Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รายงานผลการประเมินคุณภาพผู้เรียน NT2563

รายงานผลการประเมินคุณภาพผู้เรียน NT2563

Published by ปาริชาติ ปิติพัฒน์, 2021-11-15 03:55:01

Description: รายงานผลการประเมินคุณภาพผู้เรียน NT2563

Search

Read the Text Version

ก คำนำ รายงานผลการประเมินคุณภาพผู้เรียน (National Test : NT) ปีการศึกษา 2563 ช้ันประถมศึกษาปีที่ 3 ฉบับน้ี ของโรงเรียนในสังกัด สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาหนองบัวลาภู เขต 2 โดยมีวัตถุประสงค์ นาเสนอข้อมูลสารสนเทศเก่ียวกับการประเมินคุณภาพผู้เรียน (NT) ของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปีที่ 3 โดย นาเสนอข้อมูลเก่ียวกับคะแนนเฉลี่ย ร้อยละ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ระหว่างปี การศึกษา 2562-2563 เพ่ือนาข้อมูลมาใช้ในการประเมินคุณภาพการศึกษาข้ันพื้นฐานในภาพรวม และใช้เป็น ข้อมูลประกอบการตัดสินใจในการกาหนดนโยบาย วางแผนในการพัฒนา คุณภาพการศึกษา ปรับปรุงและพัฒนา ตนเองของผูเ้ รยี น และนาข้อมลู มาใชใ้ นการพฒั นาการจดั การเรียนการสอนของสถานศกึ ษา ตอ่ ไป ในการดาเนินงานประเมินคุณภาพผู้เรียน ในคร้ังน้ี สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษา หนองบัวลาภู เขต 2 ได้รับความร่วมมือเป็นอย่างดีย่ิงจาก ผู้อานวยการสถานศึกษา คณะครูและบุคลากรทางการ ศึกษาทเ่ี ก่ียวข้องทกุ ฝา่ ย ทาใหก้ ารดาเนนิ งานสาเรจ็ ลลุ ว่ งด้วยดี จงึ ขอขอบคุณ มา ณ โอกาสน้ี หวังเป็นอย่างย่ิงว่ารายงานเล่มน้ี จะเป็นประโยชน์ต่อทุกฝ่ายท่ีมีส่วนเกี่ยวข้องกับการจัดการศึกษา เพ่ือ นาผลท่ไี ด้ไปใช้เป็นขอ้ มลู พ้ืนฐานในการพัฒนาคุณภาพการศกึ ษาตอ่ ไป กลมุ่ งานวัดและประเมนิ ผลการศึกษา กลุม่ นิเทศ ตดิ ตาม และประเมนิ ผลการจัดการศึกษา สานกั งานเขตพน้ื ท่ีการศึกษาประถมศกึ ษาหนองบัวลาภู เขต 2

ข เร่อื ง รายงานผลการประเมินคณุ ภาพผเู้ รียน (National Test : NT) ชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี 3 ปีการศึกษา 2563 หน่วยงำน สานกั งานเขตพน้ื ท่ีการศึกษาประถมศกึ ษาหนองบวั ลาภู เขต 2 ปีทพี่ ิมพ์ 2564 ************************************************************************************* บทสรปุ ผบู้ รหิ ำร การประเมินคุณภาพผู้เรียน (National Test : NT) ปีการศึกษา 2563 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาหนองบัวลาภู เขต 2 นาเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูล ซึ่งประกอบด้วย ผลการประเมนิ ความสามารถด้านวิชาภาษาไทย และความสามารถด้านวชิ าคณติ ศาสตร์ ด้านละ 100 คะแนน รวม 200 คะแนน จากผู้เข้าสอบ คือ นักเรียนช้ันประถมศึกษาปีที่ 3 สังกัดสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา จานวน 100 โรงเรียน จาแนกเป็นนักเรียนทั้งสิ้น 1,993 คน (นักเรียนปกติ 1,622 คน นักเรียนพิเศษ 361 คน Walk-in 10 คน) สรปุ ผลไดด้ งั นี้ 1. ผลการเปรยี บเทยี บการทดสอบความสามารถพ้นื ฐานของผเู้ รียนระดับชาติ ชน้ั ประถมศกึ ษาปี ท่ี 3 ปกี ารศึกษา 2563 ของสานักงานเขตพนื้ ที่การศึกษาประถมศกึ ษาหนองบัวลาภู เขต 2 โดยรวมความสามารถ ทง้ั 2 ด้าน ตา่ กวา่ ระดับสพฐ. และระดับประเทศ 2. ผลการประเมินคุณภาพการศึกษาข้ันพ้นื ฐานเพื่อการประกันคุณภาพผเู้ รียน ปกี ารศกึ ษา 2563 ช้ันประถมศึกษาปีที่ 3 ในภาพรวมระดบั เขตพ้ืนที่ วเิ คราะห์ข้อมูลจากจานวนโรงเรียนทีม่ นี ักเรยี นเข้าสอบ 100 โรงเรียน และมีนักเรยี นเข้าสอบประเภทปกติ จาแนกเปน็ นักเรียนทั้งสน้ิ 1,622 คน มคี ะแนนเฉลี่ย 2 ดา้ น รายโรงเรียนสงู กวา่ ระดับประเทศ (43.97) จานวน 34 โรงเรียน และโรงเรียนท่มี ีคะแนนเฉล่ยี รอ้ ยละสงู สดุ คือ บา้ นผาซอ่ นโชคชัย รองลงมาคือ โนนสงา่ ราษฎร์บารงุ และอนั ดบั ทส่ี าม คอื เทพครี ีพิทยาคม ตามลาดบั ส่วน โรงเรยี นทม่ี คี ะแนน เฉล่ียรอ้ ยละตา่ สุด คอื บ้านนาหนองทุ่ม 3. ผลการประเมนิ คุณภาพการศึกษาขน้ั พนื้ ฐานเพ่ือการประกนั คุณภาพผูเ้ รยี น ชน้ั ประถมศกึ ษา ปีท่ี 3 เปรยี บเทยี บตามขนาดของโรงเรยี น ได้แก่ โรงเรยี นขนำดเลก็ พิเศษ จานวน 14 โรงเรยี น มคี า่ เฉล่ยี สงู กว่า ระดบั ประเทศ จานวน 8 โรงเรียน ประกอบดว้ ย โนนสงา่ ราษฎร์บารุง (63.5) บา้ นนาสมใจ (61.75) โนนมะคา่ พรมนุสรณร์ าษฎร์บารงุ (48.75) หว้ ยหานประชาสรรค์ (48.25) บ้านผาเวียง(47.79) บา้ นหนองเอย่ี น (47.18) บ้านโคกสงา่ (45.87) และหนองเหลืองขามนคร (45.8) ตามลาดับ โรงเรียนขนำดเลก็ จานวน 29 โรงเรียน มี ค่าเฉลย่ี สูงกวา่ ระดับประเทศ จานวน 9 โรงเรยี น ประกอบดว้ ย บา้ นซาเสี้ยว(56.89) บ้านหนองแสง (55.00) บ้าน อาบชา้ ง(52.64) บ้านถ้าช้างอินทร์แปลง (50.34) บา้ นเอื้องโนนไรโ่ นนสาวทิ ยา (48.5) บ้านนาสม้ โฮง (46.8) นา โกทรายทองวทิ ยาคม (45.52) บ้านคลองเจรญิ (45.16)และ บ้านหนองแวงคา (44.64) ตามลาดบั โรงเรยี นขนำด กลำง จานวน 44 โรงเรยี น มีคา่ เฉลี่ยสงู กวา่ ระดบั ประเทศ จานวน 14 โรงเรยี น ประกอบดว้ ย บ้านผาซอ่ นโชคชัย

ค (65.62) เทพครี พี ทิ ยาคม (63.38) บ้านนาแก (60.94) บา้ นผาวัง (60.7) บา้ นนาเจรญิ (55.32) บา้ นวงั หนิ ซา (54.05) บ้านโคกนาเหลา่ (51.7) บ้านโคกสะอาดหนองหัวชา้ ง (50.56) บา้ นกุดฮู (49.63) บา้ นโป่งแคศรถี าวร (48.59) ชุมชนหนองบัวน้อยโนนชาติหนองเหน็ วิทยา(47.58) ชุมชนโปรง่ วังมว่ ง (47.22)บา้ นกา่ น (45.39)และ บ้านโนนป่าหวา้ นเชียงฮาย (45.34) ตามลาดับ โรงเรียนขนำดใหญ่ จานวน 10 โรงเรยี น ค่าเฉลีย่ สูงกวา่ ระดับประเทศ จานวน 1 โรงเรยี น ประกอบดว้ ย บ้านนาดคี ่ายสวา่ งวิทยา (46.43) โรงเรยี นขนำดใหญพ่ ิเศษ จานวน 3 โรงเรยี น คา่ เฉล่ยี สูงกวา่ ระดับประเทศ จานวน 2 โรงเรยี น ประกอบด้วย บ้านโคกทงุ่ น้อย(46.77) และ ดงสวรรคว์ ิทยา (46.33) 4. ผลการประเมินคุณภาพผูเ้ รียน ชนั้ ประถมศึกษาปีท่ี 3 ควำมสำมำรถด้ำนคณิตศำสตร์ ที่มี ค่าเฉลีย่ สูงกว่าระดับประเทศจานวน 41 โรงเรียน จากโรงเรยี นท้ังหมด 100 โรงเรียน และควำมสำมำรถดำ้ น ภำษำไทย ท่ีมีค่าเฉลย่ี สูงกวา่ ระดบั ประเทศ จานวน 30 โรงเรยี น จากโรงเรยี นทงั้ หมด 100 โรงเรยี น 5. ผลการทดสอบความสามารถพน้ื ฐานของผเู้ รยี นระดบั ชาติ ชน้ั ประถมศึกษาปีที่ 3 ปกี ารศกึ ษา 2563 ระดับสานักงานเขตพนื้ ทกี่ ารศึกษาประถมศึกษาหนองบัวลาภู เขต 2 มีคะแนนเฉลี่ยรอ้ ยละ จาแนกตามราย ดา้ นและรายมาตรฐาน ความสามารถดา้ นคณติ ศาสตร์ (37.74) ความสามารถดา้ นภาษาไทย(42.11) และ คะแนนเฉล่ยี รอ้ ยละรวม 2 ด้าน(39.92) อย่ใู นระดบั คุณภาพพอใช้ 6. ผลการประเมนิ คุณภาพการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐานเพ่ือการประกนั คุณภาพผูเ้ รยี น ช้นั ประถมศึกษา ปที ่ี 3 เปรียบเทียบตามเครือข่ายการจัดการศกึ ษา จานวน 12 กลมุ่ เครือขา่ ย เรยี งลำดับตำมคำ่ เฉลย่ี ทั้ง 2 ด้ำน จากมากทีส่ ุดไปหาน้อยที่สุด คือ เครือข่ายนาวงั 3 (46.38) เครอื ขา่ ยนาวงั 1 (45.83) เครอื ข่ายนาวัง 2 (44.23) เครอื ข่ายสวุ รรณคหู า 4 (43.94) เครอื ขา่ ยนากลาง 1 (43.66) เครือขา่ ยนากลาง 5 (40.72) เครอื ขา่ ยนากลาง 2 (40.38) เครือขา่ ยนากลาง 4 (40.33) เครือข่ายสุวรรณคูหา 1 (39.91) เครือข่ายสุวรรณคูหา 2 (38.48) เครือข่าย สวุ รรณคูหา 3 (36.24) และเครอื ขา่ ยนากลาง 3 (35.68) ควำมสำมำรถด้ำนคณติ ศำสตร์ เครือขา่ ยทม่ี คี ะแนนรวมเฉลี่ย มากทสี่ ดุ คือ เครือขา่ ยนาวงั 1 (45.90) รองลงมา คอื เครือข่ายนาวงั 3 (43.82) และ เครือข่ายนากลาง 1 (42.50) และเครือขา่ ยท่ีมีคะแนน เฉลยี่ น้อยทส่ี ดุ คือ เครอื ขา่ ยสุวรรณคูหา 3 (33.30) ควำมสำมำรถดำ้ นภำษำไทย เครอื ขา่ ยที่มีคะแนนรวมเฉลยี่ มากที่สดุ คือ เครือขา่ ยนาวัง 3 (48.93) รองลงมา คอื เครือข่ายสวุ รรณคหู า 4 (47.23) และ เครือข่ายนาวัง 2 (46.45) และเครือขา่ ยท่ีมคี ะแนน เฉลย่ี นอ้ ยทีส่ ุด คือ เครือข่ายนากลาง 3 (37.90) 7. ผลการประเมนิ คุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐานเพื่อการประกันคุณภาพผู้เรียน ชัน้ ประถมศกึ ษา ปที ่ี เปรียบเทียบตามอาเภอ จานวน 3 อาเภอ เรียงลาดับตามคา่ เฉล่ียทั้ง 2 ด้านจากมากที่สดุ ไปหาน้อยท่สี ดุ คือ อาเภอนาวงั (40.38) อาเภอนากลาง (39.79) และอาเภอสุวรรณคหู า (39.64) 8.การเปรียบเทียบผลการประเมนิ คณุ ภาพผู้เรยี น ชัน้ ประถมศึกษาปที ่ี 3 ปีการศึกษา 2562 - 2563 มีคา่ เฉลยี่ ลดลงทงั้ ในระดับเขตพ้ืนท่กี ารศึกษา ระดบั สพฐ. และระดบั ประเทศ เท่ากบั -1.61, -1.29 และ – 1.73 ตามลาดบั

ง ขอ้ เสนอแนะกำรนำผลกำรวิเครำะห์ไปใชใ้ นกำรปรับปรุงและพฒั นำคุณภำพกำรศกึ ษำ 1. ขอ้ เสนอแนะในกำรนำผลกำรประเมินไปใช้ 1.1 สานกั งานเขตพ้นื ท่ีการศึกษาประถมศกึ ษาหนองบัวลาภู เขต 2 ควรนาผลการทดสอบความสามารถ พ้ืนฐานของผู้เรยี นระดับชาติ ช้นั ประถมศึกษาปที ่ี 3 มาวิเคราะห์เพื่อค้นหาจุดเดน่ และจุดท่ีต้องปรับปรุง โดย จาแนกตามความสามารถ และ ตวั ช้วี ดั เพื่อนาไปใช้เปน็ สารสนเทศในการกาหนดเป้าหมาย และแนวทาง ในการ ยกระดบั ผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียนร่วมกบั สถานศึกษาในสังกัด 1.2 สถานศึกษา ควรวเิ คราะหผ์ ลการทดสอบ แตล่ ะสาระการเรียนรูร้ ายมาตรฐาน ตวั ชี้วดั ทตี่ อ้ งไดร้ ับการ พัฒนาอย่างเรง่ ด่วนของสถานศึกษา เพ่ือจัดทาแผนกาหนดแนวทางยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ทสี่ อดคล้อง กับปัญหา และระดับคุณภาพของสถานศึกษา 1.3 ครูผู้สอน ควรวเิ คราะห์ผลรายบุคคลของนักเรียน ทสี่ ะท้อนถึงความสามารถแตล่ ะด้าน ของผู้เรยี น และแจง้ ใหน้ ักเรียนทราบถึงจุดเดน่ -ด้อย ท่ตี ้องเร่งพัฒนาและปรบั ปรุง และนาผลการทดสอบความสามารถ พน้ื ฐานของผู้เรียนระดับชาติ ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 3 มาวิเคราะหเ์ พ่ือค้นหาจดุ เด่น จดุ ทตี่ ้องปรับปรุง จาแนกตาม ความสามารถ และตัวชว้ี ัด โดยวเิ คราะห์ข้อมูลของนักเรียนเปน็ รายบคุ คล เพื่อนาไปใชจ้ ัดกจิ กรรมการเรียนรู้ เพ่ือ สง่ เสรมิ /พัฒนาผเู้ รียนท่ีมีผลการประเมนิ ระดบั ดขี ึ้นไป หรอื หาวธิ กี ารช่วยเหลอื ผู้เรียนทีม่ ีผลการประเมินระดบั ต่ากว่าระดบั ดี ไดส้ อดคล้อง กับระดบั ความสามารถของผู้เรียนเปน็ รายบุคคล เพื่อสามารถพฒั นาผเู้ รียนได้อย่าง ถกู ต้องตามสภาพปญั หาผู้เรียนแต่ละคน แกป้ ญั หาที่สอดคลอ้ งกบั สภาพปัญหาท่แี ทจ้ ริงของผเู้ รียน ใช้กระบวน การเรียนการสอนท่หี ลากหลาย ท่ีสอดคล้องกับการจัดการเรียนร้ทู ี่สอดคล้องกับทกั ษะในศตวรรษท่ี 21 จดั การ เรียนการสอนใหต้ รงตามตัวช้ีวดั เน้นใหผ้ ู้เรียนได้คดิ ไดล้ งมอื ปฏิบัติ แกป้ ัญหาด้วยตนเอง (Active learning) เนน้ การอ่านออก เขียนได้ และคดิ เลขเป็น วิเคราะห์พมิ พ์เขียว (blue print) และโครงสร้างของแบบทดสอบ วดั ผล ประเมนิ ผลครอบคลุม มาตรฐานตวั ชวี้ ดั ใช้วธิ กี ารวัดผลท่หี ลากหลายและสอดคลอ้ งกบั รูปแบบของข้อสอบการวัด ความสามารถท้ัง 2 ดา้ น นาแบบทดสอบในปีที่ผา่ นมาใช้สอบและสอนกบั นกั เรยี น เพื่อวางแผนในการสอนและ สอบนกั เรียน ครูผู้สอนควรฝึกพัฒนาข้อสอบทีม่ ีรูปแบบเช่นเดียวกบั ขอ้ สอบ NT และนามาใช้ในการประเมินผล ในชัน้ เรียน ทั้งการประเมินระหว่างเรยี น และการประเมินเพ่อื สรปุ ผลการเรยี น เพอื่ ให้นกั เรยี นได้คุน้ เคยกับ ขอ้ สอบที่มรี ูปแบบมาตรฐาน 1.4 ศึกษานิเทศก์ ควรวเิ คราะหผ์ ลการทดสอบของแต่ละโรงเรยี นในกลุ่มเครือขา่ ย เพ่ือเป็นข้อมลู สารสนเทศสาหรบั การนเิ ทศ กากับ ติดตามอย่างเข้มขน้ ในการชว่ ยเหลอื ใหผ้ บู้ รหิ ารสถานศึกษา และครผู ้สู อน ในการวางแผนการจัดการเรียนการสอนของครผู ้สู อน การบริหารการใชห้ ลักสตู รสถานศึกษาของ ผบู้ ริหาร สถานศึกษา ให้ครูไดใ้ ชก้ ระบวนการเรยี นการสอนที่หลากหลาย ที่สอดคล้องกบั มาตรฐานตัวช้ีวัด การจดั การ เรียนรใู้ นศตวรรษท่ี 21 และครอบคลุมสาระการเรยี นรใู้ นการประเมินคุณภาพผูเ้ รยี น (NT)

จ 2. ข้อเสนอแนะในกำรพฒั นำ ข้อเสนอแนะสำหรบั ครูผูส้ อน ครผู ูส้ อนควรฝึกพัฒนาข้อสอบท่ีมรี ูปแบบเชน่ เดยี วกับขอ้ สอบ (National Test : NT) และนามาใช้ ในการประเมินผลในช้นั เรยี น ท้ังการประเมนิ ระหว่างเรยี น และการประเมินเพื่อสรปุ ผลการเรียน เพอ่ื ให้นักเรยี น ได้ คุน้ เคยกับข้อสอบที่มรี ปู แบบมาตรฐาน ขอ้ เสนอแนะสำหรบั สถำนศึกษำ 1. สถานศกึ ษาควรจดั ทาฐานขอ้ มลู สารสนเทศดา้ นผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้ของผเู้ รยี น เป็น รายบุคคล และระดบั โรงเรียน ครอบคลมุ สาระการเรียนรู้ในการประเมนิ คุณภาพผู้เรยี น (NT) เพ่ือใช้ในการ วางแผนยกระดับผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนรูข้ องผูเ้ รียน 2. สถานศึกษาควรสร้างบรรยากาศด้านการวดั และประเมนิ ผลให้ปรากฏเปน็ วฒั นธรรมของ สถานศกึ ษาอยา่ งยง่ั ยืน ปรบั ปรงุ ระเบียบ ข้อบงั คับ ประกาศ และแนวปฏิบตั ติ า่ ง ๆ ท่ีเกยี่ วขอ้ งกบั การวัด และประเมนิ ผล ใหเ้ หมาะสมและเปน็ ปจั จบุ ัน และมีการนเิ ทศ กากบั ติดตาม และประเมนิ ผลการ ดาเนินงาน ด้านวชิ าการท่ีมงุ่ พัฒนาครูและยกระดบั ผลสมั ฤทธ์ิการเรยี นรูอ้ ยา่ งต่อเนอื่ ง ตลอดจนสร้างและพัฒนารูปแบบ การบรหิ ารจัดการการวัดและประเมนิ ผลในสถานศึกษาที่มีความเหมาะสมกับบรบิ ทของสถานศกึ ษา 3. ส่งเสริมสนบั สนนุ ใหค้ รูมคี วามสามารถในการสรา้ งเครื่องมอื และประเมินผลสอดคล้องกับ มาตรฐานตวั ชวี้ ดั ในแตล่ ะดา้ น 4. นเิ ทศ ติดตามการจัดการเรียนรู้ในระดับชนั้ ประถมศึกษาปที ่ี 3 อย่างต่อเนื่อง และนาผลการ นิเทศมาวางแผน รว่ มแก้ปญั หา อยา่ งนอ้ ยเดอื นละ 1 ครั้ง ขอ้ เสนอแนะสำหรบั กลุ่มเครือขำ่ ยพัฒนำคณุ ภำพกำรศึกษำ 1. ผบู้ ริหารกล่มุ เครอื ข่าย ใหค้ วามสาคญั ในการประเมนิ คุณภาพผเู้ รียน (National Test: NT) ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 3 โดยการประชุมวเิ คราะหผ์ ลสอบ NT โดยใชก้ ระบวนการ PLC มาใชใ้ นการจดั ทา แผนพฒั นาคุณภาพ 2. ส่งเสรมิ สนับสนนุ ให้ครใู นเครือข่ายจัดการเรียนรู้ ใหส้ อดคล้องกับมาตรฐานและตัวช้วี ัดของ แตล่ ะความสามารถ มีการแลกเปลีย่ นเรยี นร้กู ระบวนการ PLC รว่ มกันในการพฒั นาการจัดการเรียนสอน 3. นิเทศติดตาม พร้อมรว่ มวางแผน แกป้ ญั หา อยา่ งน้อยภาคเรยี นละ 1 ครง้ั ข้อเสนอแนะสำหรบั สำนักงำนเขตพ้ืนที่กำรศึกษำ 1. สานกั งานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา ควรสง่ เสริม สนบั สนนุ สถานศึกษาในการพฒั นาระบบการทดสอบ และประเมนิ ผลในชนั้ เรยี นของสถานศึกษา โดย

ฉ 1) พฒั นาระบบการวัดและประเมนิ ผลในชนั้ เรียนโดยสรา้ ง และใช้เครื่องมือการวัดและ ประเมินผลท่ีหลากหลาย มีความสอดคล้องสมั พนั ธร์ ะหวา่ งมาตรฐาน/ตวั ชวี้ ดั การจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ สง่ เสริม การสรา้ งและใชแ้ บบสอบอัตนยั ในสถานศึกษาเพอ่ื เตรียมการประเมินคุณภาพผู้เรียน (NT) 2) จดั สอบ Pre NT เพื่อสรา้ งประสบการณ์ ความคุ้นเคยเก่ียวกับข้อสอบให้แก่ผูเ้ รียน วิเคราะห์ ผลการทดสอบ และนาผลการทดสอบ มาจัดทาแผนพฒั นาผเู้ รยี นเปน็ รายบคุ คลและรายกล่มุ 3) จดั ทาข้อสอบค่ขู นาน (National - Test : NT) เพื่อจดั ทาเป็นคลังข้อสอบ ไว้สาหรับให้ ครผู ู้สอนไดน้ าไปใชใ้ นการวัดและประเมนิ ผลการเรียน ในระดบั ชัน้ เรียน 2. สานกั งานเขตพื้นท่ีการศึกษา ควรวางระบบการพฒั นาและการสนับสนนุ สง่ เสรมิ การวดั และ ประเมินผลในสถานศกึ ษาท่มี ุ่งพัฒนาคุณภาพ ผู้เรียน และพฒั นาวชิ าชีพครู โดย 1) สานกั งานเขตพ้ืนทีก่ ารศกึ ษาควรนาผลการทดสอบความสามารถพ้นื ฐานของผู้เรยี น ระดับชาติ ช้ันประถมศกึ ษาท่ี 3 มาวิเคราะห์เพื่อค้นหาจดุ เด่น และจดุ ทต่ี ้องปรับปรุง โดยจาแนกตาม ความสามารถ และ ตวั ชี้วดั เพ่ือนาไปใช้เป็นสารสนเทศในการกาหนดเป้าหมาย และแนวทางในการยกระดบั ผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี นรว่ มกับสถานศกึ ษาในสังกดั 2) นาหลกั สูตรสาหรับใชใ้ นการพฒั นาบคุ ลากรระดับสถานศึกษามาอบรมคณะครู เพื่อการ ยกระดับผลสมั ฤทธ์ิของผเู้ รยี นในการทดสอบ (NT) 3) สง่ เสรมิ ใหค้ รูได้รบั การพฒั นาเปน็ วทิ ยากร และแกนนาระดับสถานศกึ ษาสาหรบั การพัฒนา ครเู พื่อการยกระดับผลสมั ฤทธ์ิของผูเ้ รยี นในการประเมนิ คุณภาพผเู้ รยี น (NT) 4) จัดสรรงบประมาณสาหรับพฒั นาครแู ละสนบั สนนุ แผนงาน โครงการเพ่ือการยกระดับ ผลสัมฤทธิ์ ของผเู้ รยี นในการประเมนิ คุณภาพผ้เู รยี น (NT) 5) สง่ เสริม สนบั สนนุ กระบวนการวิจัยและพัฒนาเพ่ือยกระดับคุณภาพการศึกษา โดยจัดทา โครงการวิจยั เพ่ือยกระดับผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี น และศกึ ษาผลการนาผลการประเมินไปใชเ้ พือ่ พฒั นาคุณภาพ การศกึ ษา 6) สง่ เสริม สนบั สนนุ ให้สถานศึกษาสรา้ งเครอื ขา่ ยการวัดและประเมนิ ผลการเรียนรู้ และ จัดกิจกรรม แลกเปล่ียนเรียนรู้เพือ่ พัฒนาระบบการวดั และประเมนิ ผลท้งั ภายในสถานศึกษาและภายนอก สถานศกึ ษา 7) สานักงานเขตพ้ืนท่กี ารศึกษาควรมกี ารตดิ ตาม ตรวจสอบ และทบทวนคุณภาพของ สถานศึกษาอยา่ งตอ่ เน่อื ง 8) สานกั งานเขตพื้นทก่ี ารศกึ ษาควรพัฒนา ข้อสอบคขู่ นาน NT เพื่อจดั ทาเป็นคลังข้อสอบไว้ สาหรบั ให้ครูผูส้ อนได้นาไปใช้ในการวดั และประเมินผลการเรยี นในระดบั ช้ันเรียน ตอ่ ไป

สำรบัญ ช เนอื้ เรื่อง หนำ้ คำนำ ก บทสรปุ ผู้บรหิ ำร ข บทที่ 1 บทนำ 1 1 ความเปน็ มาและความสาคญั 2 วตั ถปุ ระสงค์ 3 ขอบเขตของการรายงาน 4 นยิ ามศัพท์เฉพาะ 6 ประโยชน์ท่คี าดวา่ จะไดร้ ับ 7 บทที่ 2 เอกสำรที่เกยี่ วขอ้ งในกำรประเมินคณุ ภำพผเู้ รยี น - นโยบายสานกั งานคณะกรรมการการศึกษาชั้นพน้ื ฐานในการประเมนิ คุณภาพ 7 7 ผเู้ รยี น (NT) ช้นั ประถมศกึ ษาปที ี่ 3 ในปกี ารศึกษา 2563 - แนวคิดเก่ยี วกับความสามารถพืน้ ฐานของผ้เู รียน (Primary Capability) 10 - กรอบโครงสร้างในการประเมินคุณภาพผู้เรียน (NT) ปีการศึกษา 2563 และ 18 ตัวอยา่ งข้อสอบ 26 - แนวปฏิบตั ิการประเมินคณุ ภาพการศกึ ษาข้นั พืน้ ฐานเพื่อการประกนั คุณภาพ 26 26 ผเู้ รยี น ปกี ารศึกษา 2563 35 บทที่ 3 วิธีดำเนนิ กำร 38 40 - กล่มุ เปา้ หมาย - เครื่องมือท่ีใชใ้ นการประเมิน 41 - การวเิ คราะห์ข้อมูล - สถติ ิทใ่ี ชใ้ นการวิเคราะห์ขอ้ มูล 42 บทท่ี 4 ผลกำรวิเครำะหข์ อ้ มูล - การเปรยี บเทียบผลการประเมินคุณภาพผเู้ รยี น ชน้ั ประถมศกึ ษาปีที่ 3 ปี 48 การศกึ ษา 2563 ระดับเขตพ้ืนท่ี ระดบั สพฐ. และระดับประเทศ - ผลการประเมนิ คณุ ภาพผเู้ รยี น ช้ันประถมศึกษาปีที่ 3 รายโรง เรียงลาดบั จากมากไปหาน้อย - ผลการประเมนิ คุณภาพผเู้ รยี น ชนั้ ประถมศึกษาปีที่ 3 เปรียบเทียบตาม ขนาดของโรงเรียน -

สำรบัญ(ต่อ) ซ เน้ือเรอื่ ง หน้ำ - ผลการประเมินคณุ ภาพผู้เรียน ชนั้ ประถมศึกษาปีท่ี 3 เรียงตามดา้ น 57 ความสามารถทมี่ คี ่าเฉลีย่ สงู กว่าระดับประเทศ 66 - ผลการประเมนิ คณุ ภาพผู้เรยี น ชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี 3 ปีการศกึ ษา 2563 71 ระดบั สานกั งานเขตพื้นที่การศกึ ษาประถมศึกษาหนองบวั ลาภู เขต 2 72 จาแนกตาม จาแนกตามคะแนนการประเมินรายดา้ นและรายมาตรฐาน 73 75 - ผลการประเมินคณุ ภาพผ้เู รียน ชนั้ ประถมศึกษาปีท่ี 3 เปรียบเทยี บตาม 75 เครือข่ายการจัดการศึกษา 77 80 - ผลการประเมินคุณภาพผ้เู รียน ช้นั ประถมศึกษาปีที่ 3 เปรียบเทียบตาม 83 อาเภอ - การเปรียบเทียบผลการประเมนิ คุณภาพผู้เรยี น ชั้นประถมศกึ ษาปีท่ี 3 ปี การศกึ ษา 2563 เปรยี บเทียบกับปีการศกึ ษา 2562 บทท่ี 5 สรุป และขอ้ เสนอแนะกำรนำผลกำรวิเครำะหไ์ ปใชใ้ นกำร ปรับปรงุ และพฒั นำคณุ ภำพกำรศกึ ษำ - สรปุ ผลการประเมนิ คุณภาพผู้เรยี น (NT) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ในปี การศึกษา 2563 - ขอ้ เสนอแนะการนาผลการวเิ คราะห์ไปใช้ในการปรบั ปรุงและพัฒนา คณุ ภาพการศึกษา บรรณำนกุ รม ภำคผนวก

สำรบัญตำรำง ฌ เนอื้ เรื่อง หน้ำ ตำรำงที่ 1 การเปรียบเทยี บผลการประเมนิ คุณภาพผู้เรยี น ช้นั ประถมศกึ ษาปีที่ 3 ปี 41 ตำรำงที่ 2 การศกึ ษา 2563 ระดบั เขตพ้ืนที่ ระดับสพฐ. และระดบั ประเทศ 42 ตำรำงท่ี 3 ผลการประเมนิ คณุ ภาพผู้เรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ในภาพรวมระดับเขตพื้นท่ี 48 ตำรำงท่ี 4 ผลการประเมนิ คุณภาพผเู้ รยี น (National Test : NT) ช้นั ประถมศกึ ษาปีที่ 3 49 ตำรำงท่ี 5 เปรียบเทียบตามขนาดของโรงเรยี น (ขนาดเลก็ พเิ ศษ) 51 ตำรำงที่ 6 ผลการประเมนิ คณุ ภาพผเู้ รยี น ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 3 เปรียบเทยี บตามขนาด 54 ตำรำงท่ี 7 ของโรงเรยี น (ขนาดเล็ก) 56 ตำรำงท่ี 8 ผลการประเมินคุณภาพผู้เรยี นชั้นประถมศึกษาปที ี่ 3 เปรยี บเทยี บตามขนาดของ 57 ตำรำงที่ 9 โรงเรียน (ขนาดกลาง) 61 ตำรำงท่ี 10 ผลการประเมินคณุ ภาพผ้เู รียนช้นั ประถมศึกษาปีท่ี 3 เปรียบเทยี บตามขนาดของ โรงเรยี น (ขนาดใหญ)่ 66 ตำรำงที่ 11 ผลการประเมนิ คณุ ภาพผู้เรียนชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี 3 เปรยี บเทียบตามขนาดของ 71 ตำรำงที่ 12 โรงเรียน(ขนาดใหญ่พิเศษ) 72 ตำรำงที่ 13 ผลการประเมินคุณภาพผ้เู รียน ชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี 3 ด้านความสามารถด้าน 73 คณิตศาสตร์ทีม่ คี ่าเฉล่ยี สูงกว่าระดบั ประเทศ ผลการประเมินคุณภาพผู้เรียน ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 3 ดา้ นความสามารถด้าน ภาษาไทยทม่ี ีคา่ เฉลีย่ สูงกวา่ ระดับประเทศ ผลการประเมนิ คุณภาพผเู้ รยี น ชน้ั ประถมศึกษาปีที่ 3 ปีการศกึ ษา 2563 ระดบั สานกั งานเขตพืน้ ท่ีการศึกษาประถมศึกษาหนองบัวลาภู เขต 2 จาแนกตาม คะแนนการประเมินรายดา้ นและรายมาตรฐาน ผลการเปรียบเทยี บผลการประเมนิ คุณภาพผู้เรียน ชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี 3 เปรียบเทียบตามเครือขา่ ยการจดั การศึกษา ผลการเปรยี บเทยี บผลการประเมินคุณภาพผู้เรียน ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 3 เปรียบเทียบตามอาเภอ ผลการเปรยี บเทยี บผลการประเมนิ คุณภาพผเู้ รยี น ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 3 ปี การศกึ ษา 2562 - 2563

สำรบัญแผนภูมิ ญ เน้ือเรื่อง หนำ้ แผนภูมทิ ี่ 1 การเปรยี บเทยี บผลการประเมนิ คณุ ภาพคณุ ภาพผู้เรยี น ชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี 3 42 แผนภมู ิท่ี 2 ปีการศึกษา 2563 ระดบั เขตพน้ื ที่ ระดับสพฐ. และระดบั ประเทศ 47 แผนภูมทิ ี่ 3 ผลการประเมนิ คุณภาพผเู้ รียน ชน้ั ประถมศึกษาปีที่ 3ในภาพรวมระดับเขตพน้ื ที่ 49 แผนภูมิท่ี 4 ผลการประเมินคุณภาพผเู้ รียน ชน้ั ประถมศึกษาปีที่ 3 เปรียบเทียบตามขนาด 51 แผนภูมทิ ่ี 5 ของโรงเรียนขนาดเลก็ พิเศษ 54 แผนภมู ิที่ 6 ผลการประเมินคณุ ภาพผเู้ รยี น ชน้ั ประถมศึกษาปีที่ 3 เปรียบเทียบตามขนาด 55 แผนภูมทิ ่ี 7 ของโรงเรยี นขนาดเล็ก 56 แผนภูมทิ ่ี 8 ผลการประเมนิ คณุ ภาพผู้เรยี น ชนั้ ประถมศึกษาปีที่ 3 เปรียบเทยี บตามขนาด 61 แผนภมู ิท่ี 9 ของโรงเรียนขนาดกลาง 65 แผนภูมทิ ่ี 10 ผลการประเมินคุณภาพผเู้ รียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เปรียบเทียบตามขนาด 72 แผนภมู ทิ ่ี 11 ของโรงเรยี นขนาดกลางใหญ่ 73 แผนภูมทิ ี่ 12 ผลการประเมินคณุ ภาพผู้เรยี น ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เปรียบเทียบตามขนาด 74 ของโรงเรียนขนาดกลางใหญ่พิเศษ ผลการประเมนิ คณุ ภาพผู้เรยี น ช้ันประถมศึกษาปีที่ 3 ดา้ นความสามารถด้าน คณิตศาสตร์ทมี่ ีค่าเฉลี่ยสูงกว่าระดับประเทศ (40.47) ผลการประเมินคณุ ภาพผ้เู รยี น ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 3 ดา้ นความสามารถด้าน ภาษาไทยท่ีมคี ่าเฉลีย่ สูงกวา่ ระดับประเทศ (47.46) การเปรียบเทยี บผลการประเมินคุณภาพผเู้ รียน (National Test : NT) ชั้นประถมศึกษาปที ี่ 3 ปกี ารศึกษา 2563 ตามเครือขา่ ยการจัดการศึกษา การเปรียบเทียบผลการประเมนิ คณุ ภาพผ้เู รียน (National Test : NT) ชน้ั ประถมศึกษาปที ี่ 3 ปกี ารศึกษา 2563 ตามอาเภอ การเปรยี บเทยี บผลการประเมินคุณภาพผเู้ รียน (National Test : NT) ชนั้ ประถมศึกษาปีที่ 3 ปีการศกึ ษา 2562 2563

บทที่ 1 บทนำ ควำมเป็นมำและควำมสำคัญ สถานการณ์โลกปัจจุบันมีการเปล่ียนแปลงอยู่ตลอดเวลา เช่นเดียวกับระบบการศึกษาต้องมีการพัฒนา เพ่ือให้สอดคล้องกับสภาวะความเป็นจริง แนวคิดเรื่อง \"ทักษะแห่งอนาคตใหม่ : การเรียนรู้ในศตวรรษท่ี 21\" ที่ มงุ่ เน้นทักษะการเรียนรู้และนวัตกรรมหรือ 3Rs 4Cs ซึ่งมอี งคป์ ระกอบ ดังนี้ 3Rs ได้แก่ การอ่าน (Reading) การ เขียน (Writing) และคณิตศาสตร์ (Arithmetic) และ4Cs ได้แก่ การคิดวิเคราะห์ (Critical Thinking) การสื่อสาร (Communication) ความคิดสร้างสรรค์ (Creativity) และการร่วมมือCollaboration) โดยเฉพาะผู้เรียนในระดับ การศึกษาขั้นพื้นฐานจะต้องมีทักษะอื่นอีกหลายด้าน เช่น ทักษะการส่ือสาร และทักษะการคิดคานวณ เป็นต้น เพอ่ื ให้อยู่ในโลกแห่งการแขง่ ขันได้อย่างปลอดภัยและมีคณุ ภาพชวี ิตทีด่ ี กระทรวงศึกษาธิการกาหนดนโยบายและจุดเน้น เพ่ือให้การบริหารจัดการศึกษาในปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 มคี วามสอดคล้องกบั ยุทธศาสตร์ชาติ เป้าหมายของแผนแมบ่ ทภายใต้ยุทธศาสตรช์ าติวัตถปุ ระสงค์ของ แผนการปฏิรูปประเทศด้านการศึกษา และนโยบายของรัฐบาล เรื่องการเตรียมคนในศตวรรษท่ี 21 ใน ระดับประถมศึกษา มุ่งคานึงถึงพหุปัญญาของผู้เรียนรายบุคคลท่ีหลากหลายตามศักยภาพ โดยเฉพาะการเรียน ภาษาไทย เน้นเพื่อใช้เป็นเคร่ืองมือในการเรียนรู้วิชาอ่ืน รวมถึงนโยบายการพัฒนาและส่งเสริมให้นักเรียนระดับ ประถมศึกษาคิดเลขเป็น พร้อมกับสร้างเด็กให้เกิดทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ รวมถึงการคิดวิเคราะห์ เพือ่ ให้แก้ปัญหาได้ การประเมินคุณภาพการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน เพื่อการประกันคุณภาพผู้เรียน ปีการศึกษา 2563 เป็นการ ประเมินภาพรวมของการจัดการศึกษาของประเทศไทยและเป็นภาพสะท้อนคุณภาพของเด็กไทย เพื่อพัฒนา ปรับปรุงการเรียนการสอนของครู ซึ่งถือเป็นกระบวนการตรวจสอบการขับเคลื่อนนโยบายการศึกษาและการเพ่ิม ประสิทธิภาพสถานศึกษา สร้างความมั่นใจว่า สถานศึกษาและหน่วยงานด้นสังกัดจัดการศึกษาอย่างมีคุณภาพ ได้ มาตรฐานตามท่ีกาหนด นักเรียนมีความรู้ความสามารถ และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ตามท่ีหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาข้ันพื้นฐานพุทธศักราช 2551 กาหนด และเป็นองค์ประกอบ ตัวช้ีวัดที่สาคัญตามมาตรฐานการประกัน คุณภาพการศึกษา ซ่ึงความสาคัญของการประกันคุณภาพ จะเห็นได้จากพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พุทธศักราช 2542 มาตรา 47 กาหนดให้มีระบบการประกันคุณภาพการศึกษา เพื่อพัฒนาคุณภาพและมาตรฐาน การศึกษาในทุกระดับ และมาตรา 48 ให้หน่วยงานด้นสังกัด และสถานศึกษา จัดให้มีระบบการประกันคุณภาพ การศึกษาภายในสถานศึกษา และให้ถือว่าการประกันคุณภาพภายในเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการบริหาร การศกึ ษาท่ีต้องดาเนินการอย่างต่อเนื่อง โดยมกี ารจัดทารายงานประจาปเี สนอต่อหนว่ ยงานด้นสังกัด หนว่ ยงานที่ เก่ยี วขอ้ ง และเปิดเผยต่อสาธารณชน เพอ่ื นาไปสู่การพัฒนา คุณภาพและมาตรฐานการศึกษา และเพอ่ื รองรับการ ประกนั คณุ ภาพภายนอก

2 หลักการสาคัญประการหน่ึงของการประกันคุณภาพการศึกษา คือ การแสดงถึงภาระรับผิดชอบ (Accountability) ซ่งึ ตรวจสอบไดท้ สี่ านักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน เขตพนื้ ทกี่ ารศกึ ษา สถานศึกษา และหน่วยงานท่ีเก่ียวข้อง ได้ร่วมกันกาหนดคารับรองในการปฏิบัติราชการของส่วนราชการประจาปีงบประมาณ โดยกาหนดเป้าหมาย และจุดเน้นท่ีต้องการพัฒนาผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน รวมทั้งความสามารถในการคิดของ ผู้เรียนให้สูงขึ้น โดยหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธคักราช 2551 ได้กาหนดเกณฑ์สาหรับการจบ การศึกษาว่า นอกจากผู้เรียนได้เรียนรายวิชาพ้ืนฐาน รายวิชากิจกรรมเพ่ิมเดิมตามโครงสร้างเวลาเรียน และผ่าน เกณฑ์การประเมินตามท่ีสถานศึกษากาหนด ประกอบกับสานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐานได้จัดทา ประกาศเรอื่ งแนวปฏบิ ัตใิ นการยกระดับคุณภาพนกั เรียนระดบั การศึกษาข้นั พ้นื ฐาน ประกาศ ณ วนั ที่ 18 เมษายน 2561 ลงนามโดยเลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน (นายอภิชาติ จีระวุฒิ) โดยเฉพาะข้อ 7 ให้เพ่ิม ข้อสอบแบบเขยี นตอบทัง้ การเขยี นตอบแบบส้นั และแบบยาว ในการวดั และประเมินผลเมอื่ จบหนว่ ยการเรยี น ในการสอบระหว่างภาคเรียนและการสอบปลายภาคเรียน อย่างน้อยร้อยละ 30 ของการสอบแต่ละครั้ง จากนโยบาย ยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ และประกาศของ สพฐ. ดังกล่าว สานักทดสอบทางการศึกษา ได้ดาเนินการ จัดทาแบบทดสอบวดั ความสามารถพ้ืนฐานสาคัญ 2 ดา้ น คอื ดา้ นความสามารถด้านภาษาไทย และความสามารถ ด้านคณิตศาสตร์ ขั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ซึ่งเป็นความสามารถท่ีตกผลึก (Crystallization) จากการเรียนรู้ตาม หลักสูตรแกนกลาง การศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธคักราช 2551 และ ในปีการศึกษา 2563 สานักงานเขตพ้ืนท่ี การศึกษาประถมศึกษาหนองบวั ลาภู เขต 2 ดาเนินการประเมินคุณภาพผเู้ รยี น (NT) ช้ันประถมศึกษาปีที่ 3 ทุก คนจากโรงเรียนในสังกัด โดยประเมินความสามารถพื้นฐานของผู้เรียน 2 ด้าน คือความสามารถด้านภาษาไทย และความสามารถด้านคณิตศาสตร์ โดยยึดกรอบโครงสร้างของเครื่องมือประเมินคุณภาพผู้เรียนทั้ง 2 ด้าน เป็น หลัก ซึ่งผลการประเมิน ท่ีได้จะเป็นข้อมูลสาคัญท่ีสะท้อน คุณภาพผู้เรียน คุณภาพการจัดการศึกษาของ สถานศึกษา และของสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา และ นอกจากน้ีโรงเรียนยังสามารถจะใชน้ ิยามและตัวชี้วดั เพื่อ การสร้างเคร่ืองมือประเมินคุณภาพผู้เรียนนี้ไป วางแผนการจัดการเรียนรู้ที่สอดคล้องกับการประเมิน เพื่อรองรับ การประกนั คุณภาพการศึกษาได้เปน็ อยา่ งดี ผู้รายงานในฐานะศึกษานิเทศก์ที่รับผิดชอบงานวัดและประเมินผลทางการศึกษา จึงนาข้อมูลผลการ ประเมินคุณภาพผู้เรียน (NT) ข้ันประถมศึกษาปีท่ี 3 มาวิเคราะห์ และจัดทารายงานผลการทดสอบทางการศึกษา ปีการศึกษา 2563 เพื่อนาข้อมูลสารสนเทศไปใช้ประโยชน์ ในการพัฒนาคุณภาพนักเรียนและการบริหารจัด การศึกษาในระดับสานกั งานเขตพน้ื ท่ีการศึกษาให้มคี ณุ ภาพและประสิทธิภาพยงิ่ ขน้ึ ต่อไป วตั ถปุ ระสงค์ 1. เพ่อื วเิ คราะหแ์ ละสรุปผลการประเมินคุณภาพผเู้ รียน (NT) ของนกั เรียนชนั้ ประถมศกึ ษาปีท่ี 3 ปีการศึกษา 2563 ของโรงเรียนในสงั กัด สานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาหนองบัวลาภู เขต 2 ใน 2 ด้าน คอื ความสามารถดา้ นภาษาไทย และความสามารถด้านคณิตศาสตร์ 2. เพ่ือเปรียบเทียบผลการประเมนิ คุณภาพผู้เรยี น (NT) ของนักเรยี นช้ันประถมศึกษาปีที่ 3 ปีการศกึ ษา 2563 ของโรงเรียนในสงั กัด สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศกึ ษาหนองบวั ลาภู เขต 2

3 3. เพือ่ รายงาน และเผยแพร่สารสนเทศ ในการยกระดับคุณภาพผูเ้ รียนจากผลการประเมินคณุ ภาพผู้เรยี น (NT) ชนั้ ประถมศึกษาปีที่ 3 ปกี ารศึกษา 2563 ของโรงเรียนในสังกัด สานกั งานเขตพ้ืนท่กี ารศึกษาประถมศึกษา หนองบวั ลาภู เขต 2 ไปใชใ้ นการวางแผน พฒั นา และปรบั ปรงุ คณุ ภาพการศึกษาอยา่ งเปน็ ระบบและตอ่ เนื่อง ต่อไป ขอบเขตของกำรรำยงำน 1. ขอบเขตดำ้ นเนอ้ื หำ การประเมนิ คณุ ภาพผู้เรียน (NT) ของนกั เรียนชั้นประถมศึกษาปที ่ี 3 ปีการศึกษา 2563 โดย ประเมนิ ความสามารถพื้นฐาน 2 ด้าน คอื ดา้ นความสามารถดา้ นภาษาไทย และความสามารถด้านคณิตศาสตร์ โดยด้านภาษาไทยมขี ้อสอบ 3 รูปแบบ คอื แบบเลือกตอบ 4 ตัวเลอื ก 26 ข้อ แบบเขียนตอบส้ันจานวน 3 ขอ้ และแบบเขยี นตอบอสิ ระจานวน 1 ขอ้ รวมท้ังหมด 30 ข้อ และความสามารถดา้ น คณติ ศาสตร์ มขี ้อสอบ 3 รูปแบบ คอื แบบเลอื กตอบ 4 ตวั เลอื ก 26 ข้อ แบบเขยี นตอบจานวน 3 ขอ้ และแบบแสดงวธิ ที าจานวน 1 ขอ้ รวมทง้ั หมด 30 ข้อ รายละเอียด ดังนี้ 1) ควำมสำมำรถดำ้ นภำษำไทย สาระท่ี 1 การอา่ น มาตรฐาน ท 1.1 ใช้กระบวนการอ่านสรา้ งความรแู้ ละความคิดเพอ่ื นาไปใช้ตดั สินใจ แกป้ ญั หาในการดาเนนิ ชวี ิตและมนี ิสัยรักการอ่าน สาระท่ี 2 การเขยี น มาตรฐาน ท 2.1 ใชก้ ระบวนการเขยี น เขียนส่ือสาร เขียนเรียงความ ยอ่ ความ และ เขียนเรื่องราวในรปู แบบต่าง ๆ เขียนรายงานข้อมลสารสนเทศและรายงานการศกึ ษา คน้ คว้าอย่างมีประสิทธิภาพ สาระท่ี 3 การฟ้ง การดู และการพูด มาตรฐาน ท 3.1 สามารถเลือกฟ้งและดูอย่างมีวิจารณญาณ และพดู แสดงความรู้ ความคดิ และความรูส้ ึกในโอกาสต่าง ๆ อย่างมีวจิ ารณญาณและสรา้ งสรรค์ สาระท่ี 4 หลักการใชภ้ าษาไทย มาตรฐาน ท 4.1 เขา้ ใจธรรมชาตขิ องภาษาและหลักภาษาไทย การเปล่ียนแปลงของ ภาษาและพลังของภาษา ภมู ิปัญญาทางภาษา และรักษาภาษาไทยไว้เปน็ สมบัติของชาติ สาระที่ 5 วรรณคดีและวรรณกรรม มาตรฐาน ท 5.1 เข้าใจและแสดงความคิดเห็น วิจารณ์วรรณคดี และวรรณกรรมไทย อยา่ งเห็นคุณค่าและนามาประยุกตใ์ ช้ในชีวิตจรงิ 2) ควำมสำมำรถด้ำนคณิตศำสตร์ สาระท่ี 1 จานวนและพีชคณิต มาตรฐาน ค 1.1 เข้าใจความหลากหลายของการแสดงจานวน ระบบจานวน การ ดาเนนิ การของจานวนผลท่ีเกิดข้นึ จากการดาเนนิ การ สมบัตขิ องการดาเนนิ การ และนาไปใช้

4 มาตรฐาน ค 1.2 เข้าใจถงึ ผลท่เี กดิ ขึน้ จากการดาเนินการของจานวนและความสมั พันธ์ ระหว่างการดาเนินการตา่ ง ๆ และใชก้ ารดาเนนิ การในการแก้ปัญหา สาระท่ี 2 การวัดและเรขาคณิต มาตรฐาน ค 2.1 เข้าใจพื้นฐานเก่ียวกบั การวัด วัดและคาดคะเนขนาดของสงิ่ ทต่ี ้องการ วดั และนาไปใช้ มาตรฐาน ค 2.2 เขา้ ใจและวิเคราะห์รูปเรขาคณิต สมบตั ิของรูปเรขาคณติ ความสมั พันธ์ระหวา่ งรปู เรขาคณิตและทฤษฎีบททางเรขาคณิต และนาไปใช้ สาระท่ี 3 สถติ แิ ละความน่าจะเป็น มาตรฐาน ค 3.1 เข้าใจกระบวนการทางสถิติ และใช้ความร้ทู างสถติ ิในการแก้ปัญหา 2. ขอบเขตด้ำนระยะเวลำ ช้ันประถมศึกษาปที ่ี 3 ทาการทดสอบ ในวนั ท่ี 24 มนี าคม 2564 3. เปำ้ หมำย ในปกี ารศึกษา 2563 สานกั งานเขตพน้ื ที่การศกึ ษาประถมศึกษาหนองบวั ลาภู เขต 2 จัดสอบ ให้กับนักเรยี นท่กี าลังศึกษาอย่ใู นระดับชน้ั ประถมศึกษาปที ี่ 3 ทกุ คนของโรงเรยี นในสังกัด นยิ ำมศพั ทเ์ ฉพำะ 1. การประเมนิ คุณภาพผู้เรียน (NT) หมายถึง การประเมินคุณภาพผู้เรียน ในระดับช้นั ประถมศกึ ษาปที ี่ 3 ซึง่ สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาชน้ั พนื้ ฐานเป็นหน่วยงานท่ดี าเนนิ การจัดสอบ ผเู้ รียน โดยประเมิน ความสามารถพ้ืนฐาน 2 ดา้ น คือ ความสามารถด้านคณติ ศาสตร์ (Mathematics) และความสามารถดา้ น ภาษาไทย (Thai Language) 2. ความสามารถด้านภาษาไทย หมายถงึ ความสามารถด้านการใชภ้ าษาไทยเพื่อการสื่อสารในยคุ เทคโนโลยสี ารสนเทศโดยใชท้ ักษะการฟ้ง การดู การพดู การอา่ น การเขียน และกระบวนการ คิดอย่างมี วจิ ารณญาณ ในการใช้ภาษาไทยเปน็ เครอ่ื งมือสอ่ื สารเพื่อสรุปความ สบื ด้น แสวงหาความรู้ อยา่ งต่อเนือ่ ง นาเสนออยา่ งสรา้ งสรรค์ ประเมนิ และตดั สินขอ้ มูลสารสนเทศ เพ่ือนาไปแกป้ ัญหาในชีวิตประจาวัน และรู้เท่าทนั สื่อ ตลอดจนสามารถใช้ภาษาแสดงอตั ลักษณ์ทางวฒั นธรรมของชาตเิ พื่อสร้างความเขา้ ใจอนั ดี ในสงั คม โดยมี คาสาคัญของความสามารถดา้ นภาษา ดงั น้ี 1) รู้ หมายถงึ สามารถบอกความหมาย เรอื่ งราว ข้อเท็จจริง และเหตุการณ์ตา่ ง ๆ 2) เขา้ ใจ หมายถึง สามารถแปลความ ดีความ ขยายความ และอ้างอิง 3) วิเคราะห์ หมายถึง สามารถแยกแยะโครงสร้าง เร่ืองราว ข้อเท็จจรงิ ข้อคิดเห็น เหตผุ ล และคณุ ค่า 4) สรุปสาระสาคัญ หมายถงึ สามารถสรปุ ใจความสาคัญของเร่อื งได้อยา่ งครอบคลมุ 5) ประเมนิ หมายถึง สามารถตัดสินความถูกต้อง ความชัดเจน ความเหมาะสม คณุ ค่า อยา่ งมีหลกั เกณฑ์

5 6) ส่ือสาร หมายถึง สามารถถ่ายทอดความรู้ ความเขา้ ใจ และความคิดจากการอ่าน ฟง้ และดู โดยการพดู หรือเขยี นอธบิ าย วิเคราะห์ สรุปหรือประเมนิ 7) สรา้ งสรรค์ หมายถงึ สามารถสือ่ สารความรู้ ความเขา้ ใจ เรือ่ งราว ทศั นะและ ความคดิ ท่ี แปลกใหมจ่ ากการอ่าน การฟ้ง และการดู เป็นคาพูด การเขียน หรือการกระทาได้อยา่ ง หลากหลาย และมี ประโยชนเ์ พมิ่ มากขึ้น 8) การนาไปใชใ้ นชวี ิตประจาวนั การอยู่ร่วมกนั ในสังคม และการศึกษาตลอดชวี ิต หมายถึง ความสามารถในการนาความรู้ ความเข้าใจ การวิเคราะห์ การสรุปสาระสาคัญนาไปใชเ้ ปน็ ประโยชน์ ในการ แกไข ปญั หาการตดั สินใจในการดาเนินชวี ติ การอยู่ร่วมกับผ้อู ่นื และการพฒั นาตนเองอยา่ งต่อเน่ือง 3. ความสามารถดา้ นคณติ ศาสตร์ หมายถงึ ความสามารถของบุคคลในการตีความจากสถานการณ์ปัญหา หรือสถานการณ์ต่าง ๆ ในบริบทของชีวิตจริง (Problem in context) ให้เป็นปัญหาเชิงคณิตศาสตร์ (Mathematical problem) การใช้ทักษะการคิดคานวณ การแก้ปัญหา การเช่ือมโยง การสื่อสารและสื่อ ความหมายทางคณิตศาสตร์ การคิดสรา้ งสรรค์และการใหเ้ หตุผล โดยอาศัยข้อเทจ็ จริง ความคิดรวบยอด หลักการ หรือทฤษฎีทางคณิตศาสตร์ มีการพิจารณาไตร่ตรองอย่างรอบคอบ ประเมินและตัดสินใจอย่างสมเหตุสมผล และ สร้างสรรค์โดยยึดหลักคุณธรรมจริยธรรมและความเป็น พลเมืองดีของประชาคมโลก เพ่ือนาไปสู่การหาผลลัพธ์ และการอธบิ าย/คาดการณ/์ พยากรณส์ ถานการณ์ ปญั หาหรือปรากฎการณต์ า่ ง ๆ ดังน้ี 1) ทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ หมายถึง ความสามารถในการแก้ปัญหาด้วยวิธีการที่ หลากหลาย การให้เหตุผล การส่ือสาร การส่ือความหมายทางคณิตศาสตร์ การนาเสนอ การเชื่อมโยง ความรู้และ การมคี วามคดิ รเิ รม่ิ สรา้ งสรรค์ 2) ทักษะการคิดคานวณ หมายถึง ความสามารถในการบวก การลบ การคูณ และการหาร ได้ อยา่ งถกู ต้อง คลอ่ งแคล่ว 3) ความคิดรวบยอดทางคณิตศาสตร์ หมายถึง ความรู้ ความเข้าใจเก่ียวกับจานวนนับ เศษส่วน ทศนิยม และร้อยละ ความยาว ระยะทาง น้าหนัก พ้ืนที่ ปริมาตร ความจุ เวลา เงิน ทิศ แผนผัง ขนาดของมุม ชนิดและสมบัติของรูปเรขาคณิต แบบรูปและความสัมพันธ์ แผนภูมิและกราฟ การคาดคะเน การเกิดขึ้นของ เหตกุ ารณต์ ่าง ๆ 4. ศูนย์การบริหารและจัดการประเมินคุณภาพผู้เรียน (NT) โดยสถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (องค์การมหาชน) มอบให้สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาหนองบัวลาภู เขต 2 เป็นผู้รับผิดชอบ ดาเนินการประสานและบริหารงานการจัดสอบกับทกุ โรงเรียนในสังกัด 5. ผลการทดสอบระดับเขตพ้ืนท่ีการศึกษา หมายถึง ค่าสถิติผลการทดสอบระดับเขตพื้นที่การศึกษาของ นกั เรียนชนั้ ประถมศึกษาปที ี่ 3 ปีการศึกษา 2563 ท่ีเข้าสอบจากทกุ โรงเรียนในสังกัดสานกั งานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษาหนองบัวลาภู เขต 2 6. ผลการทดสอบระดับประเทศ หมายถึง ค่าสถิติผลการทดสอบระดับประเทศของนักเรียนชั้น ประถมศกึ ษาปที ่ี 3 ปกี ารศกึ ษา 2563 ทเ่ี ข้าสอบจากโรงเรยี นทกุ สงั กัดในประเทศ 7. สถานศึกษา หมายถงึ โรงเรยี นในสงั กัดสานกั งานเขตพนื้ ทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษาหนองบวั ลาภู เขต 2

6 ประโยชน์ทคี่ ำดว่ำจะไดร้ บั 1. สานักงานเขตพื้นทีก่ ารศกึ ษาประถมศึกษาหนองบัวลาภู เขต 2 สามารถนาผลการประเมิน คุณภาพ ผ้เู รยี น เปน็ ข้อมลู สารสนเทศในการวางแผน กาหนดนโยบายและกลยุทธก์ ารพัฒนาคุณภาพการศึกษาใน ภาพรวมของเขตพน้ื ท่ี เพอ่ื สนองนโยบายหนว่ ยงานด้นสังกัด 2. ศึกษานิเทศก์ สามารถนาสารสนเทศ ไปวางแผนในการพัฒนาคุณภาพการศึกษา วางแผน การนเิ ทศการศึกษาในกลุ่มเครือขา่ ยพฒั นาคุณภาพการศกึ ษาทไ่ี ด้รับมอบหมาย ดาเนนิ การกระตนุ้ และ ส่งเสริม การจัดกิจกรรมการเรยี นการสอน การพฒั นาครู 3. สถานศกึ ษา ผบู้ รหิ ารสถานศกึ ษา ครผู สู้ อน และคณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพืน้ ฐานนา ขอ้ มูลสารสนเทศเก่ยี วกบั ผลการประเมนิ คุณภาพผู้เรียนการศกึ ษาข้ันพ้นื ฐาน ไปใช้ในการวางแผนการจัด การศึกษาและพฒั นาผู้เรียน 4. ครูประจาชั้นหรอื ครูท่ปี รกึ ษา ครผู ้สู อน นาข้อมูลสารสนเทศเกย่ี วกับผลการประเมนิ คุณภาพ ผู้เรยี น ไปใช้ในการวางแผนการจัดการเรยี นการสอนรายบุคคล ประเมินนักเรียนก่อนสอนในภาคเรียนที่ 1 ปี การศกึ ษา 2563 และทาวิจยั ในขนั้ เรียนเพ่ือพัฒนาผู้เรียน 5. ผ้ปู กครองนาขอ้ มลู สารสนเทศเก่ยี วกับผลการทดสอบวัดความสามารถของผูเ้ รียน สง่ เสรมิ สนับสนนุ และวางแผนพฒั นาการเรียนร้ขู องนักเรียน

บทที่ 2 เอกสารทีเ่ ก่ียวข้องในการประเมินคณุ ภาพผู้เรยี น รายงานการประเมินคุณภาพผู้เรยี น (NT) ชน้ั ประถมศกึ ษาปีท่ี 3 ในปีการศกึ ษา 2563 ของโรงเรยี นใน สังกดั สานกั งานเขตพ้ืนทกี่ ารศึกษาประถมศึกษาหนองบวั ลาภู เขต 2 ได้ศกึ ษาเอกสารทเี่ ก่ยี วข้อง ดงั น้ี 1. นโยบายสานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาช้ันพื้นฐานในการประเมินคณุ ภาพผู้เรยี น (NT) ชั้น ประถมศึกษาปที ่ี 3 ในปีการศึกษา 2563 2. แนวคดิ เกีย่ วกับความสามารถพื้นฐานของผู้เรียน (Primary Capability) 3. กรอบโครงสร้างในการประเมนิ คุณภาพผู้เรียน (NT) ปีการศึกษา 2563 และตวั อย่างข้อสอบ 4. แนวปฏิบัตกิ ารประเมนิ คณุ ภาพการศึกษาขัน้ พ้นื ฐานเพ่ือการประกันคุณภาพผูเ้ รียน ปีการศึกษา 2563 1. นโยบายสานักงานคณะกรรมการการศึกษาช้ันพน้ื ฐานในการประเมนิ คุณภาพผู้เรยี น (NT) ชัน้ ประถมศกึ ษาปีท่ี 3 ในปกี ารศึกษา 2563 สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน มนี โยบายในการประเมินคณุ ภาพผ้เู รยี นที่สามารถ สะท้อนถึงคุณลกั ษณะของผูเ้ รยี นในศตวรรษที่ 21 ซ่ึงการประเมนิ คุณภาพผเู้ รียนในระดับช้ันประถมศึกษาปีที่ 3 ได้ทาการประเมินความสามารถพน้ื ฐาน 2 ดา้ น คือความสามารถด้านภาษาไทย และความสามารถดา้ น คณิตศาสตร์ กบั ผู้เรียนจากทุกสงั กัดทั่วประเทศ แนวคิดท่ีใชใ้ นการบรหิ ารจัดการประเมินคุณภาพผ้เู รียน (NT) ชน้ั ประถมศึกษาปที ี่ 3 ในปีการศึกษา 2563 น้ี สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พน้ื ฐาน ใชแ้ นวคิดหลัก 3 แนวคิดในการบรหิ ารจดั การได้แก่ แนวคดิ เกี่ยวกับความสามารถพื้นฐานของผูเ้ รยี น (Primary Capability) แนวคิดเกยี่ วกับการกระจายอานาจในการบริหารจัดการ(Decentralization) และแนวคดิ เกยี่ วกับความโปร่งใสใน การจัดสอบ (Transparency)โดยมีรายละเอยี ด ดังตอ่ ไปนี้ 2. แนวคิดเกย่ี วกับความสามารถพนื้ ฐานของผูเ้ รยี น (Primary Capability) ความสามารถพน้ื ฐานทีใ่ ชเ้ ปน็ กรอบในการประเมินคุณภาพผเู้ รียนน เป็นความสามารถท่ีวิเคราะหม์ าจาก หลักสตู รแกนกลางการศึกษาข้นั พืน้ ฐาน พุทธศกั ราช 2551 กาหนดแนวทางในการประเมินคุณภาพผูเ้ รยี น วา่ เปน็ การประเมนิ คุณภาพผเู้ รยี นตามมาตรฐานการเรียนรู้ (กระทรวงศกึ ษาธกิ าร, 2551) สถานศกึ ษาตอ้ งจดั ใหผ้ เู้ รียน ทกึ คนที่เรียนในช้นั ประถมศึกษาปที ่ี 3 เขา้ รับการประเมนิ รวมทง้ั แนวคดิ ในการจดั การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ท่ี กล่าวว่าความสามารถพนื้ ฐานเปรียบเสมอนเุ ครื่องมือในการเรียนรู้ เนือ้ หาความรเู้ ชิงบูรณาการโดยในศตวรรษท่ี 21 ได้ระบสุ มรรถนะพืน้ ฐานท่ีจาเป็นในการเรยี นรู้ 3 ดา้ น (3Rs) ได้แก่ การอา่ น (Reading) การเขียน (Writing) และคณิตศาสตร์ (Arithmetic) ดังภาพ

8 ดังน้ัน ความสามารถพื้นฐานของผู้เรียน (Primary Capability) ท่ีใช้เป็นกรอบในการประเมินคุณภาพ ผู้เรียน (NT) ช้ันประถมศึกษาปีที่ 3 จึงประกอบด้วย ความสามารถตามกรอบตัวชี้วัดในหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 และผลลัพธ์ที่เกิดข้ึนกับผู้เรียน (Student Outcomes)จากแนวคิดใน ศตวรรษที่ 21 ได้แก่ ความสามารถด้านภาษาไทย และความสามารถด้านคณิตศาสตร์ โดยมีรายละเอียด ดังตอ่ ไปนี้ 1) ความสามารถดา้ นภาษาไทย ความสามารถด้านภาษาไทย หมายถึง ความสามารถด้านการใช้ภาษาไทยเพ่ือการส่ือสารในยุค เทคโนโลยีสารสนเทศ โดยใช้ทักษะการฟัง การดูการพูด การอ่าน การเขียน และกระบวนการคิดอย่างมีวิจารณ์ ญาณ ในการใช้ภาษาไทยเป็นเคร่ืองมือสื่อสารเพ่ือสรุปความสืบค้น แสวงหาความรู้อย่างต่อเนื่อง เสนออย่าง สร้างสรรค์ ประเมินและตัดสินข้อมูลสารสนเทศ เพื่อนาไปแก้ปัญหาในชีวิตประจาวันและรู้เท่าทันส่ือ ตลอดจน สามารถใช้ภาษาแสดงอตั ลักษณ์ทางวฒั นธรรมของชาติเพ่ือสรา้ งความเขา้ ใจอันดใี นสงคม โดยมีตวั ชี้วัด ดงั นี้ สาระท่ี 1 การอ่าน มาตรฐาน ท 1.1 ใชก้ ระบวนการอ่านสร้างความรแู้ ละความคิด เพื่อนาไปใชต้ ดั สนิ ใจ แก้ปัญหา ในการดาเนนิ ชีวติ และมนี สิ ัยรักการอ่าน

9 สาระที่ 2 การเขยี น มาตรฐาน ท 2.1 ใชก้ ระบวนการเขยี น เขยี นสื่อสาร เขยี นเรียงความย่อความและเขยี นเร่ืองราว ในรูปแบบต่าง ๆ เขยี นรายงานขอ้ มูลสารสนเทศและรายงานการศึกษา ค้นคว้าอยา่ งมปี ระสิทธิภาพ สาระท่ี 3 การฟัง การดแู ละการพูด มาตรฐาน ท 3.1 สามารถเลือกฟงั และดูอย่างมีวจิ ารณ์ญาณ และพดู แสดงความรู้ ความคิด และ ความรู้สกึ ในโอกาสต่าง ๆ อย่างมวี ิจารณ์ญาณและสรา้ งสรรค์ สาระที่ 4 หลักการใช้ภาษาไทย มาตรฐาน ท 4.1 เขา้ ใจธรรมชาตขิ องภาษาและหลักภาษาไทย การเปลีย่ นแปลงของภาษาและ พลงั ของภาษา ภมู ปิ ญั ญาทางภาษา และรักษาภาษาไทยไวเ้ ปน็ สมบัติของชาติ สาระที่ 5 วรรณคดีและวรรณกรรม มาตรฐาน ท 5.1 เขา้ ใจและแสดงความคดิ เห็น วิจารณว์ รรณคดี และวรรณกรรมไทยอย่างเห็น คุณค่าและนามาประยุกต์ใช้ในชวี ิตจรงิ 2) ความสามารถดา้ นคณิตศาสตร์ ความสามารถด้านคณิตศาสตร์ หมายถงึ ความสามารถของ บคุ คลในการตคี วามและแปลงจาก สถานการณ์ปัญหา หรือสถานการณ์ต่าง ๆ ในบริบทของชวี ติ จริง (Problem in context) ให้เปน็ ปญั หาเชงิ คณิตศาสตร์ (Mathematical problem) การใช้ทักษะการคิดคานวณ การแก้ปัญหา การเช่อื มโยง การสอ่ื สาร และส่อื ความหมายทางคณติ ศาสตร์ การคิดสรา้ งสรรค์ และการใหเ้ หตผุ ลโดยอาศยั ข้อเทจ็ จริง ความคิดรวบยอด หลักการหรอื ทฤษฎีทางคณิตศาสตร์มีการพิจารณาไตรต่ รองอย่างรอบคอบ ประเมินและตดั สนิ ใจอยา่ งสมเหตสุ ม ผลและสรา้ งสรรค์โดยยึดหลกั คณุ ธรรมจริยธรรมและความเปน็ พลเมอื งดขี องประชาคมโลก เพ่ือนาไปสู่การหา ผลลัพธ์และการอธิบาย/คาดการณ์ /พยากรณ์ สถานการณ์ปญั หาหรือปรากฏการณต์ ่าง ๆ ดังน้ี สาระท่ี 1 จานวนและพชี คณิต มาตรฐาน ค 1.1 เข้าใจความหลากหลายของการแสดงจานวน ระบบจานวนการดาเนนิ การของ จานวนผลทเ่ี กดิ ขึ้นจากการดาเนินการสมบตั ิของการดาเนนิ การและนาไปใช้ มาตรฐาน ค 1.2 เข้าใจและวิเคราะห์แบบรูป ความสัมพันธ์ ฟงั ก์ชน่ั ลาดบั และอนุกรม และ นาไปใช้ สาระท่ี 2 การวดั และเรขาคณิต มาตรฐาน ค 2.1 เขา้ ใจพน้ื ฐานเก่ียวกบั การวดั วัดและคาดคะเนขนาดของสิง่ ทต่ี ้องการวดั และ นาไปใช้ มาตรฐาน ค 2.2 เข้าใจและวเิ คราะหร์ ปู คณติ ศาสตร์ สมบัตขิ องรูปเรขาคณิต ความสมั พันธ์ ระหวา่ งรปู เรขาคณติ และทฤษฎีบททางเรขาคณติ และนาไปใช้ สาระท่ี 3 สถติ ิและความน่าจะเป็น มาตรฐาน ค 3.1 เข้าใจกระบวนการทางสถิติ และใช้ความรทู้ างสถิตใิ นการแก้ปัญหา

10 3.กรอบโครงสรา้ งในการประเมนิ คณุ ภาพผูเ้ รยี น (NT) ปีการศึกษา 2563 และตัวอย่างข้อสอบ เครือ่ งมอื ท่ใี ชใ้ นการประเมิน เคร่ืองมอื ที่ใชใ้ นการประเมนิ คุณภาพผ้เู รยี น ชนั้ ประถมศึกษาปที ี่ 3 ปีการศึกษา 2563 แสดงรายละเอยี ดดังตาราง 1. โครงสรา้ งแบบทดสอบความสามารถดา้ นภาษาไทย ชน้ั ประถมศึกษาปที ี่ 3 ปีการศกึ ษา 2563 มาตรฐาน/ตัวช้ีวดั รูปแบบข้อสอบ (จำนวนข้อ) รวม เลือกตอบ ตอบสน้ั ตอบอิสระ จานวนข้อ สาระท่ี 1 การอา่ น มาตรฐาน ท 1.1 ใชก้ ระบวนการอ่านสร้างความรู้และความคดิ เพ่ือนาไปใช้ตัดสินใจ แก้ปญั หาใน การดาเนินชวี ิต และมนี สิ ัยรักการอา่ น ป.3/2 อธบิ ายความหมายของคาและขอ้ ความท่ีอ่าน 2 2 ป.3/3 ต้ังคาถามและตอบคาถามเชิงเหตุผลเกย่ี วกับเร่ืองที่อา่ น 2 2 2 2 ป.3/4 ลาดบั เหตุการณ์และคาดคะเนเหตุการณจ์ ากเรื่องท่ีอ่าน โดยระบุเหตุผลประกอบ 2 2 ป.3/5 สรปุ ความรแู้ ละข้อคิดจากเร่ืองทอี่ ่านเพื่อนาไปใช้ใน 2 2 ชีวิตประจาวัน 2 2 ป.3/7 อ่านข้อเขียนเชิงอธิบายและปฏิบัตติ ามคาสั่งหรือ ข้อแนะนา ป.3/8 อธิบายความหมายของข้อมลู จากแผนภาพ แผนท่ีและ แผนภูมิ สาระที่ 2 การเขียน มาตรฐาน ท 2.1 ใชก้ ระบวนการเขียนเขียนสอื่ สาร เขียนเรียงความย่อความและเขียนเร่อื งราวใน รปู แบบต่าง ๆ เขยี นรายงานขอ้ มูลสารสนเทศและรายงานการศึกษาค้นควา้ อย่างมี ประสิทธภิ าพ ป.3/2 เขยี นบรรยายเก่ียวกับสิ่งใดส่ิงหนึ่งได้อยา่ งชัดเจน 11 ป.3/4 เขยี นจดหมายลาครู 11 ป.3/5 เขยี นเรอื่ งตามจินตนาการ 11 สาระท่ี 3 การฟัง การดูและการพูด

11 มาตรฐาน/ตวั ชี้วัด รูปแบบข้อสอบ (จำนวนข้อ) รวม เลอื กตอบ ตอบสน้ั ตอบอิสระ จานวนขอ้ มาตรฐาน ท 3.1 สามารถเลือกฟังและดูอย่างมีวิจารณ์ญาณ และพูดแสดงความรู้ ความคดิ และ ความรสู้ ึกในโอกาสต่าง ๆ อย่างมีวิจารณ์ญาณและสรา้ งสรรค์ ป.3/2 บอกสาระสาคญั จากการฟงั และการดู 1 1 ป.3/3 ต้ังคาถามและตอบคาถามเก่ียวกับเรอ่ื งทฟี่ ังและดู 1 1 สาระที่ 4 หลกั การใช้ภาษาไทย มาตรฐาน ท 4.1 เขา้ ใจธรรมชาตขิ องภาษาและหลกั ภาษาไทย การเปลีย่ นแปลงของภาษาและพลังของ ภาษา ภูมิปัญญาทางภาษา และรกั ษาภาษาไทยไวเ้ ป็นสมบัติของชาติ ป.3/1 เขยี นสะกดคาและบอกความหมายของคา 2 2 ป.3/2 ระบชุ นดิ และหน้าทขี่ องคาในประโยค 2 2 2 2 ป.3/4 แตง่ ประโยคง่าย ๆ 1 ป.3/5 แตง่ คาคลอ้ งจองและคาขวัญ 1 ป.3/6 เลอื กใชภ้ าษาไทยมาตรฐานและภาษาถิน่ ได้เหมาะสมกับ 2 2 กาลเทศะ สาระท่ี 5 วรรณคดีและวรรณกรรม มาตรฐาน ท 5.1 เข้าใจและแสดงความคิดเห็น วจิ ารณว์ รรณคดแี ละวรรณกรรมไทยอย่างเห็นคณุ ค่า และนามาประยกุ ต์ใชใ้ นชีวิตจริง ป.3/1 ระบขุ ้อคดิ ท่ีได้จากการอา่ นวรรณกรรมเพ่ือนาไปใชใ้ น 2 2 ชีวติ ประจาวัน ป.3/3 แสดงความคิดเห็นเกย่ี วกบั วรรณคดที ่ีอา่ น 2 2 รวมจานวนข้อ 26 3 1 30 หมายเหตุ การใหค้ ะแนนข้อสอบแต่ละรูปแบบของข้อสอบภาษาไทย ดงั น้ี ขอ้ สอบเลอื กตอบ ข้อละ 3 คะแนน คะแนนเป็น 0, 3 คะแนน ขอ้ สอบเขียนตอบสนั้ ขอ้ ละ 5 คะแนน คะแนนเปน็ 0, 2.5, 5 คะแนน ขอ้ สอบเขยี นตอบอสิ ระ ข้อละ 7 คะแนน คะแนนเปน็ 0, 1, 2, 3, 4, 5, 6, 7 คะแนน

12 2. โครงสร้างแบบทดสอบความสามารถดา้ นคณิตศาสตร์ ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ี่ 3 ปีการศึกษา 2563 มาตรฐาน/ตัวช้ีวัด รูปแบบขอ้ สอบ (จำนวนข้อ) รวม เลือกตอบ ตอบสนั้ วิธที า จานวนข้อ สาระที่ 1 จานวนและพชี คณิต มาตรฐาน ค 1.1 เข้าใจความหลากหลายของการแสดงจานวน ระบบจานวน การดาเนนิ การของจานวน ผลที่เกดิ ข้ึนจากการดาเนนิ การสมบตั ิของการดาเนนิ การและนาไปใช้ ป.3/2 เปรยี บเทยี บและเรียงลาดับจานวนนบั ไม่เกิน 100,000 1 1 จาก สถานการณ์ตา่ ง ๆ ป.3/4 เปรียบเทียบเศษสว่ นทตี่ ัวเศษเทา่ กัน โดยทต่ี ัวเศษน้อยกว่า 2 2 หรือเทา่ กับตัวส่วน ป.3/9 แสดงวิธหี าคาตอบของโจทยป์ ัญหา 2 ขน้ั ตอนของจานวน 2 1 1 4 นับไมเ่ กนิ 100,000 และ0 ป.3/10 หาผลบวกของเศษส่วนทมี่ ีตัวสว่ นเท่ากัน และผลบวก 2 2 ไมเ่ กิน 1 และหาผลลบ ของเศษส่วนที่มตี วั ส่วนเทา่ กัน ป.3/11 แสดงวธิ หี าคาตอบของโจทยป์ ญั หา การบวกเศษส่วนท่ีมี 2 2 ตัวสว่ นเทา่ กนั และผลบวกไม่เกนิ 1 และโจทย์ปญั หา การลบเศษสว่ นทมี่ ีตวั สว่ นเทา่ กนั มาตรฐาน ค 1.2 เข้าใจและวิเคราะหแ์ บบรูป ความสัมพันธ์ ฟังก์ชนั ลาดบั และอนกุ รม และนาไปใช้ ป.3/1 ระบจุ านวนทีห่ ายไปในแบบรปู ของ จานวนที่เพิ่มขนึ้ หรือ 2 2 ลดลงทล่ี ะเทา่ ๆ กัน สาระท่ี 2 การวดั และเรขาคณิต มาตรฐาน ค 2.1 เขา้ ใจพน้ื ฐานเกยี่ วกับการวัด วดั และคาดคะเนขนาดของสงิ่ ที่ตอ้ งการวดั และนาไปใช้ ป.3/1 แสดงวิธหี าคาตอบของโจทย์ปัญหาเกีย่ วกบั เงนิ 11 2 ป.3/2 แสดงวิธีหาคาตอบของโจทย์ปญั หาเกีย่ วกบั เวลา และ 2 2 ระยะเวลา 1 1 ป.3/5 เปรียบเทยี บความยาวระหวา่ งเซนตเิ มตรกบั มิลลเิ มตร เมตรกบั เซนตเิ มตร กโิ ลเมตรกบั เมตร จากสถานการณ์ ตา่ ง ๆ

13 มาตรฐาน/ตวั ช้ีวัด รปู แบบขอ้ สอบ (จำนวนข้อ) รวม เลือกตอบ ตอบสนั้ วิธีทา จานวนข้อ ป.3/6 แสดงวิธหี าคาตอบของโจทย์ปัญหาเกีย่ วกับความยาว ทมี่ ี 2 2 หนว่ ยเป็นเซนติเมตร และมิลลเิ มตร เมตรและเซนติเมตร 1 1 กิโลเมตรและเมตร ป.3/9 เปรยี บเทยี บน้าหนกั ระหวา่ งกโิ ลกรมั กบั กรัม เมตริกตนั กับ กโิ ลกรมั จากสถานการณ์ตา่ ง ๆ ป.3/10 แสดงวธิ ีหาคาตอบของโจทย์ปัญหาเก่ียวกบั นา้ หนักท่ีมี 1 1 2 หน่วยเปน็ กิโลกรมั กับกรมั เมตรกิ ตนั กบั กิโลกรัม ป.3/13 แสดงวธิ ีหาคาตอบของโจทยป์ ญั หาเกี่ยวกับปรมิ าตรและ 2 2 ความจทุ ่มี หี น่วยเปน็ ลติ รและมิลลิลิตร มาตรฐาน ค 2.2 เข้าใจและวเิ คราะห์รูปเรขาคณติ สมบัติของรปู เรขาคณิต ความสมั พันธร์ ะหว่างรูป เรขาคณิตและทฤษฎีบททางเรขาคณติ และนาไปใช้ ป.3/1 ระบรุ ปู เรขาคณติ สองมิติท่มี ีแกนสมมาตร และจานวน 2 2 แกนสมมาตร ส2า2ระที่ 3 สถติ ิและความนา่ จะเปน็ มาตรฐาน ค 3.1 เข้าใจกระบวนการทางสถิติ และใชค้ วามร้ทู างสถติ ใิ นการแกป้ ญั หา ป.3/1 เขยี นแผนภูมริ ูปภาพ และใช้ข้อมลู จากแผนภมู ิรูปภาพ ใน 2 2 1 การหาคาตอบของโจทยป์ ญั หา ป.3/2 เขยี นตารางทางเดยี วจากข้อมลู ที่เป็นจานวนนับ และ 1 ใช้ข้อมูลจากตารางทางเดยี วในการหาคาตอบของโจทย์ ปญั หา รวมจานวนข้อ 26 3 1 30 หมายเหตุ การให้คะแนนข้อสอบแตล่ ะรูปแบบของข้อสอบคณิตศาสตร์ ดงั น้ี ข้อสอบเลือกตอบ ข้อละ 3 คะแนน คะแนนเป็น 0, 3 คะแนน ขอ้ สอบเขยี นตอบสนั้ ขอ้ ละ 4 คะแนน คะแนนเป็น 0, 4 คะแนน ข้อสอบแสดงวิธที า ข้อละ 10 คะแนน คะแนนเปน็ 0, 1, 2, 3, 4, 5, 6, 7, 8, 9 และ10 คะแนน

14 3. ตัวอยา่ งข้อสอบการประเมนิ คณุ ภาพผเู้ รยี น (NT) ปีการศกึ ษา 2563

15

16

17

18 4.แนวปฏิบัติการประเมนิ คุณภาพการศกึ ษาขั้นพน้ื ฐานเพ่อื การประกนั คุณภาพผู้เรียน ปีการศกึ ษา 2563 1 การจดั สนามสอบและห้องสอบ 1) การจัดสนามสอบ ศูนยส์ อบกาหนดใหส้ ถานศึกษาแต่ละแห่งเปน็ สนามสอบ เพอ่ื หลกี เลี่ยงการเคล่ือนย้ายนกั เรียนออก จากพืน้ ที่ยกเว้นในกรณีทีม่ ีนักเรยี นจานวนนอ้ ยไม่ถงึ 5 คน อนุโลมใหม้ ีการเคล่อื นยา้ ยไปรวมกับสถานศึกษาท่อี ยู่ ใกล้เคยี ง และสามารถจัดสนามสอบได้ตามความเหมาะสมของสถานศกึ ษาแต่ละแห่ง โดยให้คานึงถึงความ ปลอดภยั ของนักเรียนเี้ ป็นหลัก เพื่อประสิทธิภาพในการบริหารจดั การและประหยัดงบประมาณ โดยให้จดั ห้อง สอบเพม่ิ ตามจานวนสถานศกึ ษาทีน่ กั เรียนมาร่วมสอบในสนามสอบน้นั ๆ และใหด้ าเนินการตามมาตรการการ ปอ้ งกนั การแพร่กระจายของเชอื้ โรคไวรัสโคโรน่า 2019 (Covid 19) อย่างเครง่ ครัด 2) การจัดห้องสอบ สานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพื้นฐาน ไดก้ าหนดห้องสอบในแตล่ ะสนามสอบ เปน็ 3 ประเภท คือ 2.1) ห้องสอบปกติ (ห้องเด็กปกติทีใ่ ช้ข้อสอบปกติ) 2.2) หอ้ งสอบพเิ ศษ 1 ( ห้องเดก็ พิเศษท่ีใช้ขอ้ สอบปกติ) 2.3) ห้องสอบพิเศษ 2 ( ห้องเด็กพิเศษที่ใชข้ อ้ สอบพิเศษ เช่น อักษรเบรลล์ และข้อสอบอกั ษรขยาย) โดยลักษณะการจดั เรียงห้องสอบ จะจดั เรยี งตามลาดับ ดังน้ี หอ้ งปกติหอ้ งแรก จนถึงห้องปกติ สุดท้าย ตามด้วยหอ้ งพเิ ศษ 1 และหอ้ งพเิ ศษ 2 ตามลาดบั หมายเหตุ การจัดห้องสอบของสนามสอบที่มีห้องพเิ ศษ 1 ( เด็กพเิ ศษทใ่ี ช้ข้อสอบปกต)ิ เพือ่ มใิ หเ้ ด็กพิเศษ เกิดความรสู้ ึกว่าตนเองแตกต่างจากเพื่อ่นื ๆ ศนู ยส์ อบ/สนามสอบสามารถบริหารจัดให้ผู้เรยี นสอบ ร่วมกับเดก็ ปกตไิ ดโ้ ดยนาโต๊ะของเด็กพิเศษมาวางไว้ในห้องเด็กปกติและดาเนนิ การจัดสอบตามปกติแต่ การบรรจกุ ระดาษคาตอบให้บรรจุแยกตามจานวนห้องสอบทสี่ พฐ. สง่ ไปให้ตัวอย่างเชน่ โรงเรียน ชนาธปิ วทิ ยา มผี ูเ้ รยี น 10 คน มีหอ้ งสอบ 2 ห้อง คือห้องปกติ จานวน1 หอ้ ง ห้องพเิ ศษ 1 จานวน 1 หอ้ ง ในวนั สอบจรงิ ศนู ย์สอบอาจกาหนดสถานศึกษานี้ให้มีห้องสอบ เพียง 1 หอ้ ง (ใหส้ อบรว่ มกนั ) ซ่ึง สพฐ.จะส่งขอ้ สอบไปสนามสอบ 2 หอ้ งสอบ (กลอ่ ง) ดังนัน้ การบรรจุกระดาษคาตอบ ให้แยกกลือง ออกเป็น 2 ห้องสอบ (กล่อง) เหมอื นท่สี พฐ. ส่งไป

19 3) จานวนผูเ้ รียนในห้องสอบ ศูนย์สอบต้องกาหนดสนามสอบ ผ่านระบบ NT Access ภายในชวงเวลาที่สานักงานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐานกาหนด โดยโปรแกรม NT Access จะกาหนดห้องสอบในแต่ละสนามสอบซ่ึงมีจานวนผู้เข้า สอบห้องละ 20 คน โดยอัตโนมัติ การจัดห้องสอบจะจัดผู้เข้าสอบเข้าห้องสอบทีละ สถานศึกษา โดยเร่ิมต้นที่ ผู้เรียนในสถานศึกษาที่เป็นสนามสอบก่อน หลังจากน้ันจะเรียงตามอักษรตัวแรกของชื่อสถานศึกษา และการ เรียงลาดับเลขท่ีน่ังของผู้เข้าสอบในแต่ละสถานศึกษาจะจัดเรียงตามท่ีสถานศึกษาส่งข้อมูลเข้าโปรแกรม NT Accessตัวอย่างเชน่ ถ้าโรงเรยี นเจริญวทิ ยาเป็นสนามสอบ ซ่งึ มีสถานศึกษามาเขา้ สอบ 3 แหง่ ได้แก่ โรงเรียนเจริญ วทิ ยา มผี เู้ ขา้ สอบ 20 คน โรงเรยี นท่ดี สอบศกึ ษา มีผ้เู ขา้ สอบ 3 คน และโรงเรียนพรกุณามีจานวนผู้เขา้ สอบ 4 คน การจัดห้องสอบจะเปน็ ดังต่อไปน้ี 3.1) มีจานวนผู้มีสทิ ธ์ิสอบท้งั หมด 27 คน ดังนนั้ จะตอ้ งมหี ้องสอบท้ังสนิ้ 2 หอ้ ง 3.2) จดั เรยี งผมู้ สี ทิ ธิ์สอ่ บเข้าหอ้ งสอบ โดยเริ่มจากสถานศึกษาที่เปน็ สนามสอบ คือโรงเรียน เจริญวทิ ยา คนท่ี 1 - 20 ของห้องที่ 1 ตามดว้ ยสถานศึกษาอ่ืน ซ่ึงเรยี งตามตวั อักษรของชอ่ื สถานศึกษา คือ โรงเรยี นทดสอบศึกษา คนที่ 1 - 3 ของห้องท่ี 2 และโรงเรียนพรกุณา คนที่ 4 - 7 ของห้องท่ี 2 ตามลาดับ ดงั ภาพ 3.3) จดั รายชื่อผูม้ สี ทิ ธิ์สอบเข้าหอ้ งสอบ เรียงลาดับการเขา้ สอบตามทีส่ ถานศึกษานาเข้า โปรแกรม NT Access โดยจดั ห้องสอบใหม้ โี ตะ๊ สอบท้งั หมด 5 แถว ๆ ละ 4 ตวั 3.4) ติดสตกิ๊ เกอรข์ ้อมลู ผมู้ สี ทิ ธ์ิสอบทโ่ี ต๊ะนกั เรยี น โดยเรียงลาดับเลขทน่ี ัง่ สอบตาม แบบ สพฐ.2

20 2. ขอ้ ปฏบิ ัติในการสอบของผ้เู ข้าสอบ ระเบยี บการเข้าหอ้ งสอบ 1) ต้องแสดงบัตรประจาตัวผ้เู ข้าสอบหุ รือบตั รประจาตัวประชาชน หรอื บัตรประจาตวั นักเรยี น ทีม่ รี ูป หรอื หลักฐานอยา่ งอื่นท่สี ามารถใช้แสดงตวั ตนของผเู้ ขา้ สอบ 2) ผเู้ ข้าสอบมาสายเกิน 15 นาทไี่ ม่มสี ิทธ์ิสอบในวิชานั้น (ระเบียบกระทรวงศึกษาธิการวา่ ด้วย การปฏบิ ัติของผเู้ ขา้ สอบ พ.ศ. 2548 ) 3) ใหผ้ ู้เข้าสอบนั่งอยู่ในห้องสอบจนหมดเวลา 4) หา้ ม ผเู้ ข้าสอบนาตารา เอกสาร เครื่องอเิ ล็กทรอนิกสห์ รือเครื่องมือสื่อสารเข้าห้องสอบ 5) อนญุ าต ใหผ้ ูเ้ ขา้ สอบนานาฬิกาเข้าห้องสอบเฉพาะนาฬิกาธรรมดาท่ีใชด้ ูเวลาเท่านน้ั อปุ กรณ์ท่ีอนญุ าตให้นาเข้าห้องสอบ โดยผู้เข้าสอบตอ้ งเตรียมมาในวันสอบ ได้แก่ 1) ดินสอดา 2B ใชส้ าหรับระบายคาตอบ 2) ยางลบ 3) กบเหลาดินสอ 3. กรณีผู้เข้าสอบกรณีพิเศษ (Walk in) ผู้เขา้ สอบกรณพี เิ ศษ (Walk in) ไดแ้ ก่ ผ้ทู ่ไี ม่มีรายชอ่ื ในใบเซ็นชือ่ ผ้เู ข้าสอบแบบสพฐ.2ซึ่งผเู้ รียนจะเข้า สอบไดต้ ่อเมื่อได้รับอนญุ าตจากประธานสนามสอบหรอื ผู้แทนแล้ว โดยตอ้ งปฏบิ ัติ ดงั น้ี 1) เขา้ สอบในหอ้ งสอบปกติ โดยน่งั ต่อจากเลขที่นัง่ สอบคนสดุ ท้ายของหอ้ งสอบปกติ หอ้ งสุดท้ายในสนามสอบนนั้ ๆ 2) ใช้แบบทดสอบสารองและกระดาษคาตอบสารอง สาหรับเลขท่ีนัง่ สอบใหใ้ ช้เลขท่นี ง่ั สอบตอ่ จากเลขทีส่ ุดท้ายของห้องสอบสุดท้ายในสนามสอบนัน้ ๆ 3) ลงชอื่ ในใบเซ็นชือ่ ผู้เขา้ สอบกรณีพิเศษ (แบบ สพฐ.3) วิชาละ 1 แผน่ (สาหรบั ส่งคนื สพฐ.) หากมีผู้เรียนเข้าสอบกรณพี เิ ศษ (Walk in) จานวนมากกวา่ 1 คน ก็ใหล้ งชื่อในแผน่ เดียวกนั 4) เมื่อเสร็จสิ้นการสอบให้เก็บกระดาษคาตอบของผ้เู ขา้ สอบกรณีพิเศษ (Walk in) ใสใ่ นซอง กระดาษคาตอบต่อจากผ้เู ขา้ สอบคนสดุ ทา้ ยของห้องสอบสดุ ทา้ ยในสนามสอบนัน้ ๆ 4. กรณกี ระดาษคาตอบชารดุ ใหผ้ เู้ ข้าสอบระบายลงในช่อง “ยกเลิกกระดาษคาตอบ” และให้ใชก้ ระดาษคาตอบสารอง โดยระบรุ ายละเอียดของผู้เข้าสอบตามกระดาษคาตอบเดิม และเกบ็ กระดาษคาตอบท่ชี ารุดใส่ซองคืนด้วย (ใหเ้ รยี งกระดาษคาตอบท่ีถูกยกเลกิ อยู่หลังกระดาษคาตอบสารองของผูเ้ ข้าสอบคนนัน้ ) 5. กรณีขาดสอบ 1) เมือ่ เสรจ็ ส้นิ การสอบให้เก็บกระดาษคาตอบของผู้ขาดสอบ ให้กรรมการคุมสอบระบายในช่อง “ขาดสอบ” แล้วเกบ็ รวบรวมกระดาษคาตอบตามเลขท่นี ่ังสอบ 2) ใหก้ รรมการคุมสอบเก็บกระดาษคาตอบของผ้ขู าดสอบเรียงตามเลขท่นี ั่งสอบปกติ 3) ใหก้ รรมการคุมสอบ ระบวุ ่า “ขาดสอบ” ด้วยหมึกสแี ดง ในใบเซน็ ชือ่ ผ้เู ขา้ สอบแบบ สพฐ.2

21 6. กาหนดการบริหารจดั การสอบ (ห้องสอบ) ระยะเวลา การปฏบิ ตั ิ ก่อนถึงเวลาสอบ 15 ให้ผ้เู ขา้ สอบเขา้ ห้องสอบ กรรมการคุมสอบตรวจบตั รประจาตวั ประชาชน หรือ นาที หลักฐานอย่างอ่ืนทีแ่ สดงตัวตนของผู้เข้าสอบ รวมท้งั อปุ กรณท์ ใ่ี ชใ้ นการสอบ กอ่ นถึงเวลาสอบ 10 1. ใหผ้ ้เู ขา้ สอบ 2 คน ตรวจซองแบบทดสอบ เพือ่ ยืนยันความเรียบรอ้ ยของ นาที แบบทดสอบ แลว้ ลงลายมือชื่อใน สพฐ.2 2. แจกกระดาษคาตอบให้ผู้เข้าสอบเรยี งตามลาดับเลขทน่ี งั่ สอบ จากนอ้ ยไปหามาก 3. แจง้ ใหผ้ เู้ ขา้ สอบตรวจสอบว่ากระดาษคาตอบเป็นของตนเอง และลงลายมอื ช่ือใน กระดาษคาตอบ กอ่ นถึงเวลาสอบ 5 นาที แจกแบบทดสอบให้ผ้เู ข้าสอบเรยี งตามลาดับเลขที่นัง่ สอบ จากนอ้ ยไปหามาก เมือ่ ถึงเวลาสอบ ประกาศให้ผู้เข้าสอบเร่ิมทาแบบทดสอบ ระหว่างการสอบ 1. ดูแลการจดั สอบใหเ้ ปน็ ไปด้วยความเรียบร้อย มีความโปร่งใส ไม่มีการทจุ รติ หรือ กระทาผิด ระเบียบระหวา่ งการสอบ 2. ดแู ลใหผ้ เู้ ข้าสอบ และกรรมการกากบั ห้องสอบ สวมหน้ากากอนามยั ในระหว่าง การสอบ เม่ือเวลาสอบผา่ นไป 30 ใหผ้ เู้ ข้าสอบลงช่อื ในใบเซ็นชื่อผู้เข้าสอบ สพฐ.2 นาที ก่อนหมดเวลาสอบ 5 ประกาศเวลาให้ผเู้ ข้าสอบทราบเพ่ือตรวจสอบความเรียบร้อยของกระดาษคาตอบ นาที และการระบายคาตอบ เมอ่ื หมดเวลาสอบ 1. ประกาศหมดเวลา 2. แจง้ ใหผ้ เู้ ขา้ สอบหยดุ การสอบ 3. ตรวจสอบการลงชอ่ื - สกุล และเลขท่ีน่งั สอบของผ้เู ขา้ สอบ และตรวจดกู ารลง ลายมอื ช่ือบนหัวกระดาษของผูเ้ ขา้ สอบทุกคน 4. เก็บแบบทดสอบ และกระดาษคาตอบให้ครบถ้วนตามจานวนทร่ี ะบไุ ว้บนหน้า ซองเพอ่ื นาส่งประธานสนามสอบ หลงั สอบเสรจ็ แตล่ ะวิชา 1. อนญุ าตให้นักเรียนออกจากห้องสอบตามดุลพนิ จิ ของกรรมการคุมสอบ 2. กรรมการคุมสอบท้ัง 2 คน ลงลายมือช่ือในกระดาษคาตอบของผเู้ ขา้ สอบทุกคน 3. กรรมการคุมสอบนากระดาษคาตอบเขยี นตอบ และกระดาษคาตอบเลอื กตอบ เรยี งตามลาดบั เลขทีน่ ง่ั สอบจากน้อยไปมาก แล้วบรรจุในซอง โดยไม่ผนึก เพื่อนาสง่ ประธานสนามสอบ 4. กรรมการคุมสอบอย่างน้อย 1 คน รว่ มตรวจสอบความถกู ต้อง ครบถ้วน กบั ประธานสนามสอบ และเปน็ สักขพี ยานในการบรรจซุ องกระดาษคาตอบแบบเขียน ตอบ

22 7. การจดั สอบสาหรับเดก็ ท่ีมีความต้องการจาเปน็ พิเศษ เดก็ ที่มคี วามต้องการจาเปน็ พิเศษ หมายถงึ ผ้เู ขา้ สอบทีม่ ีความต้องการพเิ ศษเก่ียวกับวิธกี าร กระบวนการ เคร่อื งมือหรือบริการอ่นื ใดท่ีใชใ้ นการจดั สอบแตกต่างไปจากเดก็ ท่วั ไป เพ่ือให้เดก็ เหลา่ นั้นสามารถทา ข้อสอบได้อย่างเต็มศักยภาพ 7.1 แนวทางการจดั สอบสาหรับเด็กท่มี คี วามต้องการจาเปน็ พเิ ศษ การดาเนินการจัดสอบสาหรบั เดก็ ทีม่ ีความต้องการจาเป็นพิเศษ 9 ประเภท โดยแต่ละประเภทมแี นว ทางการจดั สอบ ดงั น้ี 1) เด็กท่ีมีความบกพร่องทางการเห็น หมายถงึ คนท่สี ูญเสียการเห็นต้ังแต่ระดบั เลก็ น้อยจนถึงตาบอด สนทิ อาจแบง่ ได้ 2 ประเภท ไดแ้ ก่ 1.1) ตาบอด หมายถงึ คนกลุม่ นไ้ี มส่ ามารถใช้การมองเหน็ จากประสาทตาไดเ้ ลย ต้องใช้อักษร เบลล์ช่วยในการอ่านและทาความเข้าใจข้อสอบ ในการดาเนินการ ผู้จดั สอบแจกขอ้ สอบฉบับอกั ษรเบลล์ให้เดก็ แต่ ละคน โดยแยกออกมาใหส้ อบในหอ้ งเฉพาะและใหม้ กี รรมการคมุ สอบทมี่ าจากโรงเรียนสอนคนตาบอดแห่งนั้น ๆ หรอื ผูท้ ่ีมปี ระสบการณ์และความเชี่ยวชาญเฉพาะด้าน เปน็ กรรมการคมุ สอบช่วยในการคุมสอบและชว่ ยเหลอื เทา่ ท่ีจาเป็น โดยกรรมการคุมสอบจะเปน็ ผรู้ ะบายคาตอบในกระดาษคาตอบให้เด็กแต่ละคนในช่วงทา้ ยของเวลาใน การคุมสอบ อาจให้กรรมการ 1 คน ช่วยเด็กประมาณ 3 -5 คน แตเ่ ด็กบางคนอาจให้กรรมการคุมสอบเป็นผู้อา่ น ข้อสอบให้ฟงั โดยใชข้ ้อสอบปกตใิ หก้ รรมการคุมสอบแยกการสอบออกมาเฉพาะ เพ่อื ไมเ่ ป็นการรบกวนสมาธผิ อู้ น่ื ครอู ่านข้อสอบใหฟ้ ังและเด็กจะทามือแสดงสัญลักษณ์คาตอบแลว้ ใหก้ รรมการคุมสอบชว่ ยระบายคาตอบใน กระดาษคาตอบก็ได้ โดยให้เวลาเพม่ิ ขึน้ ร้อยละ 30 จากเวลาทก่ี าหนด 1.2) สายตาเลือนลาง หมายถึง คนกลมุ่ น้ียังสามารถใช้การมองเห็นจากประสาทตาที่หลงเหลือ ได้ เดก็ กลุ่มนีอ้ าจจะต้องการให้จดั ทาขอ้ สอบท่ีมอี ักษรขนาดขยายเพ่ิมกว่าปกติ ฟอนดข์ นาด 20 พอยด์ (โดยประมาณ) เพ่ือสามารถอ่านข้อสอบด้วยตนเองได้ และอาจจะมีความยากลาบากในการระบายกระดาษคาตอบ เนอ่ื งจากมพี ื้นทก่ี าหนดใหร้ ะบายกระดาษคาตอบในแตล่ ะขอ้ ขนาดเลก็ มาก อาจตอ้ งให้กรรมการคุมสอบชว่ ย ระบายคาตอบให้ โดยเด็กทาคาตอบไวก้ ่อนระหว่างทาข้อสอบ แลว้ ค่อยอ่านให้กรรมการคุมสอบช่วยระบาย คาตอบหรือเขยี นคาตอบใหภ้ ายหลงั หรอื เด็กอาจใหก้ รรมการคมุ สอบอา่ นข้อสอบให้ฟงั และช่วยระบายคาตอบให้ เดก็ คนน้ัน ๆ ตามทเี่ ด็กบอกคาตอบก็ได้ หรือกรรมการคมุ สอบ 1 คน ตอ่ เดก็ 3 -5 คนโดยให้เวลาในการทา ข้อสอบเพ่มิ ขึน้ รอ้ ยละ 30 จากเวลาที่กาหนด 2) เดก็ ที่มีความบกพร่องทางการได้ยนิ หมายถึง คนที่สูญเสยี การได้ยินตง้ั แตร่ ะดับรุนแรงถงึ ระดับน้อย แบง่ ได้ เป็น 2 ประเภท ได้แก่ 2.1) หูตึง คนกลุม่ นสี้ ามารถรับรู้การไดย้ นิ ผา่ นระบบประสาทหูได้ แต่มีระดับการไดย้ ินน้อยกวา่ ปกตทิ ว่ั ไป และอาจพูดสื่อสารไดไ้ ม่ชัดเจน มักจะใส่เครื่องชว่ ยฟงั เพื่อช่วยในการได้ยินให้ดขี ึ้น เด็กกลุ่มนีส้ ามารถ ทาแบบทดสอบได้ด้วยตนเอง โดยอาจไมต่ ้องการความช่วยเหลือใด ๆ เปน็ กรณพี ิเศษ 2.2) หหู นวก คนกลุม่ น้ีไม่สามารถรับรกู้ ารได้ยินผ่านทางประสาทหูได้แมจ้ ะใส่เคร่ืองช่วยฟัง ช่วยการได้ยนิ แลว้ ก็ตาม และตอ้ งใชภ้ าษามอื ในการส่อื สารแทนการใชเ้ สยี งพดู แม้เดก็ กลุม่ น้มี ลี กั ษณะภายนอก

23 คล้ายเดก็ ทว่ั ไป แตเ่ ขาเหลา่ น้ีจะมีพัฒนาการทางภาษาด้อยกว่าเดก็ ทั่วไปท่อี ายอุ ยู่ในระดับเดียวกัน การดาเนินการ สอบควรจัดใหม้ ีล่ามภาษามือจากโรงเรียนโสตศึกษาในจงั หวัดนั้น ชว่ ยหรอื ผูท้ ่มี ปี ระสบการณ์และความเชย่ี วชาญ เฉพาะด้านในการแปลรายละเอียดข้อสอบ เพือ่ ช่วยให้เด็กหหู นวกท่เี ขา้ สอบมคี วามเขา้ ใจท่ีชัดเจนและสามารถ แสดงศกั ยภาพในการทาข้อสอบได้ถกู ต้อง และควรให้เวลาในการทาขอ้ สอบเพ่ิมข้ึนร้อยละ 30 จากเวลาท่ีกาหนด 3) เดก็ ที่มคี วามบกพร่องทางสตปิ ญั ญา หมายถงึ คนท่มี ีพฒั นาการชา้ กวา่ คนทั่วไป เม่ือวัดระดับเชาว์ ปัญญา กรณีนเี้ ด็กจะมีความสามารถทางสติปัญญาตา่ กว่าเกณฑ์เฉลย่ี และมขี ้อจากดั ในการปรบั ตวั แตห่ ากเปน็ เดก็ ที่มีความบกพร่องทางสตปิ ญั ญาทเี่ รยี นร่วมกบั เด็กทว่ั ไป จะมคี วามสามารถในการเรยี นไดใ้ นระดับประถมศึกษาอยู่ แล้ว อาจเปิดโอกาสใหเ้ ดก็ กลุ่มนไ้ี ดเ้ ข้าสอบด้วย โดยอาจเพิ่มเวลาในการทาขอ้ สอบได้แต่ไมเ่ กินร้อยละ 30 ของ เวลาท่กี าหนด 4) เดก็ ท่ีมีความบกพร่องทางร่างกายหรือสขุ ภาพ หมายถึง คนท่ีมีอวัยวะไมส่ มสว่ น อวัยวะส่วนใดสว่ น หน่ึงหรือหลายส่วนขาดหายไป กระดูกและกล้ามเน้ือพิการ เจ็บปว่ ยเรอื้ รังรุนแรง มีความพกิ ารของระบบประสาท มีความลาบากในการเคล่ือนไหวซึง่ เปน็ อุปสรรคต่อการศกึ ษาในสภาพปกติแบง่ เปน็ 4.1) เดก็ มีความบกพร่องทางรา่ งกายหรือการเคล่ือนไหวเช่น คนมอี วัยวะไมส่ มสว่ นหรือขาด หายไปโดยเฉพาะแขนขาดหรือกลา้ มเน้ือแขนลบี ผดิ ปกติ ทาใหม้ ีอปุ สรรคในการเขยี นคาตอบหรือระบายคาตอบใน กระดาษคาตอบ แตเ่ ด็กกลุ่มน้มี คี วามสามารถทางสมองและสตปิ ัญญาอยใู่ นระดบั ปกติ ในการทาข้อสอบ ใหจ้ ัดให้ เด็กเหลา่ น้ีสอบในห้องเฉพาะและใหม้ ีกรรมการอานวยความสะดวกในการระบายคาตอบหรือเขยี นคาตอบให้ นักเรยี น โดยให้เด็กแตล่ ะคนอา่ นข้อสอบด้วยตนเองและบอกคาตอบให้กรรมการชว่ ยเขียนคาตอบให้กรณีท่ีมเี ด็ก กล่มุ นมี้ ากอาจใช้กรรมการคุมสอบ 1 คน ตอ่ เด็ก 3 -5 คน และใหเ้ วลาทาข้อสอบเพ่ิมข้นึ ร้อยละ 30 จากเวลาท่ี กาหนด แต่หากเดก็ สามารถทาข้อสอบไดด้ ว้ ยตนเองโดยไม่ตอ้ งการความช่วยเหลือใดเป็นพิเศษ ให้เด็กคนนน้ั สอบ รวมกับเด็กทั่วไป อนง่ึ ควรจดั สนามสอบสาหรบั เด็กกลมุ่ นใี้ หเ้ หมาะสม เชน่ ควรจดั อยชู่ ั้นลา่ งของอาคารเพ่ือความ สะดวกในการใช้เก้าอีร้ ถเข็น 4.2) เดก็ ทีม่ คี วามบกพร่องทางสขุ ภาพ ไดแ้ ก่ คนท่ีมคี วามเจ็บป่วยเรอ้ื รงั หรือมโี รคประจาตวั และตอ้ งไดร้ ับการรักษาอย่างต่อเนือ่ ง เด็กเหลา่ นห้ี ากสามารถทาข้อสอบได้ดว้ ยตนเอง ให้ทาข้อสอบดว้ ยตนเอง หากไม่สามารถทาข้อสอบได้ด้วยตนเอง ให้กรรมการคุมสอบชว่ ยเขียนคาตอบให้ โดยเดก็ เป็นผู้บอกคาตอบ ให้ กรรมการเขยี น โดยเพิม่ เวลาในการทาข้อสอบให้ได้ตามความจาเป็นแตไ่ มเ่ กินร้อยละ 30 จากเวลาทีก่ าหนด 5) เด็กที่มีปัญหาทางการเรียนรู้หมายถึง เด็กที่มคี วามบกพรอ่ งอย่างใดอยา่ งหน่งึ หรือหลายอยา่ ง เก่ยี วกบั ความเข้าใจหรือการใชภ้ าษา อาจเปน็ ภาษาพูดหรือภาษาเขียน เด็กเหล่าน้ีสว่ นใหญ่กระจายอยใู่ นโรงเรยี น ท่วั ๆ ไป ในการจัดสอบตอ้ งเปดิ โอกาสให้เด็กเหลา่ นมี้ โี อกาสในการทาข้อสอบร่วมกับเด็กทวั่ ไปดว้ ย โดยอาจจดั ให้ มกี รรมการคมุ สอบ เพ่ือช่วยควบคุมและอานวยความสะดวกเป็นการเฉพาะ เพราะเด็กเหลา่ น้ี สามารถบอก คาตอบทีถ่ ูกต้องได้ แต่อาจไม่สามารถแสดงศกั ยภาพของตนเองดา้ นการเขยี นคาตอบได้ กรรมการคุมสอบควร เขยี นหรือระบายคาตอบให้เด็กเหลา่ นดี้ ว้ ย เพราะเด็กเหลา่ นส้ี ามารถบอกคาตอบได้ อนึ่งหากเด็กสามารถทา ขอ้ สอบไดด้ ว้ ยตนเอง ก็ใหน้ กั เรยี นคนนนั้ ทาข้อสอบด้วยตนเอง การเพมิ่ เวลาอาจพจิ ารณาตามความเหมาะสมแต่ ไม่เกนิ ร้อยละ 30 ของเวลาท่ีกาหนด

24 6) เดก็ ท่ีมีความบกพร่องทางการพูดและภาษา หมายถึง คนทีม่ ีความบกพร่องในเรอ่ื งของการเปล่ง เสยี งพูด เชน่ เสียงผดิ ปกติ อัตราความเรว็ และจังหวะการพูดผดิ ปกติ หรือคนที่มคี วามบกพร่องในเร่ืองความเขา้ ใจ หรอื การใช้ภาษาพดู การเขยี น และหรือระบบสญั ลักษณ์อ่ืนทใ่ี ชใ้ นการตดิ ต่อส่ือสาร ซงึ่ อาจเกีย่ วกบั รูปแบบของ ภาษา เน้อื หาของภาษาและหนา้ ทข่ี องภาษา กรณีนใ้ี ห้กรรมการคุมสอบแยกการสอบออกมาเฉพาะ เพื่อไมเ่ ป็น การรบกวนสมาธผิ ูอ้ ืน่ และเพ่ิมเวลาในการทาข้อสอบใหต้ ามแต่กรณโี ดยไมเ่ กนิ รอ้ ยละ 30 ของเวลาท่ีกาหนด 7) เดก็ ท่ีมีปัญหาทางพฤติกรรมหรืออารมณ์ หมายถึง คนทีม่ ีพฤติกรรมเบ่ยี งเบนไปจากปกติเป็นอย่าง มาก และปัญหาทางพฤตกิ รรมนัน้ เป็นไปอยา่ งต่อเนือ่ ง ไม่เปน็ ทยี่ อมรบั ทางสงั คม กรณนี ี้ให้กรรมการคุมสอบแยก การสอบออกมาเฉพาะ เพื่อไม่เป็นการรบกวนสมาธิผู้อ่ืน และเพม่ิ เวลาในการทาข้อสอบให้ตามแต่กรณีโดยไมเ่ กนิ รอ้ ยละ 30 ของเวลาที่กาหนด 8) เด็กออทิสติก หมายถึง คนท่ีมคี วามบกพร่องทางพัฒนาการดา้ นสังคม ภาษาและการสอ่ื ความหมาย พฤติกรรม อารมณ์ และจินตนาการ เด็กเหลา่ น้ีมีความผิดปกติของระบบการทางานของสมองบางสว่ น ทาใหเ้ ด็ก เหล่านม้ี ีความบกพร่องของพัฒนาการด้านภาษา ดา้ นสังคม และการมีปฏิสัมพันธ์ทางสังคม มคี วามสนใจเฉพาะ เรอ่ื งใดเร่ืองหน่ึง เด็กเหลา่ นี้อาจไม่มีสมาธิในการทาข้อสอบไดต้ ลอดการสอบ และหากเด็กสามารถควบคุมสมาธิ ของตนเองให้ทาข้อสอบได้ ควรเปิดโอกาสใหเ้ ด็กเหลา่ นี้มีโอกาสในการทาขอ้ สอบได้ตามศกั ยภาพทเ่ี ขามี โดยให้ กรรมการคมุ สอบแยกการสอบออกมาเฉพาะ เพื่อไม่เป็นการรบกวนสมาธิผู้อน่ื และเพิม่ เวลาในการทาข้อสอบให้ ตามแต่กรณโี ดยไม่เกินร้อยละ 30 ของเวลาที่กาหนด หากเดก็ มศี ักยภาพในการทาข้อสอบได้เพียงใด ให้ถือวา่ เปน็ ศักยภาพในการทาข้อสอบของเด็กคนน้ันแลว้ 9) บุคคลพกิ ารซอ้ น หมายถึง คนท่ีมีสภาพความบกพร่องหรอื ความพกิ ารมากกว่าหน่ึงประเภทในบุคคล เดยี วกัน เชน่ คนปัญญาอ่อนทีส่ ูญเสียการได้ยิน เป็นตน้ กรณีน้ใี หก้ รรมการคุมสอบแยกการสอบออกมาเฉพาะ เพ่อื ไมเ่ ปน็ การรบกวนสมาธิผู้อนื่ และเพิม่ เวลาในการทาข้อสอบให้ตามแตก่ รณีโดยไม่เกินร้อยละ 30 ของเวลาท่ี กาหนด (การพจิ ารณาให้เดก็ ท่มี ีความพกิ ารซอ้ นเข้าสอบนั้น ใหอ้ ยูใ่ นดุลยพินจิ ของผบู้ รหิ ารโรงเรียนว่าควรให้ นกั เรียนเข้าสอบไดห้ รือไม่) 7.2 ข้อปฏบิ ตั ิสาหรับการจดั สอบเดก็ ที่มคี วามต้องการจาเปน็ พเิ ศษ กรณีที่สนามสอบมเี ด็กที่มีความต้องการจาเป็นพิเศษ ได้แก่ เด็กทม่ี ีความบกพร่องทางการไดย้ ิน เดก็ ท่ีมี ความบกพรอ่ งทางการเหน็ เด็กที่มีความบกพรอ่ งทางร่างกายหรอื การเคลื่อนไหวหรือสขุ ภาพ เดก็ ท่มี คี วาม บกพร่องทางการเรยี นรู้ และเด็กออทสิ ติก ใหด้ าเนินการ ดังน้ี 7.2.1 เด็กทม่ี ีความตอ้ งการจาเปน็ พเิ ศษ รายงานตัวท่ีห้องอานวยการสอบประจาสนามสอบเพื่อสอบถาม ข้อมูลเกีย่ วกบั หอ้ งสอบ (กรณีไมท่ ราบขอ้ มูล) 7.2.2 ใหก้ รรมการคุมสอบรบั รายงานตวั ผ้เู ข้าสอบท่ีมคี วามต้องการจาเปน็ พเิ ศษ โดยอานวยความสะดวก ในการแจ้งห้องสอบและแจ้งรายละเอียดต่าง ๆ เกย่ี วกับการสอบ เชน่ ระเบยี บการเขา้ สอบ ตารางสอบใหก้ บั ผูเ้ ข้า สอบ เปน็ ต้น 7.2.3 ใหส้ นามสอบอานวยความสะดวกให้กบั นกั เรยี นกลุม่ ดังกลา่ ว ตามความเหมาะสม 7.3 หลักฐานทใ่ี ช้แนบประกอบสาหรบั เดก็ ทม่ี ีความต้องการจาเป็นพเิ ศษ

25 ให้โรงเรยี นแต่ละแห่งที่มนี ักเรียนเปน็ เดก็ พเิ ศษ ชน้ั ประถมศึกษาปที ่ี 3 ท่ตี ้องการเข้าสอบแนบหลักฐาน ยนื ยันสถานภาพของผูเ้ รยี นไปยังศูนย์สอบ ภายในวันที่ 16 - 22 ธนั วาคม 2563 เพื่อทาการตรวจสอบ โดยมี หลกั ฐาน ดังตอ่ ไปนี้ 1) ใบรบั รองแพทย/์ บัตรประจาตวั คนพกิ าร หรือ 2) หนังสือรับรองท่ีออกโดยสถานศกึ ษา ทีล่ งนามโดยผู้บรหิ ารสถานศกึ ษา หรอื 3) รายชอ่ื นักเรยี นเด็กพเิ ศษ ชนั้ ประถมศึกษาปที ่ี 3 ทีด่ าวนโ์ หลดมาจากระบบบรหิ าร จัดการข้อมลู โรงเรียนเรียนรวม (Special Education Technology: SET) ดังภาพ

บทท่ี 3 วิธีดำเนินกำร รายงานผลการประเมนิ คุณภาพผู้เรียน (NT) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ในปีการศึกษา 2563 ของโรงเรียน ในสังกัด สานกั งานเขตพ้นื ทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษาหนองบัวลาภู เขต 2 ในภาพรวมของเขตพน้ื ที่การศึกษา จาแนกตามอาเภอ จาแนกตามศูนยเ์ ครือข่ายพฒั นาคุณภาพการศึกษา ทั้ง 12 ศูนย์เครอื ข่าย ขนาดของโรงเรยี น และรายโรงเรียน ซง่ึ มรี ายละเอียดและข้นั ตอนดาเนนิ การตามลาดบั ดงั น้ี 1. กลุม่ เปา้ หมาย 2. เคร่อื งมือที่ใชใ้ นการประเมิน 3. การเก็บรวบรวมขอ้ มลู 4. การวเิ คราะห์ข้อมูล 5. สถิตทิ ใ่ี ชใ้ นการวเิ คราะห์ข้อมลู กล่มุ เปำ้ หมำย นกั เรยี นชัน้ ประถมศึกษาปีที่ 3 ปกี ารศึกษา 2563 เป็นนกั เรยี นในสงั กดั สานักงานเขตพ้ืนท่กี ารศึกษา ประถมศกึ ษาหนองบวั ลาภู เขต 2 จานวน 100 โรงเรยี น จาแนกเป็นนกั เรียนทั้งสนิ้ 1,993 คน (นักเรยี นปกติ 1,622 คน นกั เรยี นพเิ ศษ 361 คน Walk-in 10 คน) เครื่องมือทใ่ี ชใ้ นกำรประเมิน เครอื่ งมือที่ใช้ในการประเมินคร้งั นี้ เปน็ แบบทดสอบปรนยั ชนดิ เลือกตอบ 4 ตัวเลอื ก และ ชนิดเขยี นตอบ จานวน 2 ฉบับ ซงึ่ เปน็ เคร่ืองมอื มาตรฐานที่พัฒนาโดยสานักทดสอบทางการศึกษา สานักงานคณะกรรมการ การศกึ ษาขัน้ พืน้ ฐาน ประกอบด้วย 1) แบบประเมินความสามารถด้านคณิตศาสตร์ จานวน 1 ฉบับ 30 ข้อ คะแนนเต็ม 100 คะแนน 2) แบบประเมินความสามารถด้านภาษาไทย จานวน 1 ฉบบั 30 ขอ้ คะแนนเตม็ 100 คะแนน ตัวอย่างเครื่องมือ 1) แบบทดสอบ เปน็ แบบทดสอบทพ่ี ิมพ์ดว้ ยกระดาษปรู๊ฟ ขนาด 7.5 X 9.85 น้ิว มีการปดิ ผนกึ เพ่ือป้องกนั การ เปิดอ่านดว้ ยกระดาษกาวแบบบาง (สามารถฉีกได้งา่ ย) โดยแยกเปน็ 2 วิชา ไดแ้ ก่ ความสามารถ ด้านคณติ ศาสตร์ และความสามารถดา้ นภาษาไทย

27 กระดาษคาตอบที่ใชใ้ นการประเมินคุณภาพผู้เรียน (NT) ชัน้ ประถมศกึ ษาปีที่ 3 มีจานวน 2 แผ่น ดงั นี้ แผ่นที่ 1 กระดาษคาตอบวชิ าความสามารถด้านคณิตศาสตร์ (สีฟ้า) แผน่ ท่ี 2 กระดาษคาตอบวิชาความสามารถด้านภาษาไทย (สีเขียว) นอกจากนี้ ยังมกี ระดาษคาตอบสารอง (สสี ม้ ) จานวนร้อยละ 10 ของกระดาษคาตอบทั้งหมด กระดาษคาตอบประกอบด้วย 3 ส่วน ได้แก่ สว่ นท่ี 1 ข้อมูลผู้เข้าสอบ (พมิ พ์มาจากโรงพิมพ์) สว่ นที่ 2 การตอบ ข้อสอบแบบเลือกตอบ ผเู้ ข้าสอบจะเป็นผ้รู ะบายคาตอบ และสว่ นที่ 3 คะแนนแบบเขยี นตอบ กรรมการตรวจ ข้อสอบเป็นผู้ระบายคะแนน ขอ้ มูลผูเ้ รียน ข้อสอบเลอื กตอบ (ผูเ้ ข้ำสอบเปน็ ผรู้ ะบำย) คะแนนแบบเขียนตอบ (ครูผูต้ รวจข้อสอบเปน็ ผรู้ ะบำย) ผตู้ รวจ 2 คน ตรวจข้อสอบเดก็ 1 คน (ตดั สนิ ใจรว่ มกัน/ฉนั ทำมติ)

28 กำรเก็บรวบรวมข้อมูล การดาเนนิ การประเมินและการเกบ็ รวบรวมขอ้ มูล ในการประเมินคุณภาพผ้เู รยี น (NT) ชั้นประถมศึกษา ปที ่ี 3 ปีการศึกษา 2563 มรี ายละเอียด ดังต่อไปน้ี 1. ภำรกจิ ระดับศูนย์สอบ ศนู ยส์ อบมภี าระหนา้ ท่แี ละบทบาทที่สาคัญทีส่ ุดในการบริหารการทดสอบใหเ้ ปน็ ไปตามมาตรฐาน การบริหารการทดสอบ ซ่ึงได้รบั การกระจายอานาจการบริหารจดั การมาจากสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พน้ื ฐาน ท้งั ในเรื่องของการวางแผนการจดั สอบ การตัดสนิ ใจ การบรหิ ารจัดการ และความรบั ผิดชอบ เพ่ือให้การ ดาเนนิ งานการประเมินคุณภาพผูเ้ รียน (NT) ชนั้ ประถมศึกษาปีที่ 3ปีการศกึ ษา 2563 มีประสิทธภิ าพและ มาตรฐานเดยี วกัน โดยมภี ารกจิ สาคญั ดังต่อไปน้ี 1.1 ประสานความร่วมมือกบั หน่วยงานทีเ่ กี่ยวข้องในการบริหารจัดการสอบ 1.2 ดาเนนิ การจดั สอบใหเ้ ป็นไปตามแผนการดาเนินงาน 1.3 กากับ ติดตามการดาเนินการสอบ 1.4 รายงานผลการทดสอบ และเผยแพร่ 2 .บทบำทของคณะกรรมกำรระดับศูนย์สอบ 2.1 ประธำนศูนย์สอบ ไดแ้ ก่ ผ้อู านวยการสานกั งานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา หรือ ศกึ ษาธิการจังหวัด หรอื ท้องถ่ินจงั หวัด หรอื ผบู้ ังคบั บญั ชาของหนว่ ยงานท่ีเปน็ ศูนยส์ อบ หรอื ผู้ทีไ่ ด้รบั มอบหมายมี หน้าท่ี ดังน้ี 1) ดาเนนิ การตามแนวปฏบิ ตั ิท่สี านักงานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พ้นื ฐานกาหนด โดยบรหิ าร การประเมนิ ให้เป็นไปตามมาตรฐานการประเมิน 2) แต่งต้ังคณะกรรมการระดับศูนย์สอบ และคณะกรรมการระดบั สนามสอบ 3) ควบคมุ กากับ ติดตาม ให้การดาเนินการบริหารการจดั สอบระดับศนู ย์สอบและสนามสอบ เป็นไปดว้ ยความเรียบร้อย 4) พิจารณาตรวจสอบ ส่ังการ ติดตาม กรณีทเี่ กิดปัญหาในการบรหิ ารการจัดสอบท้ังระดับศูนย์ สอบ และระดบั สนามสอบ 2.2 คณะกรรมกำรดำเนนิ กำรทดสอบ มหี น้าท่ี ดงั น้ี 1) ประสานงานการจดั สอบในดา้ นตา่ ง ๆ ระหว่างสานกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พื้นฐาน ศูนยส์ อบและสนามสอบ 2) กากับ และติดตาม ให้สถานศกึ ษาสง่ ข้อมลู ผเู้ รยี น และข้อมูลห้องสอบ ในระบบ NT Access (http://nt.obec.go.th) ให้ครบถว้ นและถูกต้อง ภายในวัน เวลาท่สี านักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน กาหนด 3) ตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูลผเู้ รียน และข้อมลู ห้องสอบ 4) ดาเนินการจัดสนามสอบในระบบ NT Access 5) ตรวจสอบและแก้ไขข้อมูลผู้เรยี นท่ีมสี ิทธิส์ อบผ่านระบบ NT Access

29 6) ดแู ลและประสานงานเรื่องการนาส่งข้อมูลผมู้ ีสิทธ์สิ อบในกรณีตา่ ง ๆ 7) แต่งตัง้ คณะกรรมการระดับศูนยส์ อบ และสนามสอบ 8) จดั ประชมุ ช้แี จงคณะกรรมการทเ่ี กีย่ วข้องกบั การทดสอบทง้ั ระดับศูนยส์ อบและระดับ สนามสอบ 9) ประสานงานการรับ-ส่งแบบทดสอบจากสานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ตามวัน เวลาทก่ี าหนด 10) บริหารการจดั สอบใหเ้ ปน็ ไปดว้ ยความเรียบร้อย 11) รบั กระดาษคาตอบ และเอกสารประกอบการสอบจากสนามสอบ 12) ดาเนนิ การตรวจแบบทดสอบเขียนตอบ ณ สถานท่ีทีศ่ ูนย์สอบกาหนด 13) รวบรวมกระดาษคาตอบ พร้อมเอกสารประกอบการสอบจดั สง่ ให้กับสานักงาน คณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พ้ืนฐาน 14) จดั ทารายงานผลการประเมินระดับศูนยส์ อบ 2.3 คณะกรรมกำรรับ-ส่งแบบทดสอบ เก็บรักษำแบบทดสอบ กระดำษคำตอบ และอุปกรณก์ ำรสอบ มหี น้าท่ี ดงั น้ี 1) จัดเตรยี มสถานท่ที มี่ ีความปลอดภัย เหมาะสม เพอื่ ใชใ้ นการเก็บรักษาแบบทดสอบและ กระดาษคาตอบ 2) ดูแล รกั ษาแบบทดสอบและกระดาษคาตอบทเ่ี กบ็ รักษาไวใ้ นท่ีปลอดภัย 3) ควบคมุ ดแู ล กากบั การขนสง่ แบบทดสอบและกระดาษคาตอบจากศนู ยส์ อบไปยังสนามสอบ 4) ควบคมุ ดูแล กากบั การสง่ มอบกระดาษคาตอบ พร้อมเอกสารธรุ การจากศูนยส์ อบไปยงั สานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐาน 2.4 คณะกรรมกำรตรวจเย่ียมสนำมสอบ มีหน้าท่ี ดังนี้ มหี น้าที่ กากบั ติดตาม และตรวจเย่ียม การดาเนินการจัดสอบ ของคณะกรรมการระดบั สนามสอบ ในระหวา่ งวันท่ี 22 - 26 มีนาคม 2564 เพื่อให้การดาเนนิ การจดั สอบเป็นไปตามแนวปฏิบัติการจัดสอบและ มาตรฐานการประเมิน คณะกรรมการตรวจเย่ยี มไมค่ วรถา่ ยรปู ในห้องสอบและกระทาการใด ๆ ทเ่ี ป็นการรบกวน การดาเนินการสอบ 2.5 คณะกรรมกำรตรวจขอ้ สอบเขียนตอบ ต้องเปน็ ผทู้ ี่มีความรู้ความสามารถด้านภาษาไทยและด้าน คณิตศาสตร์ หรือเป็นครูผ้สู อนช้นั ประถมศึกษาปที ่ี 3 โดยกรรมการ 1 คน ต้องตรวจข้อสอบทัง้ 2 ด้าน และใช้ กรรมการตรวจข้อสอบเขียนตอบ 2 คน ต่อกระดาษคาตอบ 1 ฉบับ โดยให้คะแนนแบบฉันทามติร่วมกนั ท้งั น้ี กรรมการตรวจข้อสอบเขียนตอบตอ้ งมาจากต่างสถานศึกษา หรอื ต่างกลมุ่ เครือข่ายเท่านั้น โดยมหี นา้ ที่ ดังนี้ 1) ศกึ ษาเกณฑ์การตรวจให้คะแนนในแตล่ ะวชิ าอย่างละเอียด 2) ตรวจขอ้ สอบเขียนตอบแล้วระบายคะแนนลงในกระดาษคาตอบของผ้เู รยี นแต่ละคน 3) รวบรวมกระดาษคาตอบ และบรรจุใส่ซองกระดาษคาตอบพรอ้ มปิดผนึก ส่งคืนให้ศูนย์สอบ เพอ่ื นาส่งสานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้นื ฐานต่อไป

30 3. ภำรกิจของสนำมสอบ ภารกจิ ของสนามสอบมีการดาเนนิ งานอย่างต่อเน่ือง ตง้ั แต่กอ่ นการสอบ ระหวา่ งการสอบ และ หลังการสอบ โดยมรี ายละเอยี ด ดังต่อไปน้ี 1) ก่อนกำรสอบ 1.1) ประสานงานกับศูนยส์ อบ และดาเนนิ การตามคู่มือการจดั สอบอย่างเครง่ ครัด 1.2) เตรียมความพรอ้ มก่อนการจดั สอบในส่วนของสถานท่ีสอบ ติดประกาศรายช่ือผเู้ ขา้ สอบ และสตก๊ิ เกอร์ขอ้ มลู ผเู้ ข้าสอบ 1.3) จัดเตรียมอุปกรณ์สาหรับคดั กรองเพ่ือป้องกนั การแพร่ระบาดของเช้อื โรคไวรสั โคโรนา 2019 (Covid 19) ได้แก่ เคร่ืองตรวจอณุ หภมู ริ ่างกาย แอลกอฮอลห์ รือเจลล้างมอื หรืออ่างล้างมอื 1.4) จัดทีน่ ่ังสอบให้มรี ะยะหา่ งระหว่างผเู้ ขา้ สอบใหเ้ หมาะสมตามมาตรการป้องกนั การแพร่ ระบาดของเชื้อโรคไวรัสโคโรนา 2019 (Covid 19) จานวนผ้เู ขา้ สอบ 20 คน ต่อ 1 ห้องสอบ 1.5) ประสานงานกับศนู ย์สอบในกรณีมผี ้เู ข้าสอบกรณีพิเศษ เพอ่ื ให้ศนู ย์สอบได้เพม่ิ ขอ้ มูลผู้ เข้าสอบในระบบ NT Access 1.6) รับขอ้ สอบและกระดาษคาตอบจากศูนยส์ อบในเชา้ วันท่ี 24 มีนาคม 2564 2) ระหว่ำงกำรสอบ 2.1) คัดกรองตรวจอุณหภูมิร่างกาย ลา้ งมือด้วยสบเู่ หลวหรือน้ายาท่มี สี ว่ นผสมของ แอลกอฮอล์ เพื่อป้องกนั การแพรร่ ะบาดของเชอ้ื โรคไวรสั โคโรนา 2019 (Covid 19) ทกุ ครงั้ ก่อนเขา้ สนามสอบ หรอื ห้องสอบ 2.2) ใหผ้ ้เู ขา้ สอบ กรรมการกากับห้องสอบ และบุคลากรท่ีเก่ียวข้องกับการสอบสวมหนา้ กาก อนามัยทุกคร้งั ทีเ่ ขา้ สอบหรือปฏบิ ตั ิหนา้ ท่ี หา้ มถอดหน้ากากอนามยั ขณะที่อยู่ในห้องสอบเพอ่ื ป้องกันการแพร่ ระบาดของเช้ือโรคไวรสั โคโรนา 2019 (Covid 19) 2.3) ดาเนินการจดั สอบภายในสนามสอบใหม้ ปี ระสิทธภิ าพ มีความยุติธรรม โปรง่ ใสและ เป็นไปตามแนวปฏิบัติในคู่มือการประเมินคุณภาพผู้เรยี น 2.4) รกั ษาผลประโยชน์ใหก้ บั ผู้เข้าสอบ โดยตรวจสอบความถกู ต้องของ ช่ือ-สกุล ผเู้ ข้าสอบ ใหต้ รงกับสติก๊ เกอร์ข้อมูลผเู้ ข้าสอบ และการลงลายมือชือ่ ผู้เขา้ สอบในแบบ สพฐ. 2 ตรวจนับจานวนกระดาษ คาตอบทุกฉบับของผู้เขา้ สอบ เรียงตามลาดับเลขท่จี ากน้อยไปหามาก และนาสง่ ศูนยส์ อบให้ครบถ้วน 3) หลังกำรสอบ 3.1) สนามสอบมอบแบบทดสอบใหก้ ับสถานศึกษาทเ่ี ขา้ รว่ มสอบ เพ่ือนาไปใชใ้ ห้เกดิ ประโยชน์ 3.2) สง่ มอบกระดาษคาตอบแบบเขียนตอบ และกระดาษคาตอบแบบเลอื กตอบ พรอ้ ม เอกสารธุรการประจาสนามสอบใหศ้ ูนยส์ อบต่อไป

31 4. คณะกรรมกำรระดับสนำมสอบ คณะกรรมการระดบั สนามสอบ ประกอบด้วย 1) ประธานสนามสอบ ไดแ้ ก่ ประธานกลุม่ เครือข่าย หรือผู้อานวยการสถานศึกษาทเี่ ปน็ สนามสอบ หรอื ผู้ ทศ่ี นู ยส์ อบพจิ ารณาแต่งต้งั ตามความเหมาะสม 2) กรรมการกลาง ได้แก่ ข้าราชการครู หรือบุคลากรทางการศกึ ษา ปฏบิ ตั หิ นา้ ที่ร่วมกับประธานสนาม สอบในการบริหารจัดการสอบ โดยกาหนดให้มี 1 คน ต่อ 3 หอ้ งสอบ หากมีหอ้ งสอบไมถ่ ึง 3 ห้องสอบ ไมต่ ้อง แต่งต้งั กรรมการกลาง ใหป้ ระธานสนามสอบเป็นผปู้ ฏบิ ัติหนา้ ทเ่ี ป็นกรรมการกลางด้วย 3) กรรมการคมุ สอบ ได้แก่ ข้าราชการครู หรอื บุคลากรทางการศึกษา หรือครอู ัตราจา้ ง หรอื พนักงาน ราชการ ซึง่ ตอ้ งมาจากตา่ งโรงเรยี น โดยกาหนดใหม้ กี รรมการคมุ สอบ 2 คน ต่อ 1 ห้องสอบ 4) นักการภารโรง ได้แก่ นกั การภารโรงของโรงเรยี นทเ่ี ปน็ สนามสอบ หรือโรงเรยี นในกลุ่มเครอื ขา่ ย 5) กรรมการอ่ืน ๆ ตามที่คณะกรรมการดาเนินงานระดบั ศูนยส์ อบพจิ ารณาแตง่ ต้ังกรรมการเพิ่มเติมได้ ตามความเหมาะสม คณุ สมบัตขิ องกรรมกำรระดบั สนำมสอบ 1) เปน็ ข้าราชการครู หรือบุคลากรทางการศกึ ษา หรือพนักงานราชการ หรอื ครูอัตราจ้างทปี่ ฏบิ ตั ิหนา้ ที่ ในสถานศึกษา 2) มีความรับผิดชอบ 3) ตรงต่อเวลา 4) เก็บรักษาความลบั ได้เปน็ อยา่ งดี 5) ปฏิบัตหิ น้าทตี่ ามคมู่ ือการประเมิน อย่างเคร่งครัด บทบำทของคณะกรรมกำรระดับสนำมสอบ 1) ประธำนสนำมสอบ มีหน้าที่ ดังนี้ 1.1) ประสานงานกับศนู ยส์ อบและดาเนินการจัดสอบตามคู่มือการประเมนิ ฯ อย่างเครง่ ครัด 1.2) ประชมุ คณะกรรมการระดับสนามสอบก่อนสอบ เพ่ือทาความเขา้ ใจเกี่ยวกบั กระบวนการจัด สอบ และข้นั ตอนการดาเนนิ งานของกรรมการคมุ สอบ 1.3) เตรยี มความพร้อมของสถานท่ีสอบ กากับ ติดตามการจดั หอ้ งสอบ การติดรายชอ่ื ผ้มู ีสิทธ์ิ สอบ และเอกสารการสอบอนื่ ๆ ที่ป้ายประชาสัมพนั ธข์ องสนามสอบ และหน้าหอ้ งสอบ 1.4) รบั -ส่งแบบทดสอบ และกระดาษคาตอบ ระหวา่ งศูนย์สอบ และสนามสอบ (ในกรณีที่ไม่ สามารถไปด้วยตนเองได้ ใหม้ อบหมายผู้แทน โดยใช้บนั ทกึ มอบหมายผ้แู ทนเพือ่ ให้ศนู ยส์ อบเกบ็ ไว้เป็นหลักฐาน) 1.5) เปิดกลอ่ งบรรจแุ บบทดสอบในวนั สอบ ไมเ่ กนิ 1 ชั่วโมงก่อนเวลาสอบ ต่อหนา้ ตัวแทน กรรมการคุมสอบ 1.6) อนมุ ตั ิให้ผู้เขา้ สอบกรณีพเิ ศษ (Walk in) ทีไ่ มม่ ีเลขท่นี ั่งสอบ ตอ้ งบนั ทกึ ในแบบ สพฐ.5 จานวน 1 ฉบับ ตอ่ ผ้เู ข้าสอบ 1 คน เพื่อรายงานให้ศูนย์สอบทราบ

32 1.7) กากับ ติดตาม และตรวจสอบการจดั สอบภายในสนามสอบให้เป็นไปด้วยความเรยี บรอ้ ย มี ประสทิ ธิภาพ มคี วามยตุ ิธรรม โปรง่ ใส และเปน็ ไปตามแนวปฏิบตั ทิ ีก่ าหนดไวใ้ นค่มู ือการประเมนิ ฯ 1.8) สงั่ พกั การปฏบิ ัติหน้าที่ในกรณีท่ีคณะกรรมการคุมสอบหรอื เจา้ หนา้ ท่ใี นสนามสอบบกพร่อง ต่อหนา้ ทห่ี รือประพฤติปฏบิ ัติตนไมเ่ หมาะสม และรายงานให้ศูนย์สอบทราบ 1.9) ตรวจสอบการบรรจกุ ระดาษคาตอบ รว่ มกับกรรมการกลางและตัวแทนกรรมการคุมสอบให้ ถกู ต้อง ครบถ้วน ตามแนวทางปฏบิ ัตทิ ก่ี าหนดไวใ้ นคู่มือการประเมนิ ฯ 1.10) สรุปผลการดาเนินการจัดสอบระดับสนามสอบ และรวบรวมเอกสารการจดั สอบไดแ้ ก่ ซอง กระดาษคาตอบแบบเลอื กตอบ (Package 2) ซองกระดาษคาตอบแบบเขียนตอบ (Package 3)และซองเอกสาร ธุรการประจาสนามสอบ เพื่อนาส่งศูนย์สอบต่อไป 2) กรรมกำรกลำง มีหน้าที่ ดังน้ี 2.1) ปฏิบตั ิหนา้ ท่รี ่วมกับประธานสนามสอบในการประสานงานกับศูนยส์ อบ และดาเนินการ ตามคู่มือการประเมนิ ฯ อย่างเคร่งครดั 2.2) ศึกษาคู่มือการประเมินฯ สาหรบั สนามสอบ ให้ชดั เจน 2.3) จดั เตรียมซองแบบทดสอบและกระดาษคาตอบ (Package 1) และใบลงลายมอื ชื่อผู้เขา้ สอบ แบบ สพฐ.2 เพ่อื มอบแก่กรรมการคุมสอบกอ่ นเวลาสอบ 2.4) ประสานงานกับกรรมการคมุ สอบในการรบั –ส่งซองแบบทดสอบและกระดาษคาตอบ (Package 1) และใบลงลายมือชอื่ ผูเ้ ขา้ สอบ แบบ สพฐ.2 2.5) หลงั เสร็จส้ินการสอบ ทาหนา้ ทใ่ี นการตรวจนับจานวนแบบทดสอบ และกระดาษคาตอบทงั้ แบบเลือกตอบ และแบบเขียนตอบให้ครบถว้ นตามจานวนทีร่ ะบุในแบบ สพฐ.2 และแบบ สพฐ.3 2.6) เม่ือตรวจนับเสรจ็ แล้ว ใหน้ ากระดาษคาตอบแบบเลือกตอบบรรจุใสใ่ นซองกระดาษคาตอบ แบบเลือกตอบ (Package 2) จาแนกซองละ 1 วิชา ในการปิดผนึกมีแนวทางการดาเนนิ งานดงั ตอ่ ไปนี้ กรณีที่ 1 กำรตรวจกระดำษคำตอบแบบเขียนตอบท่ีสนำมสอบ เมือ่ สนามสอบตรวจและ บันทึกคะแนนแล้ว ใหป้ ิดผนึกซองกระดาษคาตอบแบบเลอื กตอบ (Package 2) กรณที ่ี 2 การตรวจกระดาษคาตอบแบบเขียนตอบทีก่ ลุ่มโรงเรียน/ศนู ย์สอบ สนามสอบไมต่ ้อง ปดิ ผนกึ ซองกระดาษคาตอบแบบเลือกตอบ (Package 2) 2.7) บรรจซุ องกระดาษคาตอบแบบเลอื กตอบ (Package 2) และกระดาษคาตอบเขยี นตอบ บรรจรุ วมกันไว้ในซองกระดาษคาตอบแบบเขยี นตอบ (Package 3) ในวิชานั้น ๆ แล้วให้ประธานสนามสอบเป็นผู้ ปิดผนึกซองกระดาษคาตอบแบบเขียนตอบ (Package 3) พร้อมลงลายมือชอื่ บนรอยปิดผนกึ ซองใหเ้ รียบร้อย กอ่ น นาส่งศูนยส์ อบ 2.8) ตรวจรบั นับจานวนแบบทดสอบของแต่ละห้องสอบ และแต่ละวชิ าให้ครบถว้ นมอบให้ ประธานสนามสอบเก็บรักษาในทป่ี ลอดภยั ก่อนนาไปแจกจ่ายใหก้ บั สถานศกึ ษาที่ร่วมสอบ หลังจากการสอบ เสรจ็ ส้ิน

33 2.9) รวบรวมเอกสารธรุ การประจาสนามสอบ ได้แก่ แบบ NT1 แบบ NT2 แบบ สพฐ.2 แบบ สพฐ.5แบบ สพฐ.6 และแบบ สพฐ 3 (กรณมี ีเด็ก Walk in) สง่ มอบใหป้ ระธานสนามสอบ เพื่อนาส่งศูนยส์ อบ ต่อไป 2.10) ปฏิบตั งิ านอนื่ ๆ ตามท่ีประธานสนามสอบมอบหมาย 3) กรรมกำรคมุ สอบ 3.1) กากับการดาเนนิ การสอบให้เป็นไปดว้ ยความเรยี บร้อย ทงั้ ภายในห้องสอบและบรเิ วณ ใกล้เคียงให้มีความโปร่งใส และยตุ ิธรรมในการคุมสอบ มีประสิทธิภาพ และปฏิบตั ติ ามคู่มือการประเมนิ ฯ อยา่ ง เคร่งครดั 3.2) ปฏิบัตติ ามมาตรการและการเฝ้าระวังการระบาดของเชอ้ื โรคไวรสั โคโรนา 2019 (Covid 19) 3.3) ควบคมุ มิให้ผู้เข้าสอบปฏิบตั ิผิดระเบยี บ หรอื กระทาการทุจรติ ในระหว่างการสอบ 3.4) รายงานประธานสนามสอบ กรณีสงสัยว่าจะมกี ารทจุ ริต หรือมีการทจุ รติ เกดิ ข้ึน 3.5) หา้ มบุคคลท่ไี มม่ ีส่วนเก่ียวข้องกับการคุมสอบเข้าในห้องสอบ 3.6) รักษาความลบั ของแบบทดสอบ โดยไม่ให้กรรมการหรือบคุ คลอ่ืน ดูหรือถา่ ยรปู แบบทดสอบ เพอ่ื เผยแพร่ 3.7) ตรวจสอบช่ือ-สกลุ ผ้เู รียนให้ตรงกับสต๊กิ เกอรข์ ้อมลู ผเู้ ขา้ สอบ 3.8) ตรวจนับกระดาษคาตอบ และแบบทดสอบให้ถูกต้องและครบถว้ น 3.9) ตรวจสอบการกรอกข้อมูล และการระบายท่สี ่วนหวั ของกระดาษคาตอบให้ถูกต้อง ครบถ้วน (เฉพาะกรณเี ดก็ เขา้ สอบกรณีพเิ ศษ) 3.10) บรรจุกระดาษคาตอบใสซ่ อง แลว้ นาสง่ ทป่ี ระธานสนามสอบ โดยดาเนินการแยกเป็น 2 สว่ น ดังน้ี 3.10.1) กระดาษคาตอบแบบเลอื กตอบ เมื่อสอบเสรจ็ แต่ละวิชา ใหก้ รรมการคมุ สอบ รวบรวมกระดาษคาตอบโดยเรียงลาดบั ตามเลขทนี่ ้อยไปหามาก บรรจุลงในซองกระดาษคาตอบแบบเลอื กตอบ (Package 2) วชิ าละ 1 ซอง และดาเนนิ การ ดังนี้ 1. นาใบเซน็ ชอ่ื ผเู้ ขา้ สอบแบบ สพฐ.2 (สาหรับส่งคนื สพฐ.) แนบ กระดาษคาตอบ และในกรณีทม่ี นี ักเรยี น walk in ให้นาแบบ สพฐ.3 (สาหรบั สง่ คืน สพฐ.) ใส่ในซองนด้ี ้วย 2. บรรจุกระดาษคาตอบเลือกตอบลงในซองกระดาษคาตอบเลอื กตอบ (Package 2) โดยไมต่ ้องปดิ ผนกึ ซองและนาซองนบ้ี รรจุในซองกระดาษคาตอบแบบเขียนตอบ (Package 3) 3.10.2) กระดาษคาตอบแบบเขียนตอบ เม่ือสอบเสร็จแตล่ ะวิชา ให้กรรมการคุมสอบ ฉกี ตามรอยปรทุ ี่หน้าสุดทา้ ยของแบบทดสอบทกุ ฉบบั แลว้ รวบรวมกระดาษคาตอบแบบเขยี นตอบบรรจุในซอง กระดาษคาตอบแบบเขียนตอบ (Package 3) โดยเรียงตามลาดับเลขทีน่ ้อยไปหามาก นาใบเซน็ ชอ่ื ผู้เขา้ สอบแบบ สพฐ.2 (สาหรบั เก็บไว้ท่ีศูนยส์ อบ) ใสใ่ นซองน้ีดว้ ย โดยยงั ไม่ต้องปิดผนกึ ซองและนาไปส่งกรรมการกลาง

34 3.11) ให้กรรมการคุมสอบกรอกข้อมลู หนา้ ซองขอ้ สอบแบบเลือกตอบ (Package 2) และซอง กระดาษคาตอบแบบเขียนตอบ (Package 3) ให้ครบถ้วน พร้อมเซ็นชื่อกรรมการคุมสอบทั้ง 2 คน 3.12) นาซองกระดาษคาตอบ แบบ เขียนตอบ (Package 3) ท่ีได้บรรจุซองกระดาษคาตอบแบบ เลือกตอบ (Package 2) แลว้ สง่ มอบให้ประธานสนามสอบหรอื กรรมการกลางทนั ทหี ลงั เสร็จส้ินการสอบในแตล่ ะ วิชา โดยให้มีตวั แทนกรรมการคุมสอบอยา่ งน้อย 1 คน ร่วมอยู่เปน็ สักขีพยาน เพื่อตรวจสอบความถูกต้อง ครบถว้ นของกระดาษคาตอบทัง้ แบบเลือกตอบและแบบเขียนตอบ 4) นกั กำรภำรโรง 4.1) อานวยความสะดวกแก่ กรรมการคุมสอบ โดยดาเนินการตา่ ง ๆ ตามทไ่ี ดร้ ับการร้องขอ 4.2) จัดเตรียมสถานท่ใี นการจดั การสอบให้เรยี บร้อยก่อนดาเนินการสอบและจดั เตรียมสถานที่ ในการตดิ เอกสารประชาสมั พันธ์ เอกสารทเี่ ก่ยี วข้องกบั การสอบให้เรียบรอ้ ย 4.3) ปฏบิ ัติงานอื่นใดตามท่ไี ด้รับมอบหมายจากประธานสนามสอบ 5. กำหนดกำรรบั -ส่งแบบทดสอบ กระดำษคำตอบและเฉลย การรบั -ส่งแบบทดสอบ กระดาษคาตอบและเฉลยในการประเมินคุณภาพผู้เรียน (NT) ช้นั ประถมศึกษาปีที่ 3 ดาเนนิ การ ดังตอ่ ไปน้ี ท่ี กิจกรรม ชว่ งเวลา 1 สพฐ. จดั ส่งคมู่ ือการประเมินฯ และของเอกสารธรุ การประจา 1 –5 มีนาคม 2564 สนามสอบ ไปยงั ศนู ยส์ อบ โดยให้ผ้แู ทนศูนย์สอบเซ็นรับเอกสาร ตามวันเวลาท่ีนัดหมาย 2 สพฐ.จะสง่ กล่องแบบทดสอบและกระดาษคาตอบ กล่องสง่ กระดาษ 17 - 22 มนี าคม 2564 คาตอบกลบั โดยให้ผแู้ ทนศูนยส์ อบเซ็นรบั เอกสาร ตามวัน เวลา ทีน่ ัดหมาย 3 สนามสอบมารบั แบบทดสอบและกระดาษคาตอบที่ศูนยส์ อบ โดย 24 มีนาคม 2564 (เช้า) แบบทดสอบสารอง และกระดาษคาตอบสารอง (ร้อยละ 10) จะถูก ส่งไปยังสนามสอบทกุ แห่ง ซึ่งจะถูกบรรจุไวในกล่องแรกของ ทกุ สนามสอบ 4 สพฐ. ส่งเฉลยขอ้ สอบเขยี นตอบของแตล่ ะวชิ าทาง NT Access และ 24 มนี าคม 2564 Line application หลังจากการสอบแต่ละวชิ าเสร็จล้ิน 30 นาที (หลังสอบเสรจ็ ในแต่ละวิชา) 5 สนามสอบเผยแพร่ (แจกจ่าย) แบบสอบใชส้ อบจรงิ แบบสอบสารอง 24 มีนาคม 2563 เป็นต้นไป (ท่ีไม่ได้ใช)้ และกระดาษคาตอบสารอง (ที่ไมไ่ ด้ใช้) ใหแ้ ก่ (หลังสอบเสรจ็ ) สถานศกึ ษาทเี่ ข้ารว่ มสอบในสนามตา่ ง ๆ

35 ท่ี กิจกรรม ชว่ งเวลา 6 ศูนยส์ อบส่งกระดาษคาตอบเลอื กตอบกลบั มายัง สานักงาน 29 มนี าคม - 2 เมษายน คณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พื้นฐาน โดยผูแ้ ทนศูนย์สอบจะต้อง 2564 สง่ มอบกระดาษคาตอบให้กบั บรษิ ัทรบั ล่งกระดาษคาตอบตามวนั และเวลาทน่ี ัดหมาย 2 เมษายน 256 6 ศนู ย์สอบเก็บรักษากระดาษคาตอบเซยี นตอบไวใ้ นศนู ย์สอบ ไม่นอ้ ยกวา่ 1 ปี 6. สำนักงำนเขตพน้ื ทีก่ ำรศึกษำประถมศกึ ษำหนองบัวลำภู เขต 2 แต่งตัง้ คณะกรรมกำรดำเนนิ กำรสอบ ประกอบด้วยคณะกรรมกำร ดงั ตอ่ ไปนี้ 1) คณะกรรมการศนู ย์ประสานการสอบ ได้แก่ รองผูอ้ านวยการ และศึกษานิเทศก์ ประจาศูนย์ เครือข่าย 2) คณะกรรมการสนามสอบ ไดแ้ ก่ ผู้อานวยการโรงเรียน และกรรมการกากบั หอ้ งสอบห้องละ 2 คน 3) จัดประชุมชแ้ี จงแนวปฏบิ ตั ิและอานาจหนา้ ที่ของคณะกรรมการดาเนินการสอบ ตามแนวทาง การประเมนิ คณุ ภาพการศึกษชนั้ พน้ื ฐานเพ่ือการประกน้ คุณภาพผู้เรยี น ปีการศึกษา 2563 และระเบยี บ กระทรวงศึกษาธกิ าร ว่าดว้ ยการปฏิบัติของผู้กาการสอบ พุทธศกั ราช 2548 4) ดาเนินการจัดสอบพร้อมกันท้ังเขตพืน้ ที่การศึกษา และออกตรวจเยยี่ มสนามสอบ เพื่อกากบั ติดตามการดาเนนิ การจดั สอบของแตล่ ะสนามสอบ โดยผอู้ านวยการสานักงานเขตพืน้ ที่การศกึ ษา รอง ผูอ้ านวยการสานกั งานเขตพืน้ ที่การศึกษา ศึกษานเิ ทศก์ และเจ้าหน้าทท่ี ่ีไดร้ บั การแตง่ ตั้ง 5) ดาเนนิ การตรวจสอบขอ้ มูล วิเคราะห์ขอ้ มูล และสรปุ ผลการประเมนิ คณุ ภาพผ้เู รียน ตาม วัตถุประสงค์ของการประเมนิ กำรวิเครำะห์ขอ้ มลู กำรวิเครำะหข์ อ้ มลู ในการวิเคราะห์ข้อมลู ได้ดาเนนิ การวิเคราะห์ข้อมลู ในลักษณะการบรรยาย และ เปรียบเทียบ ดังนี้ 1. การเปรยี บเทยี บผลการประเมินคณุ ภาพผู้เรียน ช้นั ประถมศกึ ษาปีที่ 3 ปกี ารศึกษา 2563 ระดับเขต พนื้ ที่ ระดบั สพฐ. และระดบั ประเทศ 2. ผลการประเมินคุณภาพผูเ้ รยี น ปกี ารศึกษา 2563 ช้ันประถมศึกษาปีที่ 3 รายโรง เรยี งลาดับจากมาก ไปหานอ้ ย 3. ผลการประเมินคณุ ภาพผูเ้ รียน ชนั้ ประถมศึกษาปีที่ 3 เปรียบเทียบตามขนาดของโรงเรยี น 4. ผลการประเมนิ คณุ ภาพผู้เรยี น ช้นั ประถมศึกษาปีที่ 3 เรยี งตามดา้ นความสามารถท่ีมีค่าเฉลี่ยสงู กว่า ระดับประเทศ

36 5. ผลการประเมนิ คุณภาพผเู้ รียน ชน้ั ประถมศึกษาปีที่ 3 ปกี ารศกึ ษา 2563 ระดบั สานกั งานเขตพน้ื ที่ การศึกษาประถมศึกษาหนองบัวลาภู เขต 2 จาแนกตาม มาตรฐาน/ตวั ช้ีวัดและความสามารถ 6. การเปรยี บเทยี บผลการประเมินคุณภาพผเู้ รียน ชนั้ ประถมศกึ ษาปีที่ 3 เปรยี บเทียบกับปีการศกึ ษา 2562-2563 ในการประมนิ ความสมารถพื้นฐานของผเู้ รยี นระดับชาติ ชัน้ ประถมศึกษาปที ี่ 3 ปีการศึกษา 2563 ครง้ั น้ี ดาเนนิ การวเิ คราะหข์ ้อมลู โดยสานกั งานคณะกรมการการศึกษาข้ันพืน้ ฐาน ดว้ ยโปรแกรมคอมพวิ เตอรส์ าเร็จรปู (สานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พ้ืนฐาน, 2562) 1. การตดั สนิ ระดบั คุณภาพในแตล่ ะความสามารถคะแนน NT ชน้ั ประถมศกึ ษาปีท่ี 3 ปีการศกึ ษา 2563 ตามเกณฑ์ ดังต่อไปน้ี ชว่ งคะแนนและคะแนนรอ้ ยละในแต่ละดำ้ น ระดับคุณภำพ ดำ้ นคณิตศำสตร์ ดำ้ นภำษำไทย รวมทั้ง 2 ด้ำน ดมี าก คะแนน รอ้ ยละ คะแนน รอ้ ยละ คะแนน ร้อยละ 67 - 100 67 - 100 68 - 100 68 - 100 135 - 200 67.5 - 100 ดี 47 - 66.99 47 - 66.99 49 - 67.99 49 - 67.99 96 - 134.99 48 – 67.49 พอใช้ 27 - 46.99 27 - 46.99 30 - 48.99 30 - 48.99 57 - 95.99 28.5 - 47.99 ปรับปรงุ 0 - 26.99 0 - 26.99 0 - 29.99 0 - 29.99 0 - 56.99 0 - 28.49 2. การนาผลการวิเคราะห์จดั กล่มุ คุณภาพตามเกณฑ์ High 1 (H1) หมายถงึ กลมุ่ ท่ีมีคะแนนเฉล่ียสูงกวา่ ระดบั ประเทศ และมสี ว่ นเบี่ยงเบนมาตรฐานน้อย กวา่ ระดบั ประเทศ High 2 (H2) หมายถงึ กลุ่มที่มีคะแนนเฉลย่ี สูงกว่าระดับประเทศ และมสี ่วนเบีย่ งเบนมาตรฐาน มากกวา่ ระดบั ประเทศ Low 1 (L1) หมายถึง กลุม่ ที่มีคะแนนเฉลย่ี ต่ากว่าระดบั ประเทศ และมสี ่วนเบย่ี งเบนมาตรฐาน นอ้ ยกวา่ ระดับประเทศ Low 2 (L2) หมายถึง กลุม่ ท่ีมคี ะแนนเฉลย่ี ตา่ กว่าระดบั ประเทศ และมีส่วนเบ่ียงเบน มาตรฐาน มากกว่าระดบั ประเทศ 3. การกาหนดคะแนนกลมุ่ คุณภาพ และการแปลความหมาย ไดก้ าหนดคะแนนแต่ละกลมุ่ คุณภาพ ดังนี้ กลมุ่ คุณภาพ High 1 (H1) ให้คะแนนเทา่ กบั 4 คะแนน หมายถงึ ดี กลุม่ คุณภาพ High 2 (H2) ให้คะแนนเท่ากบั 3 คะแนน หมายถงึ พอใช้ กลมุ่ คณุ ภาพ Low 1 (L1) ให้คะแนนเทา่ กับ 2 คะแนน หมายถงึ ปรับปรงุ กลุม่ คุณภาพ Low 2 (L2) ให้คะแนนเท่ากบั 1 คะแนน หมายถึง ตอ้ งปรับปรงุ เรง่ ด่วน

37 4. การแปลความหมายของคะแนนเฉลยี่ กลุ่มคณุ ภาพ โดยมเี กณฑ์การพจิ ารณา ดังนี้ กลุ่มคณุ ภาพ High 1 (H1) 3.51 – 4.00 แปลความหมาย ระดับ ดี กลุ่มคุณภาพ High 2 (H2) 2.51 – 3.50 แปลความหมาย ระดับ พอใช้ กลมุ่ คณุ ภาพ Low 1 (L1) 1.51 – 2.50 แปลความหมาย ระดบั ปรับปรุง กลมุ่ คุณภาพ Low 2 (L2) 1.00 – 1.50 แปลความหมาย ระดบั ตอ้ งปรับปรงุ เรง่ ดว่ น 5. การแปลความหมายของคะแนนเฉลย่ี กลุ่มคณุ ภาพแบบสี โดยมเี กณฑ์การพจิ ารณา ดังนี้ กลมุ่ คณุ ภาพ High 1 (H1) แปลความหมาย สีเขยี ว กลมุ่ คณุ ภาพ High 2 (H2) แปลความหมาย สีเหลือง กลุ่มคณุ ภาพ Low 1 (L1) แปลความหมาย สีดา กลมุ่ คุณภาพ Low 2 (L2) แปลความหมาย สแี ดง 6. คา่ สถิตพิ ื้นฐานผลการทดสอบของเขตพนื้ ท่ี (Local 02) NT ชัน้ ประถมศกึ ษาปีที่ 3 ปีการศกึ ษา 2563 1) ความสามารถด้านคณิตศาสตร์ ระดับ ผู้เขำ้ สอบ คะแนน ส่วน คะแนน คะแนน มธั ยฐำน ฐำนนิยม จำนวนนร. (N) เฉลี่ย เบี่ยงเบน สงู สุด ต่ำสุด (Median) (Mode) ทมี่ ีคะแนน (Mean) มำตรฐำน (Max.) (Min.) ร้อยละ 50 (S.D.) ขนึ้ ไป ศนู ยส์ อบ 1,622 37.74 17.53 94.00 0 33.00 21.00 383 จังหวัด 4,460 38.91 18.15 97.00 0 34.00 24.00 1,187 สังกัด 431,404 41.30 19.32 100 0 37.00 24.00 129,602 ประเทศ 653,442 40.47 19.13 100 0 36.00 24.00 185,558 2) ความสามารถด้านภาษาไทย ระดบั ผู้เข้ำสอบ คะแนน ส่วน คะแนน คะแนน มัธยฐำน ฐำนนยิ ม จำนวนนร. (N) เฉลย่ี เบย่ี งเบน สงู สดุ ตำ่ สดุ (Median) (Mode) ท่ีมคี ะแนน ศูนยส์ อบ (Mean) มำตรฐำน (Max.) (Min.) ร้อยละ 50 จงั หวัด 1,622 สังกดั 4,660 42.11 (S.D.) 91.00 6.00 41.00 21.00 ขึ้นไป ประเทศ 431,382 45.03 91.00 0 44.50 27.00 544 653,405 47.76 16.68 0 47.50 27.00 47.46 100 0 47.50 27.00 1,878 17.08 100 198,625 17.35 298,553 17.58

38 3) รวม 2 ดา้ น ระดับ ผ้เู ข้ำสอบ คะแนน สว่ น คะแนน คะแนน มธั ยฐำน ฐำนนิยม จำนวนนร. (N) เฉล่ยี เบยี่ งเบน สงู สุด ต่ำสุด (Median) (Mode) ท่มี ีคะแนน ศนู ย์สอบ (Mean) มำตรฐำน (Max.) (Min.) รอ้ ยละ 50 จังหวัด สังกดั 1,622 39.92 (S.D.) 88.00 7.50 36.75 26.00 ข้นึ ไป ประเทศ 4,660 41.97 91.75 7.50 39.50 27.00 419 431,341 44.53 30.65 653,342 43.97 100 0 42.50 28.50 1,402 31.75 100 0 41.75 25.50 151,766 33.22 222,691 33.23 สถิติท่ีใช้ในกำรวเิ ครำะหข์ ้อมลู สถติ ทิ ่ีใชใ้ นการวเิ คราะห์ข้อมูล ประกอบดว้ ยสถิติบรรยาย ได้แก่ ค่าเฉล่ีย รอ้ ยละ และส่วนเบย่ี งเบน มาตรฐาน โดยใชส้ ตู ร ดังน้ี 1. ค่าเฉลยี่ (Mean) คานวณจากสูตร ดงั น้ี (บุญชม ศรสี ะอาดม 2535: 102) ���̅��� = ∑ ������ ������ เมอื่ ���̅��� แทน ค่าเฉลีย่ X แทน คะแนนของแตล่ ะคน ∑ ������ แทน ผลรวมของคะแนนแตล่ ะคน N แทน จานวนขอ้ มูลท้ังหมด 2. ค่ารอ้ ยละ (Percentage) คานวณจากสูตร (สมบตั ิ ท้ายเรือคา. 2546: 103) P= ������ ������ เม่อื p แทน รอ้ ยละ ������ แทน ความถท่ี ีต่ ้องการแปลงเปน็ ร้อยละ ������ N แทน จานวนความถ่ีทง้ั หมด 3. คา่ ส่วนเบ่ยี งเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) ใช้สตู ร (บุญชม ศรีสะอาดม 2535: 108) S.D. = √ ������ ∑ ������������ − (∑ ������)������ ������(������−������)


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook