แนวแนะวิธกี ารเล้ียงดู ดแู ล และพัฒนาเด็กปฐมวยั ตามสมรรถนะ เพอื่ เพ่มิ คณุ ภาพเดก็ ตามวัย 0-5 ปี 9. จับมือเด็กท้ัง 2 ข้างจูงเดิน เมื่อเด็กลงน้ำหนักที่เท้าได้ดี ให้ปล่อยมือเด็กทีละมือ เพื่อ ฝึกใหเ้ ด็กยนื เอง และปลอ่ ยมอื ทั้ง 2 ขา้ ง ในเวลาอันสมควรเพือ่ ให้เดก็ ยืนเอง หรืออาจเลน่ เปน็ เกม ใหเ้ ด็กยืนบนเท้าพ่อแม่ ควรชมเชยเมอื่ เดก็ ยนื เองได้ตามลำพัง 10. จัดพื้นท่ีปลอดภัยให้เด็กนั่ง เดิน วิ่งเล่นอย่างปลอดภัย ทั้งนี้พ้ืนที่อาจมีพื้นผิวหลาก หลาย เชน่ พืน้ ไมบ้ นบา้ น พืน้ ทราย ฯลฯ 11. เล่นกับเด็ก ชวนเด็กเดนิ วงิ่ เล่น หรอื วงิ่ ไลต่ าม 12. หาของเล่นให้เด็กเล่นผลักขนาดพอเหมาะกับมือ หรือลากจูงไปมา เช่น รถลาก กล่อง กระดาษขนาดใหญท่ ่ีเดก็ ผลัก หรือดนั ใหเ้ คลื่อนท่ีได ้ 13. ฝึกให้เดก็ น่งั เกา้ อ้ีเด็กทแ่ี ข็งแรงม่ันคง เพ่อื รบั ประทานอาหาร หรอื เลน่ ดว้ ยตนเองโดย มีผู้ใหญค่ อยระวัง 14. หาเคร่อื งเลน่ ทเี่ หมาะสมให้เดก็ ปนี ป่าย โดยมผี ู้ใหญอ่ ยใู่ กล้ๆ คอยระวงั 15. ฝึกใหเ้ ด็กนง่ั ยองลงแลว้ หยบิ ของทต่ี กบนพน้ื 16. ใหโ้ อกาสเดก็ คลานข้นึ บนั ไดโดยพอ่ แม่ระวังดา้ นหลงั 17. ฝึกให้เด็กเดินข้ามสิ่งของเต้ียๆ ที่วางบนพ้ืน โดยพ่อแม่ทำให้ดูก่อน แล้วให้เด็กทำตาม และชมเชยทกุ คร้ังทเ่ี ด็กทำได้ 18. ชวนเด็กว่ิงเลน่ เตะลูกบอล โยน และกลิง้ ลกู บอลในที่โล่งกว้าง โดยเลือกลกู บอลขนาด ต่างๆ ที่เหมาะกบั เดก็ 19. จูงมือเด็กขึ้นบันได โดยให้เด็กใช้มืออีกข้างหน่ึงจับราวบันได และบอกให้เด็กมองเท้า ของตนเอง 20. ชวนเด็กว่ิงเล่น ออกกำลังกาย ฝึกการทรงตัวในที่โล่งกว้าง เช่น เดินเป็นจังหวะ วิ่งไล่ จบั กระโดดกระต่ายขาเดยี ว โดยผใู้ หญ่ทำเป็นตวั อยา่ งใหเ้ ด็กด ู 21. เล่นเกมตามคำส่งั ทำท่าทางตามจังหวะเพลง ทำตามคำบอก หรอื ใหม้ กี ารนั่ง ลุก ยนื เขยง่ ยืน เดิน กระโดด ตบมือ หมุนตัว โดยผใู้ หญ่ หรือเดก็ โตทำเปน็ ตัวอย่าง เริ่มด้วยทา่ ทาง 2 – 3 อย่าง และจังหวะชา้ ๆ เม่ือคล่องข้นึ จึงเพิม่ ท่าทาง 22. ให้โอกาสเด็กฝึกขึ้นลงบันได เริ่มจากจูงข้ึนลงบันได เมื่อเด็กก้าวม่ันคงแล้ว จึงให้เด็ก ก้าวขน้ึ ลงด้วยตนเอง โดยผใู้ หญค่ อยเฝ้าระวงั ใกล้ชดิ 23. ใหเ้ ด็กมโี อกาสขี่จักรยาน 3 ล้อ หรือ 4 ลอ้ 24. สอนให้เด็กรู้จักระวังการบาดเจ็บ (เช่น ย่อเข่าเวลาจะกระโดด มองรอบด้านเวลาเดิน วงิ่ หรอื กระโดด เวลามุดลอดใตโ้ ตะ๊ ใหก้ ้มศรษี ะไม่ให้ชน) 25. ชวนเด็กโยนลูกบอลลงตระกร้า เริ่มจากระยะใกล้ เมื่อเด็กทำได้ให้ขยับตระกร้าห่าง ออกไป 26. จดั สภาพแวดลอ้ ม จดั หาของเลน่ และเครอื่ งเล่นใหเ้ หมาะกับวยั ให้เดก็ เล่น 3-5
แนวแนะวิธกี ารเลย้ี งดู ดูแล และพฒั นาเด็กปฐมวัย ตามสมรรถนะ เพ่อื เพ่มิ คุณภาพเด็กตามวัย 0-5 ป ี ข้อควรระวัง 1 ) เด็กในวัยนี้ชอบเอาของเข้าปาก ผูใ้ หญ่ตอ้ งระวังให้ของเลน่ มคี วามสะอาด และสวี ัสดขุ องเล่นต้อง ไม่มพี ิษ 2 ) แมว้ า่ เดก็ จะทรงตวั น่งั ได้ดแี ล้ว แตอ่ าจลม้ ควำ่ หรือหงายหลงั ได้ ดังนนั้ ควรดแู ลใกลช้ ดิ เพอ่ื ไมใ่ ห้ เกดิ อนั ตราย 3 ) เม่ือเด็กคลานได้เองแล้วต้องระวังเด็กคลานตกเตียง คลานตกบันได หรือคลานไปในท่ีไม่ ปลอดภัย เชน่ บรเิ วณครวั 4 ) เวลาเดก็ คลานได้ เดก็ มีแนวโนม้ ชอบดงึ ผ้า ดึงเชือก ดึงของ ผ้ใู หญต่ อ้ งดใู ห้ดวี า่ เดก็ ดงึ อะไรเพราะ อนั ตรายเกิดข้ึนไดห้ ลายแบบ 5 ) ไม่ใช้รถหัดเดินกับเด็ก เพราะเด็กจะไม่พยายามทรงตัวยืนด้วยตนเองทำให้เด็กยืนทรงตัวได้ช้า อาจเดนิ ได้แตป่ ลายเทา้ และอาจเกิดอุบตั ิเหตุจากรถหดั เดนิ พลกิ ล้มง่าย เม่ือเดก็ ไถรถวงิ่ ไปมา 6 ) เมื่อเด็กอายุช่วง 16 – 18 เดือน เด็กเดินได้เองและชอบสำรวจ เด็กอาจเดินออกไปที่ถนน เดนิ ไปหยิบ สมั ผัสสารพษิ สตั วเ์ ล้ียง พลดั ตกบันได พอ่ แมจ่ งึ ตอ้ งคอยระวังอยใู่ กลๆ้ 7) ผู้ใหญค่ วรระวังเดก็ จากอุบตั ิเหตทุ เ่ี กิดขนึ้ จากการปีน ปา่ ย วิ่งชนกัน หรอื เคร่อื งเล่นสนาม 8) เดก็ อาจลอกเลียนแบบพฤติกรรมโลดโผนจากสื่อ ผใู้ หญจ่ ึงควรดูแลใกล้ชิด อายุ 3 – 5 ป ี วธิ ีการ 1. ช้ีชวนให้เด็กออกกำลังกายในบริเวณท่ีปลอดภัย ในบ้าน ในโรงเรียน สนามเด็กเล่น หรือสวนสาธารณะ (เชน่ เดนิ วงิ่ กระโดด ปีนปา่ ย เลน่ เครอื่ งเลน่ โยน-รับ-เตะลกู บอล ขี่จกั รยาน ฯลฯ) 2. ให้โอกาสเดก็ มีส่วนรว่ ม หรือชว่ ยทำงานทใ่ี ชก้ ำลงั กาย (เชน่ กวาดใบไม้ ถือของ กวาด บา้ น/กวาดห้องเรียน ถูห้อง ปัดฝุ่นเครื่องเรือน รดนำ้ ต้นไม้ เก็บจานไปในท่ีล้างจาน ตากเส้อื ผ้า พบั เกบ็ และแขวนเสือ้ ) 3. ฝึกฝนให้เดก็ มที ักษะการเคลื่อนไหว การทรงตวั (เช่น เดนิ กะลา กระโดดกบ เขยง่ ก้าว กระโดด กระโดดยาง เลน่ ตงั้ เต กระโดดเสอื ขา้ มหว้ ย เดนิ ทรงตวั บนขอนไม้ เลน่ แมง่ เู อย๋ มอญซอ่ นผา้ เก้าอ้ีดนตรี ว่ิงเปี้ยว ต่ีจับ วิ่งสามขา ขี่ม้าก้านกล้วย ลิงชิงหลัก เดินหลบหลีกส่ิงของที่กีดขวาง เดนิ บนพ้ืนผิวท่ีต่างกนั ท้งั ทราย โคลน ดิน และเดนิ บนลกู ระนาด) 4. ฝึกฝนให้เด็กใช้ร่างกายสลับข้าง เช่น ข้ึนลงบันได วิ่งก้าวกระโดด ว่ิงควบม้า กระโดด แบบต่างๆ (Skip Gallop) ว่ิงไปข้างหน้า ว่ิงถอยหลัง เต้นระบำ รวมถึงการฝึกทักษะใหม่ๆ (เช่น ว่ายนำ้ ฝกึ โยคะ และแอโรบคิ สำหรับเด็ก) 5. ฝึกฝนทักษะการห้อยโหน ปนี ปา่ ย เลน่ เครื่องเล่นสนาม และเล่นอยา่ งปลอดภยั 3-6
แนวแนะวิธีการเล้ยี งดู ดแู ล และพัฒนาเด็กปฐมวัย ตามสมรรถนะ เพ่ือเพ่ิมคณุ ภาพเด็กตามวยั 0-5 ปี หัวข้อท่ี 2 เด็กสามารถแสดงความแข็งแรง และประสานการทำงานของกล้ามเน้อื มัดเล็ก อายุ 0 – 3 ปี พฤตกิ รรมบง่ ชี้ ข้อ 71 – 109 อายุ 3 – 5 ปี พฤตกิ รรมบ่งชี้ ขอ้ 17 – 38 อายุ 0 – 3 ป ี วธิ ีการ 1. ในขณะท่ีเด็กต่ืนอยู่ ให้ผู้ใหญ่อุ้มเด็กโดยช้อนศรีษะและตัวของเด็กอย่างอ่อนโยน ให้ ใบหน้าเด็กหันหน้าเข้าหาผู้อุ้มในระดับสายตาห่างจากตัวผู้อุ้มประมาณ 9 นิ้ว ให้ผู้อุ้มยิ้ม และคุย เบาๆ กับเดก็ เพอื่ ใหเ้ ดก็ สนใจมองหนา้ ผ้พู ูด หรอื นำสิง่ ของ ของเลน่ มาให้เดก็ ด ู 2. อ้มุ เดก็ แนบชิดตวั โดยโอบคอ และหลงั ของเด็กเพอื่ ให้เด็กหนั หนา้ ไปทางข้างหลงั เหนือ บา่ ผ้อู ุ้ม เดก็ จะลมื ตาข้ึนมองแลว้ ใหผ้ ู้ใหญ่ยมิ้ และพดู คุยกับเด็ก 3. ใชน้ วิ้ มอื แตะทฝี่ า่ มอื ของเดก็ แลว้ เดก็ จะกำนวิ้ มอื ของผใู้ หญไ่ วแ้ นน่ โดยอตั โนมตั ิ (Reflex) 4. เมอื่ เดก็ สบตามองหนา้ คนอมุ้ ใหค้ นอมุ้ เอยี งหนา้ ชา้ ๆ ไปทางซา้ ย ไปทางขวา และขน้ึ ลง เดก็ จะมองตามได้ชวั่ ครู่ ทำซำ้ และสังเกตว่าเดก็ มองตามได้มากขน้ึ 5. ชสู ่งิ ของใหเ้ ด็กดู และเคล่ือนส่งิ ของเพอื่ ให้เดก็ มองตาม 6. ใหเ้ ดก็ นอนหงาย ชูหรือแขวนของสีสดตดั กัน (เชน่ แดง ดำ ขาว) ใหเ้ ดก็ มองแล้วเลือ่ น ช้าๆ หรืออุ้มเด็กน่ังตักโดยผู้ใหญ่โอบตัวเด็กไว้ แล้วผู้ใหญ่ชูของให้เด็กดู แล้วเล่ือนไปทางซ้าย ทางขวา และขนึ้ ลง เด็กจะมองตามไดช้ ่วั ครู่ ทำซำ้ และสงั เกตวา่ เดก็ มองตามไดม้ ากข้นึ หมายเหตุ : หากเด็กไม่มองตามทกุ ครั้ง ควรรบี ปรกึ ษาแพทย์ 7. เวลาเช็ดตัว หรืออาบน้ำให้คลายมือของเด็กออกเบาๆ เพราะช่วงเดือนแรก เด็กมักจะ กำมือไว้ เด็กจะคลายมอื ไดเ้ องเม่ืออายุ 2 - 3 เดอื น 8. ถือของเล่นท่ีมีรูปทรงกระบอกขนาดมือของเด็ก ให้อยู่ตรงหน้าระดับสายตาของเด็ก ช้ีชวนให้เด็กสนใจเพื่อเอื้อมมือมาจับ หากเด็กยังไม่ย่ืนมือมาจับ ให้นำของช้ินน้ันไปที่ระดับกึ่งกลาง อกของเด็ก แล้วเคล่ือนสิ่งของนั้นเพื่อล่อ หรือเรียกร้องความสนใจของเด็ก จากน้ันให้ผู้ใหญ่ดู ปฎิกริยาของเด็ก 9. ใช้มือสัมผัสท่ีมอื และนิว้ ของเดก็ เบาๆ อยา่ งออ่ นโยน เพ่ือสร้างการเรียนรู้โดยการสัมผสั ใหก้ ับเด็ก 10. ในขณะท่ีเด็กตื่นอยู่ อุ้มเด็กโดยช้อนศีรษะและตัวอย่างอ่อนโยน โดยหันใบหน้าเข้าหา กันในระดบั สายตาของเด็ก มรี ะยะห่างประมาณ 9 น้วิ ย้มิ และพดู คยุ เล่นกบั เดก็ เพื่อให้เดก็ สงั เกต หนา้ ริมฝปี ากทีม่ ีการเคลอ่ื นไหว และจดจำเสยี งได ้ 3-7
แนวแนะวธิ กี ารเลย้ี งดู ดูแล และพฒั นาเด็กปฐมวยั ตามสมรรถนะ เพอื่ เพ่มิ คณุ ภาพเดก็ ตามวยั 0-5 ป ี 11. อุ้มเด็กแนบชิดตวั โอบคอ และหลงั ใหเ้ ดก็ หนั หนา้ ไปทางข้างหลงั เหนอื บ่าผอู้ ้มุ เดก็ จะ ลืมตาข้ึนมอง จากน้ันให้คนที่คุ้นเคย ได้แก่ พ่อแม่ หรือคนในครอบครัวยิ้มและพูดคุยเล่นกับเด็ก จากขา้ งหลงั ผู้อุ้ม 12. หาของเล่นใหเ้ ด็กหดั กดั ซง่ึ พอ่ แมต่ ้องเลือกชนิดท่ปี ลอดสารพิษ ไมม่ สี ่วนแหลมคม ไม่ แตกหักง่าย หรือมขี นาดไม่ใหญ่จนเกินกว่าท่ีเด็กจะอมเข้าปากได้ และตอ้ งล้างใหส้ ะอาดอยเู่ สมอ 13. นำของเล่นที่เด็กสนใจไปวางทางขวามือของเด็กบ้าง ซ้ายมือบ้าง เพ่ือให้เด็กหัดจับ ทีละมือ 14. ส่งของให้เด็กทางข้างหน่ึงซ่ึงเด็กจะใช้มือข้างนั้นมาจับของ แล้วส่งของชิ้นใหม่ท่ีน่า สนใจกว่า เช่น มีสีสดใสกว่า มีเสียงดังกว่า โดยส่งให้เด็กทางข้างเดิม เด็กจะวางของช้ินเก่าและ เออ้ื มหยบิ ชน้ิ ใหม่ จากนน้ั ควรเปล่ียนขา้ ง เพ่อื ให้เด็กได้ใช้กล้ามเนอื้ มดั เลก็ ทัง้ ดา้ นซ้ายมือ และดา้ น ขวามือ 15. ให้เด็กนอนหงาย แล้วยกเท้าของเด็กขึ้นเพ่ือให้เด็กมองเห็น จากน้ันเด็กจะเอ้ือมมือมา จบั ขา และเทา้ ของตนเอง เพอื่ ให้เดก็ ไดส้ ัมผัสและให้เกดิ การประสานการทำงานระหวา่ งมอื กับตา 16. วางของทม่ี สี ีสนั หรอื ของเลน่ ทไ่ี ม่กลิ้งใหห้ ่างภายในระยะมือเอ้อื มมาหยิบได้ ทัง้ น้ี ของ ต้องเลือกชนิดที่ปลอดสารพิษ ไม่มีส่วนแหลมคม ไม่แตกหักง่าย หรือมีขนาดไม่ใหญ่จนเกินกว่าที่ เด็กจะอมเขา้ ปากได้ และตอ้ งล้างใหส้ ะอาดอยเู่ สมอ 17. นำขัน ถว้ ยพลาสติก หรอื กลอ่ งใส่ของเลน่ และของเล่นชิ้นตา่ งๆ หรอื ผลไมม้ าวางตอ่ หนา้ เดก็ เพอื่ ฝึกใหเ้ ด็กหยบิ ของใส่ หรือหยิบของออกจากภาชนะได ้ 18. หาของเล่นท่ีมีกลไกง่ายๆ มาให้เด็กเล่น (เช่น รถของเล่นท่ีมีล้อเพ่ือเด็กสามารถไถรถ ไปขา้ งหนา้ หรือถอยไปขา้ งหลัง) 19. ให้เด็กใช้สีเทียนแท่งใหญ่สำหรับขีดเขียน และวาดรูปเป็นเส้นต่างๆ บนกระดาษ โดย วางสีเทยี นไวต้ รงกลางเพ่อื ใหเ้ ด็กเออ้ื มมือทีถ่ นดั มาหยิบไปขดี เขียนเอง ซงึ่ ในวัยน้ี เด็กอาจใช้ทีละมือ มอื ขวาบ้าง มอื ซ้ายบ้าง จนกวา่ เด็กจะรู้ตัวว่าถนดั มือข้างไหน ทัง้ น้ี พ่อแมไ่ ม่ควรบังคับให้ใช้มือข้าง ขวาอย่างเดยี ว 20. ชวนเด็กให้ใช้นิ้วจุ่มสีน้ำ แล้ววาดบนพื้นกระดาษ หรือใช้กิ่งไม้ส้ันๆ ขีดเขียนบนพ้ืน ทราย/ดนิ 21. ผู้ใหญ่ใช้สีที่ปราศจากสารพิษ วาดหน้ายิ้มที่หัวแม่มือของเด็ก หรือใช้หุ่นนิ้วสวมท่ี หวั แมม่ ือเดก็ เพือ่ เคลือ่ นไหวนิว้ 22. ชวนเดก็ เลน่ เกม ด้วยการใหเ้ ดก็ กำมอื แล้วชนู ว้ิ มอื พร้อมกับร้องเพลงทน่ี ่าสนใจ (เชน่ นิว้ โปง้ อยู่ไหน) โดยเด็กเปลี่ยนนว้ิ ชขู ึ้นทลี ะน้ิว ทัง้ 2 มือ ซ่งึ ในระยะแรกเดก็ ยังไม่คลอ่ ง ผใู้ หญ่ตอ้ ง ชวนเล่นบ่อยๆ เพอื่ ให้เด็กไดส้ นุก และชนู ้ิวมอื จนคลอ่ ง 3-8
แนวแนะวิธีการเลีย้ งดู ดูแล และพัฒนาเด็กปฐมวยั ตามสมรรถนะ เพือ่ เพ่มิ คุณภาพเดก็ ตามวยั 0-5 ป ี อายุ 3 – 5 ป ี 1. ชวนลูกทำกิจกรรมเพ่ือให้ใช้น้ิวหัวแม่มือและน้ิวชี้ประสานกัน (เช่น การแต่งกาย กลัด กระดุมเส้ือ ผูกเชือกและแกะเชือกรองเท้า การจับช้อนส้อมรับประทานอาหาร ช่วยหยิบของใช้ ชว่ ยเด็ดผัก ชว่ ยจัดโตะ๊ อาหาร) 2. ฝึกให้เด็กได้ออกกำลังมือและน้ิวมือ (เช่น ปั้นดินเหนียวหรือดินน้ำมัน) เปิดโอกาสให้ เด็กใชก้ รรไกรปลายมนสำหรับตัดกระดาษ แต่งตวั ตุ๊กตา ซกั ผา้ เช็ดมอื บดิ ผ้า เลน่ กับนำ้ ทราย ดิน ไม้ หรอื กรวด 3. ฝึกให้เด็กเน้นใช้มือและนิ้วหัวแม่มือกับน้ิวช้ี (เช่น ใช้ไม้หนีบ ใช้คีมคีบสิ่งของ ใช้ ตะเกียบ ใชม้ ีดพลาสตกิ หัน่ ผกั ร้อยยางวง ร้อยลกู ปดั ฯลฯ) 4. ให้เด็กมโี อกาสทำงานศลิ ปะ (เช่น ฉีก ป้นั ขยำ ทุบ เป่าสี ดีดสี พบั กระดาษ) รวมทง้ั การใชเ้ ครอ่ื งเขียนและอปุ กรณ์ศิลปะ (เชน่ สีเทยี น พกู่ ัน สีไม้ สีเมจิกทไี่ รส้ ารพษิ ) 5. ชี้ชวนให้เด็กเล่นเกมท่ีใช้บัตรเพื่อหยิบ จัด และเรียงบัตรในมือได้ รวมท้ังเล่นเกมการ ศกึ ษาต่างๆ 6. ให้เด็กมีโอกาสได้เล่นเกมท่ีใช้ความปราณีตในการใช้มือและตาประสานกัน (เช่น อีตัก หมากเก็บ ดดี ลูกหนิ เกมกรอกนำ้ ใสข่ วด) 3-9
แนวแนะวธิ ีการเลย้ี งดู ดแู ล และพฒั นาเด็กปฐมวยั ตามสมรรถนะ เพ่อื เพิ่มคณุ ภาพเดก็ ตามวัย 0-5 ป ี หัวข้อที่ 31 เดก็ สามารถแสดงควาเมดแ็กขสง็ าแมรางรถแใลชป้ะปรระสะสาาทนสกมั าผรทสั ำตงา่ างนๆขอ งกลา้ มเนือ้ มดั ใหญ่ (เช่น การเอหาน็ ยุ ได0ย้ -ิน 3กาปยีสมั พผฤัสตกิ ฯรลรฯม)บเง่ปช็น้ี กขา้อรน1ำใน-ก7าร0เ คล่อื นไหว อายอุาย3ุ 0– –5 3ปี ปพี ฤพตฤิกตรกิรรมรบมง่ บชง่ี้ ชขี้อขอ้1 -–16 อายุ 3 – 5 ปี พฤติกรรมบง่ ช้ี ข้อ 39 – 51 อายุ 0 – 3 ปี - อายุ 3 – 5 ป ี วิธีการ 1. ชชี้ วนใหเ้ ดก็ ร้จู ักสงั เกตโดยใช้ประสาทสัมผสั ตา่ งๆ ได้แก่ การมองดู ฟงั ลม้ิ รส ดมกลนิ่ กายสัมผัส รวมท้ังการรับรู้ความรู้สึกภายในร่างกายตนเอง เช่น การบอกได้ว่ารู้สึกหิว ง่วงนอน ปวดทอ้ ง ปวดอุจจาระปสั สาวะ คลืน่ ไส้ อยากอาเจยี น 2. ชี้ชวนให้เด็กสำรวจส่ิงต่างๆ รอบตัว แล้วเคล่ือนท่ีอย่างปลอดภัยโดยไม่ชน (เช่น มุด คืบ คลาน ลอดใต้โต๊ะ ว่ิงหลบเสา วิ่งไม่ชนกัน ส่งถ้วยน้ำโดยไม่หก กระโดดเชือก หรือปิดตาเดิน รอบโตะ๊ คลำของที่อยูใ่ นภาชนะมดิ ชดิ แลว้ บอกลกั ษณะสิ่งของได้ เล่นดินเปียก ทรายแห้ง เล่นนำ้ การเดินสมั ผัสพื้นทแี่ ตกต่างทัง้ ดนิ หญ้า พื้นท่ีแข็ง นุม่ ยดื หยุ่น) 3. ฝึกสังเกตในชีวติ ประจำวัน (เชน่ เมอ่ื ได้ยนิ เสียงน้ำหยด ใหไ้ ปปิดก๊อกนำ้ ) ใหเ้ ดก็ สัมผสั ของนิ่ม หรือของเหลว ทายลักษณะท่ีคนอ่ืนทำ (เช่น ทายการเขียนตัวอักษร/ตัวเลขบนหลัง) นอกจากน้ี ใหเ้ ดก็ ไดส้ มั ผสั ลม้ิ รส เคยี้ วผกั และผลไมท้ ม่ี รี ปู รา่ งลกั ษณะทง้ั พน้ื ผวิ เนอ้ื รสชาตทิ ต่ี า่ งกนั 4. ฝึกทักษะในการเคล่ือนไหวอย่างปลอดภัยโดยสังเกตสิ่งแวดล้อม (เช่น ย่อเข่าเวลา กระโดด ก้มศรีษะและเก็บแขนขาเวลามุด หรือลอดใต้โต๊ะ เบ่ียงตัวหลบของที่มีอันตราย) การใช้ บนั ไดเลอื่ นท่ตี ้องระมัดระวงั จงั หวะการกา้ ว การใช้ทางม้าลาย การใช้ลิฟท ์ 5. ใหโ้ อกาสเดก็ ฝกึ การใชก้ ลา้ มเนอ้ื เลก็ อยา่ งปราณตี (เชน่ การตอ่ บลอ็ ก ตอ่ ชอ้ น ภาพตดั ตอ่ หรอื ใชแ้ หนบ / มอื หยบิ เมด็ ถวั่ ทมี่ ลี กั ษณะขนาดตา่ งกนั คดั แยกวสั ดอุ ปุ กรณท์ ม่ี คี วามแตกตา่ งกนั ฯลฯ) 6. ชวนเด็กเล่นบทบาทสมมุติโดยให้เด็กเคล่ือนไหวใบหน้าให้สอดคล้องกับอารมณ์ (เช่น การทำใบหน้ามคี วามสขุ โกรธ ครุน่ คดิ เจบ็ ปวด เจบ็ ใจ) 7. ชวนเด็กสำรวจสภาพอากาศจากการสังเกตและรับรู้ผ่านประสาทสัมผัส (เช่น อากาศ ตอนเช้า ตอนเท่ยี ง ช่วงฝนตก หรือหลังฝนตก) 3 - 10
แนวแนะวิธีการเล้ยี งดู ดแู ล และพฒั นาเดก็ ปฐมวยั ตามสมรรถนะ เพ่ือเพมิ่ คุณภาพเด็กตามวัย 0-5 ป ี หวั ขอ้ ท่ี 4 เด็กรบั ประทานอาหารหลายๆ ชนดิ ท่ีมีประโยชน์ และปลอดภัย อายุ 0 – 3 ปี พฤตกิ รรมบง่ ชี้ ข้อ – อายุ 3 – 5 ปี พฤติกรรมบง่ ชี้ ขอ้ 52 – 56 อายุ 0 – 3 ป ี – อายุ 3 – 5 ปี วิธีการ 1. จดั อาหารที่มีประโยชนค์ รบ 5 หมู่ ใหเ้ ดก็ กนิ พอดคี ำ มสี สี นั น่ารบั ประทาน โดยให้เดก็ หดั กนิ หมนุ เวยี นเปลยี่ นกนั ไป รวมทง้ั ใหเ้ ดก็ ไดม้ สี ว่ นรว่ มในการทำอาหารงา่ ยๆ (เชน่ ปอกเปลอื กไขต่ ม้ เดด็ ผกั ) 2. ชี้ชวน พูดคุยกับเด็กให้รู้จักแยกแยะสิ่งที่กินได้และกินไม่ได้ (เช่น ของเล่น ก้อนดิน ดนิ สอ หรอื เลน่ เกมอะไรทีก่ ินได้และกนิ ไมไ่ ด)้ 3. ชวนเด็กไปตลาดเพ่ือซ้ือและเตรียมอาหารด้วยกัน ชวนเด็กให้ช่วยล้างผัก จัดผลไม ้ ใส่ตระกร้า พร้อมกับคุยเร่ืองคุณค่าของอาหาร ผักและผลไม้ การรักษาความสะอาดของการ ประกอบอาหาร 4. ชี้ชวนให้เด็กดูอาหารท่ีควรกิน (เช่น อาหารสะอาด อาหารไม่ค้างนาน อาหารไม่หมด อายุ ผกั สด ขนมสไี ม่ฉดู ฉาด อาหารที่ไม่สกุ ๆ ดบิ ๆ ของปิ้ง ย่าง หรือทอดท่ีไมไ่ หม้เกรียม ไม่กนิ ขนม กรุบกรอบ ไมใ่ หเ้ ดก็ กินนำ้ อัดลม) 5. ผู้ใหญ่เป็นแบบอย่างในการรับประทานอาหารให้เป็นที่เป็นทาง ตรงเวลา ล้างมือก่อน กนิ อาหาร ใชช้ อ้ นกลางเมอ่ื รบั ประทานอาหารรว่ มกบั ผอู้ น่ื และไมใ่ ชภ้ าชนะรว่ มกบั ผอู้ น่ื (เชน่ แกว้ นำ้ ชอ้ นและส้อม) 6. ชั่งน้ำหนักและวัดส่วนสูงของเด็กทุก 3 เดือน เพื่อนำมาเปรียบเทียบการเจริญเติบโต และหากพบว่าเด็กมีน้ำหนักเกิน ควรควบคุมอาหารหวานจัด มันจัด รวมทั้งการออกกำลังกาย ในกรณีมีน้ำหนักและส่วนสูงต่ำกว่าเกณฑ์ ผู้ใหญ่ควรดูแลให้เด็กกินอาหารในปริมาณมากขึ้นและ หากไม่สามารถเพมิ่ น้ำหนกั ส่วนสงู ตามเกณฑ์ได้ควรพบแพทย์ 7. แนะนำไมใ่ หเ้ ดก็ อมข้าว หรืออมอาหารเวลารับประทานอาหาร 3 - 11
แนวแนะวธิ ีการเลยี้ งดู ดแู ล และพัฒนาเด็กปฐมวยั ตามสมรรถนะ เพ่อื เพ่ิมคณุ ภาพเดก็ ตามวัย 0-5 ป ี 8. จัดตารางแสดงคุณค่าของอาหารในแต่ละม้ือและชวนเด็กคุยเพ่ือให้เด็กเห็นคุณค่าและ ประโยชนข์ องอาหารทม่ี ตี ่อการเจรญิ เตบิ โตของรา่ งกาย 9. จัดพ้ืนที่ให้เด็กได้มีโอกาสปลูกพชื ผักสวนครวั เพอ่ื เพ่ิมความสนใจในการกนิ ผัก 10. กระตนุ้ ให้เด็กดม่ื นำ้ สะอาดอย่างเพียงพอในแต่ละวนั 3 - 12
แนวแนะวธิ กี ารเล้ียงดู ดแู ล และพฒั นาเดก็ ปฐมวัย ตามสมรรถนะ เพือ่ เพ่ิมคณุ ภาพเด็กตามวัย 0-5 ป ี หวั ขอ้ ที่ 5 เด็กแสดงความแข็งแรง และความทนทานทางรา่ งกาย อายุ 0 – 3 ปี พฤติกรรมบง่ ชี้ ขอ้ – อายุ 3 – 5 ปี พฤติกรรมบ่งชี้ ขอ้ 57 – 64 อายุ 0 – 3 ป ี – อายุ 3 – 5 ปี วิธีการ 1. ให้เด็กได้ออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ ได้วิ่งและได้เล่นออกกำลังต่อเน่ืองแต่ละคร้ัง อยา่ งน้อย 15 นาที ทกุ วนั วนั ละ 2 – 3 รอบ (เช่น ว่งิ กับลกู หรอื ออกกำลังกายกับลูก) ให้ความ สนใจและชื่นชมเม่ือเด็กพยายามฝึกฝนทักษะใหม่ๆ หรือเล่นเคร่ืองเล่นสนาม เล่นกลางแจ้ง หรือ กจิ กรรมเขา้ จงั หวะ และเพ่ิมระดบั ใหซ้ ับซอ้ นขน้ึ อยา่ งคอ่ ยเปน็ ค่อยไป (เชน่ เพมิ่ ระยะทางในการวิง่ ปนี ป่ายตา่ งระดับ ข่ีจักรยานใหน้ านขึน้ ) 2. จัดบริเวณท่ีเด็กจะนอนหลับหรือพักผ่อนในสถานที่สะอาด มีอากาศถ่ายเทได้ดี เงียบ สงบปราศจากเสียงรบกวน โดยให้นอนอย่างเพียงพอ วันละประมาณ 10 ช่ัวโมงและนอนกลางวัน ประมาณ 1 ชั่วโมง หรือมากกว่าน้ีตามความต้องการของเด็ก ท่ีสำคัญไม่ควรมีโทรทัศน์ และ/หรือ คอมพวิ เตอร์ในหอ้ งนอน แตอ่ าจเปิดเพลงเบาๆ เพือ่ ใหเ้ ดก็ ผอ่ นคลาย 3. ให้เด็กมีโอกาสช่วยยกของ ห้ิวของ หรือสะพายเป้สัมภาระของตนเองท่ีมีน้ำหนักพอ ประมาณ (1 กิโลกรัม) ระยะทางส้ันๆ 4. ชักชวนเด็กให้ไปดูกีฬาด้วยกัน (เช่น ดูกีฬาในชุมชน ดูการแข่งขันกีฬาที่โรงเรียน หรือ จากโทรทศั น)์ หรอื ให้เดก็ เลน่ กีฬาทมี่ ีผ้สู อนอยา่ งถูกวิธี (เช่น วา่ ยน้ำ เล่นฟตุ บอล) พร้อมชืน่ ชมกบั ความแขง็ แกรง่ และสมรรถภาพทด่ี ขี องรา่ งกาย ขอ้ สำคญั ไมค่ วรเปรยี บเทียบกบั เด็กคนอืน่ 5. ลดเวลาในการดูโทรทัศน์และเล่นเกมเพ่ือมาใช้ในกิจกรรมท่ีมีการเคล่ือนไหวกับเด็ก มากยงิ่ ข้นึ 6. ให้ความรู้และทักษะในการใช้ร่างกายอย่างถูกวิธี เพ่ือให้เกิดความปลอดภัย (เช่น การ น่ังอย่างถูกวิธี การว่ิงอย่างถูกวิธีและการรู้จักท่าในการยกของ ฯลฯ) เพื่อมีผลในการใช้ร่างกายใน ระยะยาว 3 - 13
แนวแนะวิธกี ารเลี้ยงดู ดแู ล และพฒั นาเดก็ ปฐมวยั ตามสมรรถนะ เพอ่ื เพิม่ คุณภาพเด็กตามวัย 0-5 ป ี หัวข้อที่ 6 เดก็ แสดงออกวา่ มีความเขา้ ใจเก่ียวกบั ความปลอดภยั อายุ 0 – 3 ปี พฤตกิ รรมบง่ ช้ี ข้อ – อายุ 3 – 5 ปี พฤตกิ รรมบ่งช้ี ขอ้ 65 – 78 อายุ 0 – 3 ป ี – อายุ 3 – 5 ป ี วธิ กี าร 1. จัดสภาพแวดล้อมท่ีปลอดภัยให้กับเด็กและอธิบายให้เด็กเข้าใจอย่างง่ายๆ ถึงความ จำเป็นท่ีต้องจัดให้มีความปลอดภัย (เช่น มีรั้วไว้ทำไม ทำไมต้องมีราวบันได ทำไมต้องมีเครื่องดับ เพลิงตดิ ต้งั ไว้ ฯลฯ) 2. ช้ีชวนให้เด็กดูป้ายสัญลักษณ์ที่บอกท้ังความปลอดภัยและอันตราย (เช่น ป้ายหนีไฟ ป้ายเขตห้ามเข้า ปา้ ยไฟฟา้ แรงสงู ป้ายระวังลนื่ ลูกศรบอกทศิ ทางขึ้น หรือลงบนั ได) 3. ผู้ใหญ่มีสำนึกในเร่ืองความปลอดภัยและชวนเด็กพูดคุยเกี่ยวกับความปลอดภัย (เช่น การคาดเขม็ ขัดนริ ภยั วิธถี อื ดินสอ วิธถี อื กรรไกรตดั กระดาษ การเล่นอยา่ งปลอดภยั ) 4. ชวนเด็กพดู คยุ ถึงความปลอดภัยในการเดนิ ทางโดยรถยนต์ รถโดยสาร (เชน่ ไมค่ วรยืน่ มือหรือส่วนของร่างกายออกนอกรถ ไม่ควรรบกวนพ่อหรือแม่ หรือคนขับรถ) ในส่วนของรถ จักรยานยนต์ (เช่น การสวมหมวกกันน็อค) รวมทั้งฝึกให้เด็กสนใจสัญญาณจราจร อันตรายจาก อุบตั เิ หตุ และผลของอุบัติเหตุ การขา้ มถนน และการไม่ข้ามถนนตามลำพงั 5. สอนเด็กให้หัดแกป้ ัญหาเมื่อพลดั หลงกบั ผ้ใู หญ่ (เชน่ จำเบอร์โทรศพั ทม์ อื ถอื ของพ่อแม่ ท่ีต้ังของบ้าน ไม่ควรเอาป้ายชื่อ ที่อยู่และเบอร์โทรศัพท์ซ่ึงพ่อแม่ติดไว้ให้ท่ีหน้าอกออก แนะนำ รปภ. และประชาสัมพันธ์ในสถานท่ีที่ไปให้เด็กรู้จัก) รวมทั้ง แนะนำลูกว่าควรทำอย่างไรเมื่อมี เหตุการณผ์ ิดปกติ (เช่น ไฟไหม้ คนตอ่ สกู้ นั ฯลฯ) 6. สอนวิธีการดูแลตนเอง (เช่น ไม่ไปกับคนแปลกหน้า ไม่ไปในสถานที่อันตราย ไม่อ่าน หนังสือในที่มีแสงจ้า และมีระยะห่างในการอ่านพอควร ระยะเวลาในการใช้โทรศัพท์มือถือและ คอมพิวเตอร์ ไม่เล่นริมน้ำ ไม่เล่นไม้ขีดไฟ การใช้บันไดฉุกเฉิน บันไดหนีไฟ รวมท้ังการปลดล็อก เข็มขัดนิรภยั ) 3 - 14
แนวแนะวิธกี ารเล้ียงดู ดแู ล และพฒั นาเด็กปฐมวยั ตามสมรรถนะ เพอ่ื เพ่ิมคุณภาพเดก็ ตามวัย 0-5 ปี 7. สอนใหเ้ ลน่ โดยไม่ใชค้ วามรุนแรงในการเล่นท้ังกับผอู้ นื่ หรอื เม่ือเวลาเลน่ คนเดียว 8. สอนใหเ้ ดก็ รูจ้ ักสัตว์ ประเภทของสตั ว์ วธิ ีการเลี้ยงดสู ตั วเ์ ลี้ยง รวมทัง้ การปฏบิ ตั ติ อ่ สัตว์ อื่นๆ ที่ไมใ่ ช่สัตว์เล้ียง และอาจเป็นอนั ตราย (เช่น สนุ ขั จรจัด แมลงต่างๆ ฯลฯ) 9. ชวนเดก็ เล่นบทบาทสมมตุ เิ ม่อื มคี นแปลกหนา้ มาใหข้ นมควรทำอยา่ งไร 10. ช้ีชวนให้เด็กระมัดระวังอาหาร ขนม ของเล่น และของใช้ท่ีก่อให้เกิดอันตราย (เช่น หมากฝรัง่ อาหารที่มีแมลงวนั ตอม ขนมสีฉูดฉาด ฯลฯ) 3 - 15
แนวแนะวิธกี ารเลี้ยงดู ดแู ล และพฒั นาเด็กปฐมวัย ตามสมรรถนะ เพ่อื เพิ่มคณุ ภาพเดก็ ตามวยั 0-5 ปี หวั ข้อท่ี 7 เดก็ สามารถชว่ ย และพึง่ ตนเองได้ อายุ 0 – 3 ปี พฤติกรรมบ่งช้ี ขอ้ 110 – 133 อายุ 3 – 5 ปี พฤตกิ รรมบ่งชี้ ข้อ 79 – 101 การรบั ประทานอาหาร อายุ 0 – 3 ปี วธิ กี าร 1. ให้เด็กกินอาหารท่ีสะอาดและป้องกนั โรคที่ตดิ ต่อได้จากการกนิ (เช่น พ่อแม่ไม่ควรเป่า อาหารของเด็ก หรือผ้ใู หญ่ไมอ่ มอาหารของเด็กก่อนใหเ้ ด็กรบั ประทานอาหาร) 2. ควรให้เด็กด่มื นำ้ หลงั อาหารมากกวา่ การดมื่ น้ำคำกินขา้ วคำ 3. ช้ีชวนให้เด็กหยิบอาหารหรือผลไม้ชิ้นเล็กๆ กิน พร้อมกับชวนเด็กคุยเก่ียวกับอาหารท่ี รบั ประทาน 4. นำถ้วยน้ำท่ีไม่ได้ทำด้วยแก้ว ชนิดมี 1 หู หรือ 2 หู หรือไม่มีหู สำหรับให้เด็กยกด่ืม โดยมีผใู้ หญ่คอยชว่ ยประคองถว้ ยน้ำ และในท่สี ุดควรเปดิ โอกาสใหเ้ ดก็ ไดท้ ำด้วยตนเอง 5. ให้โอกาสเด็กกินอาหารด้วยตนเองเป็นท่ีเป็นทาง โดยผู้ใหญ่จัดชามพลาสติกก้นกว้างท่ี หกยากและไม่แตก ช้อนมีด้ามจับได้ง่ายขอบมนขนาดเหมาะกับปากของเด็ก โดยชมเชยเม่ือเด็กตัก อาหารกนิ เองไดแ้ ม้เดก็ จะทำหกบา้ ง 6. พูดคุยกับเด็กเรื่องอาหาร เช่น ช่ืออาหาร รสชาติ พร้อมให้โอกาสเด็กหัดสังเกต คิด และมสี ่วนร่วมในการไปซื้อหา ช่วยทำอาหาร และจัดโตะ๊ อาหาร ข้อควรระวัง ผู้ใหญ่เตรียมอาหารที่สะอาด มีประโยชน์ครบ 5 หมู่ และหลากหลาย ตัด เป็นชิ้นเพ่ือให้เด็กตักป้อนด้วยตนเอง ซ่ึงควรเป็นอาหารท่ีกัด เค้ียว กลืนได้ง่าย เร่ิมจากชนิดที่เด็ก ชอบ แล้วจึงเพิ่มให้กินอย่างอื่น จนมีความหลากหลายตามอาหารของครอบครัว ควรละเว้นของ หมักดอง อาหารที่มรี สจดั อาหารที่ใส่ผงชรู ส สฉี ดู ฉาด ขนมกรุบกรอบและนำ้ อัดลม 3 - 16
แนวแนะวธิ ีการเลย้ี งดู ดแู ล และพฒั นาเด็กปฐมวัย ตามสมรรถนะ เพ่อื เพมิ่ คุณภาพเด็กตามวยั 0-5 ปี อายุ 3 – 5 ป ี วิธกี าร 1. ผู้ใหญ่ยังคงฝึกทักษะการรับประทานอาหารให้เด็กอย่างต่อเนื่องโดยฝึกการใช้ส้อม และมดี โต๊ะตามลำดบั เม่อื เดก็ ทำได้ ควรชมเชย 2. เตรียมอาหารท่ีสะอาด ให้กรอบ/นุ่ม ตดั เป็นชน้ิ เพอ่ื ใหเ้ ด็กตักปอ้ นเอง กัด เคย้ี ว หรือ กลืนได้งา่ ย ใหอ้ าหารทีม่ ปี ระโยชน์ ครบ 5 หมู่ เรม่ิ จากชนดิ ท่ีเดก็ กชอบ แล้วคอ่ ยเพม่ิ ใหช้ มิ อย่างอืน่ จนมีความหลากหลาย แตค่ วรละเวน้ ของหมักดอง อาหารรสจดั อาหารทใี่ ส่ผงชูรส สีฉูดฉาด ขนม กรุบกรอบ น้ำหวานและนำ้ อัดลม 3. ชี้ชวนให้ลูกสนใจใช้ประสาทสัมผัสต่างๆ เพ่ือเรียนรู้เรื่องอาหาร (เช่น ชื่ออะไร รสชาติ อย่างไร ทำมาจากอะไร มีประโยชน์อย่างไร) โดยพูดคุยเพื่อให้ลูกหัดสังเกต คิด และมีส่วนร่วมใน การซอ้ื หา ช่วยทำกับขา้ ว จัดโตะ๊ และเก็บภาชนะ 4. ชวนลูกมาล้างผัก ผลไม้ก่อนนำไปรับประทาน 5. หลีกเล่ียงการบังคับป้อนอาหาร ดุว่า ขู่ เวลาลูกปฏิเสธที่จะกินอาหาร ควรงดของ หวาน ขนม นำ้ หวาน นำ้ อัดลมก่อนอาหาร 6. ผู้ใหญ่เป็นตัวอย่างในการรับประทานอาหารเพ่ือสุขภาพ รับประทานผักผลไม้และดื่ม น้ำสะอาดให้มากพอ ผู้ใหญ่ต้องเป็นแบบอย่างในการรับประทานอาหารท่ีสุภาพ และมีมารยาท ได้แก่ การใช้ช้อนกลางตักอาหารในสำรับที่รับประทานด้วยกัน การแบ่งปันอาหารที่ชอบ การช่วย เล่ือนจานอาหาร หรือตักอาหารให้กัน การแสดงความเอาใจใส่ต่อกันระหว่างรับประทานอาหาร ตลอดจนการพูดขอบคณุ และชนื่ ชมผทู้ ที่ ำอาหารให้ หรือผทู้ ชี่ ว่ ยเหลือ การขับถา่ ย อายุ 0 – 3 ป ี วิธีการ 1. เดก็ เริม่ หัดควบคุมการขบั ถา่ ยอจุ จาระระหว่างอายุ 2 - 3 ปี และปสั สาวะระหว่างอายุ 3 - 4 ปี การฝึกให้เด็กเรียนรู้ที่จะช่วยเหลือและดูแลตนเองอย่างถูกสุขลักษณะ รู้สึกดีที่ทำเองได้ และเกิดความภาคภูมิใจ ผู้ใหญ่ควรดูแลห้องส้วมให้สะอาด มีแสงสว่าง ปลอดภัย มีอากาศถ่ายเท ไมเ่ หม็นหรืออบั ทบึ 2. พูดคุยแสดงการรับรู้เม่ือเด็กแสดงท่าทางบ่งบอกถึงความต้องการจะขับถ่ายอุจจาระ หรือปัสสาวะ 3. พาเด็กไปนั่งถา่ ยเม่ือสังเกตเหน็ หน้าตาท่าทางแสดงอาการอยากขับถ่าย 3 - 17
แนวแนะวธิ ีการเลย้ี งดู ดแู ล และพฒั นาเดก็ ปฐมวยั ตามสมรรถนะ เพอ่ื เพิม่ คุณภาพเดก็ ตามวัย 0-5 ป ี 4. จัดที่ให้เด็กขับถ่ายได้โดยไม่ต้องกลัวตก (เช่น ชักโครกมีฝารองนั่งแคบ มีเก้าอี้รองเท้า หรือมที ่จี บั ในกรณีเปน็ สว้ มนัง่ ยอง หัดใหน้ งั่ ข้างๆ หรือหาไมพ้ าดกลางสำหรับใหเ้ ด็กเหยียบไดอ้ ยา่ ง มัน่ คง) 5. สอนเด็กทีละเล็กทีละน้อยจนในที่สุดเด็กทำได้ หรือเสริมด้วยหนังสือภาพในการ ทำความสะอาดเมื่อขับถ่าย (เช่น การราดน้ำ การท้ิงขยะลงถัง ดูแลไม่ให้เลอะเทอะ) รวมทั้งสอน การทำความสะอาดร่างกายภายหลังการขับถ่ายให้สะอาดหมดจด และให้เด็กล้างมืออย่างถูกต้อง ทุกครง้ั หลงั การขบั ถา่ ย 6. ในการทำความสะอาดอวัยวะหลังการขับถ่ายให้ทำความสะอาดจากด้านหน้าไปด้าน หลัง 7. เม่ือเด็กถ่ายไม่เป็นท่ี อย่าทำกริยารังเกียจหรือดุว่า แต่ผู้ใหญ่ต้องพาเด็กมาทำความ สะอาดร่างกาย หลังจากนั้นจึงพูดคุยกับเด็กให้บอกผู้ใหญ่เวลาปวดท้องอยากอุจจาระ (อึ อึ๊ ฯลฯ) และปัสสาวะ (ฉ่ี ชิ้งฉ่อง ฯลฯ) หรือใชค้ ำสุภาพท่พี ดู กันในครอบครัว 8. ชมเชยและให้กำลังใจเมื่อเด็กพยายามทำตามที่สอน แม้จะยังไม่เรียบร้อย ควรช่วย เหลอื และแนะนำให้เด็กทำจนสำเรจ็ 9. ในกรณีใช้ส้วมสาธารณะ ควรสอนให้เด็กใช้อย่างระมัดระวังท้ังในเรื่องความปลอดภัย ความสะอาด และอนามยั สว่ นตวั ควรฝกึ ใหเ้ ดก็ เตรยี มตวั ในการขบั ถา่ ยกอ่ นการเดนิ ทางทใี่ ชเ้ วลานาน 10. เมอ่ื เดก็ เดนิ ได้คล่องแล้ว พอ่ แม่/ผปู้ กครองควรฝกึ เดก็ ให้ขับถ่ายเปน็ เวลา อายุ 3 – 5 ป ี วิธีการ 1. แนะนำให้เด็กดืม่ นำ้ กินผัก ผลไม้ให้มากพอเพอ่ื ใหข้ ับถ่ายได้ดี 2. สถานพัฒนาเด็กปฐมวัยควรมีป้ายประกอบภาพเพื่อแสดงข้ันตอนและการปฏิบัติที่ถูก วิธีในการใชห้ ้องนำ้ หอ้ งส้วม 3 - 18
แนวแนะวธิ ีการเล้ียงดู ดูแล และพัฒนาเด็กปฐมวัย ตามสมรรถนะ เพ่อื เพมิ่ คณุ ภาพเดก็ ตามวยั 0-5 ป ี การทำความสะอาดรา่ งกาย อายุ 0 – 3 ป ี วธิ กี าร 1. อธิบายให้เด็กรู้ถึงสาเหตุท่ีต้องแปรงฟันโดยใช้วิธีการเปรียบเทียบง่ายๆ ที่เด็กเข้าใจ (เช่น เวลากินข้าวเสร็จ จานจะเลอะเศษอาหาร เราจึงต้องล้างจานให้สะอาด เช่นเดียวกับฟัน เม่ือ เคี้ยวอาหารเสร็จ เราตอ้ งแปรงฟนั ให้สะอาด) 2. ช่วยแปรงฟันของเด็กให้สะอาด และค่อยๆ ปล่อยทีละเล็กทีละน้อยให้เด็กทำเอง หาก เด็กยงั ทำไมไ่ ด้ ต้องช่วยเหลอื จนเด็กสามารถทำได้ในท่สี ุด 3. สอนวิธีการแปรงฟนั ที่ถูกต้องโดยใชน้ ิทานหรอื พ่อแม่ทำเป็นตวั อยา่ งใหด้ ู อายุ 3 – 5 ปี วธิ ีการ 1. พูดคุยกับลูกเร่ืองความสำคัญของการรักษาความสะอาดร่างกาย ให้ลูกหัดแยกแยะ เวลาท่ีร่างกายเปรอะเป้ือน กับเวลาที่ทำความสะอาดแล้วว่ารู้สึกแตกต่างกันอย่างไร ให้ลูกมีส่วน ร่วมในการเตรยี มอุปกรณ์ เสือ้ ผา้ ผ้าเชด็ ตวั สบู่ ขัน แปรงสีฟัน ฯลฯ 2. สอนให้เด็กรู้จักสำรวจและสังเกตตนเองและสิ่งแวดล้อมเก่ียวกับความสะอาด (เช่น เม่ือสังเกตเห็นเล็บของตนเองดำควรบอกให้ผู้ใหญ่ตัดเล็บให้ ไปล้างมือเม่ือสังเกตเห็นมือของตนเอง เลอะ หรือเมอ่ื เดก็ สงั เกตเห็นเกา้ อส้ี กปรกจะไม่นั่งลงไป ฯลฯ) 3. ล้างมือให้ลูกด้วยน้ำกับสบู่ ถูให้ทั้งฝ่ามือ หลังมือ และซอกนิ้วกับเล็บ และเช็ดด้วยผ้า สะอาด ฝกึ ให้ลกู ทำเปน็ ขั้นตอน และชมเชยใหก้ ำลงั ใจสรา้ งสขุ ปฏิบตั ิในการลา้ งมือกอ่ นรับประทาน อาหารและหลังขับถ่ายทกุ ครงั้ 4. แปรงฟันอย่างถูกวิธีเป็นตัวอย่างให้ลูกดู เล่าเก่ียวกับประโยชน์ และความจำเป็นของ การแปรงฟัน อาจใช้การเล่านิทานด้วย (เช่น แปรงให้ทั่วถึง ใช้ยาสีฟันเพียงเล็กน้อย แปรงฟันใน ตอนเช้า หลงั อาหาร และกอ่ นนอน) ต่อมาจงึ จบั มอื ใหล้ กู แปรงฟนั แลว้ จงึ ให้ลกู แปรงฟนั ด้วยตนเอง แต่ผู้ใหญ่ยงั ตอ้ งชว่ ยตรวจดู โดยเฉพาะฟันกรามและด้านในของฟันหน้า 5. สถานพัฒนาเด็กปฐมวัยอาจนำแบบจำลองฟัน (ถ้ามี) มาสาธิตการแปรงฟัน และให้ เดก็ ๆ ทดลองแปรงแบบจำลองฟัน และแปรงฟนั ของตนเอง ชช้ี วนคยุ กบั เดก็ เก่ยี วกบั ประโยชนแ์ ละ ความจำเปน็ ในการแปรงฟัน ให้เดก็ สาธิตให้เพือ่ นๆ ดูวธิ ีการแปรงฟันทถี่ ูกตอ้ ง 6. ชวนเด็กพูดคุยเร่ืองการทำความสะอาดร่างกาย และวิธีทำความสะอาดส่วนต่างๆ ของ รา่ งกาย รวมทงั้ ชวนเดก็ ให้ความร่วมมือกบั พ่อแม่/ผปู้ กครอง เวลาอาบนำ้ หรอื สระผมทบี่ า้ น 7. ฝกึ อาบนำ้ โดยใหเ้ ดก็ มสี ว่ นรว่ มถตู วั ดว้ ยสบู่ สระผมดว้ ยแชมพู ราดนำ้ ลา้ ง เชด็ ตวั /ผม เมื่อผูใ้ หญ่เห็นลูกทำได้ดีจึงใหท้ ำเองโดยผู้ใหญ่ยังต้องกำกบั ดูแลอยู่ดว้ ย 3 - 19
แนวแนะวิธีการเล้ียงดู ดแู ล และพฒั นาเด็กปฐมวัย ตามสมรรถนะ เพือ่ เพ่มิ คุณภาพเด็กตามวยั 0-5 ปี การแต่งกาย อายุ 0 – 3 ปี วิธกี าร 1. ขณะที่แตง่ ตัวให้เด็ก ผู้ใหญ่ควรพดู คยุ ถึงวธิ ีการใสเ่ ส้ือผ้า (เชน่ บอกใหเ้ ด็กยกแขนขณะ ใส่แขนเสื้อ หรือยกขาขณะใส่ขากางเกง) ผู้ใหญ่ควรให้ความช่วยเหลือเด็กก่อน เม่ือเด็กทำได้ควร ชมเชยและใหเ้ ดก็ ทำเอง 2. ช้ีชวนให้เด็กหัดสังเกตด้านหน้า ด้านหลัง ด้านนอก ด้านในของเส้ือ กางเกง แล้วให้ ลองใส่เองโดยผใู้ หญ่ใหค้ วามชว่ ยเหลอื ก่อน เมอื่ เด็กทำไดค้ วรชมเชยและใหเ้ ด็กทำเอง 3. ใหโ้ อกาสเดก็ ไดล้ องถอดกางเกงดว้ ยตนเอง หากเดก็ ทำไมไ่ ด้ผ้ใู หญค่ วรช่วยเหลือ 4. ช่วยเด็กได้เรียนรู้ทักษะการใส่รองเท้า โดยให้เด็กสังเกตรองเท้าข้างซ้ายและข้างขวา หัดจับคู่รองเท้าก่อนสวมใส่ ให้เด็กลองใส่รองเท้าเองก่อนโดยผู้ใหญ่คอยช่วยเหลือเมื่อเด็กทำไม่ได้ ซ่ึงเดก็ อาจลองผิดลองถูกได ้ อายุ 3 – 5 ป ี วธิ กี าร 1. ช่วยใหเ้ ดก็ ไดเ้ รยี นรูท้ ักษะการแยกเสอ้ื ดา้ นหนา้ ดา้ นหลัง ถอดหรือตดิ กระดมุ แปะ๊ หรือ แถบปะติด ถอดและใส่กระดุมท่ีมีรังดุมจากเม็ดแรกไปเม็ดสุดท้าย ท้ังน้ีลูกอาจใช้วิธีลองผิดลองถูก พ่อแม่ต้องไม่ตำหนิลูก แต่ควรค่อยๆ ช้ีแนวทาง หากพ่อแม่ทำให้โดยลูกไม่ได้ทำเอง ลูกอาจรู้สึก ขดั ใจ 2. ชช้ี วนใหล้ กู หดั สงั เกตดา้ นหน้า ด้านหลงั ดา้ นนอก ดา้ นในของเสื้อผ้า รองเท้าขา้ งซา้ ย ขา้ งขวา แลว้ ใหล้ องใสเ่ อง โดยผใู้ หญใ่ หค้ วามชว่ ยเหลอื กอ่ น เมอ่ื เดก็ ทำไดค้ วรชมเชยและใหท้ ำเอง 3. หดั ใหเ้ ด็กสอ่ งกระจก หวผี มให้เดก็ หนา้ กระจกและฝึกหัดใหเ้ ด็กหวเี อง 4. จัดกจิ กรรม หรอื เกมเกี่ยวกับการแต่งกาย (เชน่ ว่ิงเป้ยี วใสเ่ สอื้ แขง่ ขันติดกระดุมเสื้อ) 3 - 20
แนวแนะวธิ กี ารเลยี้ งดู ดูแล และพัฒนาเดก็ ปฐมวยั ตามสมรรถนะ เพ่ือเพมิ่ คุณภาพเดก็ ตามวัย 0-5 ปี การดแู ลสขุ อนามยั อายุ 0 – 3 ป ี วิธีการ 1. ให้โอกาสเด็กร่วมทำงานบ้านง่ายๆ พร้อมผู้ใหญ่ (เช่น ถือของ เก็บของเล่นเข้าที่ กวาดบา้ น ปดั ฝ่นุ ถูบา้ น รดน้ำตันไม้ นำจานไปเก็บในท่ีล้างจาน ช่วยลา้ งรถ พบั เกบ็ และแขวนเสือ้ ซกั ชดุ ช้นั ใน ตากเสื้อผ้า จดั โต๊ะเก้าอี้ จดั ของเขา้ ที่ ฯลฯ) 2. พูดคุยกับเด็กเรื่องความสำคัญของการล้างมือ โดยให้เด็กมีโอกาสในการเตรียมอุปกรณ์ (เช่น สบู่ ขัน ผา้ เชด็ มอื ) 3. ล้างมือให้เด็กด้วยน้ำกับสบู่ ถูให้ท่ัวทั้งฝ่ามือ หลังมือ ซอกน้ิวและเล็บ แล้วเช็ดด้วยผ้า สะอาด โดยฝึกเด็กให้ทำเปน็ ขั้นเปน็ ตอนและชมเชยเม่ือเดก็ ทำได ้ 4. ให้เด็กได้ล้างมือก่อนกินอาหารและหลังขับถ่ายทุกคร้ังและให้โอกาสเด็ก เปิด – ปิด กอ๊ กนำ้ ด้วยตนเอง และสอนใหร้ ้จู ักปดิ ก๊อกน้ำเมอื่ เลิกใช้น้ำ โดยพอ่ แม่ชมเชยเมือ่ เดก็ ทำได้ อายุ 3 – 5 ปี วิธีการ 1. เป็นแบบอย่างแก่เด็กในการรักษาความสะอาด และความเรียบร้อยของบ้าน/สถาน พัฒนาเด็กปฐมวัย (เช่น เก็บข้าวของเป็นที่เป็นทาง เก็บยาในตู้ยา เก็บของมีคมในครัวอย่าง ปลอดภัย) ท้ิงและกำจัดขยะอย่างเหมาะสม (เช่น ทิ้งเศษอาหาร หรือเศษกระดาษห่อขนมใน ถงั ขยะ) 2. จัดให้เด็กมีภาชนะของตนเอง ไม่รับประทานอาหาร หรือด่ืมน้ำจากภาชนะที่ผู้อื่นใช้ แล้วและยังไม่ได้ล้าง (เช่น ตู้ดื่มน้ำสาธารณะซ่ึงใช้แก้วร่วมกัน การใช้ปากรองน้ำจากก๊อกน้ำ โดยตรง) 3. ให้เด็กมีส่วนร่วมรับรู้และทำงานตามกำลัง (เช่น เก็บที่นอนและผ้าห่มเมื่อต่ืนนอน) รกั ษาบรเิ วณบ้าน/สถานพฒั นาเด็กปฐมวัยใหส้ ะอาดเรียบร้อย (เช่น กวาดบ้าน กวาดชั้นเรียน) 4. เวลาเด็กเป็นหวัด ควรให้เด็กใช้ผ้าปิดปากกับจมูกเวลาไอหรือจาม หัดให้เด็กไม่ใช้มือ ปา้ ยนำ้ มูกหรือเสมหะ หรือถม่ นำ้ ลายในทีส่ าธารณะ หรอื ตามส่งิ ของหรือตามเส้ือผา้ เวลาไปทีต่ า่ งๆ ไมค่ วรเอามือไประตามผนัง ราวบันได หยบิ จับของไปเรื่อย หรือแหย่สตั ว์เลน่ นอกจากนี้ผู้ใหญต่ อ้ ง ฝึกเด็กให้รู้จักล้างมือเม่ือมือเปรอะเป้ือน รวมท้ังฝึกเด็กให้หัดถามผู้ใหญ่ทันทีหากเด็กสงสัยเรื่อง ความสกปรกหรือความสะอาด สอนให้เข้าใจและรู้จักดูแลป้องกันตนเองในกรณีท่ีอยู่ร่วมกับ ผู้มอี าการของโรคตดิ ต่อ (เช่น หวดั อสิ ุกอิใส มอื เทา้ ปาก ตาแดง หรอื เมือ่ เพือ่ นเป็นเหา) 3 - 21
แนวแนะวธิ ีการเล้ียงดู ดูแล และพัฒนาเดก็ ปฐมวยั ตามสมรรถนะ เพื่อเพ่มิ คณุ ภาพเด็กตามวัย 0-5 ปี หวั ขอ้ ที่ 8 เดก็ แสดงทกั ษะในการมปี ฏสิ มั พนั ธก์ ับผ้ใู หญ ่ อายุ 0 – 3 ปี พฤติกรรมบ่งช้ี ข้อ – อายุ 3 – 5 ปี พฤตกิ รรมบ่งช้ี ข้อ 102 – 119 อายุ 0 – 3 ป ี – อายุ 3 – 5 ปี วธิ กี าร 1. เปิดโอกาสให้เด็กได้มีเวลาอยู่ร่วมกับผู้ใหญ่ทุกวันเพ่ือรับฟัง พูดคุย ซักถาม เอาใจใส่ กันและกัน แสดงความเอ้ืออาทรต่อกัน แสดงความรักและผูกพันโดยไม่ควรแบ่งแยกให้เด็กอย ู่ ส่วนเด็ก และผูใ้ หญ่อยสู่ ว่ นผใู้ หญ่ หรือให้เด็กนัง่ เฉยๆ เวลาผใู้ หญ่คยุ กนั หรอื รว่ มวงสนทนากัน หรอื ในขณะรับประทานอาหารจะห้ามเด็กพูดหรอื มปี ฏสิ ัมพนั ธ ์ 2. ผู้ใหญ่ท่ีมีเด็กร่วมนั่งอยู่ด้วยต้องมีสีหน้าท่ีเป็นมิตรต่อเด็ก และที่สำคัญอย่าเมินเด็ก ตอ้ งให้ความสำคญั กับเด็กด้วยการ พดู / คุย / ถามหา / แสดงความสนใจ / โอภาปราศรัย 3. ให้เด็กมีส่วนร่วมในกิจกรรมในฐานะท่ีเป็นสมาชิกคนหนึ่งในครอบครัว / สถานพัฒนา เด็กปฐมวยั (เชน่ ร่วมรับรู้ ช่วยถือของ / หยิบของ ช่วยเกบ็ ของเลน่ เก็บทน่ี อน พับเส้ือ ฯลฯ) 4. เวลาที่เด็กแสดงกริยาที่ไม่เหมาะสมกับผู้ใหญ่ ไม่ควรใช้วาจาก้าวร้าวกับเด็ก ด้วยการดุ ทนั ที หรอื ตเี ดก็ แตค่ วรอธบิ ายดว้ ยนำ้ เสยี งปกติ พรอ้ มขอโทษผใู้ หญเ่ ปน็ ตวั อยา่ ง เพอื่ ใหเ้ ดก็ ขอโทษตาม ห มายเหตุ : เน่ืองจากคนไทยถือเรื่องขนบธรรมเนียม ไปลา–มาไหว้ ไม่ใช้เท้า ไม่เอา รองเท้าข้ึนเตียง ผู้ใหญ่ต้องบอกเด็กว่าควรทำอย่างไร พร้อมอธิบายเหตุผลสั้นๆ และให้เด็กทำจน เกิดความเคยชนิ 5. พาเด็กไปเย่ียมญาติหรือเพื่อนบ้าน เพ่ือเรียนรู้วิธีการเข้าสังคมของผู้ใหญ่เกิดความ คุ้นเคย และไม่เขินอาย รวมท้ังเป็นแบบอย่างท่ีดีในการปฏิบัติตนและใช้คำพูดท่ีเหมาะสมกับบุคคล สถานท่ีและเวลา รวมท้ังแนะนำลูกแสดงความเคารพ โดยใช้น้ำเสียงกริยาท่าทางสุภาพต่อผู้ใหญ่ ญาติ ครู พระ นักบวช และชช้ี วนให้เดก็ สำรวมขณะอยใู่ นวดั ในโบสถ์ เปน็ ต้น 3 - 22
แนวแนะวธิ ีการเลี้ยงดู ดแู ล และพฒั นาเด็กปฐมวยั ตามสมรรถนะ เพ่ือเพิม่ คณุ ภาพเดก็ ตามวยั 0-5 ป ี 6. ผู้ใหญ่ประพฤติตนเป็นแบบอย่างในการควบคุมอารมณ์ และการแสดงออกอย่าง เหมาะสม และพูดคุยแนะนำเด็ก (เช่น การบอกเล่าความรู้สึกของตนเองโดยไม่แสดงความก้าวร้าว การแสดงออกถึงการขอโทษ การไม่ทะเลาะกันระหว่างผู้ใหญ่ต่อหน้าเด็ก) รวมทั้งการไม่แสดง ความรุนแรงทั้งคำพูดและการกระทำให้เด็กเห็น อย่างไรก็ตาม เมื่อเด็กแสดงอาการขว้างของ ทุบตี ซง่ึ เกิดขึ้นกับบคุ คลทใ่ี กลช้ ิดเด็ก หรอื คนค้นุ เคย หรือพเ่ี ล้ียงเดก็ ผู้ใหญต่ อ้ งศกึ ษาและหาสาเหตุของ การกระทำดังกล่าว 7. เวลาเด็กแสดงอาการว่าต้องการอะไรบางอย่างทันที ผู้ใหญ่ต้องให้ความสนใจก่อนแล้ว จึงค่อยๆ อธิบาย หากจำเป็นต้องให้เด็กรอคอย ควรอธิบายว่าต้องรอคอยระยะนานเท่าใดและ อย่าพดู ปด หรอื หลอกเด็กโดยเดด็ ขาด เพราะเด็กจะขาดความเชอื่ ถือและไมไ่ วว้ างใจ 8. ฝึกมารยาทเด็กในการสนทนา (เช่น รจู้ ักฟงั รจู้ งั หวะในการพดู ไมพ่ ูดแทรกขณะคนอนื่ กำลังพูด รู้จักวิธีพูดทางโทรศัพท์ รู้จักตอบคำถามเม่ือถูกถาม รู้จักใช้คำสุภาพ ฯลฯ) นอกจากน้ี ควรสอนเด็กเกี่ยวกับการฟังผู้ใหญ่พูดในบางเรื่องท่ีเด็กฟังไม่รู้เรื่อง ซึ่งผู้ใหญ่อาจอธิบายเป็นภาษาที่ เดก็ ได้เข้าใจ หรืออธบิ ายแนวความคิด แลว้ ผลดั กันฟัง ผลัดกันพูด ไมแ่ ย่งกันพดู 9. เมือ่ เดก็ ชวนผูใ้ หญ่เลน่ ด้วยควรเล่นกับเดก็ 10. ต้องสังเกตว่าเด็กเข้าใจส่ิงท่ีผู้ใหญ่ได้ถ่ายทอดและสื่อสารหรือไม่ หากเด็กไม่เข้าใจ ผูใ้ หญต่ ้องไมด่ แุ ตค่ วรสอ่ื สารอย่างง่ายๆ กับเดก็ ก่อน (เชน่ เด๋ียวพอ่ มา ลกู จึงบอกพอ่ ว่า ลกู ต้องการ อะไร พร่งุ น้คี ุณครใู ห้นักเรยี นนำดอกไม้มาโรงเรยี นคนละ 1 ดอก) คำกลา่ วสมยั ใหม่ “รกั ววั ให้ผูก ร กั ลกู ให้กอด” โดยคณะทำงานฯ 3 - 23
แนวแนะวธิ ีการเล้ยี งดู ดแู ล และพัฒนาเด็กปฐมวัย ตามสมรรถนะ เพือ่ เพิม่ คณุ ภาพเดก็ ตามวัย 0-5 ปี หัวขอ้ ที่ 9 เดก็ แสดงทกั ษะทางสังคมเชิงบวกกบั เพอ่ื นเด็กดว้ ยกัน อายุ 0 – 3 ปี พฤตกิ รรมบง่ ชี้ ข้อ – อายุ 3 – 5 ปี พฤตกิ รรมบ่งชี้ ข้อ 120 – 133 อายุ 0 – 3 ป ี – อายุ 3 – 5 ปี วธิ กี าร 1. สร้างโอกาสให้เดก็ ไดม้ เี พ่ือนเลน่ ด้วยกัน ในวยั เดียวกนั รวมท้งั เด็กทโี่ ตกว่าเล็กกวา่ (เชน่ พาลูกไปเล่นกบั ลกู เพ่ือน ชวนเดก็ ๆ มาเล่นกนั ทบี่ ้าน ใหเ้ วลาเด็กเลน่ ดว้ ยกนั ทโ่ี รงเรียน) 2. แนะนำให้เด็กรู้จักเล่นด้วยกัน หรือผลัดกันเล่นของเล่น หรือเล่นเป็นกลุ่ม เป็นคู่ เพ่ือ จะไดม้ โี อกาสเลน่ ทุกคนและรจู้ ักแบง่ ปันกัน 3. จัดให้เด็กได้มีโอกาสพูดคุยกับเพ่ือน หรือลูกหลาน ญาติพ่ีน้อง รวมทั้งเพื่อนท่ีโรงเรียน เพือ่ สร้างความใกลช้ ิด ชว่ ยกนั คดิ และเรยี นรทู้ ักษะเชงิ สังคม 4. พูดคุยกับเด็ก อ่านหรือเล่านิทานเก่ียวกับความสัมพันธ์ระหว่างเพื่อนๆ กลุ่มเด็ก หรือ เด็กกับสัตว์ต่างๆ ที่เล่นกันเป็นกลุ่ม รวมทั้งอธิบายความสำคัญของความสัมพันธ์ที่ดีต่อกัน แล้วดึง กรณีท่ีมีปัญหา หรือสถานการณ์มาพูดคุยเพื่อให้เด็กคิดหาคำตอบในการแก้ปัญหาท่ีเก่ียวกับความ สัมพนั ธร์ ะหวา่ งเพ่อื นๆ ด้วยกนั เอง 5. เลา่ เร่อื ง ยกตวั อยา่ ง และคยุ กบั เด็กเกี่ยวกับสถานการณท์ ี่มีความขัดแย้งระหวา่ งเพอ่ื น เพือ่ ใหเ้ ดก็ ได้คดิ แกป้ ญั หาดว้ ยการใชค้ ำพดู ทปี่ ระนีประนอม หรอื ดว้ ยสนั ตวิ ิธี (เช่น ถา้ เพอ่ื นแย่งของ เลน่ กัน แลว้ หนจู ะทำอย่างไร หรือ ถ้าเพอ่ื นมาแย่งของเลน่ ของหนแู ลว้ หนูจะทำอย่างไร) ในกรณีท่ีเด็กๆ มีความขัดแย้งกันเอง ให้ผู้ใหญ่เฝ้ามองการแก้ปัญหาของเด็กก่อนใน ระยะตน้ อยา่ ดว่ นเขา้ ไปทำโทษ หรอื ตี หรอื ดเุ ดก็ ๆ ใหแ้ ยกเดก็ ๆ ออกจากกนั เพอ่ื ไมใ่ หเ้ กดิ อนั ตราย ใหเ้ ดก็ ๆ ให้เหตุผลทงั้ 2 ฝา่ ย และใชค้ ำพดู ทชี่ ว่ ยให้เด็กเขา้ ใจ และใหอ้ ภัยกนั และกัน โดยไม่จำเปน็ ต้องสอบสวนหาวา่ ใครเปน็ ผ้กู ระทำผิด ถา้ ไม่ใช่เรื่องใหญ่โต แล้วชวนให้เด็กๆ ไปเลน่ กันต่อ ในกรณี ท่เี ปน็ เร่อื งสำคัญ ต้องใช้วิธสี บื หาข้อมูลจนกระจา่ งชัด และนำค่กู รณีมาอธบิ าย และดำเนนิ การโดยมี วัตถุประสงค์ท่ีจะให้ฝ่ายที่ทำผิด สำนึกผิดและขอโทษ และผู้ถูกกระทำรู้จักยอมรับคำขอโทษ และ ให้อภัย 3 - 24
แนวแนะวธิ ีการเล้ียงดู ดูแล และพฒั นาเด็กปฐมวัย ตามสมรรถนะ เพอ่ื เพม่ิ คุณภาพเด็กตามวัย 0-5 ป ี ข้อควรระวัง เด็กส่วนใหญ่จะไม่ยอมรับว่าตนเองกระทำผิด ในขณะที่ผู้ใหญ่จะคิดว่า เด็กพูดปดไปก่อนซึ่งเป็นวิธีคิดท่ีไม่เหมาะสม เอ่ยปากชมเม่ือเด็กได้ช่วยเหลือเพื่อนทำส่ิงต่างๆ ตามสมควร 6. คุยกับลูก หรือเด็กๆ ว่าเพ่ือนบางคนจะมีน้ำใจอยากช่วยเหลือ เมื่อเพ่ือนทำอะไร ให้ ช่ืนชมด้วยการพูดขอบคุณเพ่ือน และรู้จักช่วยเพ่ือนตามสมควร เป็นการตอบแทน ไม่คาดหวังว่า ต้องมีคนชว่ ย และไม่ตำหนิเพ่อื นท่ีไม่เข้ามาชว่ ยเหลือ ข้อควรระวัง เด็กจะชอบแย่งกันระหว่างเด็กด้วยกันเพื่อเป็นท่ีหน่ึง (เช่น ต้องได้เข้า แถวเปน็ คนแรก ต้องไดส้ มุดกอ่ นเพอื่ น) เพราะเด็กเกิดความรสู้ ึกอยากแข่งขัน ดงั นั้น ผู้ใหญ่จะต้อง รู้จักการจัดการ (Manage) กับเด็กโดยให้เด็กรู้สึกว่าการเป็นคนแรกไม่ใช่เรื่องสำคัญ ท้ังนี้โดยปกติ ผู้ใหญ่ชอบให้รางวัลหรือคำชมเชยแก่เด็กท่ีทำอะไรเป็นคนแรก ซ่ึงจะเป็นการตอกย้ำให้เด็กแข่งขัน กันมากท่ีสุด ในกรณีนี้ ผู้ใหญ่ต้องเข้าใจและมีแนวความคิดเก่ียวกับความเสมอภาค ความเท่าเทียม ทางโอกาส และความยุติธรรม การส่งเสริมให้เด็กไม่สนใจการแข่งขันจะช่วยให้เด็กรู้จักวัฒนธรรม การเข้าคิว 7. เด็กอาจแสดงพฤติกรรมก้าวร้าวต่อกัน ในกรณีนี้ ผู้ใหญ่ควรอธิบายให้เด็กเข้าใจเช่น เดียวกัน โดยหาเหตุผลป้องกันมิให้เกิดข้ึน (เช่น หากให้เด็กทำกิจกรรมร่วมกัน ต้องมีกติกา ข้อ ตกลงให้ชัดเจน) ท้ังนี้กติกาดีท่ีสุดคือ ให้เด็กร่วมสร้างกติกาน้ันๆ ระหว่างกัน ที่ทุกคนต้องปฎิบัติ อย่างไรกต็ าม จะมีเดก็ ทีช่ อบเล่นรนุ แรง แกล้งเพื่อน เมอื่ สถานการณ์เช่นนเ้ี กิดขน้ึ ผ้ใู หญต่ ้องเขา้ มา สงั เกต เพราะเด็กทีอ่ อ่ นแอกวา่ จะไม่กลา้ ฟ้อง พร้อมกนั น้ีผู้ใหญต่ ้องเข้ามาช่วยและหาสาเหตุ เพราะ เด็กก้าวร้าวบางคนอาจมีสาเหตุจากสารเคมีในร่างกายมิใช่ “นิสัยของเด็ก” ซึ่งต้องแนะนำหรือ พาเด็กไปรบั คำปรกึ ษาจากแพทย ์ คำกลา่ วสมัยใหม่ “จะเล้ยี งลกู ไดด้ ี ผ ู้ใหญต่ อ้ งใจเย็น” โดยคณะทำงานฯ 3 - 25
แนวแนะวธิ กี ารเลี้ยงดู ดแู ล และพฒั นาเดก็ ปฐมวัย ตามสมรรถนะ เพือ่ เพิ่มคณุ ภาพเดก็ ตามวัย 0-5 ป ี หัวขอ้ ท่ี 10 เดก็ แสดงความตระหนักรวู้ า่ พฤตกิ รรมมีผลกระทบต่อบคุ คล และส่ิงแวดล้อม อายุ 0 – 3 ปี พฤตกิ รรมบง่ ช้ี ขอ้ – อายุ 3 – 5 ปี พฤตกิ รรมบง่ ช้ี ขอ้ 134 – 143 อายุ 0 – 3 ป ี – อายุ 3 – 5 ปี วิธีการ 1. สร้างโอกาสให้เด็กได้รับประสบการณ์ใหม่ๆ และไม่อยู่ในสิ่งแวดล้อมท่ีจำเจตลอดเวลา (เชน่ พาไปตลาด) เพอ่ื ใหพ้ บเห็นและรจู้ กั ชอื่ ผกั ผลไม้ พชื ปลาต่างๆ ชวนชมิ อาหารท่ีแปลกใหม่ ชวนให้รจู้ กั ผลติ ภัณฑ์ใหม่ ไปงานร่ืนเรงิ ที่เหมาะกับลกู 2. จัดสภาพแวดล้อม และใช้ชีวติ อยู่รว่ มกนั ในครอบครวั ดว้ ยวิธที ่ีลดภาวะโลกรอ้ น และไม่ ทำลายสิ่งแวดล้อม (เช่น รู้จักแยกขยะ) สอนให้รู้ว่าหากใช้กระดาษมากมายป่าจะหมด อธิบายให้ เข้าใจถึงความสมั พันธร์ ะหวา่ งต้นไม้กบั กระดาษ เลน่ ของเลน่ ใหเ้ ก็บที่ 3. คุยกับเด็กพร้อมสาธิตใหเ้ ด็กรูว้ า่ นำ้ เสียง สีหนา้ ท่าทาง คำพดู มผี ลตอ่ ความร้สู กึ คนอื่น (เช่น การพูดท่ีสุภาพ น้ำเสียงที่นุ่มนวล พูดขอร้อง น้ำเสียงท่ีเกร้ียวกราด ตวาด ประชดประชัน เสียดสี เยาะเยย้ โออ้ วด ฯลฯ) 4. เมือ่ เห็นเพื่อน หรือญาติ หรือคนหกล้ม รู้สกึ เห็นใจและแนะนำใหล้ ูกแสดงความหว่ งใย ด้วยการพูดหรือแสดงความเห็นอกเห็นใจเข้าช่วยเหลือ ในกรณีท่ีพบอุบัติเหตุร้ายแรงเกินกำลัง ใหล้ กู รู้จกั บอกให้ผู้อน่ื เขา้ มาชว่ ยเหลือ 5. ใหโ้ อกาสเดก็ รเิ รม่ิ ในการใหค้ ำแนะนำแกผ่ อู้ น่ื (เชน่ ชว่ ยคดิ ตารางอาหารวา่ ง / อาหารกลางวนั ทบี่ า้ น ใหเ้ สนอความคดิ เหน็ วา่ จะไปไหนกนั ดี ) ในขณะเดยี วกนั ใหร้ จู้ กั ฟงั ความคดิ เหน็ ของคนอน่ื ดว้ ย 6. สังเกตเด็กเมื่อเด็กเผชิญสภาพแวดล้อมใหม่ๆ ด้วยการช่วยเสริมแรงให้เด็กปรับตัวได้ (เชน่ พาไปพิพธิ ภณั ฑ์ ร้านอาหาร สวนสาธารณะ) สอนใหร้ ู้จกั พูดกับพนักงานขายของ ซักถามเป็น ถามหาของเป็น 7. ทำตัวเป็นแบบอย่างที่ดีและมีความเชื่อใจว่าสิ่งท่ีทำน้ันเป็นความถูกต้อง (เช่น พ่อแม่ รับฟังความคิดเห็นของกันและกัน) การทำตัวเป็นแบบอย่างของการรักษากฎระเบียบของสังคม (เช่น การทงิ้ ขยะ การเข้าควิ การไมจ่ อดรถในที่ของคนพกิ าร หรอื ที่ห้ามจอด ฯลฯ) 8. ปลกู ฝงั ใหเ้ ดก็ มคี วามเออ้ื อาทรตอ่ กนั รจู้ กั ปลอบโยนกนั โดยฝกึ ใหท้ ำเปน็ ประจำจนเปน็ นสิ ยั 3 - 26
แนวแนะวธิ ีการเลยี้ งดู ดแู ล และพัฒนาเด็กปฐมวัย ตามสมรรถนะ เพือ่ เพิ่มคณุ ภาพเดก็ ตามวยั 0-5 ปี หัวข้อท่ี 11 เดก็ ตระหนกั รู้ เห็นคุณคา่ และยอมรับนบั ถอื ในความเหมอื น และความแตกตา่ งระหวา่ งบุคคล อายุ 0 – 3 ปี พฤตกิ รรมบ่งชี้ ข้อ – อายุ 3 – 5 ปี พฤติกรรมบ่งช้ี ขอ้ 144 – 152 อายุ 0 – 3 ป ี – อายุ 3 – 5 ป ี วธิ ีการ 1. เป็นแบบอย่างท่ีดีของการยอมรับนับถือความแตกต่างระหว่างบุคคล ไม่แสดงความ รงั เกยี จ เหยียดผิว เหยยี ดเพศ หรอื มอี คติเหนือสถานะทางสังคม และเศรษฐกิจของผอู้ ืน่ 2. ชวนเด็กพดู คุยถึงสิง่ ท่ีดใี นวัฒนธรรมของตน หรือของกลมุ่ หรือของโรงเรยี น (เชน่ ส่งิ ที่ เป็นทน่ี ่านบั ถือ เครื่องแตง่ กาย อาหาร ประเพณี และภาษา) เพ่อื ทำใหเ้ ด็กเกิดความภาคภมู ใิ จ 3. ชวนเด็กพูดคุยให้เห็นคุณค่าของผู้คนที่อยู่ต่างวัฒนธรรม และผู้ใหญ่ปฏิบัติตนเป็นแบบ อย่างในการเคารพความเปน็ บคุ คลของผอู้ น่ื 4. ปฎิบัติตนอย่างสุภาพ และเป็นแบบอย่างท่ีดีกับเด็ก (เช่น การปฏิบัติกับผู้ต่างวัย ตา่ งฐานะ คนท่มี ีอาชพี ต่างจากพอ่ แม/่ ผปู้ กครอง/ครู คนเกบ็ ขยะ คนกวาดถนน คนพิการ หรอื เดก็ พิเศษในแบบต่างๆ เดก็ ก้าวรา้ ว โดยไมพ่ ูดจาดถู กู ถากถาง เป็นตน้ ) 5. พ่อแม่/ผู้ปกครอง/ครู/ผู้ดูแลเด็กต้องมีทัศนคติท่ีดีและแสดงออกอย่างเหมาะสมต่อ บุคคลทม่ี คี วามแตกตา่ งทงั้ ตอ่ หนา้ และลับหลงั โดยระมดั ระวังคำพูด ไม่วพิ ากษว์ จิ ารณ์ แสดงความ รงั เกยี จ แตก่ ลบั ตอ้ งแสดงใหเ้ ดก็ เหน็ วา่ ทกุ คนควรไดร้ บั คณุ คา่ ของความเปน็ มนษุ ยเ์ ทา่ เทยี มกนั 6. ผู้ใหญ่ในบ้านทุกคนต้องพูดคุยกันถึงการดูแลเด็กให้เป็นไปในทิศทางเดียวกัน (เช่น ขณะทพ่ี อ่ กำลังสอนให้ลูกรู้จกั ประหยดั โดยการไมซ่ ื้อของเล่นให้ แม่ต้องใจแข็งไมซ่ ้ือใหล้ กู เช่นกัน) 7. พาเด็กไปทัศนศึกษาเพ่ือเห็นวิถีชีวิตที่เป็นความจริงในแต่ละอาชีพ หรือเชิญผู้ใหญ่ สาขาอาชีพตา่ งๆ ในชมุ ชนหมุนเวยี นมาเลา่ ให้เด็กได้ร้จู กั อาชพี ตา่ งๆ 8. ดูสื่อต่างๆ ท้ังโทรทัศน์ ภาพยนตร์ หนังสือ พร้อมกับเด็กและสอนให้เด็กรู้จักเลือกดู และวเิ คราะหถ์ ึงคุณค่าท่ีมีความแตกตา่ งระหวา่ งบคุ คล 3 - 27
แนวแนะวิธีการเลี้ยงดู ดูแล และพัฒนาเด็กปฐมวัย ตามสมรรถนะ เพ่ือเพิ่มคณุ ภาพเด็กตามวยั 0-5 ป ี 9. เลือกส่ือท่ีหลากหลายทางวัฒนธรรมให้เด็กดู และชวนพูดคุยให้เด็กเห็นคุณค่าของ ความหลายหลาย (เช่น ภาพยนตรไ์ ทย ตา่ งประเทศ ดนตรี ทง้ั ไทย และตา่ งประเทศ ทงั้ สากล และ พ้ืนเมอื ง) 10. สอนใหเ้ คารพในความแตกต่างระหวา่ งผูห้ ญิง ผชู้ าย ใหเ้ กียรติ และไม่เอาเปรียบผหู้ ญงิ 3 - 28
แนวแนะวธิ ีการเล้ียงดู ดแู ล และพฒั นาเด็กปฐมวยั ตามสมรรถนะ เพ่อื เพม่ิ คณุ ภาพเด็กตามวัย 0-5 ปี หัวขอ้ ที่ 12 เด็กสามารถรับรู้เกีย่ วกับตนเอง และตระหนักร้วู า่ ตนชอบหรือไม่ชอบอะไร อายุ 0 – 3 ปี พฤตกิ รรมบ่งช้ี ขอ้ – อายุ 3 – 5 ปี พฤติกรรมบง่ ช้ี ข้อ 153 – 159 อายุ 0 – 3 ป ี – อายุ 3 – 5 ปี วิธกี าร 1. ชี้ชวน/ชวนคุยกับเด็กโดยให้เด็กรู้จักสังเกตด้วยประสาทสัมผัสต่างๆ ซึ่งได้แก่ การเห็น การได้ยิน การรับกลิ่น การรับรส การสัมผัส และระบบรับสัมผัสภายใน (เช่น ปวดท้อง ปวดฟัน) เพื่อให้เกิดการรับรู้เกี่ยวกับตนเอง (เช่น เด็กสังเกตเห็นตนเองผมยาว เล็บยาวต้องตัด หรือเห็นว่า เราไม่ได้อยู่น่ิงแต่โตข้ึน หรือเม่ือเล่นสนุกมากจนตัวเลอะดิน/ทรายต้องไปอาบน้ำ หรือรสชาต ิ ของอาหาร/ลักษณะของอาหารบางอย่าง เคร่ืองแต่งตัว นิทานบางเรื่อง กิจกรรมบางอย่าง) การสังเกตต่อส่ิงเหล่าน้ีของเด็กจะเปิดโอกาสให้เด็กได้แสดงความรู้สึกท่ีมีต่อประสบการณ์โดยตรง ภายหลังเสร็จกิจกรรมนั้นๆ โดยเด็กจะแสดงความรู้สึกว่าชอบ หรือไม่ชอบ รสชาติอาหารเป็น อย่างไร อรอ่ ยอยา่ งไร กล่นิ ของอาหารเปน็ อยา่ งไร ฯลฯ 2. ให้เด็กได้แสดงออกถึงความรู้สึกต่อเหตุการณ์ต่างๆ ที่เกิดข้ึนตามโอกาสและความ เหมาะสม โดยผู้ใหญ่คอยให้คำแนะนำ (เช่น เม่ือเด็กทำจานตกแตก การมีน้องใหม่ การไปสถาน พัฒนาเดก็ ปฐมวัยเป็นคร้ังแรก การสูญเสียของรกั หรือของเล่นหาย) 3. อา่ นหนงั สือ เลา่ เรื่อง เล่านทิ าน พดู คยุ กบั เด็ก หรอื ตั้งคำถามกบั เดก็ แลว้ ให้เดก็ แสดง ความรู้สึก ความคิดเห็นต่อส่ิงที่ฟัง (เช่น ชอบ ไม่ชอบ สนุก น่ากลัว) และสอดแทรกคุณธรรม จริยธรรมโดยเชื่อมโยงเขา้ สชู่ วี ติ จรงิ ของเด็ก 4. สร้างความเช่ือมั่นให้แก่เด็ก โดยเปิดโอกาสให้ทำกิจกรรมต่างๆ ที่เด็กชอบหรือถนัด และเมื่อเด็กได้ทำไปแล้วให้เด็กเล่า/อธิบายว่าทำอะไรและรู้สึกอย่างไร รวมท้ังเด็กควรอธิบายได้ว่า เพอ่ื นเปน็ อย่างไร หรอื ความสมั พนั ธ์ระหว่างตนเองกบั เพอื่ นแตล่ ะคนเป็นอย่างไร 5. เมื่อเด็กพูดอะไรท่ีเป็นเชิงปฏิเสธ (เช่น ไม่อยากรับประทานอาหาร ไม่อยากอาบน้ำ ฯลฯ) อย่าด่วนตำหนิเด็ก ใหโ้ อกาสเดก็ ไดอ้ ธิบายถงึ ความตอ้ งการ ความรสู้ ึก และเหตผุ ลของเขาเอง จากน้นั ผใู้ หญค่ วรพูดจาหว่านลอ้ ม ตะลอ่ ม ปะเหลาะโดยไม่หลอกลกู และไม่ติดสินบน 3 - 29
แนวแนะวธิ กี ารเลย้ี งดู ดูแล และพฒั นาเดก็ ปฐมวยั ตามสมรรถนะ เพอื่ เพ่มิ คณุ ภาพเด็กตามวยั 0-5 ปี 6. ให้เดก็ ได้เคลือ่ นไหวประกอบเพลงอย่างอสิ ระ ตามจนิ ตนาการ อารมณ์ และความรู้สกึ ของตน ใหเ้ ดก็ วาดภาพ และระบายสไี ดต้ ามความตอ้ งการโดยใหเ้ ดก็ อธบิ ายวา่ เหตใุ ดจงึ เลอื กแบบน ี้ 7. ให้เด็กได้ทำกิจกรรมเล่าถึงของรักของโปรด (Show & Tell) โดยให้เด็กๆ นำของรัก ของตน (เชน่ ตกุ๊ ตา หนงั สอื เลม่ โปรด) มาใหด้ แู ลว้ พดู แสดงความรสู้ กึ ของตนกบั ของรกั หรอื เลา่ เรอ่ื ง สตั วเ์ ลี้ยงของตน 8. ควรประพฤติตนเป็นแบบอย่างที่ดีในการแสดงออกทางอารมณ์แก่เด็ก รวมท้ังวิธีการ แสดงอารมณ์ทไี่ มด่ ีให้เป็นทย่ี อมรับได้ ดว้ ยการไมแ่ สดงอารมณ์แต่ใช้คำพูดแทน (เช่น ครไู มช่ อบให้ เดก็ ๆ มาโรงเรยี นสาย แม่อยากให้ลกู ทานข้าวใหห้ มดชาม ป้าไม่ชอบใหฝ้ นตกเลย ฯลฯ) 3 - 30
แนวแนะวิธีการเลย้ี งดู ดแู ล และพฒั นาเด็กปฐมวยั ตามสมรรถนะ เพือ่ เพิ่มคุณภาพเด็กตามวัย 0-5 ปี หัวขอ้ ที่ 13 เด็กปฏบิ ัติตามกฎ ระเบยี บ และกจิ วัตร และควบคุมอารมณไ์ ดต้ ามสมควร อายุ 0 – 3 ปี พฤตกิ รรมบง่ ชี้ ขอ้ – อายุ 3 – 5 ปี พฤติกรรมบง่ ช้ี ขอ้ 160 – 168 อายุ 0 – 3 ป ี – อายุ 3 – 5 ปี วธิ ีการ 1. ผู้ใหญ่ต้องมีปฏิสัมพันธ์ท่ีดีกับเด็ก แสดงความรัก เอาใจใส่ ช่างสังเกตในเร่ืองอารมณ์ ความรสู้ กึ ของเด็ก พรอ้ มที่จะเข้าใจและรับฟังเด็ก เพ่ือให้เดก็ เกิดความไวว้ างใจ และสามารถพูดคุย กบั ผู้ใหญไ่ ด้ บอก หรอื แสดงอารมณใ์ ห้ผใู้ หญร่ ับรู้ได้ 2. ในกรณที ่เี ดก็ รอ้ งไห้ หรอื อาละวาด กา้ วรา้ ว ผู้ใหญไ่ มค่ วรบงั คบั เด็กให้หยดุ ทนั ที เพราะ เดก็ ไมส่ ามารถหยดุ อาการเหล่านนั้ ไดท้ ันที ผใู้ หญ่ตอ้ งใจเย็น สงบ ตง้ั สติ โดยอาจพาเดก็ ไปล้างหนา้ หรือปล่อยให้เด็กได้ร้องไห้ระยะสั้นๆ จนเด็กสงบแล้วจึงค่อยอธิบาย หรือหากเด็กไม่หยุดร้องไห้ ต้องเบนความสนใจ หรือเปล่ียนบรรยากาศ แต่ห้ามหลอกเด็ก หรือสัญญาอะไรกับเด็กในสิ่งที่ไม่ สามารถทำตามสัญญาได้ หมายเหตุ : ผู้ใหญ่ควรรู้นิสัยของเด็ก เพื่อหาวิธีป้องกันไม่ให้เด็กมีโอกาสอาละวาด หรือก้าวร้าว (เช่น พอจะทราบว่าเด็กชอบร้องจะเอาของเล่น) ดังนั้น เม่ือจะต้องพาเด็กไปร้านเพ่ือ ซื้อของเล่น ผู้ใหญ่ควรเตรียมตัวเด็กก่อน หรือมีข้อตกลงกับเด็กล่วงหน้าว่าเพื่อป้องกันไว้ก่อน (เช่น วนั นไ้ี ปเลือกดูของเลน่ ยงั ไมซ่ อ้ื แล้วกลบั มาคดิ ทีบ่ ้านวา่ ชอบอันใด แล้วจึงไปซ้อื ) 3. หากเด็กร้องขอสิ่งท่ีไม่สามารถให้ได้ในทันที (เช่น กินขนมหมดแล้วขออีกทันที ผู้ใหญ่ ตอ้ งตอบวา่ “คอยเดีย๋ ว รอเดยี๋ วนะ” และต้องบอกเดก็ ว่าจะไดเ้ ม่อื ใด และจดั การให้เด็กได้ตามนน้ั ไมห่ ลอกเดก็ ) 4. ในกรณีเด็กร้องขอในสิ่งที่ไม่สามารถให้ได้ทันที ให้เบนความสนใจของเด็กไปก่อน เม่ือ เดก็ สงบ จึงค่อยๆ อธบิ ายเหตุผล หรือประนีประนอมกนั 5. เมื่อเด็กอาละวาด อย่าให้เด็กทำลายส่ิงของ ทำร้ายผู้อื่น หรือทำร้ายตนเอง (หากเป็น ส่ิงของ ค่อยๆ ปลดออกจากมือ) พาเด็กออกไปจากสิ่งแวดล้อมนั้นเพื่อเปล่ียนความสนใจ แล้ว ค่อยๆ ทำใหเ้ ดก็ สงบลง อยา่ ดุ หรอื ทำโทษขณะน้ัน เมื่อเด็กสงบจงึ คอ่ ยๆ พูดคุยดว้ ยทา่ ทีนำ้ เสียงท่ี สงบอย่างสั้นๆ เม่ือเดก็ อารมณ์ดีและพร้อมฟงั จงึ คอ่ ยแนะนำ และสนทนากบั เด็ก 3 - 31
แนวแนะวิธกี ารเลีย้ งดู ดูแล และพฒั นาเด็กปฐมวัย ตามสมรรถนะ เพ่ือเพ่ิมคณุ ภาพเดก็ ตามวัย 0-5 ปี หวั ขอ้ ท่ี 14 เด็กแสดงความเชื่อมั่นในความสามารถของตน อายุ 0 – 3 ปี พฤตกิ รรมบง่ ชี้ ข้อ – อายุ 3 – 5 ปี พฤตกิ รรมบ่งชี้ ขอ้ 169 – 174 อายุ 0 – 3 ป ี – อายุ 3 – 5 ปี วธิ ีการ 1. เปดิ โอกาส และสนบั สนนุ ใหเ้ ดก็ ไดท้ ำในสงิ่ ทเี่ ดก็ ทำไดต้ ามวยั และใหเ้ ดก็ ไดร้ บั คำชมเชย อย่าคดิ ว่าเดก็ ยงั เลก็ แล้วไมใ่ หท้ ำอะไรด้วยตนเอง เด็กจะเพมิ่ ความมั่นใจให้ตนเองเม่ือเดก็ ทำได้ 2. ถามหรือขอรอ้ ง หรือส่งเสริมใหเ้ ด็กชว่ ยทำส่งิ ตา่ งๆ ทเี่ ดก็ พอจะทำได้ เดก็ จะไดร้ สู้ ึกว่า ตนเองมคี ่า และชื่นชมเดก็ ตามความเหมาะสม 3. เปิดโอกาสให้เด็กได้พูด หรือได้ทำกิจกรรมต่างๆ หรือแสดงผลงานที่เด็กอยากพูด อยากทำ อยากแสดง โดยใหเ้ ดก็ มโี อกาสนำเสนอผลงานตอ่ พอ่ แม/่ ผปู้ กครอง/ครู หรอื หนา้ ชนั้ เรยี น 4. ให้เด็กได้มีโอกาสค้นพบวิธเี ลน่ ดว้ ยตนเองจากการเลน่ และการทำกิจกรรมต่างๆ อย่าง อิสระ และให้เด็กไดน้ ำเสนอกจิ กรรมสรา้ งสรรคน์ น้ั ๆ ต่อหนา้ เพือ่ นๆ หรือผู้ใหญ ่ 5. สงั เกตวา่ เดก็ มคี วามสามารถพิเศษด้านใด แล้วหาทางสนบั สนุนอย่างเตม็ ตามศักยภาพ 6. ต้องไม่ทำให้เด็กรู้สึกด้อยหรือเสียหน้า (เช่น ไม่ตำหนิเด็กต่อหน้าคนอ่ืน ไม่ประชด ประชันเด็กโดยนำไปเปรียบเทียบกับเด็กอ่ืน) ในบางเรื่องที่เด็กทำไม่ได้ ไม่ว่าด้วยเหตุผลใด (เช่น การบ้าน) ผใู้ หญต่ อ้ งชว่ ยใหก้ ำลังใจเด็กฝ่าฟนั อุปสรรค 7. เปิดโอกาสให้เด็กได้ฝึกฝนเป็นผู้นำหรือผู้ตาม (เช่น ผลัดเปลี่ยนกันเป็นหัวหน้าห้อง หัวหน้ากลุ่ม หรือให้เด็กออกมาพูดนำเสนอความคิดเห็นของตนต่อหน้าผู้อ่ืนอยู่เสมอ หรือเปิด โอกาสใหเ้ ด็กอาสาสมคั รในสง่ิ ทต่ี นถนัด) 3 - 32
แนวแนะวิธีการเล้ียงดู ดแู ล และพัฒนาเด็กปฐมวยั ตามสมรรถนะ เพื่อเพ่มิ คณุ ภาพเด็กตามวยั 0-5 ป ี หัวขอ้ ท่ี 15 เดก็ สามารถแสดงความจำเบ้ืองต้น อายุ 0 – 3 ปี พฤติกรรมบง่ ชี้ ขอ้ 134 – 201 อายุ 3 – 5 ปี พฤติกรรมบง่ ชี้ ข้อ 175 – 306 อายุ 0 – 3 ป ี วธิ ีการ การพูดคยุ 1. อมุ้ เดก็ ใหห้ นั หน้ามาทางพอ่ แม่ สบสายตา ยิ้ม และพูดคยุ กบั เด็กบอ่ ยๆ อย่างสม่ำเสมอ ดว้ ยนำ้ เสียงที่ออ่ นโยน โดยสาระของการพูดคุยอาจเป็นเรื่องท่เี กยี่ วกบั กิจกรรมที่ทำอยกู่ บั เด็ก หรอื ความสนใจที่เก่ียวกับสิ่งแวดล้อม ท้ังนี้เพ่ือให้เด็กคุ้นกับภาษาที่ผู้พูดใช้กับเด็ก และเป็นการสร้าง ความคิดรวบยอดทเ่ี กี่ยวกบั สรรพสิ่งท่ีอยู่รอบตวั เด็ก หรอื การกระทำของเดก็ ท้ังน้เี วลาพ่อแมพ่ ูดคุย กบั เด็กควรใช้ภาษาพูดชดั เจนและถกู ตอ้ ง ไมค่ วรพดู ในลักษณะท่ีพดู ไม่ชัดกับเดก็ 2. แขวนของเล่น (เช่น ปลาตะเพียน โมบายต่างๆ) เหนือท่ีนอนของเด็ก หรือในระยะที่ เดก็ มองเห็นได้ โดยวสั ดทุ ่ใี ชแ้ ขวนต้องไม่เป็นอนั ตรายตอ่ เด็ก และควรระวังชนิ้ สว่ นโมบายที่ห้อยไว้ อาจหลดุ หรอื ของแขวนอาจตกลงมาเป็นอันตรายต่อเด็ก 3. สบตาเด็ก ย้ิม พูดคุยกับเด็ก เม่ือเด็กส่งเสียงอ้อแอ้ ต้องคุยกับเด็ก โดยเว้นจังหวะให้ เด็กได้โต้ตอบบ้าง แมว้ า่ เด็กยังพดู ไม่ได้ และภาษาที่ผใู้ หญพ่ ดู เด็กอาจยังไมเ่ ข้าใจ 4. พูดคุย หรืออธิบายกับเด็กถึงส่ิงท่ีเด็กมองเห็นด้วยน้ำเสียงท่ีอ่อนโยน และให้เด็กจับ ต้อง หรอื สมั ผัสทางกาย/พื้นผวิ หากสิง่ นั้นสะอาด และไมเ่ ปน็ อันตราย (เช่น ถ้วยน้ำ ขวดนม) 5. ให้เดก็ ไดเ้ ลน่ กบั ของเลน่ หรือส่งิ ของหลากหลาย (เชน่ ขวดพลาสตกิ กร๋งุ กริ๋ง) แตต่ อ้ ง ไมเ่ ป็นอันตราย เม่อื เด็กนำมาเคาะเล่น หรือนำเข้าปาก 6. อุ้มเด็กมาส่องกระจกเงา หรือเอากระจกเงาท่ีผลิตข้ึนเพ่ือเป็นของเล่นสำหรับเด็ก (ไม่ แตกหกั แล้วเป็นอันตรายตอ่ เด็ก) มาให้เด็กส่องดูตวั เอง 7. เม่ือเด็กส่งเสียงทักทาย หรือย้ิมให้ ให้พ่อแม่พูดคุยกับเด็กอย่างนุ่มนวล และควรพูด แสดงความรกั ดว้ ยการหมั่นบอกเด็กว่า “เปน็ เดก็ ที่นา่ รัก และพ่อแมร่ ักเดก็ มาก” อยา่ ลืมที่จะสมั ผัส เด็กอยา่ งอ่อนโยน เพราะจะทำใหเ้ ดก็ รูส้ ึกมัน่ คงทางอารมณ์ และรวู้ า่ พอ่ แม่คือผ้ทู ค่ี อยโอบอ้มุ ดแู ล และตอบสนองความต้องการของตน 3 - 33
แนวแนะวิธีการเลี้ยงดู ดแู ล และพฒั นาเดก็ ปฐมวยั ตามสมรรถนะ เพื่อเพิม่ คุณภาพเด็กตามวัย 0-5 ป ี 8. เด็กกำลังสนุกกับการส่งเสียง เล่นพ่นน้ำลาย เพ่ือพัฒนาต่อไปเป็นการทำเสียงพูดคุย โดยใชร้ มิ ฝปี าก เด็กวยั นยี้ งั ไม่สามารถควบคุมนำ้ ลายที่ไหลยอ้ ยได้ ให้ใชผ้ ้าสะอาดและนุ่มเชด็ น้ำลาย ให้เดก็ และไมค่ วรดุวา่ เม่ือเด็กทำเลอะเทอะ 9. ให้เด็กได้เล่นของเล่น หรือส่ิงของต่างๆ ที่ปลอดภัย และมีความหลากหลายทีละชนิด (เช่น ชอ้ นพลาสตกิ ลูกบอลน่มิ ๆ ฯลฯ) 10. จัดหาของเล่น หรือให้เล่นของใกล้ตัวท่ีปลอดภัยสำหรับเด็ก ชวนให้เด็กสัมผัสผ่าน ประสาทสมั ผัสท้งั 5 และพดู คยุ กบั เดก็ ถงึ ส่งิ ทเ่ี ด็กได้สมั ผสั 11. ชวนเดก็ คุยบ่อยๆ เกยี่ วกับผ้คู น สตั ว์เลีย้ ง และสภาพแวดลอ้ มอื่นๆ ในบา้ น เพอ่ื เด็กจะ ไดเ้ รยี นรู้ว่า ผู้คน สตั ว์เล้ยี ง หรอื สภาพแวดลอ้ มทีร่ ูจ้ ักมีชื่อทเี่ รียกเฉพาะ ข้อควรระวัง ถ้ามีสัตว์เลี้ยงในบ้าน ควรระวังเร่ืองความปลอดภัย และความสะอาด ของสัตว์ 12. พ่อแม่แสดงท่าทีว่ารับรู้ถึงสิ่งที่เด็กไม่ต้องการ แล้วปลอบโยนให้เด็กสงบ หรือให้เด็ก ห่างจากสิ่งที่เด็กปฏิเสธช่ัวขณะ หากเด็กร้องไห้หงุดหงิด ควรตอบสนองด้วยการโอบกอด หรืออุ้ม แล้วปลอบโยนพร้อมน้ำเสียงท่ีนุ่มนวลพร้อมกับสัมผัสเด็กเบาๆ หรือ เปล่ียนบรรยากาศไปอีก มมุ หน่ึง เด็กจะสงบลง 13. เล่นสนุกกับเด็กด้วยการเคล่ือนไหวหน้าตา แลบล้ิน ทำปากจู๋ แล้วให้เด็กทำตาม เด็ก จะสนุกสนาน และขบขันกับใบหน้าของผู้ใหญ่มาก การเล่นแบบนี้จะทำให้เด็กได้ฝึกการสังเกต และฝึกการบังคับ การขยับกล้ามเน้ือบนใบหน้า เด็กจะเรียนรู้ว่า แม้บางส่วนของหน้าจะเปลี่ยนไป แตย่ งั เปน็ ผใู้ หญค่ นเดิมของเด็กนน่ั เอง 14. ผู้ใหญ่ร้องเพลง หรือเปิดเพลงที่มีเน้ือเพลงเหมาะสมกับเด็กให้เด็กฟัง ชวนให้เด็กร้อง และเคล่ือนไหวตามจังหวะร่วมกับผู้ใหญ่ ระยะแรก เด็กอาจร้องตามไม่ได้ แต่เด็กจะพยายามเลียน แบบการร้องเพลงของพ่อแม่ และพยายามร้องคลอตามไป เม่ือพ่อแม่ร้องซ้ำๆ เด็กจะคุ้นเคย และ ร้องตามได้ดีข้ึน ไม่นานนัก เด็กจะจดจำเนื้อร้อง และร้องเพลงน้ันได้ อาจไม่ท้ังเพลงหรืออาจเขิน เม่อื ร้องต่อหนา้ คนอนื่ พอ่ แมค่ วรใหก้ ำลงั ใจ การอา่ นหนงั สอื 1. แม้วา่ เดก็ ไมส่ ามารถอา่ นตวั หนังสอื ได้ พ่อแม่ควรอา่ นหนังสือทเี่ หมาะสมกับวัยของเด็ก ใหเ้ ดก็ ฟงั พรอ้ มชช้ี วนให้ดูรูปภาพ เพ่อื สนบั สนนุ ใหเ้ ดก็ เกิดความคดิ รจู้ ักคิดตาม และเชอื่ มโยงการ คดิ กบั ภาษา 2. หาหนังสือภาพท่ีมีเนื้อกระดาษหนา ไม่ฉีกขาดง่ายให้เด็กได้เปิดดูหรือเล่น พ่อแม่อุ้ม หรือโอบเด็กไว้ขณะที่พ่อแม่ชี้ภาพ และชวนเด็กพูดในสิ่งท่ีเด็กเห็น และช้ีชวนให้เด็กอ่านหนังสือ ด้วยกนั บอ่ ยๆ 3 - 34
แนวแนะวธิ กี ารเลีย้ งดู ดูแล และพัฒนาเด็กปฐมวยั ตามสมรรถนะ เพอ่ื เพิม่ คณุ ภาพเด็กตามวัย 0-5 ปี 3. อ่านหนังสือกับเด็กทุกวันเพ่ือให้เด็กสังเกตเห็นการเปิดหนังสือทีละหน้า ทุกคร้ังที่จะ อ่านหนังสือด้วยกัน ให้บอกเด็กด้วยว่า เราจะหยิบ จับหนังสือ และค่อยๆ เปิดหนังสืออย่าง ระมัดระวงั หรือไมใ่ ห้หนังสือฉีกขาด 4. จัดหาหนงั สือใส่ในชนั้ หรอื ตะกร้า แล้วเกบ็ ไว้เป็นท่ี เมอ่ื เด็กอยากอา่ นจะไดน้ ำออกมา เปิดดเู องได้ ผใู้ หญค่ วรให้คำแนะนำ และแสดงใหเ้ ด็กดูวธิ ีการเปดิ หนังสอื ทีละหนา้ และอย่าลมื ชวน ให้เดก็ เก็บหนังสือเขา้ ทีเ่ ม่ืออ่านหนงั สอื จบ หมายเหตุ : เมื่อผู้ใหญ่อ่านนิทาน หรือเรื่องเล่าให้เด็กฟัง และเม่ือเด็กติดใจ จะขอให้ อ่านซ้ำ ซึ่งในบางกรณี ผู้ใหญ่อาจเบ่ือข้อความที่อ่านเองเสียก่อน ทำให้อยากย่อความ ซึ่งเด็กบาง คนอาจไม่พอใจเพราะต้องการให้อ่านข้อความซ้ำตามท่ีตัวเด็กเองต้องการอยู่แล้ว และมีบางกรณี ผู้ใหญ่อาจต้องการขยายความที่อ่าน ซ่ึงเด็กหลายคนอาจชอบเพราะเป็นการเพิ่มจินตนาการให้กับ เนื้อเรือ่ งได้ การขดี เขยี น 1. จัดเตรียมกระดาษ ดินสอ หรือดินสอสีให้เด็กได้วาดเล่นอย่างสม่ำเสมอ และเม่ือเด็ก โตขึน้ ควรมีอปุ กรณก์ ารขีดเขยี นที่หลากหลายข้ึน 2. ชวนให้เด็กเล่นสนุกกับการลากเส้นท่ีแปลกออกไป ด้วยการทำให้ดู (เช่น เส้นตรง เส้นเฉียง เส้นต้ังฉาก วงกลม แนวดง่ิ กากบาท) พรอ้ มทง้ั ชมเชยเมื่อเด็กลากเส้นได ้ 3. เม่อื เด็กวาดรปู ได้ ผู้ใหญ่ควรให้ความสนใจโดยให้เด็กเล่าถึงส่งิ ที่วาด (เช่น พอ่ แมถ่ ามว่า “หนูวาดอะไร เล่าให้ฟังหน่อยนะ”) หรืออาจต้ังคำถามต่อยอดความคิดของเด็ก แม้ว่าสิ่งที่เด็กวาด ยังดูไม่ออก (เช่น “แล้วกระต่ายมันว่ิงไปท่ีไหนล่ะคะ”) หรือสิ่งที่เด็กเล่าไม่ค่อยเกี่ยวข้องกับ รูปที่วาด อย่าตำหนิเด็กตอนทเ่ี ด็กกำลังเลา่ ปลอ่ ยใหเ้ ด็กพดู ตามจนิ ตนาการของเดก็ การเล่นบทบาทสมมต ิ 1. หาของเล่นที่หลากหลายให้เด็กเล่น (เช่น ไม้บล็อก) เด็กจะนำไม้บล็อกมาต่อ สร้าง หรือร้ือให้พังทลายลง แต่หากเป็นกล่องกระดาษ เด็กอาจนำมาเล่นสมมติเป็นตู้เส้ือผ้า เป็นบ้าน หรืออาจนำมาเล่นร่วมกับตุ๊กตา นอกจากน้ีอาจนำภาชนะพลาสติก หรือของใช้ที่ไม่แตกหักเป็น อันตรายตอ่ เด็กมาใหเ้ ด็กเล่นสมมต ิ 2. เปดิ โอกาสใหเ้ ดก็ ชว่ ยพอ่ แมท่ ำงานบา้ นเบาๆ รว่ มกบั พอ่ แม่ (เชน่ ถอื ของ หรอื หยบิ ของ ให้พ่อแม่ ซึ่งเป็นของท่ีมีขนาด และน้ำหนักเหมาะสมกับวัยของเด็ก) เพื่อให้เด็กได้รู้จักเครื่องมือ ตา่ งๆ ในการทำงาน 3 - 35
แนวแนะวธิ ีการเล้ียงดู ดแู ล และพฒั นาเด็กปฐมวัย ตามสมรรถนะ เพอ่ื เพม่ิ คุณภาพเด็กตามวยั 0-5 ป ี อายุ 3 – 5 ป ี วธิ กี าร 1. ใหเ้ ดก็ ฟงั เพลงสำหรบั เด็กต่างๆ บ่อยครง้ั (เช่น เพลงสำหรบั เดก็ ท่มี ีเนื้อหาเหมาะสมกบั วัยของเด็ก) และเปิดโอกาสให้เด็กร้องเพลงในลำคอ หรือร้องเป็นเนื้อเพลง หรือร้องเพลงของ ประเทศเพื่อนบ้าน เพลงต่างประเทศเพ่ือให้มีความหลากหลาย หรือเพลงท่ีพ่อแม่ร้องได้ แล้วร้อง ให้ลูกฟัง หรือพ่อแม่ร้องร่วมกับเด็ก หรือชักชวนให้เด็กร้องเพลงคนเดียว หรือร้องกับเพ่ือน โดย ให้การรอ้ งเพลงเปน็ กิจกรรมท่ีสม่ำเสมอ 2. ช้ีชวนให้เด็กท่องบทกลอน หรืออ่านบทกลอนหรือคำคล้องจองสำหรับเด็กให้เด็กฟัง หรือเล่นเกมเกี่ยวกับคำ (เช่น เกมคำท่ีขึ้นต้นด้วย มะ คือ มะม่วง มะละกอ เล่นเกมแมงมุม จ้ำจ้ี มะเขอื เปราะ) เพ่อื ให้เด็กคุ้นเคยกบั คำคล้องจอง/เสยี งสระคล้ายกัน 3. ชวนให้เด็กเล่าถึงส่ิงท่ีทำ หรือทบทวนประสบการณ์ท่ีเด็กได้รับมาจากการจัดกิจกรรม (เช่น เหตุการณท์ ีผ่ า่ นมาในแต่ละวัน หรือเหตกุ ารณ์ทเ่ี ด็กประทับใจหรอื ชอบ ฯลฯ) 4. นำรปู ถา่ ยทเี่ คยทำกจิ กรรม หรือไปเทย่ี วดว้ ยกันมา แลว้ พ่อแม่เลา่ ให้เดก็ หรือวาดภาพ หรอื บนั ทึกส้นั ๆ 5. คยุ กบั เดก็ ในเร่อื งที่เดก็ ควรรูเ้ กย่ี วกบั เรอื่ งของเวลา (เช่น เชา้ สาย บา่ ย เย็น) วันใน 1 สัปดาห์ เดือนใน 1 ปี หรือเร่ืองของบ้านของเด็กเอง (เช่น สถานท่ีตั้งของบ้าน หมายเลขโทรศัพท์ ฯลฯ) 6. หัดให้เด็กทำสมุดบันทึกโดยเก็บจากวัสดุท่ีระลึก หรืออ่ืนๆ ท่ีสามารถเตือนความจำ และบอกได้วา่ เหตุการณ์ใดน่าสนใจ 3 - 36
แนวแนะวิธกี ารเล้ยี งดู ดูแล และพัฒนาเดก็ ปฐมวัย ตามสมรรถนะ เพ่ือเพิ่มคุณภาพเด็กตามวยั 0-5 ป ี หวั ข้อที่ 16 เดก็ สามารถแสดงความคดิ พืน้ ฐานในเรอื่ งเกย่ี วกับเวลา ชอ่ งวา่ ง (Space) ตำแหน่งแหลง่ ที่ คุณลกั ษณะ รวมทงั้ การจัดกลุ่มสง่ิ ต่างๆ ท่อี ยูแ่ วดล้อม อายุ 0 – 3 ปี พฤติกรรมบง่ ชี้ ขอ้ 181 – 182 อายุ 3 – 5 ปี พฤตกิ รรมบง่ ชี้ ข้อ 186 – 193 อายุ 0 – 3 ป ี วธิ ีการ 1. เมื่อเด็กทำของหล่น อย่าเพิ่งด่วนหยิบของให้ ควรให้เด็กได้มองหาก่อน ถ้าเด็กหยิบได้ ควรปล่อยใหเ้ ด็กหยบิ เอง เด็กจะเรยี นรู้วา่ ของทีต่ กไปนน้ั ไมไ่ ดห้ ายไปไหน แตอ่ ยทู่ ่ีใดทีห่ น่ึง 2. เล่นหาของท่ีซ่อนไว้ โดยเอาผ้าคลุมของนั้นๆ ไว้ครึ่งหน่ึง และให้อีกครึ่งหน่ึงโผล่มา นอกผ้า เดก็ จะดึงผา้ ออก พรอ้ มกับหัวเราะชอบใจ ให้พ่อแมส่ นกุ ร่วมไปกับเด็ก และเอย่ ปากชมเมื่อ เดก็ หยิบของท่ซี อ่ นไวไ้ ด้ หรอื เลน่ จ๊ะเอ๋กับเดก็ จะทำให้เด็กหัวเราะเสียงดงั และมคี วามสุขขณะเลน่ กับพอ่ แม่ เมอ่ื เลน่ ไดร้ ะยะหนึง่ จากนน้ั ใหเ้ อาผ้าคลุมจนมดิ เด็กจะคน้ หาของที่ซอ่ นไว้ ใหพ้ อ่ แมส่ นุก ร่วมไปกับเด็ก และเอ่ยปากชมเม่ือเด็กหยิบของที่ซ่อนน้ันได้ เด็กจะได้เรียนรู้ว่า ของที่เห็นนั้นเมื่อมี สงิ่ อ่ืนมาคลุมไว้ของนน้ั ไม่ได้หายไปไหน 3. ให้เด็กสำรวจส่ิงต่างๆ รอบตัว พร้อมจัดหาของให้เด็กได้เล่นได้หยิบจับ แล้วบอกเด็ก บ่อยๆ ว่าส่ิงท่ีเห็นน้ันเรียกว่าอะไร เด็กจะรู้จักชื่อส่ิงของรอบตัว หม่ันบอกให้เด็กส่งของให้ (เช่น “ขอหมวกให้แม่หน่อยนะ”) เม่อื เดก็ สง่ ของให้ ต้องยมิ้ ให้เด็กและชมว่า “เก่งมากจ้ะลกู ” หมายเหตุ : เด็กวัยน้ียังไม่สามารถปลอ่ ยของในมอื ใหผ้ ูอ้ นื่ ได้อยา่ งตั้งใจ 4. ชวนเด็กเล่นซ่อนของ แล้วย้ายที่ซ่อนของให้เด็กหา เด็กจะหัวเราะชอบใจเมื่อเด็กพบ ของทซ่ี อ่ น เด็กจะเรยี นรวู้ ่าของนั้นคงอยู่ ไม่ได้หายไปไหน ข้อควรระวัง เด็กบางคนอาจหาของไม่พบ จะรู้สกึ หงุดหงิด ในกรณีนี้ พยายามช้แี นะ เพื่อให้เด็กประสบความสำเร็จในการหาของท่ีซ่อน การเล่นชนิดนี้ไม่ต้องการเอาชนะเด็ก แต่ เปน็ การส่งเสริมใหเ้ ด็กได้รูจ้ กั คดิ แสวงหาของที่ถูกซ่อนและเด็กไดร้ บั ความพอใจเมอ่ื หาของพบ 5. เมื่อเด็กต้องการอะไร ให้พูดคุยกับเด็กเพ่ือบอกลักษณะของของสิ่งน้ัน โดยใช้คำขยาย ประกอบคำนาม (เชน่ หนอู ยากได้ตกุ๊ ตาหมี สีขาว น่มุ ๆ ตัวนั้น) 3 - 37
แนวแนะวิธกี ารเลีย้ งดู ดูแล และพฒั นาเด็กปฐมวัย ตามสมรรถนะ เพ่ือเพิ่มคุณภาพเดก็ ตามวัย 0-5 ปี อายุ 3 – 5 ป ี วธิ กี าร เวลา 1. ชวนเด็กพูดคยุ เกี่ยวกบั “เวลา” ทีเ่ ดก็ เขา้ ใจงา่ ยๆ (เช่น เวลาตื่นนอน เวลากินข้าว เวลา ไปโรงเรียน เวลากลบั บา้ น เวลาเข้านอน) 2. หดั ให้เด็กสังเกตเวลากลางวัน เวลากลางคืน หรอื ทมี่ ีแสงสว่างกบั ทีม่ คี วามมืด 3. ฝึกให้เด็กคุ้นเคยคำที่ใช้เก่ียวกับเวลาระหว่างวัน ด้วยการให้ผู้ใหญ่ชวนคุย เวลาเช้า กลางวัน เยน็ ค่ำ เมื่อเดก็ มวี ยั มากข้นึ อาจเรม่ิ ใช้คำวา่ เวลาสาย เวลาบา่ ย เวลาดกึ ฯลฯ 4. ให้เด็กรู้จักช่วงเวลา โดยเริ่มจากการต้ังต้นของการกระทำบางอย่าง แล้วต่อเน่ืองไป จนถึงเวลาส้ินสุดการกระทำนั้นๆ (เช่น เรามาเล่นตัวต่อกัน เป็นเวลาเร่ิมต้น แล้วถึงต่อเสร็จจนจบ) สำหรับการเรียกระยะของเวลา ผู้ใหญ่สามารถใช้คำพูด “ยาว ส้ัน นาน ฯลฯ” หรือใช้เวลาตาม ความรู้สกึ ของเด็ก (เช่น เร็วมาก ช้า คอยนาน) 5. เวลาทเี่ ก่ียวกับฤดูกาล (เช่น ชว่ งเวลาฤดฝู น อากาศเยน็ หรอื ช่วงเวลาฤดหู นาว ตอ้ งใส่ เสอ้ื แขนยาว หรือฤดรู ้อน อากาศร้อนมาก เป็นตน้ ) และผู้ใหญ่ชักชวนเด็กคยุ ความสมั พันธร์ ะหว่าง ฤดตู ่างๆ กับเสอ้ื ผา้ หรืออปุ กรณ์ที่ต้องใชใ้ นแต่ละฤดูกาล (เชน่ ร่ม หมวก เสอ้ื กันหนาว ฯลฯ) 6. ให้เดก็ ไดม้ โี อกาสคุ้นเคยกับสญั ลักษณ์ และเคร่อื งบอกเวลา (เชน่ นาฬกิ าทม่ี ีตวั เลข 1 - 12 เข็มนาที เข็มวินาที และเข็มช่ัวโมง) รวมท้ังนาฬิกาแบบดิจิตัลท่ีเป็นแบบตัวเลข ซ่ึงนาฬิกา ดิจิตอล ผู้ใหญ่ต้องสอนให้อ่านตัวเลขตามวัยของเด็ก และการบอกเวลาจะขึ้นอยู่กับลักษณะการ บอกเวลาของนาฬิกาน้นั ๆ 7. พูดคุยกับเด็กให้คุ้นเคยกับคำว่า วันนี้ เมื่อวานนี้ พรุ่งน้ี โดยอาจโยงกับกิจกรรมหรือ กิจวัตรทีเ่ ด็กทำ 8. ชวนเด็กเล่นเขียนแผนท่ี โดยผู้ใหญ่คอยช่วยแนะนำให้เด็กวาดแผนที่จากบ้านไป โรงเรยี น หรือวาดผังหอ้ งตา่ งๆ (เชน่ ใชไ้ มไ้ อศกรมี แบง่ ห้องตา่ งๆ ของบา้ น) ชอ่ งวา่ งสำหรับพืน้ ท ่ี 1. ชักชวนเด็กให้สนใจเร่ืองที่เก่ียวกับการใช้พ้ืนท่ี ได้แก่ ระยะทาง (เช่น ใกล้ ไกล) หรือ ระยะของมือเอ้ือมหยิบของถึงหรือเอื้อมไม่ถึง ถนนแคบหรือถนนกว้าง หรือพื้นที่ของภาชนะ สำหรับการบรรจุของเหลว (เช่น มีน้ำคร่ึงแก้ว นมสดเต็มขวด ฯลฯ) และชวนให้เด็กถ่าย หรือเท ของเลน่ ออกจากภาชนะ (เชน่ เทบล็อกออกจากตะกรา้ มาวางบนพืน้ หรอื ใสก่ ล่อง) 2. ชักชวนเด็กให้สนใจเก่ียวกับของใช้ประจำวัน (เช่น เสื้อท่ีใส่คับหรือยัง กางเกงหลวม หรอื เปล่า รองเท้าใส่แลว้ คบั ไปหรือไม่) 3 - 38
แนวแนะวธิ ีการเลยี้ งดู ดูแล และพฒั นาเดก็ ปฐมวยั ตามสมรรถนะ เพอื่ เพิ่มคณุ ภาพเด็กตามวยั 0-5 ป ี 3. ช้ีชวนให้เด็กสนใจพื้นที่ปริมาตรสำหรับของเหลวท่ีต้องบรรจุในภาชนะ (เช่น น้ำต้อง ใส่ขวด หรือใสไ่ วใ้ นแก้ว) 4. ชวนเดก็ เลน่ เกมท่ีมีการขีด แบง่ ก้ันพ้นื ที่ชดั เจน (เชน่ เล่นต้งั เต) ตำแหนง่ แหล่งท ่ี 1. ช้ีชวนเด็กอย่างสม่ำเสมอให้เด็กทราบตำแหน่งแหล่งที่อวัยวะของตน ให้เด็กอธิบายว่า อยดู่ า้ นซ้าย หรอื ดา้ นขวาของเด็ก โดยเริม่ จาก มือ แขน ของตนเอง จากน้นั คอ่ ยไปท่ี หู ตา คิ้ว 2. ช้ีชวนให้เด็กสนุกกับการจัดวางสิ่งของ หรือบอกตำแหน่ง โดยมีคำว่า ซ้าย ขวา หน้า หลัง บน ลา่ ง ยอด โคน ปลาย ต้น (เชน่ กระดมุ เส้ืออยูข่ า้ งหน้า กระดมุ เส้ืออย่ขู า้ งหลงั กระดมุ อยู่ ด้านข้าง ช้อนอยู่บนโต๊ะพอทำช้อนหล่น ช้อนมาอยู่ใต้โต๊ะ) หรือเล่นเป็นเกมออกคำส่ัง เช่น เอา ไมบ้ รรทัดวางใตส้ มดุ และเอาดนิ สอวางบนสมดุ 3. จัดหาพนื้ ที่/กลอ่ งเกบ็ ของเพ่อื สาธติ ใหเ้ ดก็ คนุ้ เคยกับการเก็บของ/ของเล่น/ของใช้ ตาม ประเภท 4. เลน่ ของเลน่ ทีเ่ ดก็ ไดเ้ รยี นรกู้ ารจัดกล่มุ สิง่ ของ (เช่น ถว้ ย จานชามอยู่ในครวั นกอย่บู น ตน้ ไม้ ดนิ สอหลน่ อยใู่ ต้โตะ๊ ) 5. ให้โอกาสเด็กได้เล่นบนพืน้ ดนิ พน้ื ไม้ พน้ื หิน และพื้นนำ้ อย่างสมำ่ เสมอ 6. ให้เด็กได้เคล่ือนไหวประกอบจังหวะตามคำส่ัง เช่น เคลื่อนไหวไปทางซ้าย ขวา ก้าว ถอยหลัง เดนิ ไปข้างหนา้ ฯลฯ คุณลักษณะ ชักชวน พูดคุย หรือสาธิต หรืออธิบายโดยใช้คำคุณศัพท์ ซึ่งหมายถึงคำท่ีขยายคำนาม (เชน่ ตุ๊กตาตัวใหญ่ ถ้วยนำ้ เลก็ กระตา่ ยขนนิม่ ผา้ สะอาด ถงุ เทา้ สีขาว เสอ้ื แขนส้ัน กางเกงขายาว สบู่หอม ขนมอร่อย เพลงเพราะนกสวย นิทานสนุก ฯลฯ) 3 - 39
แนวแนะวิธกี ารเล้ียงดู ดูแล และพัฒนาเดก็ ปฐมวยั ตามสมรรถนะ เพอ่ื เพมิ่ คุณภาพเด็กตามวัย 0-5 ปี หัวข้อที่ 17 เด็กแสดงความเขา้ ใจเกยี่ วกับเหตแุ ละผล อายุ 0 – 3 ปี พฤติกรรมบ่งชี้ ขอ้ 158 – 159 อายุ 3 – 5 ปี พฤติกรรมบ่งชี้ ขอ้ 194 – 206 อายุ 0 – 3 ป ี วธิ ีการ 1. ชี้ชวนให้เด็กสังเกตผลที่เกิดจากการกระทำของตนกับผลที่เกิดขึ้น (เช่น ทุกครั้งท่ี เปิด – ปิดสวติ ชไ์ ฟ ไฟจะสวา่ งและดบั ลง ทุกครัง้ ถา้ เปดิ – ปิดก๊อกนำ้ นำ้ จะไหลและหยุดไหล เม่ือ เอาไมต้ ีกลอง เสียงกลองจะดัง) ขอ้ ควรระวัง มอื ทใ่ี ช้เปิด – ปิดสวติ ชต์ า่ งๆ ต้องแห้ง และเพอ่ื ความปลอดภยั ทั้งตัวเดก็ ตอ้ งแห้ง 2. ชวนเด็กพูดคุยถึงเหตุและผลในเร่ืองใกล้ตัวว่า ทำไมเด็กจึงต้องทำสิ่งต่างๆ โดยเฉพาะ ในเรื่องกิจวัตร เด็กจะเข้าใจมากขึ้นวันละเล็กวันละน้อยว่า ทำไมเด็กต้องทำสิ่งต่างๆ ทำแล้วมีผล อยา่ งไรต่อตวั เด็กหรอื ผูอ้ ื่น (เช่น เหตแุ ละผลของการแปรงฟนั เหตแุ ละผลของการใส่รองเท้า ฯลฯ) 3. พอ่ แมส่ รา้ งความคนุ้ เคยในการจดั ลำดบั การกระทำของกจิ วตั ร และกจิ กรรมในแตล่ ะวนั (เช่น ต่ืนนอนแล้วไปอาบน้ำ เช็ดตัวให้แห้ง แปรงฟัน และใส่เสื้อผ้า) พร้อมกันนั้น พ่อแม่คอย ทบทวนกจิ วัตรและกจิ กรรม ตลอดจนการวางแผนในวนั รุ่งขน้ึ วา่ จะทำอะไร 4. ฝึกให้เดก็ คาดเดาวา่ ส่ิงที่เดก็ ทำจะเป็นอย่างไร แลว้ ตดิ ตามผล (เช่น ตอกไขใ่ สช่ าม เมอื่ ลงกะทะจะเกดิ อะไรขน้ึ หรือเอาเมลด็ ถว่ั ฝงั ดินแลว้ รดนำ้ แล้ว จะเกดิ อะไรขนึ้ ตอ่ ไป) 5. ชวนเด็กเล่นสนุกด้วยการตั้งคำถามให้เด็กฝึกการคาดเดา โดยไม่มุ่งหวังว่าเด็กจะตอบ ถกู หรือผิด (เชน่ ในนทิ านเรอ่ื งน้ี ถา้ กระตา่ ยไม่นอนหลับไป หนูวา่ อะไรจะเกดิ ขน้ึ หรือหากกระต่าย เปียกฝน หนวู า่ มันจะทำอย่างไร) 6. ทำความเข้าใจกับเด็กด้วยการเล่า หรือการทบทวนความจำว่าเราจะทำอะไร (เช่น การป้ันดินน้ำมัน) โดยการลำดับการเล่นต้ังแต่ต้นจนไปถึงตอนสุดท้าย คือการเก็บข้าวของ และ การทำความสะอาด เปน็ ต้น 3 - 40
แนวแนะวธิ กี ารเล้ียงดู ดูแล และพฒั นาเด็กปฐมวยั ตามสมรรถนะ เพ่ือเพ่ิมคุณภาพเด็กตามวยั 0-5 ปี อายุ 3 – 5 ปี วธิ ีการ 1. ผู้ใหญ่ชวนเด็กล้างมือก่อนและหลังรับประทานอาหาร พร้อมให้เหตุผลท่ีเด็กเข้าใจได้ (เช่น ล้างมือก่อนอาหารเพ่ือให้มือสะอาดก่อนหยิบอาหาร และล้างมือหลังอาหารเพราะมือเปื้อน อาหารจงึ ตอ้ งล้างมอื ) เชน่ เดียวกับการทำกจิ วตั รอ่นื ๆ ได้แก่ การแปรงฟนั การอาบน้ำ หลังการเข้า ห้องน้ำ เปน็ ต้น 2. ผู้ใหญ่อธิบายความเก่ียวเน่ืองระหว่างเหตุการณ์ 2 อย่าง (เช่น เม่ือฝนตกเราจะเปียก หรือแดดออกจ้าเราจะร้อน หรือเปิดพัดลมแล้วเราจะเย็นสบาย หรือเปิดสวิตช์ไฟห้องจะสว่าง ปดิ สวติ ชห์ ้องจะมืด) ข้อควรระวัง มือท่ีใช้เปิด – ปิดสวิตซ์ต่างๆ ต้องแห้ง เพื่อความปลอดภัยของเด็กและ ผ้อู มุ้ เดก็ 3. ชวนเด็กคุยให้เข้าใจสภาพแวดล้อมต่างๆ โดยชวนกันถามว่า ทำไม และอย่างไร (เช่น ทำไมกลางวันจึงสว่าง กลางคืนจึงมืด หรือไข่ดิบถูกความร้อนแล้วเป็นอย่างไร หรือเกิดอะไรขึ้น) หรือชวนเด็กปลูกสวนครัว และเด็กจะเห็นว่าเหตุใดต้นไม้จึงโต หรือชี้ชวนว่าทำไมเราไม่ควรเด็ด ดอกไม้ หรอื ไม่ควรทงิ้ ขยะไมเ่ ปน็ ที่ หรอื ทำไมเราควรข้ามถนนบนทางม้าลาย หรือเม่ือสัญญาณไฟ จราจรให้รถวง่ิ สีเขียว เราตอ้ งหยดุ ขา้ มถนน ข้อควรระวัง ผู้ใหญไ่ ม่ควรตำหนิ หรอื ทักทว้ งไมเ่ หน็ ด้วยเม่อื เด็กให้เหตผุ ลไม่ถกู ตอ้ ง 4. เล่านิทานให้เด็กฟัง หรือชวนเล่นบทบาทสมมุติ แล้วพูดคุยถึงเหตุผล และลำดับ เหตุการณก์ อ่ นหลัง 5. ผู้ใหญ่ให้เด็กดูภาพ 3 – 4 ภาพแล้วให้เด็กเรียงภาพตามลำดับเหตุการณ์ แล้วให้เด็ก บอกเล่าตามลำดับเหตุการณ์ให้ฟัง 6. ผู้ใหญ่ชวนเด็กเล่นเกมหาภาพที่ผิด หรือไม่ผิดปกติ แล้วให้เด็กบ่งชี้ส่วนของภาพที่ไม่ สอดคลอ้ งกับภาพอื่น หรอื สว่ นอืน่ ของภาพ (เช่น แดดออกมีภาพคนใสเ่ ส้ือฝน) 7. ชวนให้เดก็ คดิ ว่าของอะไรที่ใช้แทนกนั ได้ (เช่น เกลอื แทนนำ้ ปลา กระทงใบตองใชแ้ ทน ถ้วย ใบพายเลก็ ใชแ้ ทนช้อนตักขนม ใช้ดอกอัญชญั ใส่ขนมให้เป็นสนี ำ้ เงนิ ) 8. ชวนให้เดก็ สงั เกตสง่ิ ที่อยู่บนโต๊ะอาหาร (เชน่ ผักสด กบั ผกั ตม้ สกุ ) เหตใุ ดผัก 2 ชนดิ จึง ตา่ งกนั 9. ให้โอกาสเด็กเล่นเกมที่ฝึกการคิดบ่อยๆ (เช่น เกม 20 คำถาม เกมจัดของจำเป็นที่สุด เม่ือไปทะเล) 3 - 41
แนวแนะวิธีการเลี้ยงดู ดแู ล และพฒั นาเด็กปฐมวัย ตามสมรรถนะ เพือ่ เพิม่ คุณภาพเดก็ ตามวยั 0-5 ปี หวั ขอ้ ท่ี 18 เดก็ สามารถเปรียบเทยี บ แยกแยะ ความเหมือน ความแตกตา่ ง และประเมินสถานภาพ อายุ 0 – 3 ปี พฤติกรรมบง่ ช้ี ข้อ – อายุ 3 – 5 ปี พฤตกิ รรมบ่งชี้ ข้อ 207 – 213 อายุ 0 – 3 ปี – อายุ 3 – 5 ปี วธิ กี าร 1. ชวนเด็กให้สังเกต และชวนพูดคุย/ถามเพ่ือให้เด็กเข้าใจการเปรียบเทียบ (เช่น อาหาร จานนี้อร่อย อาหารอีกจานไม่อร่อย) หรือให้เด็กบอกอะไรช้า อะไรเร็ว (เช่น เต่าเดินช้า กระต่าย วิ่งเรว็ ) หรือในกรณที ่ีเหมือนกนั (เช่น จานกนิ ข้าวแบน ชามกนิ ขา้ วไดเ้ หมือนกัน แตต่ ่างกนั ตรงชาม มกี น้ ลึกกว่า หรอื เก้าอี้ใชน้ ่งั เหมือนกัน แต่ต่างกันที่ตวั นี้มีพนักพิง อีกตัวไมม่ ีพนกั พิง) 2. ให้เด็กสังเกตและบอกได้ว่าส่ิงใดบนโต๊ะอาหารเข้าชุดกัน (เช่น ช้อนกับส้อม ตะเกียบ แกว้ กับท่รี องแก้ว) 3. เปิดโอกาสให้เด็กจัด แยกแยะกลุ่มสิ่งของที่ใช้ในชีวิตประจำวัน (เช่น ในตู้เสื้อผ้ามีแต่ เสอ้ื ผ้าต่างๆ ท่ีสะอาดแลว้ สว่ นต้เู ก็บของเลน่ มแี ต่ของเล่นเท่านั้น ถ้วย ชาม แก้วน้ำ หรือภาชนะท่ี ใสอ่ าหารอยใู่ นครัว หรืออาหารสดอยใู่ นตเู้ ย็น เปน็ ตน้ ) 4. ให้เด็กบอกความคิดเห็นของตนเองเก่ียวกับสภาพแวดล้อมท่ีประสบ (เช่น ห้องนอน สะอาด ฝนตกเฉอะแฉะ ถนนมฝี นุ่ โรงเรยี นเรยี บรอ้ ย กองขยะไม่มใี ครมาเก็บเหม็น) 5. ชี้ชวนให้เด็กเห็นสภาพตรงกันข้าม (เช่น อยู่กลางแจ้งร้อน เมื่อเข้าไปในห้องมีแอร์จะ เย็นสบาย หรือชา้ งตัวใหญ่ มดตัวเลก็ อาบน้ำตัวเปียก เช็ดตัวแลว้ ตวั แหง้ มือเป้อื นดนิ แลว้ สกปรก ลา้ งมือแลว้ สะอาด) 6. ชวนใหเ้ ดก็ บอกลกั ษณะของส่งิ ของท่ีตา่ งกัน (เชน่ เก้าอี้ กับ ไม้กวาด) และเม่ือเดก็ มีวยั ที่มากข้ึน ควรเพ่ิมเกณฑ์มากกว่า 2 เกณฑ์ (เช่น รูปร่างทรงกระบอก รูปร่างสามเหล่ียม และ รปู รา่ งวงกลมกบั สที ่ีเหมือนกนั ) 7. ชวนเดก็ เล่นเกมคำตรงกนั ขา้ ม 3 - 42
แนวแนะวิธกี ารเลย้ี งดู ดแู ล และพฒั นาเดก็ ปฐมวัย ตามสมรรถนะ เพ่ือเพมิ่ คณุ ภาพเด็กตามวยั 0-5 ป ี หัวข้อที่ 19 เด็กสามารถแกป้ ัญหาได ้ อายุ 0 – 3 ปี พฤตกิ รรมบง่ ช้ี ขอ้ – อายุ 3 – 5 ปี พฤติกรรมบง่ ช้ี ข้อ 214 – 217 อายุ 0 – 3 ป ี – อายุ 3 – 5 ป ี วธิ ีการ 1. เม่ือเด็กมีปัญหา (เช่น ใส่รองเท้าผิดข้าง ใส่เสื้อกลับด้าน) ผู้ใหญ่ต้องปล่อยให้เด็ก ทดลองแก้ปัญหาด้วยตนเองก่อน หากเด็กแก้ปัญหาด้วยตนเองไม่ได้ ผู้ใหญ่ควรตั้งคำถามปลายเปิด เพอื่ ชวนใหเ้ ด็กคิดถงึ วิธีการแกป้ ญั หาใหม้ ากท่สี ดุ (เช่น “หนูลองเปลี่ยนข้างรองเทา้ สลบั กันดีไหม”) 2. เล่านิทาน หรืออ่านหนังสือให้เด็กฟัง แล้วถามความเห็นเด็กว่า ถ้าหนูเป็นตัวละครใน นิทานเร่อื งนหี้ นูจะทำอย่างไร หรอื ให้เดก็ แตง่ นิทานต่อตอนจบของเรอ่ื ง หรอื ให้เดก็ เปลีย่ นตอนจบ ของเรือ่ งใหม่ โดยใหเ้ ร่อื งทเ่ี ดก็ แต่งขน้ึ ใหม่มีความสอดคล้องกบั ตอนต้นของเรื่อง 3. ชวนเด็กเล่าเรือ่ งท่ีโรงเรียนให้ฟงั หรอื ใหเ้ ด็กเล่าเรื่องทีเ่ ลน่ กบั เพ่อื น หรือคนอื่นๆ ท่ีเด็ก ไดไ้ ปพบมาในวนั นี ้ 4. ฝึกการคิดนอกกรอบด้วยการใช้เหตุผล (เช่น หากเพื่อนแกล้งที่โรงเรียนจะทำอย่างไร หรือหากทำน้ำหกบนโต๊ะอาหารจะทำอย่างไร หรือหากไม่ใช้ขาเดินแล้วใช้อะไรเดินได้บ้าง หรือ หากไมใ่ ช้ช้อนตกั ขา้ วแล้วจะใช้อะไรแทน หรอื หนจู ะทำอยา่ งไรเมอื่ เอื้อมหยิบของไม่ถึง) 3 - 43
แนวแนะวิธกี ารเล้ียงดู ดูแล และพฒั นาเดก็ ปฐมวัย ตามสมรรถนะ เพื่อเพมิ่ คณุ ภาพเด็กตามวยั 0-5 ปี หัวขอ้ ที่ 20 เดก็ สามารถจดจ่อกบั การทำกิจกรรมด้วยความตงั้ ใจ อายุ 0 – 3 ปี พฤตกิ รรมบง่ ช้ี ขอ้ 160 – 167 อายุ 3 – 5 ปี พฤติกรรมบ่งชี้ ขอ้ 218 – 224 อายุ 0 – 3 ป ี วิธีการ 1. ชวนเด็กเล่นสง่ิ ของต่างๆ ที่สามารถเรียงตอ่ กนั ได้ (เช่น กลอ่ ง บลอ็ กไม)้ โดยนำของมา ต่อเรียงกันเป็นแถวยาว เล่นสมมุติเป็นรถไฟ เมื่อเด็กทำได้ให้ชมเชย และสนับสนุนให้เด็กต่อเองให้ ยาวขนึ้ 2. ชี้ชวนให้เด็กพยายามนำของออกจากภาชนะ โดยแบ่งเป็น 2 ช่วง คือช่วงแรก นำ บลอ็ กออกจากภาชนะปากกว้าง แล้วค่อยๆ เปลย่ี นเปน็ ภาชนะปากแคบลง ในช่วงท่ี 2 ใหเ้ ด็กลอง พยายามทำระยะหนงึ่ หากเดก็ ยังทำไม่ได้ ใหพ้ อ่ แม่ทำให้เดก็ ดู แลว้ ลองให้เดก็ ทำใหม่ 3. ชวนเด็กเล่นร้อยลูกปัด โดยใช้ลูกปัดขนาดใหญ่ ซ่ึงมีเส้นผ่าศูนย์กลางขนาดประมาณ 1 น้ิว ไม่น้อยกว่า 5 ลูก และเชือกสำหรับร้อยยาวประมาณ 12 น้ิวให้เด็ก เม่ือเริ่มเล่นให้พ่อแม่ ทำให้ดูก่อนทีละลูก เดก็ จะสังเกตแล้วลองพยายามทำดบู า้ ง ในระยะแรกพ่อแม่อาจช่วยประคองมือ ก่อน แต่ไม่นานเด็กจะทำได้ด้วยตนเอง การเล่นเช่นนี้มีประโยชน์ในการฝึกความสัมพันธ์ระหว่างตา กับน้ิวมือและการคาดระยะ รวมท้ังการแก้ปัญหาด้วยตนเอง ขอ้ ควรระวงั ควรเลน่ ร้อยลกู ปดั บนเสื่อหรอื บนพรม หรอื บนพ้นื ทีม่ ีผ้าปูรองเพอื่ ไม่ให้ ลูกปัดกล้ิงไปไกล และไม่ควรใช้ลูกปัดขนาดเล็ก พร้อมกันน้ีผู้ใหญ่ควรดูแลอย่างใกล้ชิดเพราะเด็ก อาจนำลกู ปัดเขา้ ปากหรือจมูก 4. พอ่ แม่ชวนเด็กเล่น “กระดานปกั หมดุ ” หรือของเล่นอย่างอ่นื ทีม่ ลี ักษณะเดียวกนั และ ไม่เป็นอันตราย (เช่น ที่เสียบแปรงสีฟัน แผ่นรังผึ้งเตาถ่าน) โดยพ่อแม่ปักหมุดให้ดูก่อน เด็กจะ สังเกตแล้วทำดูบ้าง ครั้งแรกๆ เด็กอาจยังทำไม่ได้เด็กอาจหมดความสนใจ พ่อแม่จึงไม่ควรเซ้าซ้ ี จนเด็กรำคาญ แต่ใหเ้ ก็บของเลน่ ไวก้ ่อน แล้วค่อยชวนเด็กมาทดลองเลน่ ดว้ ยกันใหม่ เมอื่ เด็กคอ่ ยๆ ทำไดใ้ หช้ มเชย 5. ชวนเด็กเล่นจับคู่ส่ิงที่เหมือนจากของเล่นรอบตัว หรือของท่ีมีอยู่ หรือของเล่นที่ซื้อหา มาโดยนำของที่มีรูปร่าง/ลักษณะเหมือนกัน 2 ช้ิน วางรวมไว้กับของอื่นๆ ที่มีรูปทรงไม่เหมือนกัน (เชน่ บลอ็ กรปู สเี่ หลยี่ ม รปู ทรงกระบอก ลกู มะนาว) เพอ่ื ใหเ้ ดก็ จบั คทู่ ม่ี ลี กั ษณะ/รปู ทรงเหมอื นกนั 3 - 44
แนวแนะวธิ กี ารเล้ียงดู ดูแล และพฒั นาเดก็ ปฐมวัย ตามสมรรถนะ เพือ่ เพมิ่ คุณภาพเดก็ ตามวัย 0-5 ปี 6. ชวนเด็กเล่นเกม “จับคู่ภาพเหมือน” คือจัดให้มีภาพเหมือนและภาพไม่เหมือนกัน วางคละกัน แล้วให้เด็กจับคู่ภาพเหมือน และเม่ือเด็กมีอายุมากขึ้นควรเพ่ิมโอกาสการเล่นจับคู่ให้ เด็กจบั หลายคเู่ หมือนกนั หรือคตู่ ่างกัน 7. ชวนเดก็ เล่นจับคูส่ ิ่งของทใ่ี ชด้ ้วยกัน (เช่น ดนิ สอกบั กระดาษ ยาสีฟนั กับแปรงสฟี นั เส้ือ กบั กางเกง/กระโปรง ชอ้ นกับส้อม) โดยผู้ใหญ่อธิบายวธิ เี ล่น และทำใหเ้ ด็กดกู อ่ น เด็กจะทดลองทำ ดบู า้ ง เด็กจะชอบใจทีท่ ำได้ และพอ่ แม่ควรช่ืนชม 8. จัดของให้เป็นที่เป็นทางและแนะนำให้เด็กรู้ว่าเด็กควรต้องเก็บอะไรไว้ท่ีไหน ซึ่งเป็นท่ี ของส่งิ ของนั้นๆ โดยเฉพาะของใชข้ องเดก็ เอง เช่น รองเท้า กระเปา๋ เป้ เสือ้ ผ้าที่ใช้แล้ว แปรงสฟี ัน อายุ 3 – 5 ป ี วธิ กี าร 1. ส่งเสริมให้เด็กทำงานจนสำเร็จโดยไม่เข้าไปรบกวน หรือหันเหความสนใจของเด็กไปท่ี ส่ิงอ่ืนแทนขณะทเ่ี ด็กจดจ่อกบั การทำงานนน้ั อยู่ก่อนแล้ว 2. ให้กำลังใจหรือให้คำปรึกษาเพ่ือเพิ่มความตั้งใจให้ทำงานจนสำเร็จ และเมื่อเด็กทำงาน สำเร็จ ผใู้ หญ่ตอ้ งชมเชยเดก็ 3. ผู้ใหญ่จัดหาอุปกรณ์การเรียนรู้ หรือเกี่ยวกับกิจกรรมท่ีส่งเสริมความต้ังใจ จดจ่อสมาธิ ของเดก็ (เชน่ การตอ่ ภาพ การร้อยลกู ปัด การเลน่ ดนตรี การวาดภาพ การเล่นตา่ งๆ) 4. จัดสถานท่ีให้เด็กมีความสงบในการทำกิจกรรมโดยไม่มีใครมารบกวน (เช่น บริเวณท่ี เด็กวาดรูป มุมอ่านหนังสือ) อย่างไรก็ตาม อาจเปิดเพลงบรรเลงเบาๆ ประกอบการทำกิจกรรม เพอ่ื เอ้อื ต่อการทำงานทีต่ ้องใช้สมาธิ 5. ชักชวนเด็กให้ทำกิจกรรมการประดิษฐ์ของเล่นจากการรวบรวมวัสดุเหลือใช้ หรือวัสดุ รอบตัว เพือ่ สรา้ งนิสยั ของการมคี วามตงั้ ใจ จดจ่อ 6. เม่ือสังเกตเห็นเด็กอยู่น่ิงไม่ได้เป็นประจำ ควรปรึกษาแพทย์หรือนักจิตวิทยา พ่อแม่ ควรบนั ทกึ พฤติกรรมของเดก็ เพอ่ื แสวงหาความชว่ ยเหลอื และเยียวยา 3 - 45
แนวแนะวิธีการเล้ียงดู ดแู ล และพฒั นาเดก็ ปฐมวัย ตามสมรรถนะ เพอ่ื เพ่มิ คณุ ภาพเด็กตามวยั 0-5 ป ี หัวขอ้ ที่ 21 เดก็ สามารถอ่านตวั เลข นบั เลข และรู้จำนวน อายุ 0 – 3 ปี พฤตกิ รรมบง่ ช้ี ข้อ 195 – 200 อายุ 3 – 5 ปี พฤตกิ รรมบง่ ช้ี ขอ้ 225 – 246 อายุ 0 – 3 ป ี วิธีการ 1. สอนให้เด็กรู้จักการนับดว้ ยปากเปลา่ เชน่ นบั 1 – 3 หรือถงึ 6 2. สนุกกบั เด็กในการเล่นนบั น้วิ หรือสง่ิ ของต่างๆ รอบตัวจำนวน 1 – 3 อย่เู สมอ รวมทง้ั เปรียบเทียบจำนวนของสงิ่ ของต่างๆ (เชน่ ก้อนกรวดกองนม้ี ีมากกวา่ อกี กองหนึง่ ) 3. ให้เด็กได้มีโอกาสเล่นภาพตัดต่อจำนวน 4 – 6 ชิ้นท่ีไม่เป็นภาพซับซ้อน และเม่ือเด็ก ทำได้ พ่อแม่คอ่ ยๆ เปลย่ี นเปน็ ภาพท่ีซับซ้อนขน้ึ และมีหลายชน้ิ ขึ้น 4. สร้างประสบการณ์ให้เด็กรู้จักความแตกต่างระหว่างมิติของ “ขนาด” และ “จำนวน” โดยเน้นความมากกวา่ และความนอ้ ยกว่า กล่าวคอื มิตขิ องจำนวน (เช่น เอาชอ้ นหลายคนั มากองไว้ 2 กอง ซ่ึงกองหนึ่งมีจำนวนมากกว่าอีกกองหน่ึง เพื่อให้เด็กสังเกตว่ากองไหนมากกว่ากองไหน) หรือมติ ขิ องขนาด (เชน่ นำแก้วน้ำมา 2 ใบท่ีขนาดเทา่ กันและเหมอื นกนั โดยในแก้วแรกมีนำ้ เพียง ครึ่งแก้ว ส่วนอีกแก้วหน่งึ มนี ้ำเต็มแกว้ แลว้ จงึ ใหเ้ ด็กสังเกตว่าแกว้ ไหนมีน้ำมากกว่า และแก้วไหนมี นำ้ น้อยกว่า) นอกจากน้ยี ังมีตวั อย่างการเปรยี บเทียบขนาด (เช่น หมากับมด อะไรตัวใหญ่กว่ากนั หรืออะไรตวั เลก็ กว่า หรือใหเ้ ดก็ สงั เกตโตะ๊ ซึง่ ตวั หนงึ่ ยาวกวา่ อีกตัวหน่ึง) เพ่ือให้เดก็ สงั เกตและรบั รู้ แนวความคิดเก่ียวกับ ความมาก ความน้อย ความใหญ่ ความเล็ก ความสั้น ความยาวของส่ิงท่ีอยู่ รอบตวั 3 - 46
แนวแนะวธิ ีการเลย้ี งดู ดูแล และพฒั นาเดก็ ปฐมวยั ตามสมรรถนะ เพื่อเพ่ิมคุณภาพเดก็ ตามวยั 0-5 ป ี อายุ 3 – 5 ป ี วิธกี าร 1. จัดให้เด็กมีประสบการณ์ หรือสังเกตของจำนวน “มาก” และของจำนวน “น้อย” (เชน่ นำกองบล็อก จำนวน 8 ช้ิน และกองบลอ็ ก จำนวน 3 ช้นิ หรือดินสอกองหน่ึง 5 แท่ง และ อีกกองหนึง่ 3 แท่ง) 2. สาธติ ให้เด็กดูว่าการเปล่งเสยี งนับ 1 – 5 คืออะไร 3. สาธิตการนับจำนวนสิ่งของต่างๆ ให้เห็นจริง (เช่น การใช้น้ิวมือ 1 น้ิว เปล่งเสียง 1 และการใช้นิว้ มือ 2 นว้ิ เปลง่ เสยี ง 2 จนทำไดท้ ้งั 5 น้ิว) และเม่ือเดก็ วัยเพิ่มขน้ึ ใหผ้ ู้ใหญ่เพ่มิ จำนวน การนับ 4. สาธติ ใหเ้ ดก็ รจู้ กั ตวั เลขอาราบคิ 1 – 9 เมอ่ื เดก็ รจู้ กั และนบั ไดแ้ ลว้ ผใู้ หญจ่ งึ สาธติ เลขไทย 5. ช้ชี วนใหเ้ ดก็ ใช้สญั ญลกั ษณ์แสดงจำนวน 1 , 2 , 3 , 4 , 5 เปน็ ต้น 6. สาธิตให้เด็กรู้จักการเปรียบเทียบ (เช่น ขนมห่อไหนมีลูกอมน้อยกว่า ถุงไหนมีของ มากกว่ากัน) 7. ชวนเด็กเล่นเกมจับคู่สิ่งของท่ีมีจำนวนเท่ากัน (เช่น แปรงสีฟัน 1 อัน กับช้อน 1 คัน ดินสอ 2 แท่งจับค่กู บั บล็อก 2 อัน) 8. เปิดโอกาสให้เด็กเล่นเกมกองบล็อก โดยจัดบล็อกเป็นกองๆ ให้มีจำนวนน้อยลง เปน็ ลำดบั หรือเพิ่มขึน้ ตามลำดบั 9. สรรหาเกมเก่ียวกับตัวเลข เกมเกี่ยวกับเลขคู่ เลขค่ี (เช่น จับคู่รูปภาพกับจำนวน เกมหาเลขคู่ เกมหาเลขค่ี เล่นหมากเก็บ อีตัก หรือเล่นบทบาทสมมุติเก่ียวกับการขายของ การแลกเปลี่ยนเงิน/ทอนเงิน เปน็ ต้น) 3 - 47
แนวแนะวธิ ีการเลี้ยงดู ดูแล และพัฒนาเดก็ ปฐมวัย ตามสมรรถนะ เพื่อเพ่มิ คณุ ภาพเด็กตามวยั 0-5 ปี หวั ข้อที่ 22 เด็กแสดงพฤติกรรมอยากรู้ อยากลอง โดยการมอง การฟัง การถาม จับต้อง และลงมอื ทำเกี่ยวกบั สิง่ แวดลอ้ มมีชวี ติ อายุ 0 – 3 ปี พฤตกิ รรมบง่ ช้ี ข้อ – อายุ 3 – 5 ปี พฤตกิ รรมบง่ ช้ี ข้อ 247 – 260 อายุ 0 – 3 ป ี – อายุ 3 – 5 ป ี วิธีการ 1. ให้เด็กดูภาพสัตว์จากหนังสือ ภาพวาด หรือพาเด็กไปเท่ียวสวนสัตว์ หรือช้ีชวนให้ดู สตั วต์ ่างๆ ในบ้าน (เชน่ มด ยงุ จ้งิ จก หมา แมว) และเรียกชือ่ สัตวท์ ่ถี ูกต้องใหเ้ ด็กได้รจู้ ัก รวมทั้ง ชวนใหส้ ังเกตวา่ สตั วเ์ หลา่ น้นั มีความเหมือน และต่างกนั อย่างไร 2. พาเด็กไปตลาดเพื่อช้ีชวนให้เด็กรู้จักและรู้ชื่อผักและผลไม้ และให้เด็กดูผลไม้ก่อน ปอกเปลอื ก 3. พาเด็กดูต้นไม้ในบ้าน พาเดินรอบสวนสาธารณะ ช้ีชวนให้เด็กสังเกตร้านขายดอกไม้ ให้รู้จักช่อื ดอกไม้ รวมทงั้ กลน่ิ และสีของดอกไม้ ลกั ษณะของตน้ ไมต้ า่ งๆ ทง้ั ลำต้นใหญ่ – เลก็ มีผล และไม่มผี ล หรอื บางต้นมีลักษณะเปน็ พุ่มเต้ยี บางต้นเป็นไม้เล้อื ย เปน็ ตน้ 4. ชี้ชวน พดู คุยกบั เดก็ ใหร้ จู้ กั สว่ นต่างๆ ของร่างกาย เพอื่ ใหเ้ ด็กไดร้ จู้ ักชอื่ คุณลักษณะ และหนา้ ท่ขี องรา่ งกายแต่ละส่วน (เช่น ปากมีไวท้ ำไม แขนมกี ข่ี า้ ง ใชท้ ำอะไรได้บ้าง หูมกี ี่หู และใช้ ทำอะไร หรือลนิ้ มไี วร้ ูร้ สชาติของไอศกรมี เป็นตน้ ) 5. เปิดโอกาสให้เด็กเล่นเกมผลัดกันนึกช่ือ หรือเกมจัดกลุ่ม พืช ผัก ผลไม้ หรือสัตว์บก สตั ว์น้ำ เป็นตน้ 6. สรรหาหนังสือภาพ หนังสือ วิดิทัศน์ เก่ียวกับพืชและสัตว์ให้เด็กอ่าน หรือชมเพ่ือรู้ถึง การกำเนิด และวถิ ีชวี ิตของพชื และสตั วต์ ่างๆ 7. พูดคุยเกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างคน สัตว์ พืช ที่มีผลต่อกัน (เช่น คนท้ิงขยะลง คลอง ทำให้น้ำเน่าเหม็นและปลาตาย หรือปลากินพืชในน้ำ แล้วคนกินปลา หรือต้นไม้บางชนิด เรานำมาปลูกบ้านอยูอ่ าศัย ฯลฯ) 3 - 48
แนวแนะวธิ กี ารเลย้ี งดู ดูแล และพัฒนาเด็กปฐมวัย ตามสมรรถนะ เพอื่ เพิ่มคณุ ภาพเด็กตามวยั 0-5 ปี 8. พาเด็กไปเรียนนอกห้องเรยี น หรือนอกสถานที่ (เช่น ไปแปลงผัก หรือแหล่งเรยี นรู้ใกล้ โรงเรยี น) พรอ้ มชวนเดก็ ให้สังเกตส่งิ ต่างๆ แลว้ เล่าใหค้ รฟู งั 9. สาธิตให้เด็กเข้าใจในเรื่องของการถนอมอาหารซ่ึงเป็นการเก็บอาหารไว้ให้ยาวนาน (เชน่ มะมว่ งสกุ กนิ ไมท่ นั จะเนา่ จงึ เอามากวนเปน็ มะมว่ งกวน แลว้ ใสข่ วดโหลไวก้ นิ ไดน้ าน เชน่ เดยี วกบั กล้วยตาก ปลาเคม็ ปลารา้ กระเทยี มดอง ผกั ดอง เปน็ ต้น) 10. ให้เด็กได้เล่นเกมการศึกษาเกี่ยวกับการเรียงลำดับการเจริญเติบโต และวงจรชีวิตของ พืชและสัตว์ (เช่น แม่นกออกไข่แล้วดูแลไข่ จนลูกนกออกจากไข่หัดบิน บินได้และไปสร้างรังของ ตนเอง) 11. อธิบายให้เด็กรู้ว่าส่ิงมีชีวิตบางชนิด ไม่สามารถมองเห็นด้วยตาเปล่า ต้องใช้กล้อง จุลทัศน์สอ่ งดู และสัตวบ์ างชนดิ อาจทำให้เราเจบ็ ป่วย (เชน่ ยุงลายทำใหเ้ ราเป็นไขเ้ ลือดออก เราจงึ ต้องระวังไม่ให้ยุงกัด แมลงวันทำให้เราท้องร่วง หรือเป็นอหิวาตกโรค เราจึงรับประทานอาหารท่ี สะอาด ล้างมือทกุ ครั้งกอ่ นและหลังรับประทานอาหาร) 12. จัดกิจกรรมให้เด็กเห็นความเปลี่ยนแปลง และความไม่คงสภาพของธรรมชาติ และ สิ่งต่างๆ รอบตัว (เช่น พายุฝนมาน้ำท่วม พอน้ำลงพื้นกลายเป็นโคลน เฉอะแฉะและสกปรก หรือ แดดออกแรง อากาศแห้งแล้ง มีตน้ ไม้เลก็ ๆ ตาย เพราะไม่มีน้ำ) 13. จัดกิจกรรมพาเด็กไปสัมภาษณ์บุคคลท่ีสามารถอธิบายให้เด็กเข้าใจถึงวิถีชีวิตของพืช และสตั วเ์ พื่อช่วยใหเ้ ด็กเขา้ ใจเรอ่ื งธรรมชาตขิ องสงิ่ มชี ีวติ 3 - 49
แนวแนะวธิ ีการเล้ยี งดู ดแู ล และพัฒนาเด็กปฐมวยั ตามสมรรถนะ เพื่อเพมิ่ คุณภาพเดก็ ตามวัย 0-5 ป ี หวั ข้อท่ี 23 เดก็ แสดงพฤติกรรมอยากรู้ อยากลอง โดยการมอง การฟัง การถาม จบั ตอ้ ง และลงมอื ทำเก่ยี วกบั สง่ิ แวดลอ้ มทไี่ ม่มชี วี ติ ต่างๆ อายุ 0 – 3 ปี พฤติกรรมบ่งชี้ ขอ้ – อายุ 3 – 5 ปี พฤตกิ รรมบง่ ชี้ ขอ้ 261 – 270 อายุ 0 – 3 ป ี – อายุ 3 – 5 ป ี วธิ กี าร 1. พูดคุยกับเด็กว่าในโลกนี้มีท้ังสิ่งมีชีวิตและไม่มีชีวิต และช้ีชวนให้เด็กคุยถึงลักษณะสิ่ง ไมม่ ชี ีวติ ว่ามอี ะไรบา้ ง ไม่ว่าจะอย่บู นดิน ใต้ดิน หรือบนฟา้ (เชน่ เสอื้ ผ้า โตะ๊ เกา้ อี้ พลาสตกิ ม้าน่งั หิน ไม้ แม่นำ้ ทะเล พระจันทร์ พระอาทติ ย์ เปน็ ตน้ ) 2. เปิดโอกาสให้เด็กได้เล่น ได้ทดลอง ได้สัมผัสกับสิ่งแวดล้อม (เช่น ดิน เป็นส่ิงไม่มีชีวิต อยู่ท่ีใด มีประโยชน์อย่างไร หรือก้อนหิน ก้อนกรวด ทราย คอนกรีต อิฐ แม่น้ำ ทะเล น้ำเค็ม น้ำกรอ่ ย น้ำจืด) 3. พาเดก็ ไปพพิ ิธภณั ฑ์ สวนสาธารณะ เพ่ือให้ได้ประสบการณพ์ บเห็นส่ิงต่างๆ และใหเ้ ดก็ ไดเ้ ลา่ หรอื วาดภาพในสงิ่ ทพ่ี บเหน็ 4. ให้เดก็ ได้รจู้ กั เครื่องมือ เครอ่ื งใช้ หรอื เทคโนโลยีของอาชีพตา่ งๆ พรอ้ มกับพาเด็กไปพบ ผู้ใช้เทคโนโลยีเหล่านั้น (เช่น เคร่ืองทอผ้า จักรเย็บผ้า เคร่ืองมือตกปลา และจับปลา เครื่องมือ ทางการเกษตร ฯลฯ) 5. สรรหาหนงั สอื วดิ ทิ ศั น์ สารคดี เกี่ยวกับโลก และฤดูกาลตา่ งๆ รวมท้งั ใหเ้ ดก็ มโี อกาส เลน่ แตง่ ตวั ตุ๊กตาท่ีเหมาะกับสภาพอากาศ หมายเหตุ : ผใู้ หญค่ วรพดู และอธิบายให้เด็กเขา้ ใจ ดว้ ยภาษาท่งี ่ายๆ 3 - 50
แนวแนะวิธกี ารเลย้ี งดู ดแู ล และพัฒนาเด็กปฐมวัย ตามสมรรถนะ เพื่อเพ่ิมคุณภาพเด็กตามวัย 0-5 ป ี หวั ขอ้ ท่ี 24 เด็กแสดงออกถงึ ความตระหนกั ร้เู กีย่ วกับคุณลกั ษณะของครอบครวั และบทบาทของครอบครัว อายุ 0 – 3 ปี พฤติกรรมบ่งชี้ ข้อ – อายุ 3 – 5 ปี พฤติกรรมบ่งชี้ ขอ้ 271 – 279 อายุ 0 – 3 ปี – อายุ 3 – 5 ป ี วธิ กี าร 1. พูดคุยกับเด็กเก่ียวกับความสัมพันธ์และความเกี่ยวข้องของตัวเด็กกับคนในครอบครัว และญาติพน่ี อ้ ง (เชน่ แม่เป็นลกู ของยายกบั ตา หนเู ปน็ หลานของยาย หนเู ปน็ ลกู ของพ่อกบั แม)่ 2. พูดคุยเก่ียวกับบทบาทและลักษณะเฉพาะของคนในสมาชิกในครอบครัว (เช่น คุณป้า ทำกบั ข้าวอรอ่ ย คณุ ตาผมขาวมีหนวด คุณน้าสวย) 3. ใหเ้ ด็กรบั ผดิ ชอบช่วยงานบา้ น (เช่น จดั โตะ๊ อาหาร กรอกนำ้ ) 4. ผ้ใู หญค่ วรปฏิบัติตนดตี ่อบพุ การี (ปู่ ย่า ตา ยายของลกู ) เพือ่ เปน็ ตวั อยา่ งแกเ่ ดก็ 5. คุยกับเด็กว่าอยากทำอะไรด้วยกันบ้าง ทำเมื่อไหร่ดี อยากทำกับใคร และผู้ใหญ่รับฟัง ความคิดและความรสู้ กึ ของเด็ก 6. หม่ันพาเด็กไปเยี่ยมและทำกิจกรรมกับญาติ (เช่น พ่ี ป้า น้า อา) รวมทั้งผู้ใหญ่ต้อง แนะนำเดก็ ให้ร้จู กั การวางตัวในสถานะอยา่ งไรในหมญู่ าต ิ 7. เล่นบทบาทสมมติเป็นคนในครอบครัว (เช่น การเล่นเป็นแม่เลี้ยงลูก การเล่นเป็นพ่อ กำลังกวาดบา้ น หรือเลา่ นทิ านเก่ยี วกับครอบครวั ให้เดก็ ฟงั ) 8. นำรูปถ่ายหรือรูปวาดสมาชิกในครอบครัวมาประกอบการพูดคุย การเล่าเร่ือง หรือจัด สมดุ ภาพ หรอื ใหเ้ ด็กวาดภาพครอบครวั แล้วผใู้ หญ่เลา่ เร่ืองประกอบภาพใหฟ้ งั 9. ผใู้ หญ่ชวนเด็กพดู คยุ เกีย่ วกบั ครอบครัวของเพ่ือนของลกู หรือครอบครัวของเพือ่ นบ้าน 10. พาลกู เขา้ รว่ มกจิ กรรมตา่ งๆ ทางศาสนา และวาระสำคญั ๆ ทางวฒั นธรรม และทางสงั คม 11. สถานพฒั นาเดก็ ปฐมวยั ควรจดั กิจกรรมวันครอบครวั (เช่น วนั พ่อ วนั แม่ วนั ครอบครัว วันผู้สูงอายุ) เพื่อจดั และสรา้ งเสริมเดก็ ให้มีความสัมพันธ์กับครอบครัว 3 - 51
แนวแนะวธิ กี ารเล้ียงดู ดแู ล และพัฒนาเดก็ ปฐมวัย ตามสมรรถนะ เพื่อเพิ่มคุณภาพเด็กตามวยั 0-5 ปี หวั ขอ้ ท่ี 25 เดก็ แสดงออกถงึ ความตระหนกั ร้เู กีย่ วกับชมุ ชนของตน การพึ่งพาซึง่ กนั และกนั และบทบาททางสังคมตา่ งๆ อายุ 0 – 3 ปี พฤตกิ รรมบ่งชี้ ข้อ – อายุ 3 – 5 ปี พฤติกรรมบง่ ชี้ ข้อ 280 – 294 อายุ 0 – 3 ป ี – อายุ 3 – 5 ปี วธิ กี าร 1. พาเด็กไปรู้จกั กับบุคคลและสถานท่ีในชุมชน (เช่น พาไปตลาด พาไปคุยกับพ่อค้าแมค่ ้า พาไปรจู้ ักเพอื่ นบา้ น) เพื่อให้ร้วู า่ ใครทำอะไรบา้ งในชุมชน 2. ชวนพูดคุยเพ่ือให้เด็กรู้ว่าอะไรคือสิ่งที่เป็นของตน อะไรเป็นของพ่ี หรือของน้อง หรือ ของครอบครัว หรอื ของผูอ้ น่ื หรือของส่วนรวม (เชน่ เสอื้ ตัวสีฟ้านเี้ ปน็ ของหนู เสอื้ ตวั เล็กสีแดงเปน็ ของนอ้ ง ต้นไม้ในบ้านเปน็ ของเรา ตน้ ไม้ในบ้านของเพือ่ นบ้าน เป็นของเพ่ือนบ้าน ตน้ ไม้รมิ ทางเป็น ของสว่ นรวม หรอื ของเลน่ ชิน้ นเี้ ปน็ ของหนู ตกุ๊ ตาหมีตวั ใหญ่เป็นของเพือ่ น บล็อกตอ่ เป็นของศนู ย/์ โรงเรียน) 3. ชี้ชวนให้เด็กสังเกตสิ่งของหรือสถานที่สำคัญในชุมชน (เช่น โรงเรียน ร้านขายของ ธงชาตไิ ทย เสาธง รถตำรวจ รถเมล์/รถสองแถว ฯลฯ) 4. ให้เด็กวาดภาพที่เหมาะสมกับวัยเก่ียวกับสถานท่ีสำคัญในชุมชนท่ีเด็กรู้จักหรือสนใจ หรือวาดสภาพแวดลอ้ มท่ีเกี่ยวกับชุมชนของตนเอง และให้เด็กเล่าเร่ืองเกีย่ วกบั ภาพทวี่ าด 5. ช้ีชวนใหเ้ ดก็ สงั เกต และเหน็ ความแตกต่างของคนในสงั คม ชุมชน (เชน่ อาชพี ชนเผ่า ภาษา หรอื เครอื่ งแตง่ กายตามเทศกาล อาหารทแี่ ตกตา่ งกนั และอาจใหเ้ ดก็ ลองชมิ อาหารทไี่ มเ่ คยกนิ ) 6. ผู้ใหญ่พูดคุยกับเด็กถึงอาชีพต่างๆ หรือโรงเรียนอาจเชิญบุคคลอาชีพต่างๆ มาพูดคุย กับเด็กในโรงเรียนเก่ียวกับอาชีพน้ันๆ (เช่น ครู หมอ ตำรวจจราจร คนเก็บขยะ สัตว์แพทย์ ผู้นำ ทางศาสนา พนกั งานทำความสะอาดถนน ฯลฯ) 7. พาเด็กไปเที่ยวต่างถ่ินให้ได้พบส่ิงท่ีแตกต่างจากท้องถิ่นของตน และชวนเด็กพูดคุยว่า อะไรทเ่ี ป็นเอกลกั ษณข์ องหมู่บา้ นของเดก็ และอะไรท่แี ตกตา่ งจากหมบู่ า้ นของตน เช่น ไปหมบู่ า้ นท่ี ทอผา้ หมู่บ้านท่ปี ้นั หมอ้ ดนิ หรือหมูบ่ า้ นที่มีต้นไม้แตกตา่ งออกไป 3 - 52
แนวแนะวิธีการเล้ียงดู ดูแล และพัฒนาเด็กปฐมวัย ตามสมรรถนะ เพือ่ เพม่ิ คุณภาพเด็กตามวยั 0-5 ป ี 8. เล่านิทาน หรอื อ่านหนังสือทมี่ ีเนือ้ หาเกี่ยวกับความรู้ในชมุ ชนของตนเอง 9. อ่านหนังสือ หรือเล่าเร่ือง หรือชวนสนทนาเก่ียวกับบทบาทของคนในสังคม และ การพงึ่ พาของคนในสงั คม (เช่น อาชีพต่างๆ ของคนในชุมชน หมอรักษาคนไข้ ครสู อนนกั เรยี น เมอื่ ครูไม่สบายตอ้ งไปหาหมอ เป็นต้น) โดยผใู้ หญ่ควรกล่าวถึงการพ่งึ พาระหว่างบุคคลต่างๆ ด้วย 10. ปลูกฝังให้เด็กเห็นคุณค่าของชุมชน ท้องถ่ิน และสภาพแวดล้อม รวมท้ังวัฒนธรรม ความเป็นอยู่ประเพณี ผลิตภัณฑ์ของชุมชน และการใช้ทรัพยากรที่มีอยู่ในชุมชนของตนให้เกิด ประโยชนค์ ้มุ คา่ และใหเ้ ดก็ เห็นภาพว่า ตนเองควรชว่ ยเหลือชุมชนอยา่ งไร (เชน่ ไม่ทงิ้ ขยะ ไม่เด็ด ดอกไม)้ 3 - 53
แนวแนะวิธีการเลย้ี งดู ดแู ล และพฒั นาเดก็ ปฐมวัย ตามสมรรถนะ เพอื่ เพม่ิ คุณภาพเด็กตามวยั 0-5 ปี หัวขอ้ ที่ 26 เด็กแสดงพฤติกรรมรักษาส่ิงแวดลอ้ ม และหลกี เล่ียงมลภาวะ อายุ 0 – 3 ปี พฤตกิ รรมบ่งช้ี ขอ้ – อายุ 3 – 5 ปี พฤติกรรมบง่ ช้ี ขอ้ 295 – 299 อายุ 0 – 3 ป ี – อายุ 3 – 5 ป ี วธิ ีการ 1. ฝึกเดก็ ใหร้ จู้ กั ขบั ถา่ ยเป็นท่ี และใช้ห้องนำ้ อย่างถูกวธิ ี รวมทัง้ การรกั ษาความสะอาดใน หอ้ งน้ำ รวมท้ังการลา้ งมือสะอาดภายหลังการใช้ห้องน้ำ 2. จัดให้มีที่ท้ิงขยะ และแยกขยะให้ถูกประเภท จัดนำเศษวัสดุเหลือใช้กลับมาใช้ใหม่ให้ เกิดประโยชน์ และจัดกิจกรรมเพ่ืออนุรักษ์ส่ิงแวดล้อม (เช่น เก็บขยะ ปลูกต้นไม้ ปลูกผักสวนครัว รดนำ้ ตน้ ไม้) 3. พาเด็กไปเดินเล่นในสวนสาธารณะ หรือแหล่งสวยงามตามธรรมชาติ ให้เด็กได้ชื่นชม และเห็นความสวยงามของธรรมชาติ พูดคุยกับเด็กให้ช่วยกันรักษา และไม่ทำลายธรรมชาติเพื่อให้ คนอื่นไดช้ ่นื ชมดว้ ย 4. ให้เด็กอ่านหนังสือ ดูสารคดี ภาพยนต์ รูปภาพ หรือเล่าเร่ืองผลดีของการดูแลรักษา ส่ิงแวดล้อม และผลเสียของการไมด่ ูแลสิง่ แวดลอ้ ม (เช่น น้ำทว่ ม ฝนแลง้ หรอื มลภาวะในอากาศ) 5. ชวนเด็กพูดคุยเพื่อให้เด็กเห็นคุณค่าของน้ำตามธรรมชาติ น้ำสะอาดในลำธาร หรือ อากาศไร้มลภาวะ หรือสงิ่ แวดลอ้ มทปี่ ราศจากขยะ 6. สอนให้เด็กใช้ทรัพยกรในครอบครัวอย่างประหยัด และคุ้มค่า (เช่น นำกระดาษหน้าท่ี ใช้แลว้ หน้าเดียว มาใช้ขีดเขยี น หรอื ไม่ทิง้ อาหารท่ียังสามารถรบั ประทานได้ จดั กจิ กรรมใชน้ ้ำ ใชไ้ ฟ อยา่ งประหยัด) 7. ปลูกฝังให้เด็กตระหนักรับรู้ถึงโทษของปริมาณขยะที่เพ่ิมข้ึน และส่ิงที่ย่อยสลายได้ยาก (เช่น พลาสติก กลอ่ งโฟม) และคุยกบั เดก็ เพ่อื ไมใ่ ห้เดก็ ทงิ้ ขยะ 8. พูดคุยกับเด็ก และอธิบายเหตุผล รวมทั้งฝึกปฏิบัติเม่ือต้องเผชิญกับสภาพท่ีมีมลภาวะ เมื่ออยู่ในที่ท่มี คี วนั มเี สยี งดัง มีกลนิ่ เหมน็ และรจู้ ักป้องกนั ตนเอง (เช่น สวมหนา้ กากอนามยั ไมไ่ ป ในท่ีดังกล่าว) 3 - 54
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279
- 280
- 281
- 282
- 283
- 284
- 285
- 286
- 287
- 288
- 289
- 290
- 291
- 292
- 293
- 294
- 295
- 296
- 297
- 298
- 299
- 300
- 301
- 302
- 303
- 304
- 305
- 306
- 307
- 308
- 309
- 310
- 311
- 312
- 313
- 314
- 315
- 316
- 317
- 318
- 319
- 320
- 321
- 322
- 323
- 324
- 325
- 326
- 327
- 328