Client) อาจเป็นหลกั สิบหลกั ร้อย หรือหลกั พนั เพราะฉะน้นั เครื่องที่จะนาํ มาทาํ หนา้ ที่ใหบ้ ริการจะตอ้ ง เป็นเคร่ืองที่มี ประสิทธิภาพสูง เน่ืองจากถกู ตอ้ งออกแบบมาเพ่ือทนทานต่อความผิดพลาด ( Fault Tolerance) และตอ้ งคอยใหบ้ ริการทรัพยากร การใหก้ บั เคร่ืองลูกขา่ ยตลอดเวลาโดยเครื่องที่จะนาํ มาทาํ เป็น เซิร์ฟเวอร์อาจเป็นคอมพิวเตอร์แบบเมนเฟรม มินิคอมพิวเตอร์ หรือไมโครคอมพิวเตอร์กไ็ ด้ เครือข่ายประเภทน้ีจะมีเครื่องศูนยบ์ ริการ ที่เรียกวา่ เคร่ืองเซิร์ฟเวอร์ และมีเคร่ืองลกู ข่ายต่าง ๆ เชื่อมต่อ โดยเครือขา่ ยหน่ึงอาจมีเครื่องเซิร์ฟเวอร์มากกวา่ หน่ึงตวั เชื่อมตอ่ ภายในวงแลนเดียวกนั ซ่ึงเซิร์ฟเวอร์แตล่ ะตวั ก็ ทาํ หนา้ ที่รับผิดชอบที่แตกต่างกนั เช่น 1.ไฟลเ์ ซิร์ฟเวอร์ (File Server) คือ เคร่ืองที่ใหบ้ ริการแฟ้มขอ้ มูลใหแ้ ก่เคร่ืองลกู ข่าย 2.พรินตเ์ ซิร์ฟเวอร์ (Print Server) คือ เครื่องที่บริการงานพิมพใ์ หแ้ ก่เคร่ืองลูกขา่ ย โดยบนั ทึกงานพิมพเ์ กบ็ ไวใ้ น รูปแบบของสพูล (Spool) และดาํ เนินการพิมพง์ านตามลาํ ดบั คิว 3.ดาตา้ เบสเซิร์ฟเวอร์ (Database Server) คือ เครื่องท่ีบริการฐานขอ้ มลู ใหแ้ ก่เครื่องลูกข่าย 4.เวบ็ เซิร์ฟเวอร์ (Web Server) คือ เครื่องที่จดั เก็บขอ้ มลู ดา้ นเวบ็ เพจขององคก์ ร เพื่อใหผ้ ทู้ อ่ งอินเตอร์เน็ต สามารถเขา้ ถึงเวบ็ ขององคก์ รได้ 5.เมลเซิร์ฟเวอร์ (Maill Server) คือ เคร่ืองท่ีจดั เกบ็ ขอ้ มลู ดา้ นจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ หรือ E-mail ท่ีมีการรับส่ง ระหวา่ งกนั ภายในเครือข่าย

ภาพไคลเอนต/์ เซิร์ฟเวอร์ (Client/Server Network) หน่วยท่ี 3 ประเภทของเครือข่าย ประเภทของเครือข่ายคอมพวิ เตอร์ เครือข่ายสามารถจาํ แนกออกได้ หลายประเภทแลว้ แตเ่ กณฑท์ ี่ใช้ เช่น ขนาด ลกั ษณะการแลกเปล่ียน ขอ้ มลู ของคอมพวิ เตอร์ เป็นตน้ โดยทวั่ ไปการจาํ แนกประเภทของเครือข่ายมีอยู่ 4 วิธี คือ 1. LAN (Local Area Network) : ระบบเครือข่ายระดบั ทอ้ งถ่ิน 2. MAN (Metropolitan Area Network) : ระบบเครือขา่ ยระดบั เมือง 3. WAN (Wide Area Network) ; ระบบเครือขา่ ยระยะไกล 4. ระบบเครือข่ายอินทราเน็ต (Intranet) 5. ระบบเครือข่ายอินเทอร์ (Intemet) ระบบเครือข่ายท้องถิ่น (LAN) ระบบเครือขา่ ยแบบ LAN หรือระบบเครือขา่ ยเฉพาะบริเวณ โดยปกติแลว้ จะเป็นระบบเครือขา่ ยส่วนตวั (Private Network) นนั่ คือองคก์ รที่ตอ้ งการใชง้ านเครือข่าย ทาํ การสร้าง เครือข่ายคอมพวิ เตอร์ที่เชื่อมต่อกนั

เป็นระบบเครือขา่ ยในระยะใกล้ ๆ ซ่ึงจะช่วยใหเ้ กิดประโยชน์แก่องคก์ รและธุรกิจตา่ งๆ มากมาย เช่น - สามารถแบง่ เบาการประมวลผลไปยงั เคร่ืองต่างๆ เฉลี่ยกนั ไป - สามารถแบง่ กนั ใชง้ านอปุ กรณ์ตา่ งๆ เช่น เครื่องพมิ พ์ ซีดีรอมไดร์ฟ เคร่ืองคอมพิวเตอร์ที่มี ประสิทธิภาพสูง เป็นตน้ - สามารถแบง่ กนั ใชง้ านซอฟตแ์ วร์และขอ้ มูลหรือสารสนเทศตา่ งๆ รวมท้งั ทาํ ใหส้ ามารถจดั เกบ็ ขอ้ มลู เหลา่ น้นั ไวเ้ พยี งที่เดียว - สามารถวางแผนหรือทาํ งานร่วมกนั เป็นกล่มุ ได้ แมจ้ ะไมไ่ ดอ้ ยใู่ กลก้ นั ก็ตาม - สามารถใชใ้ นการติดต่อกนั เช่น ส่งจดหมายทางอิเลก็ ทรอนิกส์ หรือการส่งเสียงหรือภาพทาง อิเลก็ ทรอนิกส์ เป็นตน้ - ช่วยลดค่าใชจ้ ่ายโดยรวมขององคก์ ร ชนดิ การเชื่อมต่อของเครือข่าย LAN การเชื่อมต่อคอมพวิ เตอร์เขา้ ดว้ ยกนั เป็นเครือข่ายเฉพาะบริเวณ (LAN) น้นั จุดประสงคห์ ลกั อยา่ งหน่ึงก็ คือการแบง่ กนั ใชท้ รัพยากรท่ีมีอยู่ โดยทรัพยากรเหลา่ น้นั อาจเป็นหน่วยประมวลผลกลาง (CPU) ความเร็ว สูง ฮาร์ดดิสก์ เครื่องพมิ พ์ หรือแมแ้ ตอ่ ปุ กรณ์ส่ือสารต่างๆ ซ่ึงอุปกรณ์เหล่าน้ีจะเชื่อมอยกู่ บั คอมพิวเตอร์ เครื่องใดเคร่ืองหน่ึง วิธีการเช่ือมต่อเครือขา่ ยคอมพิวเตอร์ เพ่ือจดั สรรการใชง้ านทรัพยากรในระบบเครือข่ายสามารถจาํ แนกได้ เป็น 3 รูปแบบ คือ เครือข่ายแบบ Peer-to-Peer เครือข่ายแบบ Server-based เครือข่ายแบบ Client/Server

ตาราง เปรียบเทียบการเช่ือมตอ่ แบบ Server based เทียบกบั Peer-to-Peer เครือข่าย ข้อดี ข้อเสีย Server- - มีประสิทธิภาพสูงกวา่ - เสียคา่ ใชจ้ ่ายสูงสาํ หรับเครื่อง Server Based โดยเฉพาะอยา่ งยงิ่ ถา้ เป็น โดยเฉพาะอยา่ งยงิ่ หากเป็ นแบบ Dedicated แบบ Dedicated Server Server ซ่ึงไม่สามารถนาํ ไปใชง้ านอยา่ งอื่นได้ - การดูแลระบบสามารถทาํ - ไมส่ ามารถใชง้ านทรัพยากรที่เช่ือมอยกู่ บั ไดง้ า่ ยกวา่ Workstation ได้ -เร็ว - ถา้ Server เสียระบบจะหยดุ หมด -ใชก้ บั เครือข่ายขนาดใหญ่ -ติดต้งั ยากกวา่ ได้ -ระบบรักษาความปลอดภยั ดี Peer-to- - สามารถใชง้ านทรัพยากร - การดูแลระบบทาํ ไดย้ าก เน่ืองจากทรัพยากร Peer ซ่ึงเช่ือมอยกู่ บั เคร่ืองใดๆ ใน กระจดั กระจายกนั ไปในเครื่องตา่ งๆ เครือขา่ ย - มีประสิทธิภาพที่ต่าํ กวา่ แบบ Server based - ประหยดั ค่าใชจ้ ่ายในส่วน มาก ของ Server - เครื่องทุกเคร่ืองตอ้ งมีหน่วยความจาํ และ - สามารถกระจายโปรแกรม ประสิทธิภาพสูง กวา่ เคร่ือง workstaion ใน ประยกุ ตไ์ ปไวย้ งั เคร่ืองตา่ งๆ แบบ Server-based เพื่อลดการจราจรในเครือขา่ ย -ความเร็วไม่สูงเท่าแบบ Server-based ได้ -ระบบความปลอดภยั ไมค่ อ่ ยดี -ติดต้งั ง่าย ใชง้ านงา่ ย

ลกั ษณะการเช่ือมต่อของเครือข่ายคอมพวิ เตอร์ รูปแบบการเช่ือมต่อ (type of connection) หมายถึง วิธีการที่อปุ กรณ์ต้งั แต่ 2 วิธีการท่ีอปุ กรณ์ต้งั แต่ 2 อปุ กรณ์ เชื่อมต่อกนั ดว้ ยส่ือส่งขอ้ มลู (transmission link) 1 ส่ือ สื่อส่งขอ้ มลู เป็นลกั ษณะทางกายภาพ (physical) และไมจ่ าํ เป็นตอ้ งเป็นสายทองแดง อยา่ งเดียวอาจเป็นคล่ืนวิทยหุ รือคลื่นอ่ืนๆ สื่อส่งขอ้ มูลทาํ หนา้ ท่ีเป็นเสน้ ทางใหข้ อ้ มลู ขา่ วสารเดินทางจาก อุปกรณ์หน่ึงไปอีกอุปกรณ์หน่ึง หรือไปยงั อปุ กรณ์หลายๆ ตวั ได้ สื่อส่งขอ้ มลู ไดแ้ ก่ สายทองแดง สายใยแกว้ นาํ แสง คลื่นแม่เหลก็ ไฟฟ้า เป็นตน้ รูปแบบการติดต้งั สายมี 2 แบบ ไดแ้ ก่ 1. แบบจดุ ต่อจดุ แบบจุดต่อจดุ (point-to-point) คือ วธิ ีเช่ือมตอ่ ส่ือสงขอ้ มลู ระหวา่ งอปุ กรณ์ 2 อุปกรณ์ โดยมีเสน้ ทาง เพียง 1 เส้นเทา่ น้นั เช่น ลกั ษณะการเช่ือมตอ่ ระหวา่ งเครื่องคอมพวิ เตอร์พีซีแต่ละเครื่องมีเพยี งสายเพยี ง 1 สาย ต่อเชื่อมโยงกนั ในการทาํ งาน หรือในเคร่ืองที่ทาํ หนา้ ท่ีเป็นเครื่องปลายทาง 1 เครื่อง เชื่อมตอ่ กบั เคร่ืองเมนเฟรม โดยใชส้ าย 1 เสน้ หรือในอีกกรณีหน่ึงเคร่ืองคอมพิวเตอร์ 2 เคร่ืองส่ือสารกนั โดยใชก้ ารส่งขอ้ มลู ผา่ นคล่ืน ไมโครเวฟ ดงั รูป 2. แบบหลายจดุ หรือมลั ติดรอปไลน์ แบบหลายจดุ หรือ มัลติดรอปไลน์ (multidrop lime) หมายถึง สื่อส่งขอ้ มลู 1 ส่ือ มีอุปกรณ์หลายๆ อุปกรณ์ ใช้ ส่ือส่งขอ้ มูลหรือสายร่วมกนั ดงั รูปท่ี 2.3 นอกจากน้ีถา้ ส่ือส่งขอ้ มลู เป็นคล่ืนวิทยุ แบบหลายจุดใชค้ ลื่นวิทยใุ น อากาศร่วมกนั การใชค้ ล่ืนวทิ ยรุ ่วมกนั ทาํ ไดโ้ ดยแบ่งความถี่ออกเป็นช่วงความถี่ของอุปกรณ์แตล่ ะตวั ซ่ึงถือวา่

เป็นการใชส้ ื่อส่งขอ้ มลู ร่วมกนั ในแบบแบ่งส่วนที่เรียกวา่ การแบ่งปันส่วน (spatially share) หรืออาจผลดั กนั ใช้ ส่ือส่งขอ้ มูลโดยกาํ หนดระยะเวลาการใชท้ ่ีเรียกวา่ การแบ่งปันเวลา (time share) รูปแบบการเชื่อมต่อเครือข่ายคอมพวิ เตอร์ รูปแบบการเช่ือมต่อเครือข่าย ( Topologies ) รูปแบบการเช่ือมตอ่ เครือข่ายหรือมกั เรียกส้ัน ๆ วา่ โทโพโลยี เป็นลกั ษณะทว่ั ไปที่กลา่ วถึงการเชื่อมต่อ คอมพวิ เตอร์ทางกายภาพวา่ มีรูปแบบหนา้ ตาอยา่ งไร เพื่อใหส้ ามารถสื่อสารร่วมกนั ไดแ้ ละดว้ ยเทคโนโลยี เครือขา่ ยทอ้ งถิ่นจะมีรูปแบบของโทโพโลยหี ลายแบบดว้ ยกนั ดงั น้นั จึงเป็นสิ่งสาํ คญั ท่ีจะตอ้ งเรียนรู้และทาํ ความเขา้ ใจแต่ละโทโพโลยวี า่ มีความคลา้ ยคลึง หรือแตกต่างกนั อยา่ งไร รวมถึงขอ้ ดีและขอ้ เสียของแตล่ ะ โทโพโลยี และโดยปกติโทโพโลยีท่ีนิยมใชก้ นั บนเครือขา่ ยทอ้ งถิ่นจะมีอยู่ 5 ชนิดดว้ ยกนั คือ โทโพโลยีแบบบสั โทโพโลยีแบบดาว โทโพโลยีแบบวงแหวน โทโพโลยีแบบเมช โทโพโลยแี บบทรี 1. แบบบัส ( BUS Topology ) เป็นการเชื่อมต่อคอมพวิ เตอร์ทุกเคร่ืองบนสายสัญญาณหลกั เสน้ เดียว ที่ เรียกวา่ BUS ทีปลายท้งั สองดา้ นปิ ดดว้ ยอุปกรณ์ท่ีเรียกวา่ Teminator ไมม่ ีคอมพิวเตอร์เคร่ืองใดเคร่ืองหน่ึง เป็นศนู ยก์ ลางในการเชื่อมตอ่ คอมพวิ เตอร์เคร่ืองใดหยดุ ทาํ งาน กไ็ มม่ ีผลกบั คอมพวิ เตอร์เคร่ืองอ่ืน ๆ ใน เครือขา่ ย

ข้อดี ของการเชื่อแบบบสั คือ สามารถติดต้งั ไดง้ ่าย เน่ืองจากเป็นโครงสร้างเครือข่ายที่ไมซ่ บั ซอ้ น การเดินสายเพื่อตอ่ ใชง้ าน สามารถทาํ ไดง้ ่าย ประหยดั ค่าใชจ้ ่าย กล่าวคือ ใชส้ ายส่งขอ้ มลู นอ้ ยกวา่ เน่ืองจากสามารถเชื่อมต่อกบั สายหลกั ไดท้ นั ที งา่ ยตอ่ การเพิ่มสถานีใหมเ่ ขา้ ไปในระบบ โดยสถานีน้ีสามารถใชส้ ายส่งขอ้ มลู ที่มีอยแู่ ลว้ ได้ ข้อเสีย ของการเช่ือแบบบสั คือ 1. ถา้ มีสายเสน้ ใดเสน้ หน่ึงหลดุ ไปจากสถานีใดสถานีหน่ึง กจ็ ะทาํ ใหร้ ะบบเครือข่ายน้ีหยดุ การทาํ งานลง ทนั ที 2. ถา้ ระบบเกิดขอ้ ผิดพลาดจะหาขอ้ ผดิ พกลาดไดย้ าก โดยเฉพาะถา้ เป็นระบบเครือขา่ ยขนาดใหญ่ 2. แบบดาว ( Star topology ) เป็นการเชื่อมตอ่ สถานีหรือจุดต่าง ๆ ออกจากคอมพิวเตอร์ศนู ยก์ ลางหรือ คอมพิวเตอร์แมข่ า่ ยท่ีเรียกวา่ File Server แตล่ ะสถานีจะมีสายสัญญาณเช่ือมตอ่ กบั ศนู ยก์ ลาง ไมม่ ีการใช้ สายสญั ญาณร่วมกนั เม่ือสถานีใดเกิดความเสียหายจะไมม่ ีผลกระทบกบั สถานีอ่ืน ๆ ปัจจุบนั นิยมใช้ อปุ กรณ์ HUB เป็นตวั เชื่อมตอ่ จากคอมพิวเตอร์แมข่ า่ ยหรือคอมพวิ เตอร์ศูนยก์ ลาง

ข้อดี ของการเชื่อมแบบดาว คือ ง่ายตอ่ การใชบ้ ริการ เพราะมีศนู ยก์ ลางอยทู่ ่ีคอมพวิ เตอร์แม่ข่ายอยเู่ คร่ือง เดียวและเม่ือเกิดความเสียหายที่คอมพิวเตอร์เครื่องใดเครื่องหน่ึง คอมพิวเตอร์เคร่ืองอ่ืนก็จะไมม่ ีผลกระทบ อนั ใดเพราะใชส้ ายคนละเสน้ ข้อเสีย ของการเชื่อมแบบดาว คือ ตอ้ งใชส้ ายสญั ญาณจาํ นวนมาก เพราะแตล่ ะสถานีมีสายสัญญาณของ ตนเองเชื่อมตอ่ กบั ศูนยก์ ลางจึงเหมาะสมกบั เครือขา่ ยระยะใกลม้ าก กวา่ การเช่ือมตอ่ เครือขา่ ยระยะไกล การ ขยายระบบกย็ งุ่ ยากเพราะตอ้ งเชื่อมตอ่ สายจากศนู ยก์ ลางออกมา ถา้ ศนู ยก์ ลางเสียหายระบบจะใชก้ ารไมไ่ ด้ 3. แบบวงแหวน ( Ring Topology ) เป็นการเช่ือมต่อเครือขา่ ยเป็นรูปวงแหวนหรือแบบวนรอบ โดยสถานี แรกเชื่อมต่อกบั สถาน สุดทา้ ย การรับส่งขอ้ มูลในเครือข่ายจะตอ้ งผา่ นทกุ สถานี โดยมีตวั นาํ สารว่งิ ไปบน สายสญั ญาณของแตล่ ะสถานี ตอ้ งคอยตรวจสอบขอ้ มลู ที่ส่งมา ถา้ ไมใ่ ช่ของตนเองตอ้ งส่งผา่ นไปยงั สถานีอ่ืน ต่อไป ข้อดี ของการเช่ือมแบบวงแหวน คือ ใชส้ ายสัญญาณนอ้ ยกวา่ แบบดาว เหมาะกบั การเช่ือมต่อดว้ ย สายสัญญาณใยแกว้ นาํ แสง เพราะส่งขอ้ มลู ทางเดียวกนั ดว้ ยความเร็วสูง ข้อเสีย ของการเช่ือมแบบวงแหวน คือ ถา้ สถานีใดเสียระบบก็จะไม่สามารถทาํ งานต่อไปไดจ้ นกวา่ จะแกไ้ ข จุดเสียน้นั และยากในการตรวจสอบวา่ มีปัญหาที่จุดใดและถา้ ตอ้ งการเพ่มิ สถานีเขา้ ไปจะพกหระทาํ ไดย้ าก ดว้ ย

4. โทโพโลยแี บบเมช (Mesh Topology) เป็นรูปแบบท่ีถือวา่ สามารถป้องกนั การผดิ พลาดท่ีอาจจะเกิดข้ึนกบั ระบบไดด้ ีที่สุด เป็นรูปแบบที่ใช้ วิธีการเดินสายของแตเ่ ครื่อง ไปเช่ือมการติดตอ่ กบั ทกุ เคร่ืองในระบบเครือขา่ ย คือเคร่ืองทุกเครื่องในระบบ เครือข่ายน้ี ตอ้ งมีสายไปเช่ือมกบั ทุก ๆ เคร่ือง ระบบน้ียากตอ่ การเดินสายและมีราคาแพง จึงมีคอ่ ยมีผนู้ ิยม มากนกั ข้อดี - อตั ราความเร็วในการส่งขอ้ มลู ความเช่ือถือไดข้ องระบบ - งา่ ยต่อการตรวจสอบความผิดพลาด - ขอ้ มูลมีความปลอดภยั และมีความเป็นส่วนตวั ข้อเสีย จาํ นวนจุดที่ตอ้ งใชใ้ นการเชื่อมตอ่ และจาํ นวน Port I/O ของแตล่ ะโหนดมีจาํ นวนมาก (ตามสูตรขา้ งตน้ ) ถา้ ในกรณีท่ีจาํ นวนโหนดมาก เช่นถา้ จาํ นวนโหนดท้งั หมดในเครือข่ายมีอยู่ 100 โหนด จะตอ้ งมีจาํ นวนจุด เช่ือมต่อถึง 4,950 เส้น เป็นตน้ 5. โทโพโลยแี บบทรี (Tree Topology) โทโพโลยีแบบต้นไม้ (Tree Topology) มีลกั ษณะเชื่อมโยงคลา้ ยกบั โครงสร้างแบบดาวแต่จะมีโครงสร้าง แบบตน้ ไม้ โดยมีสายนาํ สัญญาณแยกออกไปเป็นแบบกิ่งไม่เป็นวงรอบ โครงสร้างแบบน้ีจะเหมาะกบั การ

ประมวลผลแบบกลุ่มจะประกอบดว้ ยเครื่อง คอมพวิ เตอร์ระดบั ตา่ งๆกนั อยหู่ ลายเครื่องแลว้ ต่อกนั เป็นช้นั ๆ ดูราวกบั แผนภาพองคก์ ร แต่ละกล่มุ จะมีโหนดแมล่ ะโหนดลกู ในกล่มุ น้นั ท่ีมีการสมั พนั ธ์กนั การส่ือสาร ขอ้ มูลจะผา่ นตวั กลางไปยงั สถานีอ่ืนๆไดท้ ้งั หมด เพราะทกุ สถานีจะอยบู่ นทางเช่ือม และรับส่งขอ้ มลู เดียวกนั ดงั น้นั ในแต่ละกลุม่ จะส่งขอ้ มูลไดท้ ีละสถานีโดยไม่ส่งพร้อมกนั ข้อดี 1. รองรับการขยายเครือขา่ ยในแต่ละจุด 2. รองรับอปุ กรณ์จากผผู้ ลิตท่ีแตกต่างกนั ข้อเสีย 1.ความยาวของแต่ละเซ็กเมนตอ์ าจแตกต่างกนั ไปข้ึนอยกู่ บั สายสญั ญาณที่ใช้ 2.หากสายสัญญาณแบ๊กโบนเสียหาย เครือข่ายจะไมส่ ามารถสื่อสารกนั ได้ 3.การติดต้งั ทาํ ไดย้ ากกวา่ โพโลยแี บบอื่น หน่วยที่ 4 การเชื่อมต่อเครือข่าย การเช่ือมต่อระบบเครือข่ายเบือ้ งต้น

ในปัจจุบนั เครื่องคอมพิวเตอร์ไดม้ ีการเชื่อมต่อเครือข่ายคอมพวิ เตอร์ในลกั ษณะรูปแบบของการแบง่ พ้ืนท่ีได้ 3 แบบไดแ้ ก่ LAN(Local Area Network), WAN (Wide Area Network). Internet และไดม้ ีการพฒั นา สถาปัตยกรรมซอฟแวร์ Client/Server โดยไดร้ ับการออกแบบแบ่งเป็น 2 ส่วน คือส่วน ท่ีใหบ้ ริการ (Server) และส่วนท่ีผใู้ ชบ้ ริการ (Client) โดยผใู้ ชข้ อ้ มูลจะมีซอฟแวร์ในการติดตอ่ ไปยงั ผใู้ หบ้ ริการ Server กจ็ ะ ตอบสนองโดยการดูความตอ้ งการของผใู้ ช้ ระบบ Client/ Server ไดถ้ ูกพฒั นาข้ึนมาเป็นการลดคา่ ใชจ้ ่ายระบบ Time Sharing ของ เครื่อง Mainframe ซ่ึงระบบ Client/ Server เป็นระบบประมวลผลแบบกระจาย (Distributed Processing) โดยจะ แบ่งการประมวลผลระหว่าง Client และ Server โปรแกรมประยกุ ต์ (Application Program) จะประมวลผล บางส่วนที่ Client และบางส่วนกป็ ระมวลผลท่ี Server รูปแบบของ Client/Server 1.Stand-alone Client/Server มีผใู้ ชบ้ ริการผใู้ หบ้ ริการอยใู่ นเครื่องเดียวกนั รูปแบบของ Client/Server 2.Department Client/Server เป็นการทาํ งานที่ผใู้ หบ้ ริการจะบริการจะบริการฐานขอ้ มูล และ โปรแกรมประยกุ ต์ ต่างๆ ที่อยบู่ น Server โดยจะเชื่อมตอ่ กนั ดว้ ยระบบเครือข่ายทอ้ งถ่ิน (LAN) และ Middleware ประสิทธิภาพการ ประมวลจะชา้ กวา่ Stand alone เพราะตอ้ งผา่ นเครือข่าย

3. Enterprise Client/Server เป็นการทาํ งานที่เชื่อมโยงเครื่อง Server ตา่ ง Platform เขา้ ดว้ ยกนั สามารถใช้ ทรัพยากรร่วมกนั ได้ โดยผา่ น Middleware ตัวกลางการเช่ือมต่อเครือข่าย ตวั กลางหรือตวั กลางการส่ือสารข้อมูล (Communication Medium) ถือเป็นองคป์ ระกอบสาํ คญั ของการ ส่ือสารขอ้ มลู เพราะการเลือกใชส้ ่ือที่เหมาะสม ทาํ ใหเ้ กิดประสิทธิภาพในการส่งและประหยดั ตน้ ทนุ ใน การส่ง ตวั กลางในการส่ือสารขอ้ มูลแบ่งออกเป็น 2 ประเภท ดงั น้ี 1. ตวั กลางในการนาํ ขอ้ มูลแบบมีสาย 2. ตวั กลางในการนาํ ขอ้ มูลแบบไร้สาย ตัวกลางในการนําข้อมูลแบบมีสาย 1. โมเดม็ (Modem) เป็นฮาร์ดแวร์ท่ีทาํ หนา้ ท่ีแปลงสัญญาณแอนะลอ็ กใหเ้ ป็นสัญญาณดิจิตลั เมื่อ ขอ้ มลู ถกู ส่งมายงั ผรู้ ับละแปลงสญั ญาณดิจิตลั ใหเ้ ป็ นแอนะลอ็ ก เมื่อตอ้ งการส่งขอ้ มลู ไปบน ช่องสื่อสาร กระบวนการท่ีโมเด็มแปลงสัญญาณดิจิตลั ใหเ้ ป็นสญั ญาณแอนะลอ็ ก เรียกวา่ มอดูเลชนั

(Modulation) โมเด็มทาํ หนา้ ที่ มอดูเลเตอร์ (Modulator) กระบวนการท่ีโมเด็มแปลงสญั ญาณแอนะลอ็ ก ให้ เป็นสญั ญาณแอนะลอ็ ก ใหเ้ ป็นสัญญาณดิจิตลั เรียกวา่ ดีมอดูเลชนั (Demodulation) โมเด็มหนา้ ที่ ดีมอดูเล เตอร์ (Demodulator)โมเดม็ ท่ีใชก้ นั อยา่ งแพร่หลายในปัจจุบนั มี 2 ประเภทโมเดก็ ในปัจจุบนั ทาํ งานเป็นท้งั โมเดม็ และ เครื่องโทรสาร เราเรียกวา่ Faxmodem 2. การ์ดเครือข่าย (Network Adapter) หรือ การ์ด LAN เป็นอุปกรณ์ทาํ หนา้ ที่ส่ือสารระหวา่ งเครื่อง ต่างกนั ไดไ้ ม่จาํ เป็นตอ้ งเป็ นรุ่นหรือยห่ี อ้ เดียวกนั แต่หากซ้ือพร้อมๆกนั กแ็ นะนาํ ใหซ้ ้ือรุ่นและยหี อ้ เดียวกนั จะดีกวา่ และควรเป็น การ์ดแบบ PCI เพราะสามารถส่งขอ้ มลู ไดเ้ ร็วกวา่ แบบ ISAและเมนบอร์ดรุ่นใหมๆ่ มกั จะไม่มี Slot ISA ควรเป็นการ์ดท่ีมีความเร็วเป็น 100 Mbpsซ่ึงจะมีราคามากกวา่ การ์ดแบบ 10 Mbps ไม่ มากนกั แต่ส่งขอมลู ไดเ้ ร็วกวา่ นอกจากน้ีคุณควรคาํ หนึงถึงข้วั ตอ่ หรือคอนเนก็ เตอร์ของการ์ดดว้ ย โดยทว่ั ไปคอนเน็กเตอร์ ของการ์ด LAN จะมีหลายแบบ เช่น BNC , RJ-45 เป็นตน้ ซ่ึงคอนเนก็ เตอร์แต่ละ แบบกจ็ ะใชส้ ายท่ีแตกต่างกนั 3. เราเตอร์ (Router) เป็นอปุ กรณ์ที่ซบั ซ้อนกวา่ บริดจ์ ทาํ หนา้ ท่ีเช่ือมต่อ LAN หลายๆ เครือข่ายเขา้ ดว้ ยกนั คลา้ ยกบั สวิตชแ์ ต่จะมีส่วนเพ่มิ เติมข้ึนมาคือ เราเตอร์สามารเชื่อมต่อ LAN ที่ใชโ้ ปรโตคอลในการรับส่ง ขอ้ มูลเหมือนกนั แต่ใชส้ ื่อส่งขอ้ มลู หรือสายส่งตา่ งชนิดกนั ได้ เช่น เชื่อมตอ่ Ethernet LAN ท่ีใชร้ ับส่งขอ้ มลู แบบ UTP เขา้ กบั Ethernet อีกเครือขา่ ยหน่ึงท่ีใชส้ ายขอ้ มลู แบบ coaxial cable ได้ เราเตอร์ทาํ งานเสมือนเป็ นเคร่ืองหรือโหนดหน่ึงใน LAN ซ่ึงจะทาํ การรับขอ้ มูลเขา้ มาแลว้ ส่งตอ่ ไปยงั ปลายทาง โดยอาจส่งในรูปแบบของ packet ท่ีตา่ งออกไปจากเดิม เพื่อไปผา่ นสายสัญญาณแบบอ่ืน ๆ เช่น สายโทรศพั ทท์ ี่ตอ่ ผา่ นโมเด็มก็ได้ ดงั น้นั เราจึงอาจใชเ้ ราเตอร์เพือ่ เช่ือมตอ่ LAN หลาย ๆ แบบเขา้ ดว้ ยกนั ได้ ดว้ ย และจากการที่มนั ทาํ ตวั เสมือนเป็นโหนด ๆ หน่ึงใน LAN ทาํ ใหเ้ ราเตอร์สามารถทาํ งานอื่น ๆ อีกมาก เช่น รวบรวมขอ้ มลู เพื่อหาเสน้ ทางท่ีดีที่สุดในการส่งขอ้ มลู ต่อ หรือตรวจสอบวา่ ขอ้ มลู ที่เขา้ มาน้นั มาจาก ไหน ควรจะใหผ้ า่ นหรือไม่ เพอ่ื ช่วยในเร่ืองการรักษาความปลอดภยั ดว้ ย 4. ฮับ (Hub) อุปกรณ์ที่ทาํ งานในระดบั layer 1 ซ่ึงเป็น layer เก่ียวขอ้ งกบั เร่ืองของการส่งสัญญาณออก ไปสู่ mediaหรือ สื่อกลางท่ีใชใ้ นการส่ือสาร รวมไปถึงเรื่องของการเขา้ รหสั สญั ญาณเพ่ือท่ีจะส่งออกไปเป็น ค่าต่างๆในทางไฟฟ้า และ เป็น layer ที่กาํ หนดถึง การเชื่อมต่อต่างๆที่เป็นไปในทาง physical hub น้นั จะ

ทาํ งานในลกั ษณะของการทวนสัญญาณ หมายถึงวา่ จะทาํ การทาํ ซ้าํ สัญญาณน้นั อีกคร้ัง ซ่ึงเป็นคนละอยา่ ง กบั การขยายสัญญาณนะครับ พอทาํ แลว้ กจ็ ะส่งออกไปยงั เครือข่ายท่ีเช่ือมตอ่ อยโู่ ดยจะมีหลกั วา่ จะส่งออก ไปยงั ทุกๆ port ยกเวน้ port ที่เป็นตวั ส่งสญั ญาณออกมาและเม่ือปลายทางแต่ละจุดรับขอ้ มลู ไปแลว้ ก็จะตอ้ ง พจิ ารณา ขอ้ มลู ที่ไดม้ า วา่ ขอ้ มูลน้นั ส่งมาถึงตวั เองหรือไม่ ถา้ หากไม่ใช่ขอ้ มลู ที่จะส่งมาถึงตวั เอง ก็จะไมร่ ับ ขอ้ มลู ท่ีส่งมาน้นั การทาํ งานในระดบั น้ี ถา้ ดูในส่วนของตวั hub เองน้นั จะเห็นไดว้ า่ ตวั ของ hub น้นั เวลาส่งขอ้ มูลออกไป จะไมม่ ีการพิจารณาขอ้ มลู อยา่ งพวก mac address ของ layer 2หรือ ip addressซ่ึงเป็น ของ layer 3 เลย 5. อุปกรณ์สวิตช์ (Switch) เป็นอปุ กรณ์เครือข่ายเช่นเดียวกนั กบั ฮบั ( hub) และมีหนา้ ที่คลา้ ยกบั ฮบั มาก แตม่ ี ความแตกต่างที่ ในแตล่ ะพอร์ต (port) จะมีความสามารถในการส่งขอ้ มลู ไดส้ ูงกวา่ เช่น สวติ ชท์ ่ีมี ความเร็ว 10 Mbps น้นั จะหมายความวา่ ในแตล่ ะพอร์ตจะสามารถส่งขอ้ มูลไดท้ ่ีความเร็ว 10 Mbps และ นอกจากน้นั เครื่องทกุ เครื่องที่ตอ่ มายงั สวิตชย์ งั ไม่ไดอ้ ยใู่ น Collision Domain เดียวกนั ดว้ ย (ซ่ึงถา้ ฮบั จะอย)ู่ นน่ั หมายความวา่ แตล่ ะเคร่ืองจะไดค้ รอบครองสายสญั ญาณแต่เพียงผเู้ ดียว จะไมเ่ กิดปัญหาการแยง่ สายสัญญาณ และการชนกนั ของสญั ญาณเกิดข้ึน สวติ ชจ์ ะมีความสามารถมากกวา่ ฮบั แตย่ งั มีการใชง้ านอยใู่ นวงจาํ กดั เพราะราคายงั คอ่ นขา้ งสูงกวา่ ฮบั อยมู่ าก ดงั น้นั จึงมีการนาํ สวิตชม์ าใชใ้ นระบบเครือขา่ ยที่ตอ้ งการแบ่ง domain เพ่ือเพม่ิ ความเร็วในการ ติดตอ่ กบั ระบบ โดยอาจนาํ สวิตชม์ าเป็นศนู ยก์ ลาง และใชต้ อ่ เขา้ กบั เครื่องที่มีการเช่ือมตอ่ กบั เคร่ืองอื่น ๆ เป็นจาํ นวนมาก ซ่ึงส่วนใหญ่จะเป็นเคร่ืองเซิร์ฟเวอร์ เพื่อจะไดส้ ่งขอ้ มูลไดท้ ีละมาก ๆ และส่งดว้ ยความเร็ว สูง 6. เครื่องทวนสัญญาณ (repeater) เป็นอุปกรณ์ที่ทาํ หนา้ ท่ีรับสญั ญาณดิจิทลั แลว้ ส่งตอ่ ออกไปยงั อุปกรณ์ ตอ่ อื่น เหตทุ ่ีตอ้ งใชอ้ ปุ กรณ์ทวนสัญญาณ เนื่องจากการส่งสัญญาณไปในตวั กลางที่เป็นสายสัญญาณน้นั เมื่อระยะทางมากข้ึนแรงดนั ของสัญญาณจะลดลงเร่ือยๆ ทาํ ใหไ้ มส่ ามารถส่งสญั ญาณในระยะทางไกลๆ ได้ ดงั น้นั การใชอ้ ปุ กรณ์ทวนสญั ญาณจะทาํ ใหส้ ามารถส่งสญั ญาณไปไดไ้ กลข้ึน โดยสญั ญาณไมส่ ูญหาย

7. บริดจ์ ( Bridge ) เป็นอุปกรณ์ที่ใชใ้ นการเชื่อมต่อเครือขา่ ยสองเครือข่ายเขา้ ดว้ ยกนั ซ่ึงดูแลว้ คลา้ ยกบั เป็น สะพานเช่ือมสองฟากฝ่ังเขา้ ดว้ ยกนั ดว้ ยเหตนุ ้ีจึงเรียกอปุ กรณ์น้ีวา่ “ บริดจ”์ ซ่ึงแปลวา่ สะพาน เครือขา่ ยสองเครือข่ายที่นาํ มาเชื่อมต่อกนั จะตอ้ งเป็นเครือขา่ ยชนิดเดียวกนั และใชโ้ ปรโตคอลในการ รับส่งขอ้ มูลเหมือนกนั เช่น ใชใ้ นการเช่ือมต่อเครือขา่ ยตามมาตรฐานอีเทอร์เน็ตสองเครือขา่ ยเขา้ ดว้ ยกนั หรือตอ่ Token Ring สองเครือขา่ ยเขา้ ดว้ ยกนั บริดจช์ ่วยลดปริมาณขอ้ มูลบนสาย LAN ไดบ้ า้ ง โดยบริดจจ์ ะแบ่งเครือขา่ ยออกเป็นเครือขา่ ยยอ่ ย และ กรองขอ้ มลู เท่าที่จาํ เป็นเพ่ือส่งต่อใหก้ บั เครือข่ายยอ่ ยท่ีถูกตอ้ งได้ หลกั การทาํ งานของบริดจจ์ ะพิจารณาจาก หมายเลขของเครื่องหรือ Media Access Control address (MAC address) ซ่ึงเป็นท่ีอยทู่ ่ีฝังมาในฮาร์ดแวร์ ของการ์ด LAN แตล่ ะการ์ด ซ่ึงจะไม่ซ้าํ กนั แต่ละหมายเลขจะมีเพยี งการ์ดเดียวในโลก 8. เกตเวย์ (Gateway) เป็นอุปกรณ์ที่มีความสามารถสูงในการเช่ือมตอ่ เครือข่ายตา่ งๆ เขา้ ดว้ ยกนั โดยสามารถ เชื่อมต่อ LAN หลายๆ เครือขา่ ยที่ใชโ้ ปรโตคอลตา่ งกนั และใชส้ ื่อส่งขอ้ มูลตา่ งชนิดกนั ไดอ้ ยา่ งไม่มีขีดจาํ กดั ตวั อยา่ งเช่น เช่ือมต่อ Ethernet LAN ท่ีใชส้ ายส่งแบบ UTP เขา้ กบั Token Ring LAN ได้ เกตเวยเ์ ป็นเหมือนนกั แปลภาษาท่ีทาํ ใหเ้ ครือข่ายท่ีใชโ้ ปรโตคอลต่างชนิดกนั สามารถสื่อสารกนั ได้ หากโปรโตคอลที่ใชร้ ับส่งขอ้ มลู ของเครือขา่ ยท้งั สองไมเ่ หมือนกนั เกตเวย์ ก็จะทาํ หนา้ ท่ีแปลงโปรโตคอล ใหต้ รงกบั ปลายทางและเหมาะสมกบั อุปกรณ์ของฮาร์ดแวร์ท่ีแตล่ ะเครือขา่ ยใชง้ านอยนู่ ้นั ไดด้ ว้ ย ดงั น้นั อุปกรณ์เกตเวยจ์ ึงมีราคาแพงและข้นั ตอนในการติดต้งั จะซบั ซอ้ นที่สุดในบรรดาอุปกรณ์เครือข่ายท้งั หมด ตวั กลางในการนําข้อมูลแบบไร้สาย 1. แลนการ์ดไร้สายแบบ PCMCIA (Wireless PC Card) แลนการ์ดไร้สายแบบ PCMCIA เป็นอปุ กรณ์ ที่ใชต้ ิดต้งั บนเคร่ืองคอมพวิ เตอร์Notebook ท่ีมีช่องเชื่อมตอ่ แบบ PCMCIA แลนการ์ดไร้สาย แบบ PCMCIA ทาํ หนา้ ท่ีในการแปลงขอ้ มูลของเคร่ืองคอมพวิ เตอร์ที่ตอ้ งการส่งเป็นคลื่นวิทยสุ ่งผา่ นอากาศ ออกไปและทาํ หนา้ ท่ีรับเอาคล่ืนที่อุปกรณ์เครือขา่ ยไร้สายอื่นๆบนระบบแพร่กระจายออกมาแปลงกลบั เป็น ขอ้ มลู ท่ีเครื่องคอมพิวเตอร์สามารถนาํ ไปประมวลผลได้

2. อปุ กรณ์เข้าใช้งานเครือข่าย (wireless access point) ทาํ หนา้ ท่ีเสมือนฮบั เช่ือมเครื่องคอมพิวเตอร์ไว้ สายและอุปกรณ์ไวร์เลสแลนแบบตา่ งๆ เขา้ ดว้ ยกนั อีกท้งั เป็นสะพานเช่ือมต่อเครื่อง wireless LAN เขา้ กบั เครื่องอีเทอร์เน็ตทาํ ใหร้ ะบบท้งั สองสามารถสื่อสารกนั ได้ 3. สะพานเชื่อมโยงไร้สาย (Wireless Bridge) ทาํ หนา้ ที่เป็นตวั กลางเช่ือมโยงระบบเครือขา่ ย อีเทอร์เน็ตแลนต้งั แตส่ องระบบข้ึนไปเขา้ ดว้ ยกนั แทนการใชส้ ายสัญญาณ ขอ้ มลู ที่ส่ือสารระหวา่ งเครือขา่ ย อีเทอร์เน็ตจะถูกแปลงเป็ นคล่ืนวทิ ยแุ ลว้ ถูกแปลงไปยงั ปลายทาง โปรโตคอล โปรโตคอล (Protocol) มอี ยหู่ ลากหลายประเภทดว้ ยกนั แตท่ ี่เห็นและใชง้ านกนั บอ่ ยและมีความสาํ คญั กม็ ีอยู่ ไม่กี่ประเภท 1. Protocol HTTP หรือ Hypertext Transfer Protocol จะใชเ้ มื่อเรียกโปรแกรมบราวเซอร์ (Browser) ซ่ึงเราจะ พบเห็นไดท้ กุ คร้ังท่ีเราเวบ็ ไซต์ เวลาเราเขา้ เวบ็ ไซตเ์ ราจะพิมพ์ http:// ส่วนน้ีเองท่ีเรียกวา่ Protocol HTTP 2. Protocol TCP/IP หรือ Transfer Control Protocol/Internet Protocolคือเครือข่ายโปรโตคอลที่สาํ คญั มาก ที่สุด เพราะวา่ เป็น Protocol ท่ีใชใ้ นระบบเครือข่ายอยา่ งอินเตอร์เน็ต ซ่ึงโปรโตคอลน้ีแยกออกไดม้ าเป็น โปรโตคอลTCPและโปรโตคอล IP 3. Protocol SMTP หรือ Simple Mail Transfer Protocol คือ โปรโตคอลท่ีใชใ้ นการส่ง E – mail ในระบบ อินเตอร์เน็ต 4. Protocol FTP หรือ File Transfer Protocol คือโปรโตคอลท่ีใชใ้ นการการโอนยา้ ยแฟ้มระหวา่ งกนั จะใชง้ าน บ่อยในการอพั โหลดไฟลข์ ้ึน Server 5. Protocol NNP หรือ Network News Transfer Protocol คือโปรโตคอลในการโอนยา้ ยข่าวสารระหวา่ งกนั 6. Protocol ICMP หรือ Internet Control Message Protocol คือโปรโตคอลท่ีใชใ้ นการสอบถามขอ้ มลู ขา่ วสาร ระหวา่ งกนั 7. Protocol POP3 (Post Office Protocol คือโปรโตคอลที่ใชใ้ นการรับอีเมลจากเซิร์ฟเวอร์ โดยมุง่ เนน้ ใหใ้ น การอา่ นอีเมลแ์ บบOffline โดยใหผ้ ใู้ ชโ้ หลดอีเมลมาเกบ็ ไว้ และอ่านไดใ้ นภายหลงั โดยไมต่ อ้ งเช่ือมตอ่ กบั

อินเทอร์เน็ต 8. Protocol DHCP (Dynamic Host Configuration Protocol) คือโปรโตคอลที่ใชใ้ นเครือข่ายคอมพิวเตอร์ที่ ทาํ งานแบบแม่ข่าย-ลูกขา่ ย 9. Protocol IMAP (Internet Message Access Protocol) คือโปรโตคอลที่ใชใ้ นการรับอีเมลจากเซิร์ฟเวอร์ โดย มุ่งเนน้ ใหใ้ นการอา่ นอีเมลแ์ บบ Online ซ่ึงแตกต่างจาก Protocol POP3 ที่มุง่ เนน้ ในการอ่านอีเมลแ์ บบOffline หน่วยท่ี 5 การประยกุ ต์ใช้งานเครือข่ายในการปฏบิ ัติงานขององค์กร การใช้งานเครือข่ายแลนในการปฏบิ ตั ิงานขององค์กร เครือข่ายแลน คือ เครือข่ายที่ใชใ้ นการติดต่อส่ือสารขอ้ มลู ระหวา่ งอปุ กรณ์ของคอมพิวเตอร์และใหบ้ ริการ แลกเปล่ียนขอ้ มูลขา่ วสารกนั ภายในองคก์ รท่ีมีการติดต้งั และใชง้ านในบริเวณท่ีไมก่ วา้ งมากนกั ไม่วา่ จะอยชู่ ้นั เดียวกนั หรือระหวา่ งช้นั ของอาคาร หรือระหวา่ งอาคารที่อยไู่ มห่ ่างกนั มากหนกั เช่น ภายในมหาวิทยาลยั ภายใน อาคารสาํ นกั งาน โดยไม่ตอ้ งอาศยั การสื่อสารขอ้ มลู แบบอ่ืน เข่น ระบบการส่ือสารของโทรศพั ท์ เครือข่ายแลน (LAN) หน่ึงเครือขา่ ยจะมีการทาํ งานกนั เป็นกลุ่มเรียกว่ากลมุ่ งาน (Workgroup) แตเ่ มื่อเชื่อมโยง หลายๆ กล่มุ งานเขา้ ดว้ ยกนั ก็จะเป็นเครือข่ายขององคก์ ร และถา้ ไมเ่ ช่ือมโยงระหวา่ งองคก์ รผา่ นเครือขา่ ยแวน (VAN) จะไดเ้ ครือขา่ ยขนาดใหญ่โดยสามารถท่ีจะใชง้ านเครือขา่ ยแลนในการปฏิบตั ิงานดงั น้ี การใช้อุปกรณ์ร่วมกนั (Sharing of peripheral devices) เครือขา่ ยคอมพิวเตอร์ทาํ ใหผ้ ใู้ ช้ สามารถใชอ้ ปุ กรณ์ รอบ ขา้ งท่ีตอ่ พ่วงกบั ระบบคอมพิวเตอร์ ร่วมกนั ไดอ้ ยา่ งมีประสิทธิภาพ เช่นเคร่ืองพมิ พ์ ดิสกไ์ ดร์ฟ ซีดีรอม สแกนเนอร์ โมเด็ม เป็นตน้ ทาํ ใหป้ ระหยดั ค่าใชจ้ ่าย ไมต่ อ้ งซ้ืออปุ กรณ์ที่มีราคาแพง เชื่อมตอ่ พ่วงใหก้ บั คอมพิวเตอร์ทกุ เครื่อง การใช้โปรแกรมและข้อมูลร่วมกนั (Sharing of program and data) เครือขา่ ยคอมพิวเตอร์ ทาํ ใหผ้ ใู้ ชส้ ามารถใช้ โปรแกรม และขอ้ มูลร่วมกนั ได้ โดยจดั เก็บโปรแกรมไวแ้ หลง่ เกบ็ ขอ้ มลู ที่เป็นศนู ยก์ ลาง เช่น ท่ีฮาร์ดดิสกข์ อง เครื่อง File Server ผใู้ ชส้ ามารถใชโ้ ปรแกรมร่วมกนั ไดจ้ ากแหล่งเดียวกนั ไมต่ อ้ งเก็บโปรแกรมไวใ้ นแต่ละเคร่ือง ใหซ้ ้าํ ซอ้ นกนั นอกจากน้นั ยงั สามารถรวบรวม ขอ้ มูลตา่ ง ๆ จดั เกบ็ เป็นฐานขอ้ มลู ผใู้ ชส้ ามารถใชส้ ารสนเทศ จากฐานขอ้ มูลกลาง ผา่ นระบบเครือขา่ ยคอมพวิ เตอร ◌์ท่ีใชง้ านไดอ้ ยา่ งสะดวกสบาย โดยไมต่ อ้ งเดินทางไป สาํ เนาขอ้ มลู ดว้ ยตนเอง เพราะใชก้ ารเรียกใชข้ อ้ มูล ผา่ นระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์นนั่ เอง

ความเช่ือถือได้ของระบบงาน เป็นสิ่งสาํ คญั สาํ หรบั การทาํ งานภายในองคก์ ร ถา้ ทาํ งานไดเ้ ร็วแตข่ าดความ น่าเชื่อถือ และความถกู ตอ้ งของขอ้ มูลก็ถือวา่ ใชไ้ มไ่ ดไ้ มม่ ีประสิทธิภาพดงั น้นั เม่ือนาํ ระบบเครือข่ายคอมพวิ เตอร์ มาใชง้ าน ทาํ ใหร้ ะบบงานมีประสิทธิภาพ มีความน่าเชื่อถือของขอ้ มลู เพราะจะมีการทาํ สาํ รองขอ้ มลู ไวเ้ ม่ือเคร่ือง ท่ีใชง้ านเกิดมีปัญหากส็ ามารถนาํ ขอ้ มูลที่มีสาํ รองไวม้ าใชไ้ ดท้ นั ที การใช้งานเครือข่ายอนิ ทราเนต็ ในการปฏิบตั งิ านองค์กร อนิ ทราเนต็ (Intranet) คอื เครือข่ายคอมพิวเตอร์ท่ีเชื่อมโยงการส่ือสารดว้ ยระบบโปรโตคอลทีซีพี/ไอพี (TCP/IP) ซ่ึงเป็นระบบโปรโตคอลในการส่ือสารของเครือข่ายอินเทอร์เน็ต (Internet) ดงั น้นั โปรแกรมเพือ่ การสื่อสารบนเครือข่ายอินทราเนต็ จึงเป็นซอฟตแ์ วร์ชนิดเดียวกนั กบั ท่ีใชใ้ นการสื่อสารบนเครือขา่ ย อินเทอร์เน็ต ส่วนความแตกตา่ งท่ีชดั เจนระหวา่ งเครือขา่ ยอินทราเนต็ กบั เครือข่ายอินเทอร์เน็ต คือ อินเทอร์เน็ตเป็นเครือข่ายคอมพิวเตอร์ท่ีครอบคลุมท้งั โลก อินเทอร์เนต็ ไมม่ ีใครเป็นเจา้ ของอยา่ งแทจ้ ริง และ ไม่มีใครสามารถควบคุมเครือขา่ ยอินเทอร์เน็ตได้ แตส่ าํ หรับเครือข่ายอินทราเนต็ มีเจา้ ของแน่นอน และถูก ควบคุมโดยองคก์ รหรือบุคคลผเู้ ป็นเจา้ ของ อินทราเนต็ เกิดจากความคิดของระบบอินเทอร์เน็ตในการเช่ือมโยงคอมพิวเตอร์หลากหลายชนิดจากทุกมมุ โลกเขา้ ดว้ ยกนั ได้ รวมท้งั การที่ผใู้ ชส้ ามารถเขา้ ถึงขอ้ มลู จากท่ีต่าง ๆ การมีบริการท่ีเป็นประโยชน์และ ความสามารถในการแสดงผลไดต้ ามตอ้ งการแบบ 4ท (ที่เดียวทว่ั โลก ทนั ที ทุกเวลา) น้ีเอง ทาํ ใหเ้ กิดแนวคิด ในการนาํ เทคโนโลยขี องระบบดงั กล่าวมาใชง้ านในหน่วยงานหรือองคก์ รซ่ึงเมื่อยอ่ ระบบอินเตอร์เนต็ ลงมา ในองคก์ รก็เป็นระบบอินทราเนต็ นน่ั เอง ดงั น้นั อินทราเน็ตตอ้ งมีท้งั ฮาร์ดแวร์และซอฟตแ์ วร์ การประยกุ ตใ์ ชอ้ ินทราเน็ตถือเป็นการปฎิรูประบบงานในองคก์ รใหมแ่ ละก่อใหเ้ กิดผลกระทบตอ่ กระบวนการ และข้นั ตอนการทาํ งานในปัจจุบนั และอนาคต ในปัจจุบนั ไดม้ ีผใู้ หค้ าํ จาํ กดั ความของอินทราเน็ตไวต้ า่ ง ๆ ดงั น้ี – อินทราเนต็ เป็นระบบเครือขา่ ยภายในท่ีเช่ือมโยงเครือข่ายยอ่ ยตา่ ง ๆ เขา้ ดว้ ยกนั และใหท้ ุกคนใน องคก์ รใชร้ ่วมกนั – อินทราเนต็ เป็นรูปแบบของระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ตท่ีใชใ้ นองคก์ ร – อินทราเน็ต เป็นคาํ ที่สื่อความหมายถึงการนาํ เทคโนโลยขี องระบบอินเทอร์เน็ตมาใช้ เพือ่ ตอบสนอง ระบบงานภายในองคก์ รโดยเฉพาะ

– อินทราเนต็ เป็นระบบอินเทอร์เนต็ ท่ีใชง้ านเฉพาะในองคก์ ร – อินทราเน็ต เป็นการนาํ เทคโนโลยขี องระบบอินเทอร์เนต็ มาประยกุ ตใ์ ช้ ในองคก์ รหรือหน่วยงาน – อินทราเนต็ เป็นการรวมสารสนเทศที่มีอยู่ โดยวิธีการปรับปรุงใหเ้ ขา้ ถึงและกระจายขอ้ มลู ผา่ นไอพี เครือข่ายโดยมีวตั ถุประสงคเ์ พ่อื อาํ นวยความสะดวก ปรับปรุงวธิ ีการเขา้ ถึงสารสนเทศ การกระจายใช้ สารสนเทศ และการบริหารสารสนเทศ – อินทราเนต็ เป็นการนาํ เทคโนโลยขี องระบบอินเทอร์เนต็ ท่ีไดร้ ับการยอมรับและเป็นมาตรฐานใน การเชื่อมโยงระบบคอมพิวเตอร์ต่าง ๆ ทว่ั โลกเขา้ ดว้ ยกนั มาประยกุ ตใ์ ชใ้ นองคก์ ร หรือหน่วยงาน จากนานาทศั นะดงั กล่าวขา้ งตน้ สามารถจาํ กดั ความไดว้ า่ อินทราเน็ต เป็นระบบเครือข่ายภายใน ที่นาํ เทคโนโลยขี องระบบอินเทอร์เน็ตมาประยกุ ตใ์ ชง้ านภายในองคก์ ร โดยการเช่ือมโยงคอมพิวเตอร์หรือ เครือขา่ ยยอ่ ยตา่ ง ๆ เขา้ ดว้ ยกนั และนาํ มาใชเ้ พอื่ ตอบสนองระบบงานภายในองคก์ รโดยเฉพาะและใหท้ กุ คน ในองคก์ รใชร้ ่วมกนั อินทราเนต็ จึงถือวา่ เป็น Corparate Portal หรือเวบ็ ท่าองคก์ ร เป็นท่ีท่ีทุกคนตอ้ งมาใชเ้ พ่ือ ทาํ งานตามหนา้ ท่ี การนําเครือข่ายอนิ ทราเน็ตมาใช้ในองค์กรช่วยในการทาํ งาน อ-ี คอมพานี (e-company) หมายถึง องคก์ รที่เปล่ียนแปลงรูปแบบการดาํ เนินธุรกรรมจากระบบเดิม ซ่ึงใช้ เอกสารในการประสานงานกนั มาเป็นระบบที่ใชเ้ อกสารในรูปแบบอิเลก็ ทรอนิกส์ โดยประยกุ ตเ์ ทคโนโลยี ในปัจจุบนั ปรับให้เขา้ กบั การดาํ เนินธุรกิจของแต่ละองคก์ ร ซ่ึงจะทาํ ใหก้ ารประสานงานกนั ท้งั ภายในองคก์ ร เองและตา่ งองคก์ รมีความสะดวกรวดเร็ว เพื่อเพิ่มศกั ยภาพในการแข่งขนั กบั บริษทั คู่แข่งและทาํ ใหบ้ ริษทั เติบโตอยา่ งมน่ั คงและยงั่ ยืนยงิ่ ข้ึน ปัจจุบนั ธุรกิจแบบเดิมที่เราคุน้ เคยกาํ ลงั หมดยคุ ไปทกุ วนั น้ีการแขง่ ขนั ในตลาดโลกเร่ิมรุนแรงข้ึน ไอที มีบทบาทมากข้ึน ดงั น้นั บุคลากรดา้ นไอทีที่มีความสามารถ รวมถึงการติดต่อสัมพนั ธ์ทางการคา้ ท่ีดีต่อกนั ระหวา่ ง ลูกคา้ และซพั พลายเออร์ คุณภาพของการบริการจึงเป็นปัจจยั สาํ คญั ที่มีตอ่ การเจริญเติบโตของบริษทั ฯ ตา่ งจากในอดีตท่ีเป็นเพยี งส่วนเสริมของการผลิตและจาํ หน่ายผลิตภณั ฑเ์ ทา่ น้นั อ-ี คอมพานี เป็นการรวมเอาการดาํ เนินธุรกิจขององคก์ รกบั เวบ็ เทคโนโลยเี พอื่ สร้างจุดแขง็ ใหก้ บั บริษทั ฯ เสริมสร้างความสมั พนั ธอ์ นั ดีกบั ลูกคา้ และลดค่าใชจ้ ่ายในส่วนปฏิบตั ิงานเพ่อื เพม่ิ ประสิทธิภาพสูงสุด ท้งั

สาํ หรับบริษทั ขนาดใหญ่ กลางและเลก็ รวมไปถึงธุรกิจเน็ตเจเนอเรชนั อนั หมายถึงบริษทั ในโลกยคุ ใหมท่ ่ีไม่ มีขอ้ จาํ กดั ทางดา้ นขนาดของการลงทนุ จาํ นวนพนกั งาน หรือแมแ้ ตช่ ่องทางในการทาํ ธุรกิจ ท่ีทุกแห่งเริ่มตน้ ในจุดเดียวกนั แตส่ ามารถเขา้ ถึงลกู คา้ ไดท้ วั่ โลกและไม่มีขอ้ จาํ กดั ของระยะทางอีกตอ่ ไป การทาํ ธุรกิจบนระบบคอมพิวเตอร์เน็ตเวิร์กอยา่ งอีคอมเมิร์ซ และอี-บิซิเนส ท่ีเริ่มแพร่หลาย โดยเกิด จากกระแสการเจริญเติบโตของอินเทอร์เน็ตที่รวดเร็ว อตั ราความเจริญเติบโตของสังคมบนอินเทอร์เน็ตที่มี มากข้ึนอยา่ งทวคี ูณ ทาํ ใหธ้ ุรกิจทุกประเภทตอ้ งแสวงหาแนวทางการทาํ ธุรกิจใหม่ หรือไม่ก็ตอ้ งหาทางผนวก ธุรกิจที่มีอยเู่ พื่อใหส้ ามารถรองรับการเปลี่ยนแปลงท่ีรวดเร็วน้ี โดยนอกจากตอ้ งปรับปรุงระบบธุรกิจที่มีอยู่ เดิมใหม้ ีประสิทธิผลสูงข้ึนก็ยงั ตอ้ งพมั นาระบบไอทีในองคก์ รควบคู่กนั ไปดว้ ย ดังน้ัน อี-คอมพานีตอ้ งมีอินทราเน็ต ท่ีนาํ เทคโนโลยขี องระบบอินเทอร์เน็ตมาประยกุ ตใ์ ชง้ านภายใน องคก์ ร โดยปรับใหเ้ ขา้ กบั การดาํ เนินธุรกิจของแต่ละองคก์ รดว้ ยซอฟตแ์ วร์ การกระจายข้อมูลสารสนเทศ (Informantion) การกระจาย Informantion การท่ีจะทาํ ใหข้ อ้ มลู ขององคก์ รหาง่ายใชง้ านไดส้ ะดวกเป็นวตั ถุประสงคห์ ลกั ของอินทราเน็ต ดงั น้นั จึงจาํ เป็นตอ้ งควบคุมเน้ือหาของสารสนเทศในองคก์ รใหเ้ หมาะสม ซ่ึงรูปแบบการ ใชส้ ารสนเทศแบ่งไดเ้ ป็น 3 อยา่ ง คือ สารสนเทศทางการ สารสนเทศกล่มุ สารสนเทศไม่เป็นทางการ – สารสนเทศทางการ ไดแ้ ก่ สารสนเทศท่ีเก่ียวกบั กฎระเบียบบริษทั ฯ ท่ีใชใ้ นองคก์ รประวตั ิ ผลงานล่าสุด รายละเอียดของผลิตภณั ฑ์ การบริการตา่ ง ๆ เป็นตน้ – สารสนเทศกลมุ่ ไดแ้ ก่ สารสนเทศท่ีใชภ้ ายในกลมุ่ /แผนก, กลุม่ งานโครงการ เป็นเคร่ือง มือในการติดตอ่ ประสานงานกนั การกระจายความคิด ร่วมมือกนั ในการทาํ กิจกรรมหรือการจดั การงานต่าง ๆ ซ่ึงจะช่วยใหก้ ารทาํ งานมีประสิทธิภาพมากข้ึนเมื่อเปรียบเทียบกบั การทาํ งานแบบเดิมท่ีตอ้ งการส่ง เอกสาร ถึงกนั ไม่วา่ จะเป็ นการถ่ายเอกสารหรือ FAX ใหก้ นั เป็นตน้ – สารสนเทศที่ไมเ่ ป็นทางการ ไดแ้ ก่ สารสนเทศที่ใชใ้ นการบริหารงาน การปฏิบตั ิงานและ การใชส้ ารสนเทศในการพฒั นาเสริมสร้างความรู้ ทกั ษะในแขนงวิชาตา่ ง ๆ ใหบ้ งั เกิดผลสาํ เร็จ สามารถ นาํ ไปใชใ้ นการสนบั สนุนการทาํ งานในแตล่ ะฝ่ ายงานต่าง ๆ การท่ีเราจะมี Information ท่ีดีมีประโยชน์น้นั จะมีส่วนในการประสานงานกบั งานดา้ นการเกบ็ ขอ้ มูลทุกชนิด ทุกประเภท เกบ็ ขอ้ มลู อยา่ งมีระเบียบ แบบ

แผน ซ่ึงจะทาํ ใหไ้ ดส้ ารสนเทศนาํ ไปใชใ้ หเ้ กิดประโยชน์สูงสุด ซ่ึงตอ้ งมีการเปลี่ยนแปลง Work Process เพ่ือลดข้นั ตอนงานที่ไม่จาํ เป็น และใหเ้ กิดความคล่องตวั ในการทาํ งาน จาํ เป็นตอ้ งปรับปรุงองคก์ ร และคนในองคก์ รดว้ ย ประโยชน์ของการใช้เครือข่ายอนิ ทราเน็ตในองค์กร ประโยชน์ และเป้าหมายของระบบเวบ็ ทา่ องคก์ รท้งั ต่อภายในองคก์ ร และนอกองคก์ รมีมากมาย สามารถแยกเป็นหวั ขอ้ ไดด้ งั น้ี 1. เพื่อสร้างลกู คา้ เพ่ือสร้างโอกาสทางธุรกิจ ทาํ การตลาดอยา่ งรวดเร็ว เพ่ือช่วยใหล้ ูกคา้ ทาํ งานไดง้ ่าย ข้ึน และสุดทา้ ยเกิดกาํ ไรกบั บริษทั ฯ โดยใชต้ น้ ทุนต่าํ 2. กระจายสารสนเทศจากที่หน่ึงไปยงั อีกที่หน่ึงในพ้นื ท่ีที่กวา้ งมากเทา่ ท่ีตอ้ งการ เช่น บริษทั ฯ อีซูซุ มีสาํ นกั งานใหญอ่ ยทู่ ่ีประเทศญ่ีป่ นุ และมีสาขามากมายในประเทศต่าง ๆ สามารถทาํ ใหม้ ี สารสนเทศเดียวกนั ใชร้ ่วมกนั และยงั สามารถตดั ข้นั ตอนงานที่ซ้าํ ซอ้ นลงได้ ทาํ ใหก้ ารทาํ งานมี ประสิทธิภาพมากข้ึน 3. การเช่ือมตอ่ ระบบกบั ธุรกิจอื่น และสามารถสร้างรายไดใ้ นช่องทางใหม่ อีกท้งั ยงั ช่วยผลกั ดนั และ เป็นหนทางใหบ้ ริษทั เติบโตหรือขยายธุรกิจไดอ้ ยา่ งรวดเร็ว 4. ช่วยใหก้ ารประสานงานดีข้ึน การจดั ทาํ Web จาํ นวนมากนอกจากช่วยการประสานงานภายในแลว้ หุน้ ส่วนอ่ืน ๆ กไ็ ดร้ ับประโยชนด์ ว้ ย ช่วยใหม้ ีการกระจายขา่ วสารถึงกนั ไดอ้ ยา่ งรวดเร็วข้ึน 5. ช่วยในเรื่องการจดั องคค์ วามรู้ เริ่มต้งั แตห่ น่วยงานยอ่ ย ๆ รวมกนั เป็นรูปบริษทั ฯ บริษทั ในเครือ หุน้ ส่วนสารสนเทศกระจายถึงกนั ส่งผลใหเ้ กิดเป็นการเรียนรู้ในสิ่งใหม่ ๆ ทาํ ใหเ้ กิดเป็นสงั คมขอ้ มลู ข่าวสารที่กวา้ งสร้างสรรคค์ วามรู้ใหม่ ๆ ใหเ้ กิดข้ึน 6. เป็นช่องทางหาธุรกิจใหม่ อุปสรรคของการทาํ อินทราเน็ตและเวบ็ ท่าบริษทั บริษทั ฯ หรือองคก์ รหลาย ๆ องคก์ ร ท่ีนาํ อินทราเน็ตมาใช้ บางบริษทั ก็ประสบความสาํ เร็จ บางบริษทั ก็ ประสบกบั ความลม้ เหลว ซ่ึงมีสาเหตตุ า่ ง ๆ พอสรุปไดด้ งั น้ี – ผบู้ ริหารไมไ่ ดใ้ หค้ วามสนใจอยา่ งจริงจงั ผบู้ ริหารไมป่ รับตวั ทาํ ใหพ้ นกั งานไมก่ ระตือรือร้นในการ ใชร้ ะบบ – ขอ้ มูลท่ีอยบู่ นระบบไมท่ นั สมยั ทาํ ใหเ้ กิดความไมน่ ่าเชื่อถือ

– ปัญหาเครื่องทาํ งานชา้ ผใู้ ชเ้ สียเวลารอขอ้ มูลนาน – ขอ้ มลู ไมน่ ่าสนใจ ใชย้ าก ไมม่ ีเคร่ืองช่วยใหเ้ ขา้ หา Information ดงั น้นั การที่จะให้ ระบบอินทราเน็ตที่พฒั นาข้ึน ประสบผลสาํ เร็จได้ ผบู้ ริหารจะตอ้ งใหค้ วามสาํ คญั ดว้ ย โดยถือเป็นนโยบายหลกั โดยใหท้ ุกฝ่ ายมีส่วนร่วมในการเสนอความคิดเห็น จดั ทาํ ซ่ึงจะทาํ ใหเ้ กิดความ ร่วมมือกนั ดว้ ยความเตม็ ใจ สะทอ้ นใหเ้ กิดความร่วมมือกนั ดว้ ยความเตม็ ใจ สะทอ้ นใหเ้ กิดประโยชน์กบั บริษทั ฯ ในภาพรวม โดยไดร้ ับการสนบั สนุนอยา่ งจริงจงั จากผบู้ ริหาร การใช้งานเครือข่ายอนิ เทอร์เนต็ ในการปฏบิ ตั ิงานองค์กร ความหมายของอนิ เตอร์เน็ต อินเทอร์เน็ตเป็นเครือขา่ ยท่ีครอบคลุมทว่ั โลก ซ่ึงมีคอมพิวเตอร์เป็นลา้ นๆเคร่ืองเชื่อมต่อเขา้ กบั ระบบและ ยงั ขยายตวั ข้ึนเร่ือยๆ ทุกปี อินเทอร์เน็ตมีผใู้ ชท้ ว่ั โลกหลายร้อยลา้ นคน และผใู้ ชเ้ หลา่ น้ีสามารถแลกเปล่ียน ขอ้ มูลข่าวสารกนั ไดอ้ ยา่ งอิสระ โดยที่ระยะทางและเวลาไมเ่ ป็นอุปสรรค นอกจากน้ีผใู้ ชย้ งั สามารถเขา้ ดู ขอ้ มลู ตา่ ง ๆ ท่ีถูกตีพิมพใ์ นอินเทอร์เนต็ ได้ อินเทอร์เน็ตเชื่อมแหลง่ ขอ้ มลู ต่าง ๆ เขา้ ดว้ ยกนั ไมว่ า่ จะเป็น องคก์ รธุรกิจ มหาวิทยาลยั หน่วยงานของรัฐบาล หรือแมก้ ระทงั่ แหลง่ ขอ้ มลู บุคคล องคก์ รธุรกิจหลาย องคก์ รไดใ้ ชอ้ ินเทอร์เน็ตช่วยในการทาํ การคา้ เช่น การติดตอ่ ซ้ือขายผา่ นอินเทอร์เนต็ หรืออีคอมเมิร์ช (E- Commerce) ซ่ึงเป็นอีกช่องทางหน่ึงสาํ หรับการทาํ ธุรกิจท่ีกาํ ลงั เป็นท่ีนิยม เนื่องจากมีตน้ ทนุ ท่ีถูกกว่าและมีฐานลูกคา้ ท่ีใหญม่ าก ส่วนขอ้ เสียของอินเทอร์เน็ตคือความปลอดภยั ของ ขอ้ มูลเน่ืองจากทกุ คนสามารถเขา้ ถึงขอ้ มูลทุกอยา่ งท่ีแลกเปลี่ยนผา่ นอินเทอร์เนต็ ไดอ้ ินเทอร์เน็ตใช้ โปรโตคอลที่เรียกวา่ “TCP/IP(TransportConnectionProtocol/InternetProtocol)ในการส่ือสารขอ้ มูลผา่ น เครื อข่ายซ่ึงโปรโตคอลน้ีเป็ นผลจากโครงการหน่ึงของกระทรวงกลาโหมสหรัฐฯโครงการน้ีมีช่ือวา่ ARPANET (Advanced Research Projects Agency Network) ในปี ค.ศ.1975 จุดประสงคข์ องโครงการน้ีเพื่อ เช่ือมตอ่ คอมพิวเตอร์ที่อยหู่ ่างไกลกนั และภายหลงั จึงไดก้ าํ หนดใหเ้ ป็นโปรโตคอลมาตรฐานในเครือขา่ ย อินเทอร์เน็ตในปัจจุบนั อินเทอร์เน็ตไดก้ ลายเป็นเครือขา่ ยสาธารณะ ซ่ึงไมม่ ีผใู้ ดหรือองคก์ รใดองคก์ รหน่ึง เป็นเจา้ ของอยา่ งแทจ้ ริง การเชื่อมต่อเขา้ กบั อินเทอร์เนต็ ตอ้ งเชื่อมตอ่ ผา่ นองคก์ รท่ีเรียกวา่ “ISP (Internet


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook