Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Parenting guidelines for children 0-5 years old

Parenting guidelines for children 0-5 years old

Published by ปาริชาติ ปิติพัฒน์, 2021-05-22 04:31:00

Description: Parenting guidelines for children 0-5 years old

Search

Read the Text Version

แนวแนะวธิ กี ารเล้ียงดู ดูแล และพฒั นาเดก็ ปฐมวัย ตามสมรรถนะ เพอื่ เพม่ิ คณุ ภาพเดก็ ตามวยั 0-5 ป ี สมรรถนะของเด็กปฐมวัยในการพฒั นาตามวยั (3 – 5 ป)ี Thailand Early Childhood Behavioral Competency (3 - 4 - 5 ปี) 1 - 29

แนวแนะวธิ ีการเลี้ยงดู ดูแล และพัฒนาเด็กปฐมวัย ตามสมรรถนะ เพือ่ เพิม่ คณุ ภาพเด็กตามวัย 0-5 ปี สว่ นหลกั 1 (Domain 1) : การเคลื่อนไหวและสุขภาวะทางกาย (Motor Development and Physical Well – Being) สว่ นยอ่ ย 1.1 (Sub-domain 1.1) : การเคล่อื นไหว (Motor Skill Development) ด้าน (Area) : 1.1.1 การเคลอ่ื นไหวและการทรงตวั โดยใช้ กล้ามเนื้อมดั ใหญ่ (Gross Motor) สมรรถนะ (Competency) : หวั ข้อที่ 1 : เด็กสามารถแสดงความแขง็ แรงและประสาน การทำงานของกล้ามเน้ือมัดใหญ่ (Children demonstrate strength and coordination of movements using large muscles) พฤตกิ รรมบง่ ชี้ (Indicators) (1) ว่งิ ไดต้ รงไม่โซเซ และหยดุ เองได้ (3 ป)ี (2) กระโดด 2 เท้าอยกู่ บั ที่ (3 ปี) (3) เดินตามเสน้ เปน็ วงกลม ขนาดเส้นผ่าศูนยก์ ลางประมาณ 2 เมตร (3 ปี) (4) วงิ่ ตามเส้นเปน็ วงกลม ขนาดเส้นผา่ ศนู ยก์ ลางประมาณ 2 เมตร (3 ป)ี (5) เดนิ ข้ึนบนั ไดสลบั เท้าได้ (3 ปี) (6) ขว้างลกู บอลไปข้างหนา้ ได้ แมน่ ยำพอควร (3 ปี) (7) เตะลกู บอลไปขา้ งหน้าให้เขา้ ชอ่ งทกี่ ำหนด (3 ปี) (8) กระโดด 2 เท้าข้ามส่ิงของเลก็ ๆ โดยไมเ่ ซ (3 ปี) (9) ยืนขาเดียวโดยไมเ่ ซ ประมาณ 3 วินาที (3 ปี) (10) เดินต่อเทา้ ไปข้างหน้าเป็นเส้นตรงโดยไมต่ อ้ งกางแขน (4 ปี) (11) ปนี ป่ายเครื่องเลน่ (4 ป)ี (12) เดินลงบันไดสลับเทา้ ได้ (4 ป)ี (13) กระโดดขาเดียวอย่กู ับท่ี (4 ปี) (14) กระโดดขาเดยี วไปขา้ งหน้าอย่างตอ่ เนือ่ งได้ (4 ป)ี (15) วิ่งแบบก้าวกระโดด (Skipping) หรือว่ิงแบบมา้ ควบ (Galloping) (5 ป)ี (16) เดนิ ตอ่ เทา้ ถอยหลงั เปน็ เส้นตรง โดยไมต่ อ้ งกางแขน (5 ป)ี 1 - 30

แนวแนะวิธีการเล้ียงดู ดูแล และพฒั นาเดก็ ปฐมวยั ตามสมรรถนะ เพ่ือเพิม่ คุณภาพเดก็ ตามวัย 0-5 ป ี ด้าน (Area) : 1.1.2 การเคลอื่ นไหวโดยใชก้ ลา้ มเนอ้ื มดั เลก็ (Fine Motor) สมรรถนะ (Competency) : หวั ข้อที่ 2 : เดก็ สามารถแสดงความแข็งแรงและประสาน การทำงานของกล้ามเน้ือมัดเล็ก (Children demonstrate strength and coordination of movements using small muscles) พฤติกรรมบง่ ช้ี (Indicators) (17) ใช้มือจับดนิ สอหรอื อุปกรณ์อน่ื อย่างถูกวิธีในการขดี เขยี น (3 ปี) (18) วาดรูปวงกลมตามวธิ ีที่มีผ้ทู ำให้ดู (3 ป)ี (19) วาดรูปวงกลมตามรูปตัวอย่าง (3 ป)ี (20) วาดรปู คนท่มี ีส่วนประกอบอยา่ งนอ้ ยสามส่วน (3 ปี) (21) จับและใช้กรรไกรเลก็ ท่ีปลายมนตัดกระดาษได้ (3 ป)ี (22) ปกั หมดุ ในช่อง ขนาดหมดุ ใหญ่ 1– 2 ช่องได้ (3 ปี) (23) รอ้ ยลูกปัดขนาดเลก็ ประมาณเสน้ ผา่ ศนู ย์กลาง 1 ซม. (3 ปี) (24) วาดรปู สีเ่ หล่ยี มตามวิธีทม่ี ีผู้ทำให้ดู (4 ป)ี (25) วาดรปู สเ่ี หล่ยี มตามรปู ตัวอย่าง (4 ปี) (26) วาดรปู คนท่ีมสี ว่ นประกอบหา้ ส่วน (4 ป)ี (27) ใชก้ รรไกรเลก็ ตดั กระดาษเปน็ เส้นตรงยาว 6 นิ้ว ได้อยา่ งตอ่ เนอื่ ง (4 ป)ี (28) พบั กระดาษเปน็ รปู รา่ งต่างๆ โดยมีผู้ใหญช่ ว่ ย (4 ปี) (29) ผูกเชอื กรม่ เป็นปม 1 ช้นั (4 ปี) (30) แกป้ มเชือกรม่ 2 ชน้ั ได้ (4 ป)ี (31) วาดรปู สามเหลี่ยมตามวิธที ่มี ผี ทู้ ำให้ดู (5 ป)ี (32) วาดรูปส่ีเหลีย่ มข้าวหลามตัดตามวธิ ที มี่ ผี ูท้ ำใหด้ ู (5 ปี) (33) วาดรปู สามเหล่ียมตามรูปตัวอย่าง (5 ป)ี (34) วาดรูปส่เี หลี่ยมข้าวหลามตดั ตามรปู ตวั อย่าง (5 ป)ี (35) วาดรปู คนที่มีส่วนประกอบหกสว่ น (5 ปี) (36) วาดรปู คนทม่ี ีส่วนประกอบสิบส่วน (5 ป)ี (37) ใชก้ รรไกรตัดกระดาษตามรอยเส้นโคง้ หรอื เป็นรปู ร่างง่ายๆ (5 ปี) (38) พับกระดาษ เป็นรูปรา่ งต่างๆ ดว้ ยตนเอง (5 ปี) 1 - 31

แนวแนะวิธกี ารเลย้ี งดู ดูแล และพฒั นาเดก็ ปฐมวยั ตามสมรรถนะ เพอ่ื เพมิ่ คุณภาพเด็กตามวยั 0-5 ป ี ดา้ น (Area) : 1.1.3 ประสาทสัมผสั กับการเคลื่อนไหว (Sensorimotor) สมรรถนะ (Competency) : หวั ขอ้ ที่ 3 : เด็กสามารถใช้ประสาทสัมผัสต่าง ๆ (เช่น การเห็น ได้ยนิ กายสัมผัส ฯลฯ) เป็นการนำ ในการเคลื่อนไหว (Children are able to use their senses. (e.g: sight, hearing, touch etc.) to guide their movement) พฤติกรรมบง่ ชี้ (Indicators) (39) ยอ่ เขา่ เวลากระโดดลงบนั ไดข้นั สุดท้าย (3 ป)ี (40) ว่งิ รอบโตะ๊ โดยไม่ชนโตะ๊ (3 ปี) (41) มุดอุโมงค์ หรอื ลอดใตโ้ ต๊ะ โดยหัวไม่ชน (3 ป)ี (42) รนิ นำ้ จากขวดใสถ่ ว้ ยหรือขนั โดยไม่หก (3 ปี) (43) จัดวางสง่ิ ของหรอื วัสดซุ ้อนหรอื ตอ่ กนั ใหเ้ ป็นรปู รา่ งตา่ งๆ ตามตัวอยา่ งทต่ี งั้ ให้ด ู โดยวางของซอ้ นสับหว่างให้เปน็ สะพาน (ดว้ ยของ 3 ชน้ิ ) (3 ปี) (44) รับลูกบอลขนาดเสน้ ผ่าศูนย์กลาง 8 นิว้ ทีโ่ ยนมาจากระยะ 2 เมตร โดยรบั ดว้ ยสองมือ (3 ปี) (45) เดินถือถ้วยใส่น้ำคอ่ นถว้ ยโดยไม่หก จากดา้ นหนึง่ ของห้องไปอีกดา้ นหน่ึง ระยะทางประมาณ 4 เมตร (3 ป)ี (46) ยนื่ มอื รับถ้วยใส่น้ำคอ่ นถว้ ย (3/4 ถ้วย) แลว้ ส่งต่อใหเ้ พ่อื นไดโ้ ดยไม่หก (3 ปี) (47) รบั ลกู บอลขนาดเส้นผ่าศนู ยก์ ลาง 8 นิ้ว ที่กระดอนขน้ึ จากพน้ื ได้ดว้ ยมอื ท้งั สอง (4 ปี) (48) เคลือ่ นไหวร่างกายตามที่ตกลงกนั ให้คู่กับสัญญาณเสยี งทีผ่ ใู้ หญท่ ำขึน้ โดยเด็กไม่เห็นตน้ เสยี ง (4 ป)ี (49) จัดวางส่งิ ของหรือวัสดซุ ้อนหรือต่อกันใหเ้ ปน็ รูปรา่ งต่างๆ ตามตัวอยา่ งทีต่ ้ังให้ดู โดยวางของซ้อนเปน็ บนั ได 3 ข้ัน (ด้วยของ 6 ชนิ้ ) (4 ปี) (50) เคล่ือนไหวรา่ งกายตามทีต่ กลงกันใหค้ ู่กบั สญั ญาณเสียง ทผี่ ใู้ หญ่ทำขึ้น โดยเด็กเคล่ือนไหวร่างกาย 2 แบบตอ่ กัน เมอ่ื ได้ยนิ สัญญาณเสียง 2 ชนิดตอ่ กนั (4 ปี) (51) จดั วางสิ่งของหรือวสั ดซุ ้อนหรือต่อกนั ให้เป็นรปู ร่างตา่ งๆ ตามตวั อย่างทตี่ ้งั ใหด้ ู โดยวางของซอ้ นเป็นบนั ได 4 ข้นั (ดว้ ยของ 10 ชิน้ ) (5 ป)ี 1 - 32

แนวแนะวิธกี ารเลย้ี งดู ดูแล และพฒั นาเด็กปฐมวัย ตามสมรรถนะ เพ่ือเพิ่มคุณภาพเดก็ ตามวยั 0-5 ปี ส่วนยอ่ ย 1.2 (Sub-domain 1.2) : สุขภาวะทางกาย (Physical Well – Being) ด้าน (Area) : 1.2.1 โภชนาการ (Nutrition) สมรรถนะ (Competency) : หัวขอ้ ที่ 4 : เด็กรบั ประทานอาหารหลาย ๆ ชนิดที่ม ี ประโยชนแ์ ละปลอดภยั (Children eat a variety of nutritious and safe food) พฤตกิ รรมบง่ ช้ี (Indicators) (52) กินอาหารหลากหลายท่ีมปี ระโยชน์ครบ 5 หมู่ และดื่มนำ้ อยา่ งเพยี งพอ โดยมผี ู้ใหญ่ช่วยเหลอื แนะนำ (3 ป)ี (53) มีสว่ นรว่ มในการเตรยี มอาหารทีม่ ีประโยชน์ (เชน่ เด็ดผกั ตีไข่ ฯลฯ) (4 ปี) (54) แยกของทีก่ ินไดอ้ อกจากของท่ีกนิ ไมไ่ ด้ (4 ป)ี (55) บอกไดว้ า่ อาหารใดไม่ควรกิน (5 ปี) (56) ใชช้ ้อนกลางตกั อาหารท่ีเปน็ สำรบั รวม (5 ปี) 1 - 33

แนวแนะวธิ กี ารเล้ยี งดู ดูแล และพฒั นาเด็กปฐมวัย ตามสมรรถนะ เพ่ือเพ่มิ คุณภาพเดก็ ตามวยั 0-5 ปี ด้าน (Area) : 1.2.2 สมรรถภาพทางกาย (Physical Fitness) สมรรถนะ (Competency) : หวั ข้อท่ี 5 : เด็กแสดงความแข็งแรงและความทนทาน ทางร่างกาย (Children demonstrate physical strength and endurance) พฤติกรรมบง่ ชี้ (Indicators) (57) ทำกิจกรรมท่ีมีการเคลอื่ นไหวอยา่ งต่อเนอ่ื งอย่างนอ้ ย 10 – 15 นาที วนั ละ 2 – 3 รอบ (3 ปี) (58) นอนหลบั ไดเ้ พยี งพอ ตนื่ นอนตอนเชา้ อยา่ งสดชน่ื และพรอ้ มทจ่ี ะทำกจิ กรรมตา่ งๆ (3 ป)ี (59) ไมง่ ว่ งเหงาหาวนอนในเวลากลางวนั ยกเว้นเวลาที่กำหนดใหน้ อนพกั (3 ปี) (60) เล่นออกกำลงั กายอยา่ งอิสระหรอื ทกี่ ำหนดให้รวมกนั อยา่ งนอ้ ย 60 นาทีต่อวนั โดยแต่ละช่วงสามารถทำติดตอ่ กนั ได้ 15 นาที (เชน่ วิ่ง เต้น ป่ันจักรยาน เล่นกฬี า ฯลฯ) (3 ป)ี (61) หิว้ ยก หรอื แบกของน้ำหนักประมาณ 1 กิโลกรมั ในระยะทางสนั้ ๆ (3 ป)ี (62) มีแรงในการฝกึ ทกั ษะหลายคร้ัง (3 ปี) (63) ชวนเพอื่ นเล่นกิจกรรมทีต่ ้องมกี ารเคลอื่ นไหว (3 ป)ี (64) สามารถวิ่งติดตอ่ กันในระยะทาง 400 – 500 เมตร (5 ป)ี 1 - 34

แนวแนะวิธีการเล้ียงดู ดแู ล และพฒั นาเดก็ ปฐมวัย ตามสมรรถนะ เพ่อื เพิม่ คุณภาพเด็กตามวัย 0-5 ป ี ด้าน (Area) : 1.2.3 ความปลอดภยั (Safety) สมรรถนะ (Competency) : หวั ข้อท่ี 6 : เด็กแสดงออกว่ามคี วามเข้าใจเกี่ยวกับ ความปลอดภัย (Children express understanding of safety) พฤตกิ รรมบ่งชี้ (Indicators) (65) เลน่ อย่างปลอดภยั ตามคำแนะนำของผใู้ หญ่ (3 ป)ี (66) ไมล่ งเล่นนำ้ ตามลำพงั (เช่น อ่าง สระน้ำ ฯลฯ) (3 ปี) (67) รจู้ ักใชส้ ายตาอย่างเหมาะสม หลกี เล่ียงการใชส้ ายตาในทส่ี ว่างจ้าหรอื มืดเกนิ ไป (เช่น ไม่อ่านหนังสอื กลางแดดหรือทแ่ี สงไมพ่ อ ไมด่ โู ทรทศั น์ คอมพวิ เตอรใ์ นระยะใกล้ และนานเกินไป ไม่อา่ นหนังสอื ขณะท่ีรถแล่น ฯลฯ) (3 ปี) (68) รู้จักถอื ของแหลมหรอื มีคมทกุ ชนดิ อย่างปลอดภัย โดยไม่วิ่ง (เชน่ กรรไกร ไม้เสยี บลกู ชิ้นหรอื ดนิ สอแหลม ฯลฯ) (3 ป)ี (69) ไม่ไปกบั คนแปลกหนา้ (3 ปี) (70) รู้วา่ เมือ่ ตอ้ งการความชว่ ยเหลือจะตดิ ต่อกับใคร (3 ป)ี (71) บอกไดว้ ่าสภาพใดเป็นอนั ตรายต่อตนเอง ไม่เล่นในบรเิ วณทเี่ สี่ยงตอ่ อนั ตราย (4 ปี) (72) บอกผู้ใหญ่หรอื เตอื นเพ่อื นเม่ือเห็นเหตกุ ารณท์ เี่ ปน็ อนั ตราย (4 ปี) (73) บอกได้วา่ สง่ิ ใดเป็นอนั ตรายต่อตนเอง (5 ปี) (74) เข้าใจเครื่องหมายสญั ลักษณ์ท่ีบอกอนั ตราย และที่บอกความปลอดภยั (5 ป)ี (75) รจู้ กั ขา้ มถนนเฉพาะเมอื่ มผี ู้ใหญ่อยู่ดว้ ย และไมข่ ้ามถนนตามลำพัง (5 ปี) (76) บอกเลขหมายโทรศัพทเ์ ม่ือเกิดเหตฉุ กุ เฉิน (5 ป)ี (77) รู้จักสถานท่ตี ้ังของบา้ นตนเอง (5 ปี) (78) รู้จักวธิ ีปฏิบัติตนอยา่ งปลอดภัยขณะเดนิ ทาง (5 ปี) 1 - 35

แนวแนะวธิ ีการเลย้ี งดู ดแู ล และพฒั นาเด็กปฐมวยั ตามสมรรถนะ เพอ่ื เพิ่มคุณภาพเดก็ ตามวยั 0-5 ป ี ดา้ น (Area) : 1.2.4 การช่วยเหลือและดแู ลตนเอง (Autonomy and Personal Care) สมรรถนะ (Competency) : หัวข้อท่ี 7 : เดก็ สามารถชว่ ยและพ่งึ ตนเองไดใ้ นกจิ วัตร ของตน (Children demonstrate autonomy in daily living) พฤติกรรมบ่งช้ี (Indicators) (79) แปรงฟันเองแต่ผูใ้ หญย่ ังต้องช่วย (3 ป)ี (80) รจู้ กั แปรงฟันด้วยตนเอง (3 ปี) (81) ทำความสะอาดร่างกายหลงั ปัสสาวะและอจุ จาระ โดยมีคนชว่ ย (3 ปี) (82) ทำความสะอาดรา่ งกายหลงั ปัสสาวะและอจุ จาระ ไดด้ ้วยตนเอง (3 ปี) (83) สระผมโดยมคี นชว่ ย (3 ปี) (84) ร้จู กั หวผี ม (3 ป)ี (85) บอกไดว้ ่าต้องการจะถา่ ยอจุ จาระ (3 ป)ี (86) บอกได้ว่าต้องการจะปัสสาวะ (3 ปี) (87) ใส่รองเท้าชนิดสวมได้ แต่อาจจะสลับข้าง (3 ป)ี (88) ใสร่ องเท้าชนิดสวมไดถ้ ูกข้าง (3 ปี) (89 ใชช้ อ้ นตักอาหารกนิ ไดด้ ว้ ยตนเอง โดยไม่หก (3 ปี) (90) กินอาหารและน้ำดม่ื ท่ีสะอาด (3 ป)ี (91) ช่วยเกบ็ ทน่ี อน ของใช้ส่วนตวั ไว้ในท่ีเหมาะสม (3 ปี) (92) ดืม่ นำ้ หรอื นมจากถ้วยที่ถอื ยกขนึ้ ดม่ื ดว้ ยตนเองโดยไมห่ ก (3 ป)ี (93) อาบนำ้ และทำความสะอาดตนเองได้ (4 ปี) (94) สระผมไดเ้ อง (4 ปี) (95) ตดิ กระดมุ ทีม่ รี ังดมุ ซึ่งอย่ดู ้านหน้าของเส้อื ตนเองไดเ้ อง (4 ป)ี (96) ใส่เส้ือไดเ้ อง โดยร้จู กั ดา้ นหน้าด้านหลงั ของเสื้อ (4 ปี) (97) รู้จกั ปิดปากเวลาจามหรือไอ (4 ป)ี (98) รจู้ กั ลา้ งผลไม้ ให้สะอาดก่อนกนิ (4 ป)ี (99) ใชส้ ้วมเป็นและทำความสะอาดตนเองได้ (4 ปี) (100) ใช้ชอ้ นและสอ้ มกินอาหารได้ (5 ป)ี (101) ล้างมอื /มือทีเ่ ปื้อน หลังเข้าห้องสว้ ม และก่อนกนิ อาหารไดเ้ องโดยไมต่ อ้ งเตอื น (5 ปี) 1 - 36

แนวแนะวธิ ีการเลย้ี งดู ดูแล และพัฒนาเด็กปฐมวัย ตามสมรรถนะ เพอื่ เพิม่ คณุ ภาพเด็กตามวยั 0-5 ป ี สว่ นหลัก 2 (Domain 2) : พฒั นาการดา้ นสังคม (Social Development) สว่ นย่อย 2.1 (Sub-domain 2.1) : การมปี ฏิสัมพันธ์กบั ผใู้ หญ่ (Interaction with Adults) สมรรถนะ (Competency) : หัวข้อท่ี 8 : เดก็ แสดงทักษะในการมีปฏสิ ัมพันธ์กับผูใ้ หญ่ (Children interact with adults with appropriate social skills) พฤติกรรมบ่งชี้ (Indicators) (102) ทกั ทาย พดู คยุ ถามตอบกบั ผูใ้ หญ่โดยมีผ้ใู หญช่ ่วย (3 ปี) (103) ขอความช่วยเหลอื จากผ้ใู หญ่ (3 ป)ี (104) ทำส่งิ ต่างๆ เพอื่ เอาใจผ้ใู หญ่ (3 ปี) (105) มคี วามเช่อื ม่นั ในการปฏสิ มั พนั ธก์ บั ผใู้ หญค่ นอนื่ ทีไ่ ม่ใชเ่ ป็นพอ่ แม่ (เช่น ครู หมอ ฯลฯ) (3 ป)ี (106) มีปฏสิ มั พนั ธก์ บั ผู้ใหญ่อย่างเหมาะสมและมสี ัมมาคารวะ (3 ปี) (107) ชว่ ยเหลือผใู้ หญ่ทำงานบา้ นตามสมควร (3 ปี) (108) ไม่มพี ฤตกิ รรมกา้ วร้าวกับผใู้ หญ่ (3 ป)ี (109) ร้จู ักปรบั น้ำเสยี งและความดงั ตามสถานการณ์ต่างๆ โดยมผี ใู้ หญ่แนะนำ (3 ป)ี (110) สนใจฟังผูอ้ ืน่ พูดขณะสนทนา (3 ป)ี (111) รู้จกั ผลัดกันพดู ผลัดกันฟังในกลุม่ สนทนา (3 ป)ี (112) ใชถ้ อ้ ยคำและน้ำเสยี งท่ีอ่อนโยน (3 ป)ี (113) ทักทาย พดู คุยถามตอบกบั ผใู้ หญ่ด้วยตนเอง (4 ปี) (114) ชวนผใู้ หญ่เลน่ ด้วย (4 ปี) (115) ร้จู กั ต่อรองและประนปี ระนอมกบั ผใู้ หญเ่ มื่อมขี ้อขดั แย้งกนั (4 ป)ี (116) เสนอตวั ช่วยเหลอื ผใู้ หญ่ (4 ปี) (117) การมสี ว่ นร่วมกับผ้ใู หญ่ในการตัดสนิ ใจ หรือแสดงความเหน็ ของตนในเรอ่ื งตา่ งๆ (4 ป)ี (118) รูจ้ กั ปรับนำ้ เสยี งและความดงั ตามสถานการณ์ตา่ งๆ (4 ป)ี (119) ถ่ายทอดขอ้ ความท่ีไดร้ บั จากคนหน่ึงไปยังอกี คนหน่งึ ได้ถกู ตอ้ ง (4 ป)ี 1 - 37

แนวแนะวิธกี ารเลี้ยงดู ดูแล และพฒั นาเดก็ ปฐมวยั ตามสมรรถนะ เพอ่ื เพิม่ คณุ ภาพเด็กตามวยั 0-5 ป ี สว่ นยอ่ ย 2.2 (Sub-domain 2.2) : การมีปฏิสมั พนั ธก์ บั เพ่อื นเดก็ (Interaction with Peers) สมรรถนะ (Competency) : หวั ข้อที่ 9 : เดก็ แสดงทกั ษะทางสงั คมเชงิ บวกกับ เพอื่ นเด็กดว้ ยกนั (Children demonstrate positive social skills with peers) พฤติกรรมบง่ ชี้ (Indicators) (120) แสดงความสนใจเด็กคนอน่ื (3 ปี) (121) พูดคุยและเล่นกบั เพือ่ นเดก็ ดว้ ยกัน (3 ป)ี (122) เข้ารว่ มกิจกรรมกลมุ่ ได้ (3 ปี) (123) เลน่ อสิ ระกบั เพอื่ นเด็กจำนวน 2 คนขน้ึ ไป (3 ป)ี (124) ไม่แสดงพฤติกรรมก้าวรา้ วกบั เพอ่ื น (3 ปี) (125) ยอมรับความช่วยเหลือจากเพอ่ื น (3 ปี) (126) บอกชื่อเพ่ือนอย่างน้อย 1 ชื่อ (3 ป)ี (127) ยอมรบั กฎ กตกิ า เวลาเล่นกบั เพ่ือน (3 ป)ี (128) สร้างความสมั พนั ธ์ที่ดอี ยา่ งตอ่ เน่อื งกบั เพือ่ น เช่น บอกว่าคดิ ถึงเพื่อน คอยให้ มาเล่นด้วยกัน เก็บของหรอื ขนมไว้ใหเ้ พ่ือน (4 ปี) (129) ฟงั เพอื่ นและแสดงความคดิ เห็น (4 ปี) (130) ชว่ ยเหลอื เพ่อื น (4 ปี) (131) รว่ มกิจกรรมกล่มุ กบั เพ่ือนจนกิจกรรมนนั้ แล้วเสรจ็ (4 ปี) (132) เมอื่ มปี ัญหาขัดแย้งกับเพอ่ื น รจู้ กั ต่อรองหรอื ประนีประนอม (4 ปี) (133) ชวนเพอ่ื นมาเลน่ ด้วยกนั โดยกำหนดสถานท่ี (5 ปี) 1 - 38

แนวแนะวิธกี ารเลีย้ งดู ดูแล และพัฒนาเดก็ ปฐมวยั ตามสมรรถนะ เพือ่ เพมิ่ คณุ ภาพเด็กตามวยั 0-5 ป ี ส่วนยอ่ ย 2.3 (Sub-domain 2.3) : พฤติกรรมการปรับตัวทางสงั คม (Adaptive Social Behavior) สมรรถนะ (Competency) : หวั ขอ้ ที่ 10 : เด็กแสดงความตระหนกั รวู้ า่ พฤตกิ รรม มผี ลกระทบตอ่ บคุ คลและส่ิงแวดลอ้ ม (Children demonstrate awareness of their own behavior and its effect on other people and environment) พฤตกิ รรมบ่งชี้ (Indicators) (134) แบง่ ปนั กบั เพื่อน และผลดั กนั เลน่ โดยมผี ู้ใหญ่คอยชว่ ยเหลอื แนะนำ (3 ป)ี (135) เมอ่ื เผชญิ สภาพแวดลอ้ มทีแ่ ปลกใหม่ก็กล้าที่จะลองทำส่งิ ใหมๆ่ ทท่ี า้ ทาย (3 ปี) (136) ถามผลที่เกดิ จากการกระทำของตนเอง (เช่น ถ้าหนูพูดเสยี งดัง ทำไมเพื่อนตอ้ งโกรธ) (4 ป)ี (137) ปรบั เปลย่ี นบทบาทได้ในโอกาสท่เี หมาะสม (4 ป)ี (138) ขอเขา้ รว่ มกจิ กรรมกบั กลุ่มเพ่ือน ในขณะทีก่ ลุม่ กำลงั ทำกิจกรรมอยู่ (4 ป)ี (139) ปลอบเม่อื เหน็ เพ่อื นเจบ็ หรือไมส่ บายใจ (4 ปี) (140) ปฏบิ ตั ิตามกฎ ระเบยี บของสงั คมอยา่ งงา่ ยๆ ในครอบครวั /โรงเรยี น/ชมุ ชน (4 ปี) (141) ใชท้ า่ ทางและภาษาท่เี หมาะสมเม่ือมคี วามขดั แยง้ ภายในกลมุ่ (4 ปี) (142) บอกพฤตกิ รรมท่ดี ีของเด็กคนอน่ื (5 ปี) (143) บอกไดว้ า่ การกระทำของตนเองมผี ลตอ่ ความรสู้ กึ และพฤตกิ รรมของผอู้ น่ื ไดอ้ ยา่ งไร (5 ป)ี 1 - 39

แนวแนะวธิ กี ารเล้ยี งดู ดแู ล และพฒั นาเดก็ ปฐมวัย ตามสมรรถนะ เพอ่ื เพมิ่ คุณภาพเด็กตามวัย 0-5 ปี สว่ นย่อย 2.4 (Sub-domain 6) : เหน็ คุณคา่ ของความแตกต่าง (Appreciating Diversity) สมรรถนะ (Competency) : หวั ขอ้ ที่ 11 : เดก็ ตระหนกั รู้ เหน็ คณุ คา่ และยอมรบั นบั ถอื ในความเหมือนและความแตกตา่ งระหวา่ ง บคุ คล (Children recognize, appreciate, and respect similarities and differences in people of diversity) พฤติกรรมบง่ ชี้ (Indicators) (144) เลน่ เลยี นแบบและแสดงความช่นื ชมวัฒนธรรมและความเปน็ อยทู่ ี่แตกต่างไปจากตน (3 ป)ี (145) ปฏบิ ัตติ นอย่างสุภาพกับทุกคน รวมถงึ คนทมี่ ีสถานภาพทางสงั คม เศรษฐกิจ และวฒั นธรรมทต่ี ่างไปจากตน (3 ปี) (146) บอกได้วา่ บุคคลแตล่ ะคนมคี วามเหมอื นและความตา่ ง (5 ป)ี (147) เลน่ กับกลุ่มเดก็ ท่ีแตกต่างไปจากตน (เชน่ ตา่ งภาษา ต่างเชือ้ ชาติ ตา่ งชาติพันธุ์ ตา่ งพ้ืนเพทางเศรษฐกิจสังคม หรอื มคี วามบกพร่องทางกายและอ่ืนๆ ฯลฯ) (5 ปี) (148) บอกไดว้ า่ คนแตล่ ะคนมคี วามสามารถทแ่ี ตกต่างกนั (5 ปี) (149) รจู้ ักถามเกย่ี วกบั ความเหมอื นและความแตกตา่ งระหว่างบคุ คล (เช่น ทำไม หนหู นา้ ตาเหมือนแม)่ (5 ป)ี (150) ถามคำถามเก่ยี วกบั คำท่ใี ช้หรือความเปน็ อยู่ หรือลกั ษณะของกลมุ่ คนทแี่ ตกต่างกัน (5 ป)ี (151) ถามหรือแสดงความคิดเหน็ เกย่ี วกับความเปน็ ธรรมในกลมุ่ เพื่อน (5 ป)ี (152) บอกได้ว่าคนแต่ละคนมีความชอบและไม่ชอบที่แตกต่างกนั (5 ป)ี 1 - 40

แนวแนะวิธกี ารเลีย้ งดู ดแู ล และพัฒนาเดก็ ปฐมวยั ตามสมรรถนะ เพอ่ื เพิม่ คณุ ภาพเดก็ ตามวัย 0-5 ปี ส่วนหลกั 3 (Domain 3) : พฒั นาการด้านอารมณ์ (Emotional Development) ส่วนย่อย 3.1 (Sub-domain 3.1) : ความคดิ เกยี่ วกับตนเอง (Self Concept) สมรรถนะ (Competency) : หวั ข้อท่ี 12 : เด็กสามารถรบั รู้เก่ยี วกับตนเอง และ ตระหนักรวู้ า่ ตนชอบหรือไมช่ อบอะไร (Children are able to perceive themselves as unique individuals and demonstrate awareness of preference) พฤติกรรมบ่งชี้ (Indicators) (153) แสดงท่าทางหรือวาจาบอกความร้สู กึ รกั และผกู พนั กับพอ่ แมแ่ ละคนใกล้ชิด (3 ปี) (154) บอกได้วา่ ตนเองชอบหรือไมช่ อบ สงิ่ ของและ/หรือกจิ กรรมใด (4 ปี) (155) บอกความรสู้ ึกของตนเองท้งั ทางบวกและทางลบตอ่ สงิ่ ของ บคุ คล หรอื สภาพต่างๆ ได้ (4 ปี) (156) บอกความรสู้ กึ ของตนเองต่อเหตุการณ์ท่ีเกิดขน้ึ ได้ (4 ป)ี (157) บอกความรู้สึกหรอื แสดงทา่ ทางผูกพนั กับสิ่งของท่ีตนรัก (4 ปี) (158) บอกลักษณะทางกายของตนเอง (5 ปี) (159) บอกความรสู้ กึ หรอื แสดงพฤติกรรมไมส่ บายใจ กังวลใจในบางเหตกุ ารณ์ (5 ปี) 1 - 41

แนวแนะวิธกี ารเลยี้ งดู ดแู ล และพัฒนาเดก็ ปฐมวัย ตามสมรรถนะ เพื่อเพม่ิ คุณภาพเดก็ ตามวัย 0-5 ป ี ส่วนย่อย 3.2 (Sub-domain3.2) : การควบคุมอารมณต์ นเอง (Emotional Self -Control) สมรรถนะ (Competency) : หัวข้อที่ 13 : เดก็ ปฏิบัติตนตามกฎระเบียบและกจิ วัตร และคุมอารมณ์ได้ตามสมควร (Children follow rules and daily routine and demonstrate appropriate level of emotional control) พฤติกรรมบง่ ช้ี (Indicators) (160) ควบคุมอารมณ์ของตนเองไดเ้ ม่ือประสบเหตุการณ์ท่ไี มพ่ อใจหรือเมือ่ ทำกจิ กรรมท่ยี าก โดยมีผูใ้ หญช่ ่วย (3 ป)ี (161) ไมแ่ สดงความกลัวหรอื วิตกกงั วลกบั สภาวการณ์หรือสงิ่ ที่ไมม่ ีเหตุต้องกลัว โดยมผี ใู้ หญ่ ชว่ ย (3 ปี) (162) ไมแ่ สดงความกลวั หรอื วติ กกังวลกบั สภาวการณห์ รอื สง่ิ ทไ่ี ม่มเี หตตุ อ้ งกลัว (เช่น สระผม พบแพทย์ กลัวความมืด) (3 ป)ี (163) ไมใ่ หค้ วามสนทิ สนมกบั คนแปลกหนา้ โดยมีผู้ใหญบ่ อกหรือใหเ้ หตผุ ล (3 ปี) (164) ไมใ่ หค้ วามสนิทสนมกบั คนแปลกหน้า (3 ป)ี (165) ไม่แสดงอาการหงดุ หงดิ จนเกินไปเม่ือตอ้ งทำกิจกรรมทย่ี าก โดยมีผูใ้ หญช่ ว่ ย (3 ป)ี (166) ไม่แสดงอาการหงุดหงดิ จนเกินไปเมอ่ื ตอ้ งทำกจิ กรรมท่ยี าก (3 ป)ี (167) ไมแ่ สดงอารมณโ์ กรธหรอื ไม่พอใจจนเกนิ กว่าเหตุ (3 ปี) (168) หยุดหรือสงบอารมณ์ไมด่ ีลงไดบ้ า้ งเมอ่ื ผใู้ หญ่แนะนำ (3 ป)ี 1 - 42

แนวแนะวิธกี ารเล้ยี งดู ดูแล และพัฒนาเด็กปฐมวัย ตามสมรรถนะ เพ่อื เพิ่มคุณภาพเดก็ ตามวัย 0-5 ปี สว่ นยอ่ ย 3.3 (Sub-domain 3.3) : สมรรถนะของตนเอง (Self-Efficacy) สมรรถนะ (Competency) : หวั ขอ้ ท่ี 14 : เด็กแสดงความเช่อื ม่ันในความสามารถ ของตน (Children demonstrate belief in their abilities) พฤตกิ รรมบ่งช้ี (Indicators) (169) แสดงความดีใจโดยทา่ ทางหรอื วาจา เม่ือทำอะไรได้หรอื สำเรจ็ (3 ป)ี (170) อวดผลงานของตนเพอื่ ให้ตนเองรสู้ ึกดี และรสู้ ึกว่าตนเองมคี วามสามารถ (3 ปี) (171) ทำกิจกรรมใหม่ๆ เพ่อื ได้แสดงความสามารถ (3 ป)ี (172) แสดงทา่ ทางพอใจเมอื่ ตนเองมโี อกาสไดก้ ระทำกจิ กรรมหนง่ึ ๆ ทอ่ี ยากพดู อยากทำ (3 ป)ี (173) อาสาทจี่ ะทำกิจกรรมเพอ่ื แสดงความสามารถของตน (4 ปี) (174) บอกได้ว่าตนเองมีความสามารถในเรอื่ งใด (4 ปี) 1 - 43

แนวแนะวิธกี ารเลยี้ งดู ดแู ล และพัฒนาเดก็ ปฐมวยั ตามสมรรถนะ เพื่อเพม่ิ คุณภาพเด็กตามวัย 0-5 ป ี สว่ นหลกั 4 (Domain 4) : พัฒนาการดา้ นการคดิ และสติปญั ญา (Cognitive Development) ส่วนยอ่ ย 4.1 (Sub-domain 4.1) : ความจำ (Memory) สมรรถนะ (Competency) : หวั ขอ้ ท่ี 15 : เดก็ สามารถแสดงการจำเบอ้ื งตน้ (Children demonstrate basic memory skills) พฤติกรรมบง่ ชี้ (Indicators) (175) ร้องเพลงจนจบได้ (3 ป)ี (176) ทอ่ งคำคล้องจองหรอื คำกลอนส้นั ๆ ได้ (3 ป)ี (177) บอกชือ่ วันในหนงึ่ สปั ดาห์ (4 ปี) (178) ฟงั นทิ านแลว้ เลา่ ไดพ้ อสังเขป (4 ปี) (179) บอก / เล่าไดว้ ่าวนั น้ที ำอะไรท่โี รงเรยี น (4 ป)ี (180) ฮมั ทำนองเพลง (รอ้ งทำนองเพลงในลำคอ) ท่คี ุ้นเคยได้ (5 ปี) (181) บอกช่ือวันในหนง่ึ สัปดาหโ์ ดยเรียงลำดับได้อย่างถูกต้อง (5 ปี) (182) บอกและเรยี กชอ่ื เดอื นได้ (ไมจ่ ำเป็นต้องทุกเดอื นและไมเ่ รียงลำดบั ) (5 ปี) (183) บอกหมายเลขโทรศพั ทท์ บี่ ้านได้ (5 ป)ี (184) ฟงั นิทานแล้วเล่ารายละเอยี ดไดถ้ ูกตอ้ ง (5 ปี) (185) บอก / เลา่ ไดว้ ่าเม่ือวานน้ีทำอะไร (ทโ่ี รงเรยี น หรอื ทีบ่ ้าน) (5 ปี) 1 - 44

แนวแนะวธิ กี ารเล้ยี งดู ดูแล และพฒั นาเด็กปฐมวัย ตามสมรรถนะ เพอื่ เพิม่ คณุ ภาพเด็กตามวัย 0-5 ปี ส่วนย่อย 4.2 (Sub-domain 4.2) : การสรา้ งหรือพัฒนาความคิด (ท่ีเป็นการคดิ เบ้อื งต้น) (Concept Formation) สมรรถนะ (Competency) : หัวข้อท่ี 16 : เดก็ สามารถแสดงความคิดพน้ื ฐานในเรอื่ ง เก่ยี วกับเวลา ชอ่ งว่าง (Space) ตำแหน่ง แหล่งท่ี คณุ ลักษณะ ฯลฯ รวมท้งั การจดั กลมุ่ สง่ิ ต่างๆ ทอ่ี ยู่แวดลอ้ ม (Children demonstrate understanding about time, space, positioning, etc., including grouping objects in the environment) พฤติกรรมบ่งชี้ (Indicators) (186) ถามว่า “อะไร” และ “ท่ไี หน” (4 ปี) (187) บอกหรอื ใชค้ ำทบี่ อกช่วงเวลาของวนั ไดถ้ กู ตอ้ ง (เช่น เช้า กลางวนั เยน็ ) (4 ปี) (188) บอกลักษณะหรอื คณุ ลักษณะเบื้องต้นของส่ิงของ (เชน่ รอ้ น ยาว หนัก ใหญ ่ ขรขุ ระ แหง้ ) (5 ปี) (189) บอกไดว้ า่ ส่งิ ของทีว่ างอยนู่ ั้น อยูด่ ้านซ้ายหรอื ขวาของเด็ก (5 ปี) (190) บอกไดว้ า่ ส่ิงของทว่ี างอยนู่ ้ัน อยดู่ า้ นซา้ ยหรอื ขวาของผทู้ ี่พดู ดว้ ย (หันหนา้ เขา้ หากัน) (5 ปี) (191) บอกไดแ้ ละใช้คำวา่ “เมอื่ วานน”ี้ “วนั น้ี” “พรุ่งนี”้ อยา่ งถูกตอ้ ง (5 ปี) (192) บอกหรือเรียกช่ือประเภท คน สัตว์ สง่ิ ของ พชื (เชน่ เด็ก ผ้ใู หญ่ คนแก่ / สตั วเ์ ลย้ี ง สตั วป์ า่ / ผกั ผลไม้) (5 ป)ี (193) วาดแผนท่ีจากบา้ นมาโรงเรยี นหรอื วาดแผนผังของหอ้ งเรียน/หอ้ งนอน (5 ปี) 1 - 45

แนวแนะวธิ ีการเลยี้ งดู ดแู ล และพฒั นาเด็กปฐมวยั ตามสมรรถนะ เพอื่ เพิ่มคณุ ภาพเดก็ ตามวยั 0-5 ป ี ส่วนย่อย 4.3 (Sub-domain 4.3) : ตรรกวิทยา และความมเี หตุผล (Logic and Reasoning) สมรรถนะ (Competency) : หัวข้อที่ 17 : เดก็ แสดงความเข้าใจเกี่ยวกับเหตแุ ละผล (Children demonstrate understanding of reasoning) พฤติกรรมบง่ ชี้ (Indicators) (194) บอกเหตุผลเกย่ี วกับการปฏิบัตกิ ิจวัตร (เช่น เหตุผลทีต่ ้องลา้ งมอื กอ่ นรบั ประทาน อาหารและหลังเขา้ ห้องนำ้ แปรงฟันตอนเชา้ กอ่ นนอน และหลังอาหาร) (3 ปี) (195) บอกความสัมพันธ์ ความเก่ยี วข้องระหวา่ งส่ิงตา่ งๆ และปรากฏการณ์ทเี่ กิดข้นึ ได ้ หรอื ใช้คำวา่ “ถ้า...แลว้ จะ...” (เชน่ ฝนตกเราเปยี ก วันหยดุ ไม่ต้องไปโรงเรียน กินพริกจะรูส้ ึกเผ็ด) (3 ป)ี (196) ถามวา่ “ทำไม” และ “อยา่ งไร” (เช่น ทำไมน้ำเกาะท่ีข้างแก้วเมอื่ มนี ้ำแข็งอยใู่ นแกว้ ทำไมมีกลางวนั กลางคนื ) (4 ปี) (197) ใช้คำว่า “เพราะ” เพ่อื อธิบายเหตุและผลได้ในเรื่องทัว่ ๆ ไป (ไม่จำเป็นต้องเป็น เหตุผลทีถ่ ูกตอ้ ง) (4 ปี) (198) บอกเหตผุ ลเก่ยี วกบั การปฏบิ ัตติ นด้านความปลอดภัย (เช่น เหตุผลทต่ี อ้ งไมเ่ ล่น บริเวณรมิ น้ำ ไม่เล่นไม้ขดี ไฟ) (4 ป)ี (199) บอกเหตุผลในการปฏบิ ัตติ นในดา้ นทเ่ี ก่ียวกับการรักษาสิ่งแวดลอ้ ม (เชน่ บอกเหตุผล ทต่ี อ้ งไมท่ ิ้งขยะตามถนน ไมเ่ ด็ดดอกไม้ ไม่ทำลายของสาธารณะ) (4 ป)ี (200) บอกได้วา่ สว่ นประกอบทสี่ ำคญั อะไรไมป่ รากฏหรอื หายไปในรปู (4 ปี) (201) เปรียบเทยี บความแตกตา่ งท่ีเกิดจากการกระทำต่างกันกบั สิ่งเดยี วกัน (เช่น ข้าวสาร-ขา้ วสวย หรอื ข้าวตม้ ไขต่ ้ม ไข่เจียว ไขต่ ๋นุ ) (5 ป)ี (202) เรยี งลำดับภาพหรือเหตุการณ์ในภาพและอธบิ ายได้ (5 ปี) (203) บอกได้ว่าเรื่องทไ่ี ดฟ้ งั หรอื เห็นจะจบอย่างไร โดยให้เหตผุ ลประกอบ (เช่น เวลาฟงั นิทาน หรือเห็นเหตุการณ์ต่างๆ) (5 ปี) (204) บอกได้วา่ ในรูปภาพมอี ะไรที่ผิดปกตหิ รืออยู่ผิดทห่ี รอื ดแู ล้วเปน็ ไปไม่ได้ (5 ป)ี (205) บอกหรือเข้าใจในเนื้อหาสาระของเร่อื งทขี่ ำขนั ได้ (เชน่ บอกเรอ่ื งทไ่ี ด้ยนิ หรอื ภาพ ทเ่ี หน็ น้ันตลกหรอื ขำขนั ตรงไหน หรอื บอกเหตุทีท่ ำใหข้ ำขัน) (5 ป)ี (206) บอกไดว้ ่าของบางอย่างใช้แทนกนั ได้ (เชน่ ใบตอง ใบบัวใช้แทน ถงุ กระดาษ ถงุ พลาสตกิ ถว้ ยหรอื ชามใชแ้ ทนกันได้) (5 ปี) 1 - 46

แนวแนะวิธีการเลย้ี งดู ดูแล และพฒั นาเด็กปฐมวัย ตามสมรรถนะ เพื่อเพิม่ คุณภาพเดก็ ตามวยั 0-5 ปี สว่ นยอ่ ย 4.4 (Sub-domain 4.4) : การคดิ อย่างมีวจิ ารณญาณ (Critical Thinking) สมรรถนะ ก. (Competency A) : หวั ข้อที่ 18 : เดก็ สามารถเปรยี บเทียบ แยกแยะ ความเหมอื น ความแตกตา่ ง และประเมิน สถานภาพ (Children are able to compare and separate similarities, differences and evaluate the situation) พฤตกิ รรมบง่ ช้ี (Indicators) (207) จดั กลุม่ สิ่งของตามประเภทโดยใชเ้ กณฑ์เดียวในการจัด (เชน่ ตามสี หรือตามรูปทรง หรือตามขนาด) (3 ป)ี (208) จับคภู่ าพทส่ี ัมพันธ์กนั (เชน่ ของทเ่ี หมอื นกัน ของท่ีใชค้ กู่ ัน ของท่เี ปน็ ประเภทเดยี วกนั ) (4 ป)ี (209) จดั กล่มุ สิง่ ของตามประเภทลกั ษณะ 2 เกณฑ์ (เช่น จำแนกตามสแี ละรปู ทรง) (4 ปี) (210) บอกคำทีม่ คี วามหมายตรงขา้ มเก่ียวกบั สง่ิ หรอื สภาพทเี่ ด็กพบเห็น (เชน่ ช้างตวั ใหญ ่ หนตู วั ... พระอาทติ ย์ขึ้นตอนกลางวัน-พระจนั ทรข์ นึ้ ตอน... ไฟรอ้ น นำ้ แขง็ ...) (4 ป)ี (211) บอกไดว้ า่ สง่ิ ทเ่ี หน็ 2 อยา่ ง เหมอื นและตา่ งกนั อยา่ งไร (เชน่ สนุ ขั 2 ตวั เปน็ คนละพนั ธ ุ์ มะม่วง มะละกอ) (5 ป)ี (212) บอกความคดิ ของตนเกี่ยวกบั สภาพหรือลกั ษณะท่ีพบ (เชน่ รอ้ น หนาว สนุก) (5 ป)ี (213) รูจ้ กั ใชข้ อ้ มูล/คำทเ่ี รียนรู้ใหมม่ าใชก้ ับเหตุการณ์ สภาพแวดล้อม หรอื กจิ กรรมอื่นๆ (เชน่ เมอ่ื เรียนรู้รปู ส่เี หลย่ี ม เด็กสามารถช้ีบอกไดว้ ่า ประตู หนา้ ตา่ งเป็นรปู ส่เี หล่ียม ดว้ ย) (5 ป)ี 1 - 47

แนวแนะวธิ กี ารเลี้ยงดู ดูแล และพัฒนาเดก็ ปฐมวัย ตามสมรรถนะ เพือ่ เพม่ิ คณุ ภาพเด็กตามวยั 0-5 ป ี ส่วนย่อย 4.4 (Sub-domain 4.4) : การคิดอยา่ งมีวจิ ารณญาณ (Critical Thinking) สมรรถนะ ข. (Competency B) : หัวขอ้ ที่ 19 : เด็กสามารถแก้ปัญหาได้ (Children are able to solve problem) พฤติกรรมบง่ ช้ี (Indicators) (214) แกป้ ัญหาในชวี ติ ประจำวันได้ โดยการลองผิดลองถกู (เชน่ การสวมรองเทา้ การสวมเสื้อกลบั ดา้ น ติดกระดุมเสอ้ื เหลือ่ ม) (3 ป)ี (215) รู้จกั ถามเพอื่ ให้ไดว้ ิธีการแก้ปัญหา (3 ป)ี (216) แก้ปญั หาโดยใชอ้ ปุ กรณ์ช่วย (เช่น ใช้ไม้เข่ยี ส่ิงของท่ีเออ้ื มไม่ถงึ ) (4 ป)ี (217) แกป้ ญั หาได้หลายวธิ ี และรจู้ ักเลือกวธิ ีที่เหมาะสม (5 ป)ี 1 - 48

แนวแนะวธิ ีการเล้ยี งดู ดูแล และพฒั นาเดก็ ปฐมวยั ตามสมรรถนะ เพ่ือเพิม่ คณุ ภาพเดก็ ตามวยั 0-5 ปี สว่ นย่อย 4.5 (Sub-domain 4.5) : ความต้งั ใจจดจอ่ (Concentration) สมรรถนะ (Competency) : หวั ขอ้ ที่ 20 : เด็กสามารถจดจอ่ กบั การทำกิจกรรม ดว้ ยความต้ังใจ (Children are able to concentrate on doing activities) พฤติกรรมบง่ ช้ี (Indicators) (218) เปิดหนังสือดูภาพอย่างต่อเนอ่ื งนานประมาณ 3-5 นาที หรอื จนจบ โดยมีผ้ใู หญ ่ ช่วยเหลอื (3 ปี) (219) ฟงั คนอน่ื พดู ขอ้ ความสน้ั ๆ จนจบแล้วโตต้ อบดว้ ยวาจาหรือการกระทำจนจบ (3 ป)ี (220) มสี มาธใิ นการเลน่ หรือมีความตงั้ ใจจดจอ่ ในการทำกิจกรรมหนง่ึ ไดอ้ ยา่ งตอ่ เนื่อง 5-10 นาที หรือจนเสร็จ (3 ปี) (221) เปิดหนงั สือดูภาพด้วยตนเองอยา่ งต่อเน่อื งนานประมาณ 5-10 นาที หรือจนจบ (4 ป)ี (222) มีสมาธใิ นการเล่นหรือมีความต้งั ใจจดจอ่ ในการทำกิจกรรมหนึ่งไดอ้ ย่างต่อเนื่อง 10-15 นาที หรอื จนเสรจ็ (4 ปี) (223) เปดิ หนังสือดภู าพดว้ ยตนเองอย่างต่อเนอ่ื งนานประมาณ 10-15 นาที หรอื จนจบ (5 ปี) (224) มคี วามต้ังใจจดจอ่ และทำกิจกรรมหน่ึงไดอ้ ย่างตอ่ เนือ่ ง 15-20 นาที หรอื จนเสรจ็ (5 ป)ี 1 - 49

แนวแนะวธิ กี ารเล้ียงดู ดแู ล และพัฒนาเดก็ ปฐมวัย ตามสมรรถนะ เพือ่ เพิม่ คุณภาพเดก็ ตามวัย 0-5 ป ี ส่วนยอ่ ย 4.6 (Sub-domain 4.6) : การคิดดา้ นคณติ ศาสตร์ (Mathematics) สมรรถนะ (Competency) : หวั ขอ้ ที่ 21 : เดก็ สามารถอา่ นตวั เลข นบั เลข และรจู้ ำนวน (Children are able to read, count, and understand numbers) พฤตกิ รรมบง่ ชี้ (Indicators) (225) พดู คำว่า 1 ถงึ 10 เรียงลำดบั ได้โดยไมจ่ ำเปน็ ต้องทราบความหมาย (3 ป)ี (226) พูดคำว่า 1 ถงึ 20 เรยี งลำดบั ได้โดยไม่จำเป็นตอ้ งทราบความหมาย (4 ปี) (227) อ่านตัวเลข 1 ถงึ 10 ได้ (ตัวเลขอารบิค) (4 ป)ี (228) หยบิ ของตามจำนวน 1 ถึง 5 ไดอ้ ย่างถูกตอ้ ง (4 ปี) (229) หยิบของตามจำนวน 6 ถึง 10 ไดอ้ ย่างถกู ตอ้ ง (4 ป)ี (230) หยิบของตามจำนวน 1 ถงึ 5 ไดแ้ ละบอกจำนวนไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ ง (4 ป)ี (231) หักลบโดยนับนิ้วหรือสงิ่ ของออกจากจำนวนไม่เกิน 5 ได้ (หักลบ 1 ครั้ง เชน่ 5-3 / 4-3) (4 ปี) (232) บอกจำนวนส่งิ ของทีเ่ ท่ากนั (เช่น ขนม 3 ช้นิ มีจำนวนเท่ากับกล้วย 3 ลูก) (4 ป)ี (233) บอกจำนวนท่ีมากกวา่ หรอื นอ้ ยกวา่ ของสง่ิ ของประเภทเดยี วกันภายในจำนวน 5 (เช่น สุนัข 5 ตวั มจี ำนวนมากกว่าสุนขั 2 ตวั / ดินสอ 2 แทง่ มจี ำนวนน้อยกว่า ดนิ สอ 5 แทง่ ) (4 ป)ี (234) บอกจำนวนของสิ่งของ หรือจำนวนครัง้ ของกจิ กรรมในชวี ติ ประจำวันของตน (เชน่ แปรงฟนั อาบนำ้ กินขา้ ว ดืม่ นมวนั ละกีค่ รง้ั ) (4 ปี) (235) หยบิ ของตามจำนวน 6 ถงึ 10 ได้และบอกจำนวนได้อย่างถูกตอ้ ง (5 ปี) (236) เรียงลำดบั ตัวเลขอารบคิ จาก 1 ถงึ 10 ได้ (เช่น โดยใชบ้ ัตรตวั เลขพลาสติก/ไม)้ (5 ปี) (237) นบั ถอยหลงั เรียงลำดบั จาก 10 ไปถงึ 1 (5 ป)ี (238) รวมสงิ่ ของ หรอื นบั นิว้ รวมกัน โดยใชจ้ ำนวน 1-5 ได้ (รวม 1 คร้ัง เช่น 1+2 / 5+5) (5 ปี) (239) รวมสง่ิ ของหรือนบั นิ้วรวมกนั โดยใชจ้ ำนวน 1-10 ได้ (รวม 1 ครงั้ เช่น 4+2 / 8+8) (5 ป)ี (240) บวกเลข 1 หลกั หรอื 2 หลกั โดยไมต่ ้องทด (5 ปี) (241) หักลบโดยนับน้ิวหรอื สิง่ ของออกจากจำนวนไม่เกนิ 10 ได้ ( หกั ลบ 1 ครั้ง เช่น 8-3 / 6-2) (5 ปี) 1 - 50

แนวแนะวิธกี ารเล้ียงดู ดแู ล และพฒั นาเด็กปฐมวัย ตามสมรรถนะ เพ่อื เพ่มิ คุณภาพเด็กตามวัย 0-5 ปี (242) เขียนตวั เลขได้ 1-10 (เลขอารบคิ ) (5 ปี) (243) เขยี นตวั เลขไทย ๑-๑๐ ได้ (5 ป)ี (244) จดั สิง่ ของเปน็ จำนวนคู่ จำนวนคี่ภายในจำนวน 10 ได้ (5 ป)ี (245) บอกตวั เลขทเี่ ป็นเลขคู่ และเลขค่ภี ายในจำนวน 10 ได้ (5 ป)ี (246) บอกความคงที่ของเลข 1 หลัก ท่เี ปน็ ผลรวมของเลข 2 จำนวนได้หลายแบบ (เชน่ เม่ือมกี ารสลบั ท่ี 2+3 หรือ 3 + 2 กเ็ ท่ากับ 5 การเปล่ยี นองค์ประกอบ 4+1 เทา่ กับ 3 + 2 ) (5 ป)ี 1 - 51

แนวแนะวิธกี ารเลี้ยงดู ดแู ล และพัฒนาเด็กปฐมวัย ตามสมรรถนะ เพอื่ เพม่ิ คณุ ภาพเดก็ ตามวัย 0-5 ป ี สว่ นย่อย 4.7 (Sub-domain 4.7) : ความเขา้ ใจปรากฏการณ์ และวิธกี ารแสวงหาข้อเท็จจรงิ ทางวิทยาศาสตร์ (Sciences) ดา้ น (Area) : 4.7.1 สง่ิ แวดลอ้ มที่มชี วี ิต (Living Things) สมรรถนะ (Competency) : หวั ขอ้ ที่ 22 : เด็กแสดงพฤตกิ รรมอยากรู้ อยากลอง โดย การมอง การฟงั การถามจับต้อง และ ลงมอื ทำเกี่ยวกบั สิง่ แวดล้อมทม่ี ีชีวติ ตา่ งๆ (Children express eagerness to learn and experiment by observing, listening, asking, touching, and experimenting about living things) พฤตกิ รรมบง่ ช้ี (Indicators) (247) บอกช่ือสัตวต์ ่างๆ ไดอ้ ยา่ งน้อย 3 ชือ่ (เชน่ แมว ไก่ นก) (3 ป)ี (248) ทำกจิ กรรมทเ่ี กยี่ วกบั สงิ่ แวดลอ้ มทมี่ ชี วี ติ (เชน่ ดแู ลและใหอ้ าหารสตั ว์ รดนำ้ ตน้ ไม)้ (3 ปี) (249) บอกชอ่ื ต้นไมต้ า่ งๆ ได้อย่างน้อย 3 ชอ่ื (4 ป)ี (250) บอกช่ือผลไม้ตา่ งๆ ได้อย่างนอ้ ย 3 ชือ่ (4 ปี) (251) บอกชอ่ื และอธบิ ายหนา้ ท่ีของสว่ นต่างๆ ของรา่ งกายไดโ้ ดยสังเขป อยา่ งนอ้ ย 3 อย่าง (เช่น ตาไว้ดู หูไว้ฟงั ) (4 ปี) (252) อธิบายลกั ษณะเฉพาะด้านรูปรา่ ง ท่าทาง พฤติกรรม และท่อี ยอู่ าศัยของสง่ิ ท่มี ีชีวติ ได้อย่างนอ้ ย 1 อย่าง (เชน่ นกมีปกี อย่บู นต้นไม้ / ปลามีหางอยู่ในน้ำ) (4 ปี) (253) บอกชอ่ื ผกั ต่างๆ ได้อยา่ งนอ้ ย 3 ชอ่ื (5 ปี) (254) บอกเล่าลำดบั ขั้นของพัฒนาการตามธรรมชาตโิ ดยสังเขป ของคน สตั ว์ พชื เชน่ การเตบิ โตของพชื ของคน (เชน่ เดก็ -ผู้ใหญ-่ คนแก่ / ไข่ เปน็ ไก่-นก- เป็ด / เมลด็ พืชเป็นต้นไม้ / วงจรชวี ิตกบ ผเี ส้ือ ) (5 ป)ี (255) บอกปัจจัยท่ีทำให้คน สัตว์ พืช เจริญเติบโต (เชน่ ตน้ ไมต้ ้องการนำ้ หรอื ปยุ๋ / คนตอ้ งการอาหาร อากาศ และนำ้ ) (5 ปี) (256) บอกชอ่ื และอธบิ ายหนา้ ทขี่ องสว่ นตา่ งๆ ของรา่ งกายไดโ้ ดยสงั เขป อยา่ งนอ้ ย 6 อยา่ ง (5 ปี) (257) พูดถงึ หรือถามเกี่ยวกบั การเปลยี่ นแปลงของรา่ งกายบางสว่ นได้ (เชน่ ผมยาว เล็บยาว ทำไมเป็นแผลแลว้ หายได)้ (5 ป)ี (258) บอกไดว้ ่าส่ิงใดมีชีวติ และอธิบายลกั ษณะของสงิ่ ท่มี ชี ีวิตนน้ั ๆ ได้ (เช่น หายใจ ต้องกินอาหาร) (5 ปี) 1 - 52

แนวแนะวิธกี ารเลย้ี งดู ดูแล และพัฒนาเด็กปฐมวยั ตามสมรรถนะ เพ่อื เพมิ่ คณุ ภาพเดก็ ตามวัย 0-5 ป ี (259) บอกความแตกต่างระหว่างคน พืช สตั ว์ (5 ป)ี (260) บอกความสมั พันธร์ ะหว่างคน สัตว์ พชื และส่งิ แวดลอ้ มทางกายภาพอืน่ ๆ (เช่น คนทิ้งขยะลงนำ้ / นำ้ เนา่ ปลาตาย / ปลูกต้นไม้ทำให้รม่ รนื่ ) (5 ป)ี 1 - 53

แนวแนะวธิ กี ารเลย้ี งดู ดูแล และพัฒนาเดก็ ปฐมวัย ตามสมรรถนะ เพอื่ เพิ่มคณุ ภาพเดก็ ตามวัย 0-5 ปี ดา้ น (Area) : 4.7.2 สิ่งแวดล้อมที่ไม่มีชีวติ ในธรรมชาติ (Non-living Things) สมรรถนะ (Competency) : หัวขอ้ ที่ 23 : เดก็ แสดงพฤตกิ รรมอยากรู้ อยากลอง โดย การมอง การฟงั การถาม จบั ตอ้ ง และ ลงมอื ทำเกยี่ วกบั สงิ่ แวดลอ้ มทไี่ มม่ ชี วี ติ ตา่ งๆ (Children express eagerness to learn and experiment by observing, listening, asking, touching, and experimenting about non-living things) พฤตกิ รรมบ่งช้ี (Indicators) (261) บอกการปฏบิ ัติตัวในเรอ่ื งการแตง่ ตัวหรือการใช้อุปกรณ์ที่เหมาะสมในสภาพอากาศ ทแ่ี ตกตา่ งอย่างน้อย 1 อยา่ ง (เช่น รม่ กันแดด เส้ือกันฝน เส้ือกันหนาว) (3 ปี) (262) บอกไดว้ ่าสงิ่ ของทำจากอะไรโดยสังเขป (เชน่ ไม้ เหลก็ พลาสติก แกว้ ฯลฯ) (4 ปี) (263) บอกไดถ้ งึ การแปรสภาพของนำ้ (เชน่ นำ้ แขง็ ละลายเปน็ นำ้ / นำ้ ตม้ เดอื ดกลายเปน็ ไอ / นำ้ แชแ่ ขง็ กลายเปน็ นำ้ แข็ง) (4 ปี) (264) บอกชือ่ วัตถุท่ีจมและลอยในนำ้ ได้ (เช่น ขันลอยในน้ำ ถ้าขนั มีนำ้ จะจม) (4 ปี) (265) บอกชือ่ และการใช้งานของอปุ กรณต์ า่ งๆ ในชีวติ ประจำวันอย่างน้อย 3 ชอื่ (เช่น ไม้กวาด-กวาดบา้ น / ขัน-ตักน้ำ / จาน-ใสข่ ้าว / แก้ว-ใส่นำ้ / เครอื่ งใช้ในบ้าน-ในครวั ในหอ้ งน้ำ) (4 ป)ี (266) บอกสง่ิ ท่ีไม่มีชวี ิตที่อยรู่ อบตัวอย่างนอ้ ย 3 อยา่ ง (เช่น หนิ ดิน ทราย ไม้ น้ำ) (5 ป)ี (267) บอกได้วา่ สงิ่ ใดจะเกดิ ขนึ้ เม่อื นำของอย่างน้อย 2 สิ่งผสมกัน (เช่น ผสมแม่สี, ปรุงอาหารโดยมีส่วนผสม) (5 ปี) (268) บอกส่งิ ทีเ่ หน็ บนทอ้ งฟ้าได้อยา่ งนอ้ ย 3 อยา่ ง (เช่น ดวงอาทิตย์ ดวงจันทร์ เมฆ สายรงุ้ ฝน ดาว) (5 ป)ี (269) ชท้ี ิศทางทด่ี วงอาทติ ยข์ ้นึ และตก (5 ปี) (270) บอกชื่อเครอ่ื งมอื เคร่อื งใช้ที่เปน็ เทคโนโลยใี นชวี ิตประจำวันได้อย่างนอ้ ย 3 ชอ่ื (เชน่ โทรศพั ท์ (บา้ น มอื ถอื สาธารณะ) คอมพิวเตอร์ โทรทศั น์ ต้เู ยน็ พดั ลม วิทย)ุ (5 ป)ี 1 - 54

แนวแนะวธิ ีการเล้ียงดู ดูแล และพัฒนาเด็กปฐมวัย ตามสมรรถนะ เพ่อื เพ่ิมคณุ ภาพเด็กตามวัย 0-5 ปี ส่วนยอ่ ย 4.8 (Sub-domain 4.8) : ความเข้าใจเกี่ยวกบั สงั คมรอบตัว (Social Studies) ดา้ น (Area) : 4.8.1 ครอบครวั (Family) สมรรถนะ (Competency) : หัวขอ้ ท่ี 24 : เด็กแสดงออกถึงความตระหนักรู้เก่ียวกับ คุณลกั ษณะของครอบครวั และบทบาท ของครอบครัว (Children demonstrate awareness of characteristics and roles of the family) พฤติกรรมบ่งชี้ (Indicators) (271) บอกชอื่ จรงิ หรอื ชอื่ เลน่ ของพอ่ แม่ พ่ีน้อง (3 ป)ี (272) ใช้คำทถี่ ูกตอ้ งในการเรียกสมาชกิ ภายในครอบครวั (เชน่ ปู่ ยา่ ตา ยาย ลงุ ป้า นา้ อา ฯลฯ) (3 ปี) (273) บอกได้วา่ สมาชิกในครอบครัวใครเปน็ ผู้ชาย ใครเปน็ ผูห้ ญงิ (3 ปี) (274) เล่นบทบาทสมมติเป็นสมาชกิ ในครอบครวั (เชน่ เลน่ พอ่ แม่ลูก) (3 ป)ี (275) เล่าถงึ การมสี ว่ นร่วมในกิจวัตรของครอบครวั ให้ผู้อืน่ ฟังได้ (3 ป)ี (276) บอกลักษณะบางประการของสมาชกิ ในครอบครวั ได้ (เช่น คณุ ตาผมขาว ใสแ่ วน่ / คุณยายชอบไปวดั ) (5 ปี) (277) บอกไดว้ า่ ตนเองเป็นส่วนหนง่ึ ของสมาชกิ ในครอบครัว (เช่น หนูเปน็ ลูกคนเล็ก ของพอ่ แดง / บ้านเรา...ใจดที ุกคน) (5 ป)ี (278) วาดรปู “ครอบครวั ของฉัน” หรือ “บา้ นของฉัน” ได้ (5 ปี) (279) บอกได้วา่ ครอบครวั ของตนเองเปรียบเทียบกับเพ่ือนบางคน หรือของผู้อ่นื มีสมาชิกใน ครอบครัวที่ต่างกันอย่างไร (เช่น บ้านเราไมม่ ีคุณยาย / บ้าน...ไมม่ คี ณุ พ่อมีแตค่ ณุ แม่) (5 ปี) 1 - 55

แนวแนะวิธีการเลีย้ งดู ดแู ล และพฒั นาเดก็ ปฐมวยั ตามสมรรถนะ เพอื่ เพ่ิมคณุ ภาพเด็กตามวัย 0-5 ปี ด้าน (Area) : 4.8.2 ชุมชนและสงั คม (Community and Society) สมรรถนะ (Competency) : หวั ขอ้ ท่ี 25 : เดก็ แสดงออกถึงความตระหนักรเู้ ก่ียวกับ ชมุ ชนของตน การพึ่งพาซง่ึ กนั และกัน และบทบาททางสงั คมของคนตา่ งๆ (Children demonstrate awareness of their community, social dependency, and social roles of various people in the community) พฤตกิ รรมบ่งชี้ (Indicators) (280) บอกชื่อครไู ด้ (3 ปี) (281) ชธ้ี งชาตไิ ทยได้ถกู ตอ้ ง (3 ป)ี (282) บอก หรอื เลน่ บทบาทสมมตเิ ปน็ อาชพี ได้ อยา่ งนอ้ ย 2 อาชพี (เชน่ เลน่ เปน็ อาชพี คร/ู เป็นผู้ประกาศข่าว/คนขับรถไฟ) (3 ปี) (283) มีส่วนรว่ มในกิจกรรมที่ส่งเสริมการพง่ึ พาอาศัยซึง่ กนั และกนั ภายในชมุ ชน โดยมผี ใู้ หญช่ ่วย (เชน่ รว่ มงานทำบุญ/เก็บใบไม้รอบสนาม/ชว่ ยเกบ็ ของ) (3 ปี) (284) บอกไดว้ า่ ตนเปน็ คนไทย พดู ภาษาไทย หรือ ภาษาทอ้ งถ่นิ (4 ป)ี (285) บอกชอ่ื อาหารประจำในทอ้ งถน่ิ ของตนได้อยา่ งนอ้ ย 3 อย่าง (4 ปี) (286) บอกได้วา่ สง่ิ ใดเปน็ ของตน ครอบครวั ตน และส่ิงใดเปน็ ของผู้อ่นื (เชน่ ผ้าเช็ดหนา้ ผืนนี้ เปน็ ของเพือ่ น/มะม่วงตน้ นเ้ี ป็นของบา้ นหนู / ต้นนน้ั เป็นของบา้ นอืน่ ) (5 ป)ี (287) บอกบทบาทและการงานอาชพี ของคนตา่ งๆ ในชมุ ชน (เชน่ พอ่ คา้ ขายของ / บรุ ษุ ไปรษณยี ์ ส่งจดหมาย / หมอรกั ษาคนปว่ ย / ครสู อนหนงั สอื / พนักงานกวาดถนน) (5 ป)ี (288) บอกไดว้ า่ คน 1 คน สามารถมหี ลายบทบาท หลายหน้าที่ เราเป็นสมาชกิ ของ หลายกลุ่มได้ (เช่น เปน็ พอ่ เป็นลงุ เปน็ ตำรวจ ) (5 ปี) (289) บอกไดว้ า่ ใครมีความสามารถในดา้ นใดบ้าง (เช่น คณุ ปา้ ทำขนมอรอ่ ย / แม่คา้ ร้านน ้ี ทำขนมช้ันอรอ่ ย / คุณลงุ คนนน้ั ซอ่ มรถ) (5 ปี) (290) บอกวนั สำคัญของชาติ อยา่ งน้อย 2 วัน (5 ปี) (291) บอกวันสำคัญทางศาสนาของตน อย่างนอ้ ย 1 วัน (5 ป)ี (292) บอกไดว้ า่ ภาษาพูดท่ไี ด้ยนิ เป็นภาษาของตนหรือภาษาอ่นื (5 ป)ี (293) บอกได้ว่าเครื่องแตง่ กายแบบใดเป็นของชาตใิ ด ทอ้ งถ่นิ ใด (เชน่ กโิ มโน ชดุ ไทย ชุดจนี ชุดชาวเขา) (5 ป)ี (294) บอกไดว้ ่าในชมุ ชนมีสถานทีส่ ำคัญอะไรบา้ ง (โรงเรียน โรงพยาบาล ตลาด วดั ) ตั้งอยู่ไกลหรอื ใกลบ้ า้ น (5 ปี) 1 - 56

แนวแนะวธิ ีการเล้ยี งดู ดูแล และพัฒนาเด็กปฐมวัย ตามสมรรถนะ เพอื่ เพิม่ คุณภาพเดก็ ตามวัย 0-5 ปี สว่ นยอ่ ย 4.9 (Sub-domain 4.9) : มลภาวะและการรกั ษาส่ิงแวดล้อม (Pollution and Environmental Preservations) สมรรถนะ (Competency) : หวั ขอ้ ที่ 26 : เดก็ แสดงพฤติกรรมรักษาสิง่ แวดล้อมและ หลกี เลย่ี งมลภาวะ (Children preserve their environment and avoid pollutions) พฤตกิ รรมบ่งช้ี (Indicators) (295) ขบั ถา่ ยใหเ้ ปน็ ท่แี ละใชห้ อ้ งน้ำอย่างถกู วธิ ี (3 ป)ี (296) บอกผลทเี่ กดิ ขึ้นจากการรักษาและการทำลายสิ่งแวดลอ้ ม (เชน่ ปลกู ต้นไม้ ทง้ิ ขยะ ไมเ่ ปน็ ท)่ี (4 ปี) (297) ชื่นชมหรอื เลา่ ถงึ ความสุขเม่ือได้สมั ผสั กับธรรมชาติ (เชน่ นง่ั ใต้ต้นไม้ มองดฝู นตก มองดูดวงจันทร์ เหน็ ดอกไมบ้ าน) (5 ป)ี (298) ไม่ทำลายธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดลอ้ ม (เช่น หกั กิ่งไม้ เดด็ ดอกไม้ เก็บเปลอื กหอย กอ้ นหิน ไม่ปสั สาวะหรือบ้วนนำ้ ลายลงในท่สี าธารณะ) (5 ปี) (299) บอกได้วา่ จะหลีกเลี่ยงหรอื ปอ้ งกนั ตนเองจากบริเวณทเ่ี ป็นมลภาวะ (เช่น ปิดปากและ จมกู เมื่อเจอควนั ปดิ หูเมือ่ เสียงดัง) (5 ปี) 1 - 57

แนวแนะวธิ กี ารเล้ียงดู ดแู ล และพฒั นาเดก็ ปฐมวยั ตามสมรรถนะ เพ่อื เพม่ิ คุณภาพเดก็ ตามวัย 0-5 ป ี สว่ นยอ่ ย 4.10 (Sub-domain 4.10) : ความเขา้ ใจเกยี่ วกบั คณุ คา่ เชงิ เศรษฐกจิ (Economic Value) สมรรถนะ (Competency) : หัวขอ้ ท่ี 27 : เดก็ แสดงออกถึงความตระหนกั รู้เกยี่ วกบั คุณค่าเชิงเศรษฐกิจของสิ่งตา่ งๆ (Children demonstrate awareness of economic value of various things) พฤติกรรมบ่งชี้ (Indicators) (300) แสดงพฤตกิ รรมการเกบ็ ออมเพื่ออนาคต (เช่น ไมใ่ ชเ้ งนิ จนหมด ไม่ตกั อาหาร/นำ้ เกนิ กว่าที่ตนจะรบั ประทานหมด ไมห่ ยิบของมามากกว่าท่ีจำเป็นตอ้ งใช)้ (3 ปี) (301) บอกไดว้ ่าเงินใชส้ ำหรับแลกเปลยี่ นสิง่ ของและ/หรือบรกิ าร (4 ป)ี (302) บอกได้วา่ จะไดเ้ งนิ ด้วยการทำงานประกอบอาชีพสจุ ริต (4 ป)ี (303) ใช้นำ้ และไฟอย่างประหยัด (เชน่ ปิดน้ำใหส้ นทิ เมอ่ื ใชเ้ สร็จไม่เปดิ ไฟหรือโทรทัศน ์ ทิง้ ไว้) (4 ปี) (304) บอกได้ถงึ ความสำคญั ของการแบง่ ปัน เกื้อกูลทรัพยากรระหวา่ งกนั (แบง่ กนั กนิ แบ่งกันใช้ ชว่ ยกันสรา้ ง) (4 ปี) (305) บอกไดว้ า่ เป็นเหรียญ 1 บาท 5 บาท 10 บาท ได้ (5 ป)ี (306) บอกไดว้ ่าเลอื กสง่ิ หนึ่งจะไม่ไดอ้ กี สงิ่ หน่งึ (5 ปี) 1 - 58

แนวแนะวธิ กี ารเลีย้ งดู ดูแล และพฒั นาเดก็ ปฐมวัย ตามสมรรถนะ เพ่ือเพ่ิมคุณภาพเดก็ ตามวยั 0-5 ปี ส่วนหลกั 5 (Domain 5) : พัฒนาการด้านภาษา (Language Development) สว่ นย่อย 5.1 (Sub-domain 5.1) : การเข้าใจและการใช้ภาษา (Language Comprehension and Usage) ดา้ น (Area) : 5.1.1 คำศัพท์ (Vocabulary) สมรรถนะ (Competency) : หวั ขอ้ ที่ 28 : เดก็ สามารถรบั รู้ เขา้ ใจ และใชค้ ำศพั ท์ได้ (Children are able to understand, and use vocabulary) พฤติกรรมบ่งช้ี (Indicators) (307) นำคำทีไ่ ดเ้ รียนรใู้ หมม่ าใช้ในชีวิตประจำวัน (3 ปี) (308) เลือกใช้คำศัพทต์ า่ งๆ ได้อยา่ งถกู ตอ้ งตามความหมายท่ตี อ้ งการ โดยเฉพาะคำทใี่ ชใ้ นกจิ วัตร (เชน่ แปรงฟนั อาบนำ้ สระผม กนิ ขา้ ว) (4 ปี) (309) บอกคำทม่ี ีความหมายตรงกนั ข้าม (เช่น มดื กบั สว่าง / รอ้ น กบั หนาว / ซา้ ย กับ ขวา / หอม กบั เหมน็ ) (4 ปี) (310) ใชค้ ำท่แี สดงตำแหน่ง แหล่งท่ี (เชน่ ข้างหนา้ หลัง บน ใต้ ใน นอก ขา้ งๆ ถัดไป ติดกัน ด้านหนา้ ด้านหลัง ระหว่าง) (4 ป)ี (311) บอกได้ว่าสิ่งใดหนักกวา่ เมื่อยกของ 2 สิง่ เปรียบเทียบกัน (4 ป)ี (312) บอกได้ว่าสิ่งใดอยู่ใกล้ ส่งิ ใดอยู่ไกล เมอื่ เปรยี บเทยี บของ 2 สิ่งทอ่ี ยู่ระยะต่างกัน (5 ป)ี (313) บอกคำทมี่ คี วามหมายเหมอื นกนั (เชน่ หมา กบั สนุ ัข / กนิ กบั รับประทาน / ฉ่ี กบั ปัสสาวะ / เยอะ กบั มาก) (5 ปี) (314) ถามความหมายของคำที่ตนไมร่ ู้ หรอื ไม่แน่ใจ (5 ป)ี (315) ใชค้ ำท่ีแสดงคุณลกั ษณะเพอื่ อธิบายรายละเอยี ดเพิม่ เตมิ (เชน่ ตุ๊กตาสชี มพสู วยดี / เสือ้ สแี ดงตัวยาว / เดนิ ชา้ ๆ / นำ้ เยน็ ฯลฯ) (5 ปี) (316) อธบิ ายคำงา่ ยๆ ได้ (เชน่ แมวเป็น.......) (5 ปี) 1 - 59

แนวแนะวิธกี ารเลี้ยงดู ดูแล และพัฒนาเด็กปฐมวัย ตามสมรรถนะ เพื่อเพิ่มคณุ ภาพเด็กตามวยั 0-5 ปี ดา้ น (Area) : 5.1.2 การเรยี งคำใหเ้ ปน็ ประโยค (Syntax and Grammar) สมรรถนะ (Competency) : หวั ข้อที่ 29 : เดก็ แสดงพัฒนาการการใชไ้ วยากรณ์ และ การเรียงคำใหเ้ ป็นประโยค (Children demonstrate development in using grammar and sentence structure) พฤติกรรมบง่ ช้ี (Indicators) (317) พดู เป็นประโยคที่มี 3-4 คำโดยมคี ำนามและกรยิ า (เช่น หนจู ะหาแม่ / จะกนิ ขา้ ว / หนอู ิ่มแล้ว / จะไปไหน) (3 ปี) (318) พดู เป็นประโยคทีม่ ี 5-6 คำข้ึนไปอยา่ งถกู ต้อง (เชน่ แมไ่ ปซอ้ื ของทต่ี ลาดนดั ) (3 ปี) (319) อธิบาย เล่าเร่ือง โดยใช้อย่างน้อย 4 ประโยคตอ่ กันตามลำดับเหตุการณ์ (4 ป)ี 1 - 60

แนวแนะวิธีการเล้ียงดู ดูแล และพฒั นาเดก็ ปฐมวัย ตามสมรรถนะ เพือ่ เพ่มิ คณุ ภาพเด็กตามวัย 0-5 ป ี ด้าน (Area) : 5.1.3 ความเขา้ ใจภาษา (Comprehension) สมรรถนะ (Competency) : หัวข้อที่ 30 : เดก็ สามารถแสดงพฤติกรรม เขา้ ใจ ความหมายและจบั ใจความได้จากการฟงั ภาษาพดู (Children demonstrate language comprehension and concept understanding from spesking language) พฤตกิ รรมบง่ ช้ี (Indicators) (320) ทำตามคำส่งั หรือคำบอกท่ีมลี ักษณะ 2 ข้ันตอนตอ่ เนือ่ งกันได้ (เชน่ เอาถ้วยไปไว้ในอา่ ง หยิบเสื้อมาให้แม)่ (3 ปี) (321) ทำตามคำสั่งหรือคำบอกทมี่ ีลักษณะ 3 ขนั้ ตอนตอ่ เนื่องกันได้ (เช่น เอาถ้วยทอ่ี ยบู่ นโต๊ะ ไปไว้ในอา่ งแลว้ กลบั มานง่ั ท)ี่ (3 ปี) (322) เม่ือมีผู้พูดดว้ ย ตอบสนองดว้ ยคำพูดหรอื พฤติกรรมที่ตรงเรอื่ ง (เชน่ ใครอยากดื่มนำ้ ยกมอื ข้ึน) (3 ป)ี (323) รว่ มวงสนทนา มีสว่ นร่วมท้งั เปน็ ผู้ฟังและผ้พู ดู โดยใช้ภาษาท่ีสอื่ ความได้อย่างเหมาะสม (3 ปี) (324) จับใจความและเลา่ ต่อได้ เม่อื ได้ฟังนทิ านหรอื เรือ่ งเลา่ ดว้ ยคำพดู ของตนเอง (5 ปี) (325) จับใจความได้ถกู ต้อง ในเร่ืองทีฟ่ ัง และ/หรือ ดูแล้วพดู หรอื ถามคำถามท่เี หมาะสม กับเร่อื ง (5 ป)ี 1 - 61

แนวแนะวธิ กี ารเล้ยี งดู ดแู ล และพฒั นาเดก็ ปฐมวยั ตามสมรรถนะ เพ่อื เพิ่มคุณภาพเด็กตามวัย 0-5 ป ี สว่ นย่อย 5.2 (Sub-domain 5.2) : การสอ่ื ความหมาย (Communications) ด้าน (Area) : 5.2.1 การส่อื ความหมายด้วยภาษาพูด (Verbal Communication) สมรรถนะ (Competency) : หัวขอ้ ท่ี 31 : เดก็ สามารถรบั รแู้ ละใชภ้ าษาพดู สอื่ ความหมายไดต้ รงตามความตอ้ งการ ของตน (Children are able to understand and use speaking language properly according to their needs) พฤติกรรมบ่งชี้ (Indicators) (326) ฟงั นทิ านหรือฟังคนอา่ นหนังสอื ได้นาน 5 นาที (3 ปี) (327) บอกความตอ้ งการ ความรู้สึก ความคิดเห็นของตนเองได้ (3 ปี) (328) ชอบฟังนทิ านและพูดถึงบางตอนท่ชี อบเป็นพเิ ศษบอ่ ยๆ (4 ปี) (329) ฟังเสียงพดู (น้ำเสียง) และบอกความแตกตา่ งของนำ้ เสยี งว่าผู้พดู มคี วามรสู้ ึกหรือมี ความตอ้ งการอยา่ งไร (เชน่ พดู เสยี งดงั เสยี งดุ เสยี งชน่ื ชม นำ้ เสยี งออ่ นโยน เสยี งข)ู่ (4 ปี) (330) เล่าเรือ่ งเหตกุ ารณท์ ีต่ นมีประสบการณ์ให้ผู้อ่ืนฟังเขา้ ใจได้ (4 ป)ี (331) เร่มิ การสนทนาที่ตอ่ เนอื่ งด้วยคำถามหรือคำบอกเล่า (4 ปี) (332) พดู ชดั ถ้อยชดั คำ และอาจออกเสียงไม่ชัดในเสยี ง “ส” “ร” (4 ป)ี (333) รจู้ ักปรับวธิ ีการสอื่ ความหมายด้วยภาษาพูด ใหเ้ หมาะสมกับผู้ฟงั (เชน่ พดู กับนอ้ ง พดู กับครู พูดกับเพอ่ื น) (4 ปี) 1 - 62

แนวแนะวิธกี ารเล้ยี งดู ดแู ล และพัฒนาเดก็ ปฐมวยั ตามสมรรถนะ เพื่อเพมิ่ คณุ ภาพเดก็ ตามวัย 0-5 ป ี ด้าน (Area) : 5.2.2 การส่อื ความหมายดว้ ยท่าทาง และสญั ลกั ษณ์ (Non-verbal Communication) สมรรถนะ (Competency) : หัวข้อท่ี 32 : เด็กสามารถสื่อความหมายอย่าง มปี ระสทิ ธภิ าพดว้ ยสหี น้าทา่ ทางและ สญั ลกั ษณ์ (Children are able to communicate with facial expression, gestures and symbols efficiently) พฤตกิ รรมบ่งช้ี (Indicators) (334) ทำตามคำส่ังท่เี ปน็ ท่าทางของผ้ใู หญ่ได้ (เชน่ เดินไปหาเมอ่ื ผู้ใหญก่ วกั มอื ) (3 ปี) (335) ทำทา่ ทางตา่ งๆ เพ่ือสอ่ื ความหมาย (เชน่ ย้มิ ทักทาย สา่ ยหนา้ เพอื่ ปฏเิ สธ ยกมอื เพ่อื ขออนญุ าต) (3 ปี) (336) บอกความรสู้ กึ ของผอู้ นื่ เมอื่ เหน็ สหี นา้ ทา่ ทาง ( เชน่ โกรธ กลวั ตกใจ เสยี ใจ ดใี จ) (4 ป)ี (337) บอกความหมายหรือสิง่ ท่คี วรทำเม่ือเห็นสัญญาณ หรือสัญลกั ษณ์ตา่ งๆ ที่ใชใ้ น ชวี ติ ประจำวนั (เช่น สญั ญาณจราจร ไฟเขียว ไฟแดง ทางมา้ ลาย ป้ายบอกหอ้ งน้ำหญงิ /ชาย) (4 ป)ี (338) วาดรปู หรอื เลอื กรปู เพอื่ สื่อความหมายโดยใช้สญั ลกั ษณ์ (เช่น วาดรูปสัญลักษณ์ แสดงอารมณต์ า่ งๆ เช่น ความรัก) (4 ป)ี 1 - 63

แนวแนะวธิ ีการเล้ยี งดู ดูแล และพฒั นาเดก็ ปฐมวัย ตามสมรรถนะ เพ่อื เพ่ิมคณุ ภาพเด็กตามวัย 0-5 ป ี สว่ นย่อย 5.3 (Sub-domain 5.3) : การอา่ นและการเขยี น (Literacy) ดา้ น (Area) : 5.3.1 การอา่ น (Reading) สมรรถนะ (Competency) : หวั ขอ้ ที่ 33 : เดก็ สามารถบง่ ชแ้ี ละออกเสยี งตวั พยญั ชนะ สระ และคำง่ายๆ ได้ (Children are able to identify and pronounce letters, and simple words) พฤตกิ รรมบ่งชี้ (Indicators) (339) หยบิ หนังสือมาพลิกดู และทำทา่ อ่านหนังสือ (3 ป)ี (340) เปิดหนงั สอื ท่ีมีภาพประกอบโดยไม่กลับหวั (3 ปี) (341) เปิดหนงั สือที่มีภาพจากหน้าไปหลัง (3 ป)ี (342) กวาดสายตาและใช้นวิ้ ชี้จากซ้ายไปขวาเมอื่ เปิดหนงั สอื และทำทา่ อา่ น (4 ป)ี (343) เปิดหนังสือท่ีมภี าพจากหนา้ แรกเรียงลำดับไปยงั หนา้ สุดทา้ ย (4 ปี) (344) บอกได้วา่ ตัวใดเป็นตัวเลขและตัวใดเปน็ ตัวหนังสอื (4 ปี) (345) ถามคำหรอื ช่ือบนส่งิ ของที่ใช้ในชีวิตประจำวนั (เชน่ ชอื่ หนังสอื บนปก ช่อื บนกล่องนม / ขนม) (4 ป)ี (346) ช้ี ตัวพยญั ชนะได้ 5 ตัว เมื่อถาม (เชน่ ก. ไก่ อยู่ทไ่ี หน / ช้ตี ัว ช ชา้ ง) (5 ป)ี (347) อา่ นออกเสยี งพยญั ชนะได้ 5 ตวั (เชน่ เมอ่ื ช้ี ตวั ก กอ็ า่ นไดว้ า่ กอ หรอื กอ ไก่ ) (5 ปี) (348) อ่านออกเสยี งพยัญชนะได้ถกู ตอ้ งเป็นสว่ นใหญ่ (5 ป)ี (349) ชี้บอกพยญั ชนะทจี่ ำไดใ้ นคำตา่ งๆ อยา่ งนอ้ ย 10 ตัว (5 ปี) (350) อ่านทลี ะบรรทดั จากบนลงมาล่าง โดยไม่เนน้ การอา่ นถูกตอ้ ง (5 ป)ี (351) ชช้ี อื่ หรือชอ่ื เลน่ ของตนที่เป็นตัวพิมพ์ / ตัวเขยี นบรรจงได้ (5 ป)ี (352) อา่ นคำงา่ ยๆ หรอื ชอ่ื ตนเอง ได้ (เชน่ ชื่อเล่นหรอื ช่อื จริงของตนเอง หรอื คำว่า หมา บ้าน พอ่ แม)่ (5 ปี) (353) ถามเกีย่ วกับเนื้อหาสาระของข้อความที่พิมพห์ รอื เขียน (เช่น จดหมาย หนังสอื พมิ พ์ ฉลากตา่ งๆ) (5 ปี) (354) บอกประเภทสง่ิ พมิ พ์ตา่ งๆ ที่พบเห็น อยา่ งนอ้ ย 2 ประเภท (เช่น หนังสอื พิมพ ์ ใบโฆษณา หนงั สือนทิ าน หนงั สอื การต์ นู ) (5 ปี) (355) บอกช่อื หนังสอื ทีต่ นชอบไดอ้ ยา่ งนอ้ ย 2 เรือ่ ง (เช่น หนนู ้อยหมวกแดง ลกู หมีเล่นกับพอ่ หมู 3 ตวั ) (5 ป)ี (356) พดู ให้ความเหน็ เกย่ี วกับเรอื่ งราวในหนงั สอื ท่ีมภี าพประกอบทีต่ นอา่ น วา่ ชอบ ไมช่ อบ หรือ สนใจสว่ นไหนของเรื่อง (5 ป)ี (357) อา่ นหนงั สอื ท่มี ีภาพอยา่ งต่อเนอ่ื งจนจบ และเลา่ ไดว้ ่าเป็นเรอื่ งอะไร (5 ปี) 1 - 64

แนวแนะวธิ ีการเล้ยี งดู ดแู ล และพัฒนาเด็กปฐมวยั ตามสมรรถนะ เพอื่ เพ่มิ คุณภาพเดก็ ตามวยั 0-5 ปี ด้าน (Area) : 5.3.2 การเขยี น (Writing) สมรรถนะ (Competency) : หวั ขอ้ ที่ 34 : เดก็ สามารถเขยี นตวั อกั ษร และคำงา่ ยๆ ได ้ (Children are able to write letters, and simple words) พฤตกิ รรมบง่ ช้ี (Indicators) (358) รว่ มเล่นเกมการเขียนตวั อักษรด้วยน้วิ ในอากาศ (3 ปี) (359) ขอใหผ้ ใู้ หญเ่ ขียนคำทตี่ อ้ งการให้ดู (4 ป)ี (360) ขดี เขยี นเส้นลกั ษณะต่างๆ ตามตน้ แบบทเ่ี ห็นโดยมีผู้ใหญ่ชว่ ยแนะ (เชน่ เส้นตรง เสน้ เฉยี ง โค้ง หยกั คลื่น) (4 ป)ี (361) ขดี เขียนเสน้ ลกั ษณะต่างๆ ตามต้นแบบ ที่เห็นดว้ ยตนเอง (เช่น เส้นตรง เสน้ เฉียง โคง้ หยัก คลืน่ ) (5 ปี) (362) เขียนคำง่ายๆ ตามตน้ แบบ (เช่น แม่ กา งู ) (5 ป)ี (363) บอกความแตกต่างของชุดพยญั ชนะที่คล้ายกนั (เช่น ก ภ ถ / ข ช / บ ป ษ / พ ฟ ฬ) (5 ปี) (364) เขยี นชือ่ ตนเองหรอื ชื่อเลน่ (ผิดได้บา้ ง) (5 ป)ี (365) เขยี นชือ่ พอ่ แม่ หรือชอ่ื เพ่อื น (ผิดไดบ้ ้าง) (5 ปี) (366) เขียนตัวอกั ษรงา่ ยๆ บางตัวได้ ตามคำบอก อยา่ งนอ้ ย 5 ตัว (เช่น ก ข ค ง) (5 ปี) (367) เขยี นประโยคงา่ ยๆ (ทม่ี คี ำประธาน กริ ยิ า เปน็ อยา่ งนอ้ ย เชน่ นกบนิ พอ่ กนิ ขา้ ว) (5 ปี) (368) วาดรูป และเขียนคำทเ่ี หมาะสม (เช่น ในบัตรอวยพรต่างๆ เชน่ วนั พอ่ วันแม่ ปใี หม)่ (5 ป)ี (369) เขียน อธิบายส่ิงทต่ี นวาดหรอื เขยี นใหผ้ อู้ น่ื เข้าใจได้ (5 ป)ี 1 - 65

แนวแนะวิธีการเล้ยี งดู ดูแล และพฒั นาเด็กปฐมวยั ตามสมรรถนะ เพอ่ื เพม่ิ คุณภาพเด็กตามวยั 0-5 ปี สว่ นหลกั 6 (Domain 6) : พฒั นาการด้านจริยธรรม (Moral Development) สว่ นยอ่ ย 6.1 (Sub-domain 6.1) : การมวี ินัยในตนเอง (Self-Discipline) สมรรถนะ (Competency) : หัวข้อท่ี 35 : เด็กสามารถแสดงพฤติกรรมควบคมุ ตนเอง (Children demonstrate self-control) พฤตกิ รรมบง่ ช้ี (Indicators) (370) ใหค้ วามร่วมมอื ในการทำกิจวตั รเพ่ือใหไ้ ปโรงเรียนทนั (3 ปี) (371) ไม่แสดงความก้าวรา้ วดว้ ยการทำรา้ ยตนเอง หรอื ทำลายขา้ วของตนเอง โดยผใู้ หญช่ ่วยเหลอื แนะนำใหม้ พี ฤตกิ รรมทเี่ หมาะสม (3 ป)ี (372) ไมแ่ สดงความกา้ วรา้ วตอ่ คน สตั ว์ สง่ิ ของ และรจู้ กั ระงบั ความกา้ วรา้ วของตนเองได้ (3 ป)ี (373) เชือ่ ฟงั และปฏบิ ตั ิตามกฎระเบียบของโรงเรียน (เชน่ ขออนุญาตไปห้องน้ำ ไม่พดู แซงครู ฯลฯ) (3 ป)ี (374) ทำตามกฎกติกาเมอื่ เล่นเกม (3 ป)ี (375) อดทนรอคอยทีจ่ ะไดส้ ิ่งที่ตอ้ งการ (เชน่ ทำงานจนเสรจ็ แล้วจงึ ไปเล่น รอรบั ของ โดยไม่แยง่ ของจากมือ) (3 ปี) (376) เขา้ แถวตามลำดับก่อนหลงั โดยไม่แซงควิ (3 ป)ี (377) ทำตามธรรมเนยี มของบา้ น (เชน่ ถอดรองเทา้ กอ่ นเขา้ บา้ น / ไมก่ นิ อาหารในหอ้ งนอน / ไปลามาไหว้) (3 ป)ี (378) ทำตามสญั ญาหรือข้อตกลงง่ายๆ (3 ป)ี (379) ทำตามคำแนะนำและคำขอร้องของพ่อแม่ ญาติผใู้ หญ่ (3 ปี) (380) ทำตามคำแนะนำและคำขอร้องของครู (3 ปี) (381) แสดงความรบั ผิดชอบโดยทำสงิ่ ท่ีไดร้ ับมอบใหท้ ำในระยะส้ันๆ (เช่น จัดเรยี งรองเท้า จัดโตะ๊ แจกสมุด) (3 ป)ี (382) แสดงความรับผดิ ชอบโดยทำสิง่ ทไี่ ด้รบั มอบใหท้ ำในวันถัดไป (เช่น ใหเ้ อาใบไม ้ รปู ครอบครัวมาจากบา้ น) (3 ปี) (383) ควบคุมตนเองให้ทำงานจนเสรจ็ แมว้ า่ จะมสี ง่ิ เรา้ ให้ไปทำอยา่ งอื่น (เชน่ เพ่ือนชวน ไปเล่น / เสียงเพือ่ นคุย / เสยี งโทรทัศน)์ (4 ปี) 1 - 66

แนวแนะวธิ กี ารเลยี้ งดู ดแู ล และพฒั นาเดก็ ปฐมวัย ตามสมรรถนะ เพื่อเพมิ่ คณุ ภาพเดก็ ตามวยั 0-5 ป ี ส่วนย่อย 6.2 (Sub-domain 6.2) : การพัฒนาเก่ียวกับความรผู้ ดิ ชอบชั่วดี (Moral Development) สมรรถนะ (Competency) : หัวขอ้ ที่ 36 : เด็กสามารถแสดงพฤตกิ รรมสะท้อน ความเขา้ ใจเกย่ี วกบั การกระทำใดถกู หรอื ผดิ (Children behave reflecting understanding of morality) พฤตกิ รรมบง่ ชี้ (Indicators) (384) แสดงความออ่ นโยนตอ่ เพอื่ นและสตั ว์ (เช่น ใหอ้ าหารสัตว์ / สัมผสั อยา่ งออ่ นโยน / ปลอบเพื่อน / ช่วยเพ่อื นที่หกล้ม) (3 ป)ี (385) ไมเ่ อาของคนอน่ื มาเป็นของตน (ความสามารถนคี้ อ่ ยเปน็ คอ่ ยไปตามระดับอายุ เช่น เกบ็ ของเพอื่ นไดเ้ อาไปคนื เพอื่ นหรอื ครู ไมห่ ยิบของจากรา้ นคา้ โดยไมซ่ อ้ื ) (3 ป)ี (386) ไม่กา้ วร้าว แกลง้ หรอื ทำรา้ ยคนและสัตวอ์ ่นื และไม่ทำลายสิ่งของต่างๆ (3 ปี) (387) กินหรือใชส้ งิ่ ต่างๆ ตามคุณคา่ หรือประโยชน์ ไมท่ งิ้ ขว้างให้สิน้ เปลือง หรือเลอื ก ตามความแพงที่ฟงุ้ เฟอ้ ตามโฆษณา โดยมผี ู้ใหญแ่ นะนำ (3 ป)ี (388) แสดงความรักและมนี ้ำใจตอ่ พอ่ แม่ ญาติ พ่นี อ้ ง ด้วยตนเอง (เชน่ แบง่ ของที่ชอบให้ ช่วยถอื ของ หรือหยบิ ของทใี่ ช้ประจำให้ โดยไมต่ อ้ งขอ) (3 ป)ี (389) แสดงความชนื่ ชมในความสามารถ ผลงานหรอื ความสำเรจ็ ของผูอ้ นื่ โดยมผี ู้ใหญ่ชว่ ยแนะนำ (เช่น เอย่ ชม ตบมือ) (3 ป)ี (390) บอกไดว้ ่าการทำรา้ ยคนหรือสัตวใ์ นนทิ านหรอื เหตกุ ารณ์ทีพ่ บเห็นเปน็ ส่ิงไม่ดี (4 ป)ี (391) พฤตกิ รรมหรอื ภาษาทสี่ ะท้อนความร้สู กึ ผดิ ชอบช่วั ดี (5 ป)ี (392) แสดงความชืน่ ชมในความสามารถ ผลงานหรอื ความสำเร็จของผอู้ ื่น ดว้ ยตนเอง (เช่น เอ่ยชม ตบมือ) (5 ป)ี (393) ภมู ใิ จและเลือกที่จะทำในสง่ิ ท่ีดี มปี ระโยชน์ต่อตนเองและสว่ นรวม (เช่น ชว่ ยแม่ ทำงานบา้ น พดู จาไพเราะ ขยนั ประหยดั ) (5 ป)ี 1 - 67

แนวแนะวิธีการเล้ยี งดู ดแู ล และพัฒนาเด็กปฐมวยั ตามสมรรถนะ เพ่อื เพ่มิ คุณภาพเด็กตามวัย 0-5 ปี สว่ นหลัก 7 (Domain 7) : พัฒนาการด้านการสรา้ งสรรค์ (Creative Development) สว่ นย่อย 7.1 (Sub-domain 7.1) : ศลิ ปะการแสดง (Performing Arts) ด้าน (Area) : 7.1.1 ดนตรแี ละการเต้นตามดนตรี (Music and Dance) สมรรถนะ (Competency) : หัวข้อท่ี 37 : เด็กสามารถแสดงพฤตกิ รรมทางดนตรี และเคลอื่ นไหวตามดนตรี (Children are able to perform musical activities and move with music) พฤตกิ รรมบ่งชี้ (Indicators) (394) สนใจด้วยการตงั้ ใจฟงั เพลง หรอื ดนตรี (3 ปี) (395) ร้องเพลงไดบ้ างตอน โดยมีผูใ้ หญ่ชว่ ย (3 ป)ี (396) เล่นเคร่อื งดนตรี หรอื เครอื่ งเคาะจงั หวะแบบงา่ ยๆ (3 ป)ี (397) รอ้ งเพลงพรอ้ มกบั เพือ่ นหรอื ผใู้ หญ่ (3 ปี) (398) รอ้ งเพลงกบั เพือ่ นๆ หรือรอ้ งเป็นกลมุ่ อย่างถูกจังหวะ (3 ป)ี (399) ทำเสยี งดนตรี ด้วยเสยี งของตนเอง หรอื จากอุปกรณ์ (เช่น ตีกลอง เคาะกระป๋อง เขย่ากล่องใส่ทรายท่ที ำเองหรือผู้ใหญ่ชว่ ยทำ ฯลฯ) (3 ป)ี (400) ทำท่าทางตามจินตนาการประกอบดนตรดี ว้ ยตนเองได้ (3 ป)ี (401) เตน้ หรอื เคลอื่ นไหวรา่ งกายตามทช่ี ว่ ยกนั กำหนดสอดคลอ้ งกบั ดนตรแี ละเนอื้ เพลง (3 ปี) (402) บอกได้ว่าเพลง 2 เพลงจังหวะตา่ งกัน (เชน่ เพลงชา้ เพลงเรว็ ) (4 ปี) (403) รำหรอื เตน้ กับดนตรที อ้ งถ่นิ (เชน่ รำวง รำไทย เต้นระบำพนื้ เมือง) (4 ป)ี (404) สรา้ งทำนองและเน้อื เพลงเองได้ หรอื ใชท้ ำนองท่รี ู้จกั แตง่ เน้อื ใหม่ (5 ป)ี (405) บอกชอ่ื เพลงท่ีตนเองชอบได้ อยา่ งน้อย 5 เพลง (5 ปี) 1 - 68

แนวแนะวธิ กี ารเลีย้ งดู ดแู ล และพัฒนาเด็กปฐมวัย ตามสมรรถนะ เพื่อเพิ่มคุณภาพเดก็ ตามวยั 0-5 ปี ดา้ น (Area) : 7.1.2 ศิลปะการละคร (Dramatic Arts) สมรรถนะ (Competency) : หวั ขอ้ ที่ 38 : เดก็ สามารถแสดงพฤตกิ รรมทางศลิ ปะ การละคร (Children are able to perform in dramatic arts activities) พฤติกรรมบง่ ชี้ (Indicators) (406) แสดงท่าทางหรอื บทบาทสมมติตา่ งๆ ตามจินตนาการได้ (เชน่ เปน็ พ่อแม่ / ครู / สตั วต์ า่ งๆ) (3 ปี) (407) ทำเสียงหรือท่าทางเลยี นแบบตวั ละคร (เช่น เปน็ สัตว์ / คน หรืออืน่ ๆ) เวลาเล่านิทานหรือเลา่ เร่อื ง (3 ป)ี (408) เลา่ เร่อื งตามจนิ ตนาการโดยใช้สอ่ื ต่างๆ ประกอบ (เชน่ หนุ่ เคร่อื งแตง่ กาย ) (4 ป)ี (409) พูดและแสดงบทบาทสมมตหิ รอื ละครต่อหนา้ ผ้ชู มโดยมีผู้ใหญช่ ่วย (4 ปี) (410) พดู และแสดงบทบาทสมมติหรือละครตอ่ หนา้ ผูช้ มดว้ ยตนเอง (5 ป)ี 1 - 69

แนวแนะวธิ ีการเลี้ยงดู ดูแล และพฒั นาเด็กปฐมวยั ตามสมรรถนะ เพอ่ื เพม่ิ คุณภาพเดก็ ตามวยั 0-5 ป ี ส่วนยอ่ ย 7.2 (Sub-domain 7.2) : ทัศนศิลป์ (Visual Arts ) สมรรถนะ (Competency) : หัวข้อที่ 39 : เดก็ สามารถแสดงพฤตกิ รรมดา้ นการวาด การปน้ั และการประดิษฐ์ (Children are able to draw, sculpt and craft) พฤตกิ รรมบ่งช้ี (Indicators) (411) ละเลงหรือระบายสี วาดรปู หรอื ปน้ั ตามจนิ ตนาการ (3 ปี) (412) นำผลงานทัศนศลิ ปข์ องตนให้ผ้อู ่ืนดอู ย่างภาคภมู ิใจ (3 ปี) (413) ต่อของเลน่ เป็นรูปรา่ งหรอื เร่อื งราวตามจนิ ตนาการของตน (เช่น ตัวตอ่ พลาสตกิ บลอ็ กไม้ ไม้หนบี ฯลฯ) (3 ปี) (414) ละเลงหรือระบายสี วาดรูป หรือป้นั ตามจนิ ตนาการ และเล่าหรืออธบิ ายได้ (4 ปี) (415) ดูรปู ท่ีคนอ่นื วาด ภาพถ่าย หรือผลงานปนั้ และใหค้ วามเห็น (4 ปี) (416) บอก/ช้ีได้วา่ สีใดเปน็ สีออ่ นและสีใดเป็นสเี ขม้ (4 ปี) (417) ประดษิ ฐ์สิง่ ของหรอื ของเล่นตามจินตนาการของเดก็ เอง โดยใชว้ ัสดใุ กล้ตัว หรอื วสั ดุธรรมชาติ (เชน่ กา้ นกลว้ ย ใบตอง ลังกระดาษ) (4 ปี) (418) สามารถบอกช่ือรปู ทรง รปู ร่าง ลายเส้นในภาพได้ (ภาพวาดหรือภาพถ่าย) (5 ป)ี (419) วาดหรือปัน้ หรอื ประดิษฐห์ รือพบั ฉกี ปะ กระดาษตามจินตนาการในหัวขอ้ ทก่ี ำหนด (5 ปี) 1 - 70

แนวแนะวิธีการเลี้ยงดู ดแู ล และพฒั นาเดก็ ปฐมวยั ตามสมรรถนะ เพ่อื เพ่มิ คณุ ภาพเด็กตามวยั 0-5 ป ี ส่วนท่ี 2 โครงการปรบั ปรุงเอกสาร สมรรถนะของเดก็ ปฐมวัยในการพัฒนาตามวยั 0 – 5 ปี การดำเนนิ งานภาคสนามของคณะทำงานฯ โครงการปรับปรงุ สมรรถนะของเด็กปฐมวยั ในการพัฒนาตามวัย 0 – 5 ป ี 1. วัตถุประสงคข์ องการดำเนินงานภาคสนาม 1.1 เพื่อทราบความต้องการและวิธีการที่พ่อแม่ ผู้ปกครอง ครูอาจารย์ ผู้ดูแลเด็ก นักวิชาการ พยาบาล เจ้าหน้าที่สาธารณสุข อาสาสมัครสาธารณสุข ใช้ในการพัฒนาเด็กปฐมวัย ในพืน้ ทีต่ ่างๆ 1.2 เพอ่ื ทราบปญั หาและขอ้ เสนอแนะเกีย่ วกับการพฒั นาเด็กปฐมวัย 1.3 เพือ่ ให้กล่มุ เป้าหมายให้ความสำคญั กับ “สมรรถนะ” ของเด็กปฐมวยั 1.4 เพื่อเสริมสรา้ งความสัมพนั ธ์ระหว่างกลุ่มต่างๆ ในพืน้ ที ่ 1.5 เพ่ือให้ผู้เก่ียวข้องเห็นความสำคัญของเด็กปฐมวัยในช่วงชิวิตหนึ่งๆ และเพ่ือให้ ขอ้ สนเทศเพม่ิ เติมเกี่ยวกบั งานพัฒนาเด็กปฐมวยั ในระดับชาต ิ 2. กลุ่มเป้าหมาย 2.1 พ่อแม่ ผู้ปกครองของเด็กอายุ 0 – 3 ปี และ 3 - 5 ปี ในพ้ืนท่ี รวม 252 คน เป็นผู้หญิง 223 คน และเป็นผู้ชาย 29 คน โดยเป็นกลุ่มที่ไม่ใช่พ่อแม่ กล่าวคือ ปู่ ย่า ตา ยาย ลุง ปา้ น้า อา รวม 25 คน 2.2 ครอู าจารย์ ผู้ดูแลเดก็ ปฐมวยั ในสถานพัฒนาเด็กปฐมวยั รปู แบบตา่ งๆ รวม 188 คน 2.3 นักวิชาการ พยาบาล เจ้าหน้าที่โดยเฉพาะอย่างยิ่งจากกระทรวงสาธารณสุข และ รวมทัง้ ทีเ่ กย่ี วข้องกับเดก็ ปฐมวยั รวม 93 คน 2.4 ผูบ้ ริหารระดับตา่ งๆ ในพน้ื ท่รี วม 18 คน กลุ่มเปา้ หมาย รวมทัง้ ส้นิ จำนวน 551 คน 2-1

แนวแนะวิธกี ารเลี้ยงดู ดแู ล และพัฒนาเดก็ ปฐมวัย ตามสมรรถนะ เพื่อเพมิ่ คณุ ภาพเดก็ ตามวัย 0-5 ปี 3. พืน้ ที่ภาคสนาม คณะทำงานฯ ไดม้ ีความเหน็ วา่ เน่ืองจากงบประมาณและเวลาจำกดั จงึ เลอื กจังหวดั ทีใ่ กล้ เคียงกรุงเทพมหานครเป็นเบื้องต้น และเลือกจังหวัดใน 3 ภูมิภาค คือ ภาคเหนือ ภาคตะวันออก เฉยี งเหนอื และภาคใต้ รวมจงั หวดั ท้ังส้ิน 9+1 จงั หวดั สำหรับ 9 จังหวัด คือ 3.1 จังหวัดสมทุ รปราการ วนั ท่ี 4 – 5 พฤศจิกายน พ.ศ. 2559 ณ โรงเรยี นอนบุ าลเทพารักษ์ 3.2 จังหวัดปทมุ ธาน ี วนั ท่ี 17 – 18 ธนั วาคม พ.ศ. 2559 ณ โรงเรยี นแย้มสอาดรงั สิต 3.3 จังหวัดนครปฐม วันท่ี 7 – 8 มกราคม พ.ศ. 2560 ณ โรงเรียนอนุบาลนครปฐม 3.4 จงั หวัดราชบุร ี วนั ที่ 21 – 22 มกราคม พ.ศ. 2560 ณ โรงเรยี นอุดมวิทยา 3.5 จังหวดั เชยี งใหม่ วนั ที่ 4 – 5 กมุ ภาพันธ์ พ.ศ. 2560 ณ โรงเรียนอนบุ าลบา้ นคณุ แม ่ 3.6 จงั หวดั นนทบรุ ี วนั ท่ี 17 – 18 กมุ ภาพันธ์ พ.ศ. 2560 ณ โรงเรยี นอนบุ าลบวรพรรณ 2 3.7 จงั หวดั พระนครศรีอยุธยา วันท่ี 25 – 26 กมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ. 2560 ณ โรงเรยี นจิระศาสตร์วทิ ยา 3.8 จังหวดั สรุ าษฎรธ์ านี วันที่ 17 – 18 มถิ ุนายน พ.ศ. 2560 ณ โรงเรียนธิดาแมพ่ ระ 3.9 จงั หวดั อุบลราชธานี วันท่ี 24 – 25 มถิ ุนายน พ.ศ. 2560 ณ โรงเรยี นอนบุ าลบา้ นเดก็ อีก 1 จังหวัด คือ จังหวัดมุกดาหาร คณะทำงานฯ เย่ียมชมและศึกษาเก่ียวกับการสอน ภาษาไทยในช้นั เดก็ เลก็ และโรงเรียนอนบุ าลเป็นกรณพี ิเศษ 4. การดำเนนิ งาน 4.1 จัดต้ังอนุกรรมการเฉพาะกิจปรับปรุงและจัดทำเอกสารสมรรถนะของเด็กปฐมวัยใน การพฒั นาตามวยั 0 – 5 ปี (4 เล่ม) ช่วยคณะทำงานฯ ติดต่อประสานงานระดับพนื้ ท ี่ 4.2 ฝ่ายเลขานุการคณะทำงานฯ มาจากสำนกั งานเลขาธกิ ารสภาการศึกษา 4.3 จดั ให้มีการหารอื กบั ผู้เชยี่ วชาญดา้ นตา่ งๆ ในประเดน็ ตา่ งๆ ทเ่ี กย่ี วกับเดก็ ปฐมวัยเปน็ รายบคุ คล จำนวน 31 คน ตัง้ แตเ่ ดอื นกนั ยายน 2559 – กรกฎาคม 2560 2-2

แนวแนะวิธีการเล้ียงดู ดูแล และพฒั นาเด็กปฐมวยั ตามสมรรถนะ เพอื่ เพ่ิมคุณภาพเดก็ ตามวัย 0-5 ป ี 4.4 คณะทำงานฯ ลงพื้นท่ีเสวนากลุ่มย่อย (Focus Groups Discussion) 3 กลุ่ม ต่อ 1 จงั หวดั แต่ละกล่มุ กลมุ่ ละ 20 คน กลมุ่ ที่ 1 กลุ่มครูอาจารย์ ผู้ดูแลเด็กท่ดี ูแลเดก็ อายุ 3 – 5 ปี ดำเนินการเสวนาใน วันเสาร์ ภาคเช้า ช่วงเวลา 09.00 – 12.00 น. กลมุ่ ท่ี 2 พ่อแม่ ผู้ปกครอง ของเดก็ อายุ 3 – 5 ปี ดำเนนิ การเสวนาในวนั เสาร์ ภาค บา่ ย ช่วงเวลา 13.00 – 16.00 น. กลุ่มท่ี 3 นักวิชาการ พยาบาล เจ้าหน้าที่สาธารณสุข อาสาสมัครสาธารณสุข และพ่อแม่ ผู้ปกครองของเด็กอายุ 0 – 3 ปี ดำเนินการเสวนาในวันอาทิตย์ ภาคเช้า ช่วงเวลา 09.00 – 12.00 น. การเสวนากลมุ่ ยอ่ ย (Focus Groups Discussion) ประกอบดว้ ย (1) การแนะนำตนเองของสมาชกิ (2) ความต้องการของแต่ละคนเก่ียวกับเด็กปฐมวัยที่ตนเองดูแลอยู่ (ส่วนน้ีเก่ียวข้อง กับ “สมรรถนะ”) และใหท้ ุกคนได้นำเสนอความคิดของตนเอง โดยไมม่ ีถูกไมม่ ผี ดิ (3) ให้แต่ละคนกล่าวถึงวิธีการที่ใช้กับเด็กที่อยู่ในความดูแลของตนเองแล้วได้ผลและ วิธีการที่ใช้แล้วไม่ได้ผล รายงานในท่ีประชุมทีละคนในการนำเสนอของแต่ละคนมีการแลกเปล่ียน ความคดิ เหน็ อภปิ รายภายในกล่มุ ในเรื่องที่นำเสนอ (4) คณะทำงานฯ นำเสนอ “สมรรถนะ” และตวั อยา่ งของสมรรถนะเพ่อื พาดพงิ ไปสู่ ข้อ 2 (5) คณะทำงานฯ เสนอ วธิ กี ารนำ “สมรรถนะ” ไปใช้ ในครอบครวั และสถานพฒั นา เดก็ ปฐมวยั (6) นกั วชิ าการ พยาบาล เจา้ หน้าที่สาธารณสขุ อาสาสมคั รสาธารณสุข แตล่ ะคนได้ รายงานเกยี่ วกับหนา้ ทที่ ตี่ นได้ทำเกย่ี วกบั เด็กปฐมวัย รวมทัง้ DSPM (7) กลุ่มเสวนาทั้งกลุ่มได้มีการปรึกษาหารือเก่ียวกับปัญหาต่างๆ และข้อเสนอแนะ เกย่ี วกับการพัฒนาเดก็ ปฐมวัยในแต่ละพนื้ ท ่ี 5. จดบนั ทกึ การเสวนาภาคสนาม 6. สรปุ การเสวนากลมุ่ ยอ่ ย 9 จงั หวดั 6.1 สรปุ ปัญหา โปรดดสู ่วนท่ี 3 6.2 สรปุ วิธีการท่ไี ด้ผลและไม่ไดผ้ ลกบั เดก็ ปฐมวัย โปรดดสู ่วนที่ 3 และ ส่วนที่ 4 2-3

แนวแนะวิธกี ารเล้ยี งดู ดูแล และพฒั นาเดก็ ปฐมวัย ตามสมรรถนะ เพื่อเพ่มิ คุณภาพเด็กตามวยั 0-5 ปี 7. คณะทำงานฯ ได้นำข้อมูลทั้งหมดมาประมวล วิเคราะห์ จัดทำเอกสาร โดยมีท้ังหมด 7 ส่วน ใชช้ ่อื เอกสารว่า (ร่าง) ครั้งท่ี 2 แนวแนะวธิ กี ารเลยี้ งดู ดูแล และพฒั นาเด็กปฐมวยั ตามสมรรถนะ ของเดก็ ปฐมวยั ในการพฒั นาตามวัย 0 - 5 ป ี ส่วนตา่ งๆ ของเอกสารประกอบดว้ ย ส่วนที่ 1 ความเป็นมาของการจัดทำ “ สมรรถนะเดก็ ปฐมวยั ” สว่ นท่ี 2 โครงการปรบั ปรงุ เอกสาร สมรรถนะของเดก็ ปฐมวยั ในการพฒั นาตามวยั 0 – 5 ป ี สว่ นท่ี 3 ตัวอย่าง วิธกี ารใช้ “สมรรถนะ” ในการเลีย้ งดู ดูแล และพฒั นาเดก็ ปฐมวยั สว่ นที่ 4 ประเดน็ คำถามเกี่ยวกับ การเลย้ี งดู ดแู ล และพฒั นาเดก็ ปฐมวยั จากภาคสนาม (พ่อแม่ ผ้ปู กครอง ครู อาจารย์ ผ้ดู ูแลเดก็ และผู้ท่เี กย่ี วข้องกับเด็ก) ส่วนที่ 5 วิธีการพ้ืนฐาน ในการเลี้ยงดู ดูแล และพัฒนาเด็กปฐมวัย ตาม “สมรรถนะ” ของเด็ก สว่ นท่ี 6 ขอ้ เสนอในการเพมิ่ ประสทิ ธภิ าพ และประสทิ ธผ์ ลในการเลยี้ งดู ดแู ล และพฒั นา เดก็ ปฐมวัย ส่วนท่ี 7 ภาคผนวก 8. คณะกรรมการพัฒนาเด็กปฐมวัยแห่งชาติ (ก.พ.ป.) โดยรองนายกรัฐมนตรี (พลอากาศเอก ประจนิ จ่นั ตอง) ไดก้ ำหนดใหค้ ณะทำงานฯ จัดประชุมสมั มนา วธิ กี ารเล้ยี งดู ดแู ล และพฒั นาเด็ก ปฐมวัย ตาม “สมรรถนะ” ของเดก็ วนั ที่ 17 สงิ หาคม 2560 เวลา 09.00 – 16.00 น. ณ โรงแรม เซ็นทราศูนย์ราชการและคอนเวนชันเซ็นเตอร์ แจ้งวัฒนะ กำหนดการดังแนบ (ภาคผนวก) เพ่ือนำ เสนอสาระที่อยู่ในส่วนต่างๆ แก่ผู้ท่ีเกี่ยวข้อง จำนวน 150 คน ให้ผู้เข้าร่วมประชุมได้ร่วม วิพากษเ์ อกสารฯ ดงั กลา่ ว ใหค้ ณะทำงานฯ นำมาปรับปรุง ใหเ้ ปน็ เอกสารสมบูรณต์ อ่ ไป 9. หลงั จากการสมั มนาดงั กลา่ ว คณะทำงานฯ ไดน้ ำข้อคดิ เหน็ ข้อเสนอเพ่ือปรบั ปรุงเอกสาร และ ข้อเสนอแนะต่างๆ จากที่ประชุม โดยนำมาพิจารณาร่วมกัน และปรับปรุงเอกสารจนสำเร็จ เรียบร้อย เพอ่ื ดำเนินการจัดทำเปน็ รูปเลม่ และจดั พิมพ์เปน็ เอกสารทส่ี มบูรณ์ 10. สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา รับผิดชอบในการจัดทำรูปเล่มและจัดพิมพ์เอกสาร 2 เล่ม คือ (1) แนวแนะวิธกี ารเล้ียงดู ดแู ล และพฒั นาเดก็ ตามสมรรถนะของเดก็ ปฐมวัย เพอื่ เพิ่มคณุ ภาพ เด็กตามวัย (0 – 5 ปี) และ (2) พฤติกรรมของเด็กกลุ่มตัวอย่าง จำแนกตามสมรรถนะของเด็ก ปฐมวยั ตามระดับควอไทล์ (Quartile) และจำแนกตามกลุ่มอายเุ ดก็ 3 – 5 ปี เพอื่ เผยแพรแ่ ละใช้ โดยหนว่ ยงานของภาครฐั ภาคเอกชน และหน่วยงานทีเ่ กย่ี วข้องในการพฒั นาเดก็ ปฐมวัยตอ่ ไป 2-4

แนวแนะวธิ กี ารเลยี้ งดู ดูแล และพฒั นาเด็กปฐมวยั ตามสมรรถนะ เพอื่ เพิ่มคณุ ภาพเด็กตามวยั 0-5 ปี สว่ นท่ี 3 ตวั อยา่ ง วิธกี ารใช้ “สมรรถนะ” ในการเลีย้ งดู ดูแล และพฒั นาเด็กปฐมวัย เดก็ ไทย “เดก็ เอย๋ เด็กไทย คอื ผใู้ หญ่ในวนั ข้างหน้าอยา่ เหยียดหยาม หากหวังสร้างอนาคตใหง้ ดงาม ต้องติดตามต้งั แต่นอ้ ยคอยอบรม สอนวิชาชว่ ยสมองคลอ่ งการกจิ สอนดวงจติ ใฝธ่ รรมนำสขุ สม สอนมือทำงานถว้ นควรนยิ ม อีกอุดมอนามัยสดใสเอย” ประพันธโ์ ดย ศาสตราจารยก์ ิตติคุณ ฐะปะนีย์ นาครทรรพ 3-1

แนวแนะวธิ ีการเลี้ยงดู ดแู ล และพฒั นาเดก็ ปฐมวัย ตามสมรรถนะ เพ่อื เพ่มิ คุณภาพเดก็ ตามวัย 0-5 ป ี ขอ้ ควรทราบ 1. กิจวัตร หมายถึง การกระทำของเด็กท่ีทำทุกวันเป็นประจำ ทั้งท่ีบ้านและที่สถาน พฒั นาเด็กปฐมวัย (เชน่ อาบนำ้ แปรงฟนั กนิ ขา้ ว ถอดรองเท้าก่อนเขา้ บ้าน หรือก่อนเขา้ ห้องเรยี น ฯลฯ) 2. กิจกรรม หมายถึง การกระทำท่ีนอกเหนือจากกิจวัตร หรือเป็นการกระทำท่ีผู้ใหญ่จัด ให้ หรอื เปน็ การกระทำทีเ่ ดก็ คิดทำเอง (เช่น การไปเทยี่ วสวนสตั ว์ การไปเรียนว่ายนำ้ การขดี เขยี น หรือการวาดรูป การไปเย่ียมญาติ การปลูกผักสวนครัว การหัดทำกับข้าว การร้องเพลง การฟัง นทิ าน การเลน่ ในร่ม และการเล่นในสนาม ฯลฯ) หมายเหตุ : มีการกระทำบางประการท่ีคาบเกี่ยวระหว่างกิจวัตรและกิจกรรม ท้ังน ้ี ขึน้ อยกู่ บั วัฒนธรรมภายในบา้ น หรอื ภายในโรงเรียน หรือปจั จยั อ่นื ๆ ที่เก่ยี วข้อง (เชน่ การชว่ ยพ่อ แมท่ ำงานบ้าน ซงึ่ บางบ้านใหเ้ ดก็ ทำเป็นคร้งั คราว แต่บางบา้ นใหเ้ ดก็ ทำเปน็ ประจำ หรือที่โรงเรียน การยนื ตรงเคารพธงชาติ ซ่งึ โรงเรยี นถอื ว่าเปน็ กิจวัตร แตเ่ มื่อเดก็ อยูท่ ่ีบา้ นเดก็ จะไม่ทำทกุ วนั จงึ ไม่ เป็นกิจวตั รท่บี ้าน) 3. ตัวบ่งชี้ หรือตัวช้ีวัดของสมรรถนะ ในสมรรถนะแต่ละข้อสามารถใช้ “การกระทำ” ไดห้ ลายวิธกี ารเพือ่ ให้เด็ก “ทำได”้ (เชน่ สมรรถนะของเดก็ อายุ 3 - 5 ปี ข้อ 79 “แปรงฟันเองแต่ ผู้ใหญ่ยังต้องช่วย” สำหรับวิธีการอาจใช้วิธี เช่น 1) ผู้ใหญ่แปรงฟันตนเองให้เด็กดู 2) ใช้วิธีเล่า นิทานเกี่ยวกับการทำความสะอาดช่องปาก 3) อธิบายให้เด็กฟังโดยการเปรียบเทียบกับจานข้าวท่ี เปื้อนอาหาร จึงตอ้ งนำไปลา้ งให้สะอาดเพอ่ื จะนำมาใชไ้ ด้ใหม่ตอ่ ไป 4) ให้เด็กเลอื กสขี องแปรงสีฟนั ทเ่ี ดก็ ชอบ 5) ให้เดก็ เล่นตุ๊กตาโดยใหเ้ ดก็ ไดแ้ ปรงฟันตกุ๊ ตา ฯลฯ) 4. ตัวอย่างวิธีการ วิธีการเดียวอาจนำไปสู่ตัวบ่งช้ี หรือตัวชี้วัดได้หลายตัว เพื่อให้เด็ก สามารถ “ทำได”้ หลายตัวชวี้ ัด (เช่น พาเด็กไปตลาดเพือ่ ให้เดก็ เห็นผกั หรอื ผลไม้ตา่ งๆ หรอื ชีช้ วน เดก็ ไปสมั ผสั สง่ิ ของ ผลติ ผล หรอื สนิ คา้ ตา่ งๆ ทตี่ ามวยั ของเดก็ สามารถรบั รไู้ ด้ ซง่ึ มตี วั บง่ ชส้ี มรรถนะ เด็กปฐมวยั อายุ 3 - 5 ปี ขอ้ 192 “บอกหรือเรยี กช่อื ประเภท คน สตั ว์ สิ่งของ พชื ” ขอ้ 250 “บอกชอ่ื ผลไม้ต่างๆ ไดอ้ ย่างน้อย 3 ชอื่ ” ขอ้ 253 “บอกช่อื ผกั ตา่ งๆ อยา่ งน้อย 3 ชือ่ ”) 5. การเรียนรู้ของเด็ก เด็กต้ังแต่แรกเกิดจนก่อนเข้าประถมศึกษาปีที่ 1 จะเรียนรู้อย่าง ต่อเน่ือง และที่เห็นได้ชัดเจนคือ ในระยะแรกๆ ของชีวิตต้องมีผู้ใหญ่คอยช่วย ต้ังแต่ช่วยทั้งหมด และค่อยๆ เพิม่ โอกาสให้เด็กเริม่ ชว่ ยตนเอง จนถึงสภาพทีเ่ ดก็ ชว่ ยตนเองได้ และทำได้ตามลำพงั โดย ไมม่ ผี ใู้ หญค่ อยชว่ ย (เชน่ การทเ่ี ดก็ สามารถนงั่ ยนื เดนิ วง่ิ ขน้ึ บนั ได ลงบนั ไดตอ้ งไดร้ บั ความชว่ ยเหลอื ในระยะต้นจากพ่อแม่ จนในท่ีสุดเด็กสามารถทำได้เอง) อย่างไรก็ดี การที่เด็กสามารถ “ทำได้” แล้วนั้น ในบางกรณี จะมีการถดถอยกลบั ไปอยใู่ นสภาพ “ไม่ทำ” หรอื “ทำไม่ได้อีก” ด้วยเหตผุ ล นานาประการของเด็กเอง (เช่น “ขี้เกียจ” หรือ “ติดเล่นอยู”่ เปน็ ต้น) ดงั น้ัน ผ้ใู หญต่ อ้ งเขา้ ใจเด็ก และสามารถใชก้ ลวธิ โี นม้ น้าว หรอื จูงใจเพ่ือให้เดก็ มีกำลงั ใจ และสามารถทำตอ่ ไปไดด้ ้วยตนเอง 3-2

แนวแนะวธิ ีการเลย้ี งดู ดแู ล และพฒั นาเดก็ ปฐมวยั ตามสมรรถนะ เพอ่ื เพมิ่ คณุ ภาพเดก็ ตามวยั 0-5 ปี 6. พัฒนาการของเด็กแรกเกิดจนถึง 2 ปีคร่ึง เมื่อเปรียบเทียบกับพัฒนาการของเด็ก ช่วงปลายปฐมวัย จะมีความแตกต่างกันในเรื่องของความสลับซับซ้อน และความหลากหลายของ ลกั ษณะพัฒนาการ (เช่น เด็กแรกเกดิ ยังไมส่ ามารถรบั รู้เร่อื งความรบั ผิดชอบ หรอื ความรสู้ กึ ผิดชอบ ชว่ั ดี แตเ่ มอื่ เดก็ อายุ 3 ปีเป็นต้นไปจะเรม่ิ ซมึ ซับ และรับรคู้ ณุ ลักษณะดงั กลา่ วตามวัยของเด็ก ดังนน้ั ตวั บง่ ชข้ี องเด็ก อายุ 0 – 3 ปจี ึงมีนอ้ ยกว่าเด็กอายุ 3 – 5 ปี คอื 286 ตวั บง่ ช้ี และ 419 ตัวบ่งช้ี ตามลำดับ) ในทางกลับกัน รายละเอียดของการพัฒนาโดยเฉพาะทางด้านร่างกายในวัยแรกเกิด จะมีรายละเอยี ดมากกว่ารายละเอยี ดของเด็กอายุ 3 ปขี ึ้นไป 7. จะมีเดก็ บางคนทแ่ี สดงอาการ “หลดุ ” หรือ “ตกหล่น” จากรายละเอียดการพัฒนา เด็กโดยทวั่ ไป หรอื อาจดูเสมือนวา่ มีพฒั นาการชา้ กวา่ เดก็ โดยทั่วไป ในกรณนี ี้ พ่อแม่ ผปู้ กครอง ครู ผดู้ แู ลเดก็ ควรสงั เกตเดก็ เหลา่ นเ้ี ปน็ พเิ ศษ เพราะหากเหน็ วา่ พฒั นาการของเดก็ ผดิ สงั เกตไปมาก ควร ปรึกษาผู้เชี่ยวชาญ (เช่น แพทย์ กุมารแพทย์ พยาบาลนักจิตวิทยา นักสังคมสงเคราะห์ หรือ เจา้ หนา้ ที่อน่ื ๆ ที่เกย่ี วข้องของกระทรวงสาธารณะสขุ เพือ่ คน้ หาสาเหตุ และดำเนนิ การเยยี วยาแกไ้ ข ใหท้ นั การกอ่ นท่จี ะเกดิ ความเสยี หายกับเดก็ มากข้ึน) 8. ในเอกสารฉบับน้ี จะใช้คำว่า “ผู้ใหญ่” ซึ่งหมายรวมทั้ง พ่อแม่ผู้ปกครอง และครู อาจารย์ ผู้ดูแลเด็ก ในกรณีที่ต้องการกล่าวถึง พ่อแม่ ผู้ปกครอง หรือ ครู อาจารย์ ผู้ดูแลเด็ก เปน็ การเฉพาะ จะใชว้ ลี 2 วลีดงั กล่าวเพอ่ื ความชดั เจน 9. คำว่า “สถานพัฒนาเด็กปฐมวัย” หมายรวมถึง ศูนย์พัฒนาเด็กอ่อน ศูนย์พัฒนา เด็กเล็ก สถานรับเล้ียงเด็ก ศูนย์พัฒนาเด็กปฐมวัย โรงเรียนอนุบาล และสถานท่ีดูแลและพัฒนา เด็กปฐมวยั ในรปู แบบอนื่ ๆ 10. ในสว่ นท่ี 3 เอกสารนี้ จะมคี ำวา่ “หมายเหต”ุ และ “ขอ้ สงั เกต” โดยทค่ี ำวา่ หมายเหตุ จะหมายถึง การมีข้อมูลเพ่ิมเติม ส่วนข้อสังเกต หมายถึง ความต้องการที่จะให้ผู้อ่านเข้าใจว่าเป็น จุดเน้น หรอื เปน็ จดุ ทีค่ วรใหค้ วามสำคัญ และใหค้ วามสนใจ 11. ในการศกึ ษา หรืออ่านส่วนท่ี 3 น้ี ถ้าผูอ้ ่านจะเขา้ ใจ “วธิ ีการพืน้ ฐานฯ” ท่ีปรากฏ ในส่วนท่ี 5 ก็จะช่วยเสริมความเข้าใจในหลักการท่ีนำมาเป็น แนวแนะท่ีเกี่ยวกับวิธีการเล้ียงดูและ พัฒนาเด็กปฐมวัยในสว่ นท่ี 3 ไดด้ ยี ่ิงขึน้ เนื่องจากท้งั 2 ส่วนมคี วามเกี่ยวขอ้ งกัน 12. พึงทราบว่าวิธีการตัวอย่าง และสมรรถนะเป็นเพียงแนวแนะที่ใช้ในการพัฒนาเด็ก ปฐมวัยเพ่ือเพิ่มคุณภาพ มิใช่นำไปใช้เพ่ือการประเมินการพัฒนาเด็ก หรือประเมินพ่อแม่ หรือ ประเมนิ ครู อาจารย์ ผ้ดู ูแลเดก็ ในส่วนที่ประเมินการพัฒนาเด็กตามวัยอยู่ในส่วนหน่ึงของกระทรวงสาธารณสุข ที่ใช้ช่ือ โครงการว่า “คู่มือเฝ้าระวัง คัดกรอง และส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย” (Developmental Surveillance and Promotion Manual : DSPM ) 3-3

แนวแนะวธิ กี ารเลีย้ งดู ดูแล และพัฒนาเดก็ ปฐมวัย ตามสมรรถนะ เพื่อเพมิ่ คุณภาพเดก็ ตามวัย 0-5 ปี หวั ข้อที่ 1 เด็กสามารถแสดงความแข็งแรง และประสานการทำงานของกล้ามเนื้อมดั ใหญ ่ อายุ 0 – 3 ปี พฤติกรรมบ่งช้ี ข้อ 1 – 70 อายุ 3 – 5 ปี พฤตกิ รรมบ่งช้ี ขอ้ 1 – 16 อายุ 0 - 3 ปี วิธกี าร 1. ให้เด็กนอนหงาย บนท่ีนอนไม่นุ่มมากเกินไป เพื่อเด็กจะได้ยกแขน ยกขา ข้ึน-ลง งอ-เหยยี ดดว้ ยตนเอง 2. ฝึกเด็กให้คอแข็งเพื่อชันคอได้ดีขึ้น โดยขณะตื่นให้เด็กนอนท่าคว่ำ เรียกช่ือเด็ก หรือ เขย่าของเล่นท่ีมเี สยี งเหนือศรษี ะเด็ก หรือชูของเลน่ เพ่ือชีช้ วนให้เดก็ เงยหน้ามอง เมื่อดึงตัวเด็กขน้ึ จากทา่ นอนหงาย เด็กจะยกศรษี ะตามตวั พ่อแม่/ผ้ปู กครองเอยี งหนา้ ไปมาให้เดก็ มองตาม 3. อุ้มเด็กพาดบ่าเพ่ือให้เด็กชูคอ และมองส่ิงต่างๆ รอบตัว หรืออุ้มเด็กโดยหันหน้าออก มองข้างหน้า และเล่นกับเด็กด้านหน้า หรือโดยการชูของเล่นเพ่ือหยอกล้อ เล่นกับเด็กอย่าง สนกุ สนาน พรอ้ มกบั กระต้นุ ใหเ้ ดก็ ขยับมอื ยกแขน-ขา ข้นึ ลงเพือ่ คว้าของเลน่ 4. จัดท่ีนอนให้เด็กได้หัดพลิกคว่ำ พลิกหงายอย่างปลอดภัย เช่น จับเด็กตะแคงด้านขวา หรอื ดา้ นซา้ ย แลว้ ใชห้ มอนขา้ งเลก็ วางไวด้ า้ นหลงั ของเดก็ เพอ่ื ชว่ ยหนนุ ใหเ้ ดก็ สามารถพลกิ ควำ่ ไดง้ า่ ย 5. จัดท่ีมีพื้นเรียบ ไม่ขรุขระ และไม่เป็นอันตราย มีความปลอดภัยกับเด็กเพื่อให้เด็กหัด คบื หรือหดั คลาน 6. ฝกึ ใหเ้ ด็กน่ังมัน่ คง ดว้ ยการให้นงั่ เล่นเอง เอาของเลน่ ท่เี ด็กหยิบ จับถนดั มือ วางไวด้ ้าน ซา้ ย หรอื ด้านขวาของเดก็ เพอื่ ใหเ้ ด็กเอยี้ วตวั ไปคว้าของจากหลายๆ ทาง หรือวางขา้ งหนา้ เดก็ โดย มีระยะหา่ งพอสมควร เพื่อใหเ้ ด็กคืบ หรือคลานไปหยบิ ของเองได้ หรือให้เดก็ นัง่ ตักแลว้ เลน่ โยกเยก โยกดา้ นซา้ ย ด้านขวา และหน้า หลงั กบั เด็กเพื่อให้เด็กเกดิ การเคลื่อนไหว 7. ถือของเล่นสีสดใสข้างหน้าเด็กในระดับสายตาของเด็กขณะน่ังอยู่บนพื้น หรือ ถือของ เล่นให้เด็กมอง แล้วปล่อยของเล่นตกลงบนพื้นใกล้ตัวเด็ก โดยกระตุ้นให้เด็กมองตามของตก และ ให้โอกาสเด็กเออื้ ม หรือหยิบของเลน่ ท่ตี ก 8. ชี้ชวนให้เด็กเคลื่อนไหว เช่น หัดเดินเกาะตัวพ่อมา หรือยืน หรือเกาะเดินรอบเก้าอ้ี หรือโตะ๊ ท่แี ข็งแรง โดยดูแลลกู อย่างใกล้ชิด 3-4


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook