Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รายงานผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) 2562

รายงานผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) 2562

Published by ปาริชาติ ปิติพัฒน์, 2021-04-21 09:27:16

Description: รายงานผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) 2562

Search

Read the Text Version

คำนำ รายงานผลการทดสอบการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (Ordinary National Education Test : O- Net) ปีการศึกษา 2562 ของโรงเรียนในศูนย์เครือขา่ ยพัฒนาคุณภาพการศึกษานากลาง 4 สำนักงานเขตพื้นท่ี การศึกษาประถมศึกษาหนองบัวลำภู เขต 2 จัดทำขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อนำเสนอข้อมูลและสารสนเทศ เกี่ยวกับผลการทดสอบการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (Ordinary National Education Test : O-Net) ปี การศึกษา 2562 ของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีท่ี 6 โดยนำเสนอข้อมูลเกี่ยวกับคะแนนเฉลี่ย ร้อยละ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ระหว่างปีการศึกษา 2561 – 2562 เพื่อนำข้อมูลมาใช้ใน การพัฒนาและบริหารจัดการตอ่ ไป ขอขอบพระคุณทุกท่านที่มีส่วนร่วมทำให้รายงานฉบับนี้สำเร็จลุล่วงไปด้วยดี หวังว่ารายงานนี้จะเป็น ประโยชนต์ อ่ การพัฒนาคุณภาพการศึกษาให้มีประสทิ ธภิ าพยิง่ ๆ ขึน้ ไป ปารชิ าติ ปติ ิพัฒน์ ศึกษานเิ ทศก์ ศูนย์เครอื ข่ายพัฒนาคุณภาพการศกึ ษานากลาง 4 ก

สารบัญ หน้า คำนำ....................................................................................................................................................... ก สารบญั ..................................................................................................................................................... ข สารบัญตาราง.......................................................................................................................................... ง บทท่ี 1 บทนำ 1 ความเปน็ มาและความสำคัญ .................................................................................................... 1 วตั ถปุ ระสงค์ ............................................................................................................................. 2 ขอบเขตของการรายงาน .......................................................................................................... 2 นิยามศัพทเ์ ฉพาะ ...................................................................................................................... 3 ประโยชน์ท่คี าดวา่ จะไดร้ ับ ....................................................................................................... 3 บทท่ี 2 เอกสารที่เกยี่ วข้องในการประเมนิ คณุ ภาพผู้เรียน 4 พระราชบญั ญตั ิการศึกษาแหง่ ชาติ พ.ศ. 2542 แก้ไขเพ่ิมเติม (ฉบับท่ี 2) พ.ศ. 2545 และ (ฉบับท่ี 3) พ.ศ........................................................................................................................... 4 แผนพฒั นาการศึกษาของกระทรวงศกึ ษาธิการ ฉบบั ท่ี 12 (พ.ศ.2560 – 2564) ..................... 4 หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพนื้ ฐาน พุทธศักราช 2551 ..................................................... 5 มาตรฐานการทดสอบทางการศกึ ษาแห่งชาติ สถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (องคก์ ารมหาชน) ...................................................................................................................... 14 จุดม่งุ หมายของแตล่ ะมาตรฐานการทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ ......................................... 15 แนวดำเนนิ งานการประเมนิ การจัดสอบทางการศึกษาระดับชาตขิ ้ันพืน้ ฐาน (Ordinary 16 National Education Testing : O-NET) ปกี ารศกึ ษา 2562................................................... โครงสร้างการบรหิ ารการจัดการทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาตขิ ้นั พื้นฐาน (O-NET) ………… 17 บทท่ี 3 วิธีดำเนินการ 22 กลมุ่ เป้าหมาย ........................................................................................................................... 22 ขอบเขต และสาระการทดสอบ ................................................................................................ 22 วธิ กี ารดำเนนิ การ....... .............................................................................................................. 60 การวิเคราะห์ข้อมูล ................................................................................................................... 61 สถิติทีใ่ ชใ้ นการวิเคราะห์ขอ้ มูล ................................................................................................. 63 ข

สารบญั (ต่อ) หนา้ บทท่ี 4 ผลการวเิ คราะห์ข้อมลู 64 ตอนที่ 1 วิเคราะห์ข้อมลู ผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาติข้ันพน้ื ฐาน (O-NET) ช้ันประถมศึกษาปที ี่ 6 ในแต่ละกล่มุ สาระการเรียนรู้ โดยใช้ข้อมลู ย้อนหลังสามปีการศกึ ษา (ปกี ารศึกษา 2560 – 2562) เพื่อดูความเปล่ียนแปลงและแนวโน้มของคะแนนในแต่ละกลุม่ สาระการเรยี นรู้ รายโรงเรยี นของโรงเรียนในศูนยเ์ ครือขา่ ยพฒั นาคณุ ภาพการศึกษา นากลาง 4 .............................................................................................................................. 65 ตอนที่ 2 วิเคราะห์เปรยี บเทียบผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาติขนั้ พ้นื ฐาน (O-NET) ช้นั ประถมศึกษาปที ี่ 6 ปกี ารศึกษา 2562 เพ่อื จัดกลุ่มคุณภาพของโรงเรียนในศูนย์เครอื ข่าย พัฒนาคุณภาพการศึกษานากลาง 4 จำแนกรายกลุ่มสาระการเรยี น ........................................ 69 ตอนท่ี 3 วิเคราะหข์ ้อมลู ผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาติขั้นพน้ื ฐาน (O-NET) ชัน้ ประถมศึกษาปที ี่ 6 ในแตล่ ะกลุม่ สาระการเรียนรู้ โดยใช้ข้อมลู ปกี ารศึกษา 2562 เพอื่ ดูความ เปลีย่ นแปลงและแนวโนม้ ของคะแนนในแต่ละกลมุ่ สาระการเรียนรู้ รายสาระการเรียนรู้ รายโรงเรียน ของโรงเรยี นในศูนย์เครือขา่ ยพฒั นาคุณภาพการศึกษานากลาง 4 ...................... 72 บทท่ี 5 สรุป และข้อเสนอแนะการนำผลการวิเคราะหไ์ ปใช้ในการปรับปรงุ และพัฒนาคุณภาพ 81 การศกึ ษา สรุปผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาตขิ ้ันพื้นฐาน (O-NET) ช้นั ประถมศกึ ษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2562 .................................................................................................................... 81 ข้อเสนอแนะการนำผลการวิเคราะห์ไปใชใ้ นการปรบั ปรงุ และพฒั นาคุณภาพการศึกษา........... 87 ภาคผนวก 88 รายงานผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาตขิ ้ันพ้นื ฐาน (O-Net) ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 6 ปกี ารศึกษา 2562 รายโรงเรยี นของศูนย์เครือข่ายพฒั นาคุณภาพการศึกษานากลาง 4 ........... 89 คณะผจู้ ัดทำ ค

สารบญั ตาราง หน้า ตารางที่ 1 แสดงตารางสอบและขอ้ ปฏิบัติในการสอบ ชัน้ ประถมศึกษาปที ี่ 6 ปีการศึกษา2562……… 20 ตารางท่ี 2 จำนวนนกั เรยี นช้ันประถมศึกษาปที ี่ 6 และช้นั มัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรยี นในสังกดั ศนู ย์ เครอื ข่ายพฒั นาคุณภาพการศึกษานากลาง 4 จำนวน 8 โรงเรียน จำแนกนักเรยี นตาม ระดับชัน้ …………………………………………………………………………………………..……………………… 22 ตารางท่ี 3 รูปแบบขอ้ สอบและจำนวนขอ้ สอบในแต่ละรายวิชา ชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี 6 ปีการศกึ ษา 2562……………………………………………… 24 ตารางท่ี 4 เปรยี บเทยี บผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขน้ั พืน้ ฐาน (O-NET) คะแนนเฉลี่ย ระดบั โรงเรียนและระดบั ประเทศ ชัน้ ประถมศึกษาปีที่ 6 ปีการศกึ ษา 2560 – 2562 ของ โรงเรียนในศนู ย์เครอื ข่ายพฒั นาคุณภาพการศึกษานากลาง 4 จำแนกรายกลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย……………………………………………………………………….…………..……………………………… 65 ตารางท่ี 5 เปรยี บเทียบผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาตขิ น้ั พน้ื ฐาน (O-NET) คะแนนเฉลีย่ ระดบั โรงเรยี นและระดบั ประเทศ ชัน้ ประถมศกึ ษาปีท่ี 6 ปีการศกึ ษา 2560 – 2562 ของ โรงเรียนในศนู ย์เครือข่ายพฒั นาคุณภาพการศึกษานากลาง 4 จำแนกรายกลุ่มสาระการเรยี นรู้ ภาษาอังกฤษ………………………………………………………………….…………..……………………………… 66 ตารางที่ 6 เปรยี บเทยี บผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาตขิ นั้ พ้นื ฐาน (O-NET) คะแนนเฉลี่ย ระดบั โรงเรยี นและระดับประเทศ ช้นั ประถมศกึ ษาปีที่ 6 ปีการศกึ ษา 2560 – 2562 ของ โรงเรียนในศนู ยเ์ ครอื ข่ายพฒั นาคณุ ภาพการศึกษานากลาง 4 จำแนกรายกลมุ่ สาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ ………………………………………………………………….…………..……………………………… 67 ตารางที่ 7 เปรียบเทียบผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาติขน้ั พื้นฐาน (O-NET) คะแนนเฉล่ีย ระดบั โรงเรียนและระดับประเทศ ชน้ั ประถมศกึ ษาปีที่ 6 ปีการศกึ ษา 2560 – 2562 ของ โรงเรยี นในศูนย์เครอื ข่ายพฒั นาคุณภาพการศึกษานากลาง 4 จำแนกรายกลุม่ สาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ ..……………………………………………………………….…………..……………………………… 68 ตารางท่ี 8 เปรยี บเทียบผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาติขนั้ พื้นฐาน (O-NET) ช้ันประถมศึกษา ปที ี่ 6 ปีการศึกษา 2562 เพื่อจัดกลุม่ คณุ ภาพโรงเรยี นในศูนยเ์ ครอื ข่ายพัฒนาคุณภาพ การศกึ ษานากลาง 4 จำแนกรายกลมุ่ สาระการเรยี นร้ภู าษาไทย …………………………………..… 69 ตารางท่ี 9 เปรยี บเทยี บผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาตขิ ั้นพืน้ ฐาน (O-NET) ช้นั ประถมศกึ ษา ปที ่ี 6 ปกี ารศึกษา 2562 เพอื่ จดั กลมุ่ คณุ ภาพโรงเรยี นในศูนยเ์ ครอื ข่ายพัฒนาคณุ ภาพ การศกึ ษานากลาง 4 จำแนกรายกลมุ่ สาระการเรียนรู้ภาษาตา่ งประเทศ (ภาษาอังกฤษ) ..… 70 ง

สารบญั ตาราง (ตอ่ ) หน้า ตารางที่ 10 เปรียบเทียบผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพ้ืนฐาน (O-NET) ช้ันประถมศกึ ษา ปที ่ี 6 ปีการศึกษา 2562 เพื่อจดั กลุ่มคณุ ภาพโรงเรยี นในศูนยเ์ ครอื ข่ายพฒั นาคณุ ภาพ การศกึ ษานากลาง 4 จำแนกรายกล่มุ สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ......................................… 70 ตารางที่ 11 เปรยี บเทยี บผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาตขิ น้ั พนื้ ฐาน (O-NET) ช้ันประถมศกึ ษา ปีท่ี 6 ปกี ารศึกษา 2562 เพ่ือจัดกลมุ่ คณุ ภาพโรงเรยี นในศูนยเ์ ครือข่ายพัฒนาคณุ ภาพ การศกึ ษานากลาง 4 จำแนกรายกลมุ่ สาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์ .....................................… 71 ตารางท่ี 12 เปรียบเทียบผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาติข้ันพนื้ ฐาน (O-NET) คะแนนเฉลีย่ ระดบั โรงเรยี นและระดบั ประเทศ ช้นั ประถมศกึ ษาปที ่ี 6 ปีการศกึ ษา 2562 ของโรงเรยี น ในศูนยเ์ ครือขา่ ยพฒั นาคุณภาพการศึกษานากลาง 4 จำแนกรายสาระการเรียนรู้ (ภาษาไทย)…………………………………………………………………………………………..……………………… 72 ตารางท่ี 13 เปรยี บเทยี บผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาตขิ ้ันพ้นื ฐาน (O-NET) คะแนนเฉลีย่ ระดับโรงเรยี นและระดับประเทศ ชั้นประถมศกึ ษาปีท่ี 6 ปีการศกึ ษา 2562 ของโรงเรยี น ในศนู ยเ์ ครือขา่ ยพัฒนาคุณภาพการศกึ ษานากลาง 4 จำแนกรายสาระการเรยี นรู้ (ภาษาตา่ งประเทศ)……………………………………………………………………………………………………… 74 ตารางท่ี 14 เปรียบเทยี บผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาตขิ น้ั พื้นฐาน (O-NET) คะแนนเฉล่ีย แต่ละกล่มุ สาระการเรยี นร้ขู องระดบั โรงเรียนและระดับประเทศ ชน้ั ประถมศกึ ษาปีที่ 6 ปกี ารศึกษา 2562 ของโรงเรียนในศนู ยเ์ ครือข่ายพฒั นาคุณภาพการศึกษานากลาง 4 จำแนก รายสาระการเรยี นร้คู ณติ ศาสตร์…………………………………………..………..……………………………… 76 ตารางท่ี 15 เปรียบเทยี บผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพ้ืนฐาน (O-NET) คะแนนเฉล่ีย แตล่ ะกลุ่มสาระการเรียนรขู้ องระดบั โรงเรียนและระดับประเทศ ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ี่ 6 ปกี ารศกึ ษา 2562 ของโรงเรียนในศนู ยเ์ ครือข่ายพัฒนาคุณภาพการศึกษานากลาง 4 จำแนกรายสาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์…………………………….…………..……………………………… 78 จ

1 บทที่ 1 บทนำ ความเป็นมาและความสำคญั การเตรยี มเยาวชนใหเ้ ป็นพลเมอื งท่ีมคี ุณภาพมีศักยภาพ และมคี วามสามารถในการแขง่ ขนั ไดใ้ นอนาคต การให้การศึกษาทสี่ อดคล้องกับจุดม่งุ หมายจงึ ต้องใหน้ กั เรียนสามารถใชค้ วามรใู้ นชีวิตจริง สามารถคิด วิเคราะห์ และแก้ปัญหาได้ ดังนัน้ การเตรียมเยาวชนให้สามารถดาเนินชีวติ และมีสว่ นร่วมในสงั คมท่ีวิทยาศาสตรแ์ ละ เทคโนโลยีเปน็ พ้นื ฐาน ที่สง่ ผลกระทบต่อทุกชีวิตในทุกระดับ ทงั้ ตวั บุคคล ในอาชพี การงานและในสงั คมวฒั นธรรม ทาใหบ้ คุ คลสามารถรับรแู้ ละตดั สินประเดน็ ปัญหาของสังคมทีเ่ กิดจากผลกระทบของวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี อยา่ งมีความร้คู วามเขา้ ใจ มสี ่วนรว่ มในสังคมระดับชมุ ชน ระดับประเทศ และระดบั โลก อยา่ งเตม็ ภาคภูมิ เป้าหมายหลกั ของการจัดการศึกษาทุกระบบ คือการเตรยี มเยาวชนสำหรบั อนาคตให้เป็นกำลงั คนที่มี ศกั ยภาพในอนาคต การให้การศกึ ษาทส่ี อดคลอ้ งกับเป้าหมายจึงตอ้ งใหน้ ักเรียนสามารถใชค้ วามรู้ในชวี ติ จรงิ สามารถคดิ วเิ คราะห์ และแก้ปญั หาได้ เพ่ือให้มศี ักยภาพในการแขง่ ขันในอนาคต แต่ในการปฏบิ ัติ แมว้ า่ จุดมงุ่ หมายของการศึกษาจะวางไวอ้ ย่างไร แต่นักเรยี นและครูจะให้ความสำคญั เฉพาะกบั การรู้ขอ้ เทจ็ จรงิ การรู้ เนอื้ หาสาระเท่านัน้ ทัง้ นีเ้ พราะการประเมินผลการศกึ ษา ไม่วา่ จะเป็นการสอบผ่านชั้นเรียนหรือการสอบคัดเลือก เพอื่ เข้าศึกษาต่อในระดบั ทส่ี งู ข้นึ เน้นเฉพาะการวัดความรู้ตามการเรียนการสอนในห้องเรียนท่ตี ้ังอยบู่ นพื้นฐาน ของภาคทฤษฎี นนั่ คอื วดั ความรู้ในทางด้านเน้อื หาเปน็ ต้นวา่ วดั ทฤษฏี หลักการ นยิ าม แนวคดิ หลักเท่านั้น O-NET คอื การทดสอบการศึกษาระดับชาตขิ ั้นพ้ืนฐาน (Ordinary National Education Test) ท่จี ดั สอบโดย สถาบนั ทดสอบทางการศกึ ษาแห่งชาติ (องค์การมหาชน) (สทศ.) หรือในชื่อภาษาอังกฤษ National Institute of Educational Testing Service เป็นแบบสอบทางการศึกษาแห่งชาติขนั้ พื้นฐาน เปน็ การวดั ผล การจัดการศึกษาขน้ั พ้นื ฐาน สำหรบั นกั เรียน โดยจะวดั ความรคู้ วามสามารถทางการศึกษา หลงั จากท่ีเรยี นจบ ระดบั ช้ันหนงึ่ ๆ ซึ่งในปจั จบุ ันจะทาการทดสอบนักเรยี นในระดับชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี 6 ชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 3 และมัธยมศึกษาปที ี่ 6 โดยจัดสอบ 4 กลุม่ สาระการเรียนรู้ ได้แก่ ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ และ ภาษาต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ) โดยลักษณะขอ้ สอบและการประเมินผล O – NET จะเป็นแบบทดสอบ แบบปรนยั และอัตนัย ในอตั ราส่วนระหว่าง 80% – 90% : 10% – 20% ขอ้ สอบแบบปรนัยจะเปน็ ข้อสอบ แบบ 4 ตัวเลอื ก สำหรับข้อสอบอตั นยั จะเป็นขอ้ สอบแบบเขยี นคำตอบสนั้ ๆ (Short Answer) เวลาในการทำ ขอ้ สอบของแตว่ ชิ า แต่ละระดับชนั้ จะกำหนดไว้ไม่เท่ากนั ข้อสอบแต่ละข้อ คะแนนอาจจะไม่เทา่ กันขึน้ อยูก่ บั ความ ยากงา่ ยของข้อสอบ ข้อสอบครอบคลุมสาระและทักษะสำคัญของ 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้การสอบเป็นบริการ ของรัฐใหแ้ กน่ กั เรียนทุกคนโดยไม่ต้องเสยี ค่าใชจ้ า่ ยใด ๆ สำนกั งานเขตพน้ื ท่ีการศึกษาประถมศึกษาหนองบัวลำภู เขต 2 เป็นหน่วยงานทร่ี บั ผดิ ชอบการจัด การศึกษาข้นั พื้นฐาน ชนั้ ประถมศึกษาปีที่ 1 – ชนั้ มัธยมศกึ ษาปที ี่ 3 ซึง่ บทบาทของการประเมนิ คุณภาพ การศกึ ษาระดับเขตพื้นท่ีการศึกษาดำเนินการเป็นการประเมนิ เพื่อปรับปรุงและพฒั นา (Formative Evaluation) ใหโ้ รงเรยี นพร้อมรับการประเมนิ ระดับชาติ และนำผลการสอบไปใช้ในการปรบั ปรงุ คุณภาพการเรยี นการสอน

22 ของโรงเรยี นและนำผลการทดสอบไปใชใ้ นการประเมินผลการเรยี นรูข้ องนกั เรยี น และนำผลการประเมนิ มา วิเคราะห์ สรุปและเขยี นรายงาน ในภาพรวมระดับของสำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา เพือ่ นำผลการประเมนิ ไปใชว้ างแผนในการปฏบิ ัตเิ พื่อยกระดบั คุณภาพผู้เรียนได้อยา่ งเปน็ รปู ธรรมชดั เจนในปกี ารศึกษา 2562 ตามความเหมาะสมของแตล่ ะโรงเรยี นตอ่ ไป ผู้รายงานในฐานะศึกษานเิ ทศก์ทีร่ ับผิดชอบศูนยเ์ ครือขา่ ยพัฒนาคุณภาพการศึกษานากลาง 4 จงึ นำขอ้ มูลผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาติขั้นพ้นื ฐาน (Ordinary National Educational Test : O-NET) มาวิเคราะห์ และจดั ทำรายงานผลการทดสอบทางการศึกษา ปกี ารศกึ ษา 2563 ศนู ย์เครือขา่ ยพัฒนาคุณภาพ การศกึ ษานากลาง 4 เพื่อนำข้อมลู สารสนเทศไปใช้ประโยชน์ ในการพฒั นาคณุ ภาพนกั เรียนและการบรหิ ารจัด การศึกษาในระดบั ศูนย์เครอื ข่ายพฒั นาคุณภาพการศึกษาให้มคี ุณภาพและประสิทธิภาพย่ิงขึน้ ต่อไป วตั ถุประสงค์ 1. เพื่อวเิ คราะห์และรายงานผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพ้ืนฐาน (O-NET) ของนกั เรยี น ช้ันประถมศึกษาปที ี่ 6 ของโรงเรียนในศูนย์เครือขา่ ยพฒั นาคณุ ภาพการศึกษานากลาง 4 ปีการศกึ ษา 2562 2. เพ่ือเปรยี บเทียบผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาติข้นั พืน้ ฐาน (O-NET) ของนักเรียนช้นั ประถมศึกษาปีท่ี 6 ของโรงเรียนในศูนยเ์ ครือขา่ ยพฒั นาคุณภาพการศึกษานากลาง 4 ปีการศึกษา 2560 – 2562 3. เพ่อื ให้ผทู้ ี่เกีย่ วข้องนำข้อมูลสารสนเทศจากการสรปุ ผลรายงานผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ ขน้ั พื้นฐาน ปีการศกึ ษา 2562 ไปใชใ้ นการวางแผน พฒั นา และปรับปรงุ คุณภาพการศึกษาอยา่ งเป็นระบบและ ต่อเนื่องตอ่ ไป ขอบเขตของการรายงาน 1. ขอบเขตด้านเน้ือหา การทดสอบทางการศึกษาระดับชาตขิ ้ันพน้ื ฐาน (O-NET) เปน็ การประเมินผลสัมฤทธิท์ างการเรียนของ ผูเ้ รียนตามจดุ มุ่งหมายของหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขนั้ พืน้ ฐาน พทุ ธศักราช 2551 โดยประเมินจำนวน 4 กลมุ่ สาระการเรียนรู้ ได้แก่ ภาษาไทย, ภาษาองั กฤษ, คณิตศาสตร์ และวทิ ยาศาสตร์ 2. ขอบเขตด้านระยะเวลา ช้นั ประถมศึกษาปที ี่ 6 ทำการทดสอบ ในวันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2563 3. เป้าหมาย นกั เรียนชัน้ ประถมศึกษาปที ี่ 6 ทกุ คนและทุกโรงเรียนในศูนยเ์ ครอื ข่ายพัฒนาคุณภาพ การศึกษานากลาง 4 สำนักงานเขตพ้นื ทกี่ ารศึกษาประถมศึกษาหนองบัวลำภู เขต 2

33 นยิ ามศพั ทเ์ ฉพาะ 1. การทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาตขิ นั้ พนื้ ฐาน (Ordinary National Educational Test : O-NET) หมายถงึ การประเมนิ คุณภาพผู้เรียนในระดบั ประถมศึกษาปีที่ 6 ระดบั มัธยมศึกษาปที ่ี 3 และระดบั มธั ยมศึกษา ปที ่ี 6 ทว่ั ประเทศ ซ่งึ สถาบนั ทดสอบทางการศกึ ษาแหง่ ชาติ (องค์การมหาชน) เป็นหนว่ ยงานท่ีดำเนนิ การจัดสอบ ผู้เรยี น โดยทำการประเมนิ ผลสัมฤทธิท์ างการเรียนของผูเ้ รยี นตามมาตรฐานและตัวช้วี ดั ของหลกั สตู รแกนกลาง การศึกษาขนั้ พน้ื ฐาน พุทธศักราช 2551 ใน 4 กลุ่มสาระการเรยี นรู้ ได้แก่ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย กลุ่ม สาระการเรยี นรู้ภาษาต่างประเทศ กลมุ่ สาระการเรยี นรูค้ ณิตศาสตร์ และกลุ่มสาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์ 2. ศนู ย์การบริหารและจดั สอบการทดสอบทางการศึกษาระดับชาตขิ นั้ พน้ื ฐาน (O-NET) โดยสถาบนั ทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (องค์การมหาชน) มอบให้สำนักงานเขตพ้ืนทก่ี ารศึกษาประถมศึกษาหนองบวั ลำภู เขต 2 เป็นผู้รับผดิ ชอบดำเนนิ การประสานและบรหิ ารงานการจดั สอบกบั ทุกโรงเรยี นในสังกัด 3. ผลการทดสอบระดับเขตพ้ืนท่กี ารศึกษา หมายถึง คา่ สถิตผิ ลการทดสอบระดบั เขตพ้นื ทีก่ ารศึกษาของ นกั เรียนชนั้ ประถมศึกษาปีท่ี 6 และชั้นมัธยมศกึ ษาปีท่ี 3 ปีการศกึ ษา 2562 ท่เี ข้าสอบจากทกุ โรงเรียนในสังกัด สำนักงานเขตพน้ื ท่ีการศึกษาประถมศึกษาหนองบัวลำภู เขต 2 4. ผลการทดสอบระดับประเทศ หมายถึง ค่าสถิตผิ ลการทดสอบระดบั ประเทศของนกั เรยี นช้นั ประถมศึกษาปีท่ี 6 และชน้ั มัธยมศึกษาปีที่ 3 ปกี ารศกึ ษา 2562 ทีเ่ ข้าสอบจากโรงเรียนทุกสงั กัดในประเทศ 5. สถานศึกษา หมายถึง โรงเรียนในสังกัดสำนกั งานเขตพื้นทก่ี ารศึกษาประถมศึกษาหนองบวั ลำภู เขต 2 ทอ่ี ย่ใู นศนู ยเ์ ครือขา่ ยพฒั นาคุณภาพการศึกษานากลาง 4 6. ศนู ย์เครอื ข่ายพฒั นาคุณภาพการศกึ ษานากลาง 4 หมายถงึ โรงเรยี นในสงั กดั สำนกั งานเขตพนื้ ที่ การศึกษาประถมศึกษาหนองบวั ลำภู เขต 2 จำนวนทงั้ หมด 8 โรงเรยี น ได้แก่ โรงเรียนบา้ นก่าน โรงเรียนบา้ น ซำเส้ียว โรงเรียนบา้ นนาหนองท่มุ โรงเรียนบ้านโนนงาม โรงเรียนบา้ นโนนตาล โรงเรยี นบา้ นฝั่งแดง โรงเรียนบา้ น แสงดาวโนนธาตุ และโรงเรียนบา้ นเออ้ื งโนนไรโ่ นนสาวิทยา ประโยชน์ท่คี าดวา่ จะได้รับ 1. โรงเรียนและหนว่ ยงานที่เกี่ยวขอ้ งมแี ละใช้ข้อมูลสารสนเทศด้านคุณภาพของนักเรียนในการวางแผน พัฒนาคุณภาพการศกึ ษา สถานศึกษา หอ้ งเรียนและกลุม่ สาระการเรยี นรู้ของนักเรยี นรายบคุ คลนำไปสู่การพฒั นา ทยี่ ง่ั ยนื ตอ่ ไป 2. โรงเรียนและหนว่ ยงานทีเ่ กี่ยวข้อง ได้ทราบผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน และคุณภาพผเู้ รยี นชนั้ ประถม ศึกษาปีที่ 6 และช้นั มัธยมศึกษาปีท่ี 3 ท้งั รายโรงเรยี นและภาพรวมระดับเขตพน้ื ที่การศึกษา สำหรับใชเ้ ปน็ ข้อมูล ในการพฒั นาคุณภาพการศึกษา และวางแผนยกระดับผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนในปีการศึกษาต่อไป 3. โรงเรยี นและหนว่ ยงานทเ่ี ก่ียวข้องนำข้อมลู ไปใชส้ ำหรับกำหนดนโยบาย กำกับ ติดตาม พฒั นาคุณภาพ การศึกษาและวางแผนการนิเทศของสถานศกึ ษาในสังกัด

4 บทที่ 2 เอกสารท่ีเกยี่ วขอ้ ง การรายงานผลสอบทางการศึกษาระดบั ชาติขั้นพน้ื ฐาน O-NET (Ordinary National Educational Test) ชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี 6 ปีการศึกษา 2562 ของศูนย์เครอื ขา่ ยพฒั นาคุณภาพการศึกษานากลาง 4 สำนักงานเขตพ้นื ที่การศึกษาประถมศกึ ษาหนองบัวลำภู เขต 2 ไดด้ ำเนินการศกึ ษาเอกสารทเ่ี ก่ยี วขอ้ งกับ การบริหารการสอน ดังนี้ 1. พระราชบัญญตั ิการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 แกไ้ ขเพ่ิมเติม (ฉบับท่ี 2) พ.ศ.2545 และ (ฉบับท่ี 3) พ.ศ.2553 2. แผนพฒั นาการศึกษาของกระทรวงศึกษาธกิ าร ฉบับท่ี 12 (พ.ศ.2560 – 2564) 3. หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 4. การวดั และประเมนิ ผลการเรียนรูต้ ามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาข้นั พน้ื ฐาน พุทธศักราช 2551 5. มาตรฐานการทดสอบทางการศกึ ษาแหง่ ชาติ สถาบันทดสอบทางการศึกษาแหง่ ชาติ (องคก์ าร มหาชน) 6. จดุ มุง่ หมายของแตล่ ะมาตรฐานการทดสอบทางการศกึ ษาแหง่ ชาติ 7. แนวดำเนินงานการประเมินการจัดสอบทางการศึกษาระดบั ชาตขิ ั้นพืน้ ฐาน (Ordinary National Education Testing : O – NET) ปกี ารศึกษา 2562 8. โครงสรา้ งการบริหารการจัดการทดสอบทางการศึกษาระดบั ขาติขน้ั พืน้ ฐาน (O – NET) พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 แก้ไขเพม่ิ เตมิ (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2545 และ (ฉบบั ที่ 3) พ.ศ.2553 หมวด 4 แนวทางการจดั การศกึ ษา มาตรา 26 ใหส้ ถานศกึ ษาจดั การประเมนิ ผเู้ รียนโดยพจิ ารณาการ ของผูเ้ รียน ความประพฤติ กรสงั เกตพฤติกรรมการเรยี น การร่วมกิจกรรมและการทดสอบควบคไู่ ปในกระบวน การเรียนการสอนตามความเหมาะสมของแตล่ ะระดับและรูปแบบการศึกษา ให้สถานศึกษาใชว้ ิธีการทห่ี ลากหลาย ในกรจดั สรรโกสคารเขา้ ศกึ ษาตอ่ และใหผ้ ลการประเมินผเู้ รยี นตามวรรคหนงึ่ มาใช้ประกอบการพจิ ารณาดว้ ย แผนพฒั นาการศกึ ษาของกระทรวงศึกษาธิการ ฉบับที่ 12 (พ.ศ.2560 – 2564) กระทรวงศึกษาธิการจัดทำแผนพัฒนาการศกึ ษาของกระทรวงศึกษาธกิ าร ฉบบั ที่ 12 (พ.ศ. 2560 - 2564) สำหรบั เปน็ เคร่อื งมือในการกำกบั ทศิ ทางการปฏบิ ัติงานของกระทรวงศึกษาธิการและสว่ นราชการ/ หนว่ ยงานในสังกัดโดยได้น้อมนำปลดั ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี งมาประยุกต์ใชเ้ ป็นกรอบในการดำเนินงาน เพ่อื สรา้ งผลผลติ ผลลพั ธ์ ใหเ้ กดิ กบั ผ้เู รียนนำไดอ้ ย่างมคี วามสอดคล้องกบั ทศิ ทางกาพัฒนาประเทศในชว่ งของ แผนพฒั นาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560 - 2564) ซ่งึ ได้ระบุสาระเกยี่ วกบั สาระสำคญั

55 เกีย่ วกับวิสยั ทศั น์ พันธกจิ ยทุ ธศาสตร์ และกลยทุ ธ์ ของกระทวงศึกษาธกิ ารท่สี ามารถตอบสนองตอ่ เป้าหมายของ การพฒั นาประเทศได้ทง้ั มิติความม่นั คง มิตเิ ศรษฐกจิ มิติสดั ม และมติ บิ รหิ ารจดั การภาครฐั ไดอ้ ยา่ งเปน็ รปู ธรรม มี หลกั การสำคญั คือ \"ยดึ คนเป็นศูนย์กลางของการพัฒนา\" มุ่งสรา้ งคณุ ภาพชวี ิตท่ดี ีสำหรับคนไทย พัฒนาคนให้มี ความเป็นคนทส่ี มบูรณ์ มีวนิ ยั ใฝรู้ มีความรู้ มที กั ษะ มคี วามคดิ สรา้ งสรรค์ มีทัศนคติทีด่ ี รบั ผิดชอบต่อสังคม มี คุณธรรมจรยิ ธรรม ภายใต้วิสยั ทัศน์ \"มุง่ พฒั นาผเู้ รยี นใหม้ ีความรูค้ คู่ ุณธรรม มีคุณภาพชวี ิตท่ีดี มคี วามสุขในสังคม\" ซ่งึ การทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาติขน้ั พนื้ ฐาน (O-NET) เปน็ การตอบยุทธศาสตรท์ ่ี 4 ยุทธศาสตรข์ ยายโอก สการเขา้ ถึงการบริการทางการศึกษา และการเรียนรู้อย่างต่อเนอ่ื งตลอดชวี ิต ท่มี ุ่งหวังให้การบรกิ ารการศึกษา แก่ผูเ้ รียนทกุ กลุ่ม ทุกวัยในระดบั ท่ีเหมาะสมกับสภาพบรบิ ทและสภาพพ้ืนที่ ซ่งึ ตอบสนองพนั ธกิจการพัฒนา ในดา้ นการเขา้ ถงึ การให้บริการและดา้ นความเทา่ เทยี ม นำไปสู่ยุทธศาสตร์ที่ 3 ยุทธศาสตร์การผลิตและพัฒนา กำลังคน รวมท้งั งานวจิ ยั ที่สอดคลอ้ งกับความต้องการของประเทศทมี่ ุ่งหวังให้กำลงั คนได้รับการผลติ และพฒั นา เพ่อื เสริมสรา้ งศักยภาพการแข่งขันของประเทศ และมีองค์ความรู้ เทคโนโลยี นวตั กรรม สนบั สนุนการพฒั นา ประเทศอยา่ งยั่งยนื ซ่ึงตอบสนองการพัฒนาในด้านคุณภาพ และดา้ นการตอบโจทย์บริบททเี่ ปล่ียนแปลง การประเมินแผนพฒั นาการศึกษาของกระทรวงศกึ ษาธิการ ฉบบั ที่ 11 (พ.ศ. 2555 - 2559) ประเด็น การประเมินผลตัวชีว้ ัดตามเป้าหมายหลักของแผนพฒั นาการศกึ ษาของกระทรวงศึกษาธิการ ฉบับที่ 11 (พ.ศ. 2555 - 2559) ในเปา้ หมายด้านผเู้ รยี นไดร้ ับการศกึ ษาท่มี ีคุณภาพ มาตรฐาน และมผี ลสัมฤทธท์ิ างการเรียนสูงข้นึ น้นั จากผลการทดสอบทาการศึกษาระดับชาตขิ ้นั พน้ื ฐาน (O-NET) ในปี 2555 - 2558 ระดบั ประถมศกึ ษาปีท่ี 6 มัธยมศกึ ษาปีท่ี 3 และธยมศึกษาปที ี่ 6 พบวา่ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนการศึกษาขนั้ พื้นฐานในกลุ่มสาระหลัก คือ ภาษาไทย ภาษาองั กฤษ คณิตศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ และสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ยงั ไม่เปน็ ทีน่ พอใจนัก โดยคะแนนเฉลี่ย 5 วชิ าหลักในภพรวมและแต่ละรายวิชายังต่ำกว่ารอ้ ยละ 50 แมว้ ่าในปี 2558 ท้งั 3 ระดบั ช้ันจะ มีคะแนนเฉลย่ี 5 วิชาหลกั ในภาพรวม และคะแนนเฉลีย่ ของแต่ละรายวชิ าโดยสว่ นมากเพิ่มข้นึ จากปี 2557 หลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน พุทธศักราช 2551 กระทรวงศึกษาธกิ ารได้มคี ำส่ังใหใ้ ช้หลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ในโรงเรยี นด้นแบบ และโรงเรียนท่ีมคี วามพรอ้ มในการใชห้ ลักสตู ร ในปกี ารศึกษา 2552 และใชใ้ นโรงเรยี น ท่วั ประเทศ ในปีการศกึ ษา 2553 หลกั สูตรนี้เป็นหลักสตู รท่ีใช้แนวคิดหลกั สตู รอิงมาตรฐาน (Standards-based Curriculum) กล่าวคือ เป็นหลกั สูตรที่กำหนดมาตรฐานการเรยี นรู้เป็นเป้าหมายในการพัฒนาคุณภาพ ผเู้ รียนโดยมาตรฐานการเรียนรไู้ ด้ระบสุ ิ่งท่ีผู้เรยี นพงึ รแู้ ละปฏบิ ตั ไิ ด้ เมื่อสำเรจ็ การศึกษาข้ันพ้ืนฐาน เพ่ือให้ ทกุ ภาคส่วนท่เี กยี่ วข้องในการจัดการศึกษาได้ยดึ เป็นแนวทางในการดำเนนิ การพฒั นาและสง่ เสริมใหผ้ ู้เรยี น ได้บรรลคุ ณุ ภาพตามมาตรฐานการเรยี นรู้ ดงั กลา่ วด้วยการดำเนนิ การบริหารจดั การอิงมาตรฐาน (Standards- based Instruction) การวดั และประเมินผลท่สี ะท้อนมาตรฐาน (Standards-based Assessment) เพ่ือใหก้ ระบวนการนำหลกั สูตรไปส่กู ารปฏบิ ัติ เปน็ ไปอย่างมีประสิทธิภาพ (สำนักวชิ าการและมาตรฐาน การศกึ ษา, 2554 : คำนำ)

66 การจดั การศึกษาระดับการศึกษาขัน้ พน้ื ฐาน ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 มีสาระสำคัญ ดงั น้ี 1. ระดับการศึกษา ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พื้นฐาน พุทธศกั ราช 2551 แบ่งเป็น 3 ระดบั ไดแ้ ก่ 1.1 ระดับประถมศึกษา (ช้ันประถมศกึ ษาปีที่ 1-6) เปน็ ระดบั การศึกษาที่มุง่ เนน้ ทกั ษะพ้นื ฐาน ดา้ นการอ่านการเขยี น การคิดคำนวณ การคิดพ้นื ฐาน การตดิ ตอ่ ส่อื สาร กระบวนการเรียนรูท้ างสังคม และ 7 พนื้ ฐาน ความเป็นมนุษย์ การพฒั นาคุณภาพชีวิตอย่างสมบรู ณ์และสมดลุ ทง้ั ดา้ นรา่ งกาย สตปิ ญั ญา อารมณ์ สงั คม และ วฒั นธรรม โดยเนน้ จัดการเรยี นรู้แบบบรู ณาการ 1.2 ระดับมัธยมศึกษาตอนตน้ (ชั้นมัธยมศกึ ษาปที ่ี 1-3) เป็นระดบั การศึกษาท่ีมงุ่ เน้นใหผ้ ูเ้ รยี น ได้สำรวจความถนดั และความสนใจของตนเอง ส่งเสริมการพัฒนาบุคลิกภาพส่วนตนมีทักษะในการคิดอย่างมี วิจารณญาณ คดิ สร้างสรรค์ และคดิ แก้ปญั หา มีทักษะในการดำรงชีวติ มที ักษะการใช้เทคโนโลยเี พอื่ เป็นเครื่องมือ ในการเรียนรู้ มีความรบั ผดิ ชอบตอ่ สังคม มีความสมดุลทั้ง ด้านความรู้ ความคิด ความดีงาม และมีความภมู ิใจ ในความเป็นไทย ตลอดจนใช้เป็นพนื้ ฐานในการประกอบอาชีพ หรอื การศึกษาตอ่ 1.3 ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย (ชั้นมธั ยมศึกษาปีท่ี 4-6) เปน็ ระดบั การศึกษาทมี่ ุ่งเน้น การเพิ่มพนู ความรแู้ ละทกั ษะเฉพาะด้านสนองตอบความสามารถ ความถนดั และความสนใจของผู้เรียนแตล่ ะคน ทัง้ ดา้ นวิชาการ และวิชาชพี มที ักษะในการใช้วทิ ยาการและเทคโนโลยี ทกั ษะ กระบวนการคิดข้นั สูงสามารถ นำความรไู้ ปประยุกต์ใช้ใหเ้ กิดประโยชนใ์ นการศึกษาต่อ และการประกอบอาชีพ ม่งุ พัฒนาตน และประเทศตาม บทบาทของตน สามารถเปน็ ผู้นำ และผใู้ ห้บริการชมุ ชนใน ดา้ นต่างๆ 2. วิสัยทัศน์ หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พื้นฐาน ม่งุ พัฒนาผเู้ รยี นทุกคน ซ่ึงเปน็ กำลังของชาติใหเ้ ปน็ มนุษย์ทม่ี ีความสมดลุ ท้ังด้านร่างกาย ความรู้คณุ ธรรมมีจิตสำนกึ ในความเปน็ พลเมืองไทยและเปน็ พลโลก ยึดมนั่ ในการปกครองตามระบอบประชาธิปไตยอนั มีพระมหากษตั รยิ ท์ รงเปน็ ประมขุ มีความรแู้ ละทักษะพน้ื ฐาน รวมท้งั เจตคตทิ จ่ี ำเปน็ ตอ่ การศึกษาตอ่ การประกอบอาชพี และการศึกษาตลอดชวี ติ โดยมุ่งเน้นผเู้ รยี นเป็นสำคัญ บนพน้ื ฐานความเชือ่ วา่ ทกุ คนสามารถเรียนรู้และพฒั นาตนเองได้เต็มตามศกั ยภาพ 3. จดุ หมายของหลักสูตร 3.1 มีคณุ ธรรม จริยธรรม และค่านิยมท่ีพึงประสงค์ เหน็ คณุ คา่ ของตนเองมวี นิ ัยและ ปฏบิ ัติตน ตามหลักธรรมของพระพทุ ธศาสนา หรอื ศาสนาทต่ี นนบั ถอื ยดึ หลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง 3.2 มีความรอู้ ันเปน็ สากลและมคี วามสามารถในการสื่อสาร การคดิ การแกป้ ญั หา การใช้เทคโนโลยี และมที ักษะชีวิต 3.3 มีสุขภาพกายและสุขภาพจิตท่ีดี มีสขุ นสิ ยั และรกั การออกกำลังกาย 3.4 มีความรกั ชาติ มีจติ สำนึกในความเป็นพลเมืองไทยและพลโลก ยึดมั่นในวถิ ชี ีวติ และการ ปกครองในระบอบประชาธิปไตยอนั มีพระมหากษัตริย์ทรงเปน็ ประมุข 3.5 มจี ิตสำนกึ ในการอนุรักษว์ ฒั นธรรมและภมู ปิ ัญญาไทย การอนรุ ักษ์และพัฒนาส่งิ แวดลอ้ ม

77 มีจติ สาธารณะที่มุ่งทำประโยชน์และสร้างสง่ิ ที่ดีงามในสงั คม และอยู่รว่ มกันในสังคมอย่างมคี วามสขุ 4. สมรรถนะสำคัญของผเู้ รยี น 4.1 ความสามารถในการสื่อสาร 4.2 ความสามารถในการคิด 4.3 ความสามารถในการแกป้ ัญหา 4.4 ความสามารถในการใช้ทักษะชวี ติ 4.5 ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี 5. คุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ 5.1 รกั ชาติ ศาสน์ กษัตริย์ 5.2 ช่อื สัตย์สุจรติ 5.3 มีวนิ ัย 5.4 ใฝ่เรียนรู้ 5.5 อยอู่ ยา่ งพอเพียง 5.6 มงุ่ ม่นั ในการทำงาน 5.7 รักความเป็นไทย 5.8 มจี ติ สาธารณะ 6. มาตรฐานการเรยี นรู้และตัวชีว้ ดั 8 กลุ่มสาระการเรยี นรู้ 6.1 ภาษาไทย 6.2 คณติ ศาสตร์ 6.3 วิทยาศาสตร์ 6.4 สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม 6.5 สุขศึกษาและพลศึกษา 6.6 ศิลปะ 6.7 การงานอาชีพและเทคโนโลยี 6.8 ภาษาต่างประเทศ ในแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้ได้กำหนดมาตรฐานการเรยี นรู้เป็นเป้าหมายสำคญั ของการพัฒนา คณุ ภาพผเู้ รยี น มาตรฐานการเรียนรูร้ ะบุสิ่งท่ีผู้เรยี นพึงรู้ ปฏบิ ัตไิ ด้ มีคุณธรรมจรยิ ธรรม และค่านยิ มท่ีพึง ประสงคเ์ ม่ือจบการศึกษาขน้ั พ้นื ฐาน นอกจากนั้นมาตรฐานการเรยี นร้ยู ังเปน็ กลไกสำคัญในการขบั เคลื่อน พัฒนาการศึกษาท้งั ระบบ เพราะมาตรฐานการเรยี นรจู้ ะสะท้อนให้ทราบว่า ตอ้ งการอะไร จะสอนอย่างไร และประเมินอย่างไร รวมทง้ั เปน็ เครอื่ งมือในการตรวจสอบเพื่อการประกันคุณภาพการศึกษา โดยใช้ระบบ การประเมนิ คณุ ภาพภายในและการประเมินคุณภาพภายนอก ซ่ึงรวมถงึ การทดสอบระดับเขตพืน้ ที่การศกึ ษา และการทดสอบระดับชาติ ระบบการตรวจสอบ เพื่อประกันคุณภาพดังกล่าวเปน็ สง่ิ สำคญั ทช่ี ่วยสะทอ้ นภาพ การจัดการศกึ ษาวา่ สามารถพัฒนาผเู้ รียนให้มีคณุ ภาพตามทม่ี าตรฐานการเรียนรู้กำหนดเพยี งใดแตล่ ะกลุม่

88 สาระการเรยี นรใู้ นหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขนั้ พนื้ ฐานฯ ได้กำหนดองค์ความรู้ ทักษะสำคัญและคุณลกั ษณะ ทส่ี ำคัญท่เี ปน็ จุดเนน้ ในการพัฒนาผ้เู รียน องค์ความรู้ ทักษะสำคัญ และคุณลักษณะในหลกั สตู รแกนกลาง การศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน ดังนี้ ภาษาไทย : ความรู้ ทักษะ และ วฒั นธรรมการใช้ภาษาเพ่ือการส่ือสาร ความชึ่นชม การเหน็ คุณคา่ ภมู ิปญั ญาไทย และภูมิใจในภาษา ประจำชาติ คณิตคาสตร์ : การนำความรู้ ทกั ษะและ กระบวนการทาง คณติ ศาสตร์ใปใช้ในการ แกัปัญหา การดำเนนิ ชวี ติ และศึกษาต่อ การ มเี หตุ มผี ล มีเจตคติท่ดี ี ต่อ คณติ ศาสตร์ พฒั นาการคิด อย่าง เปน็ ระบบ และสรา้ งสรรค์ วิทยาศาสตร์ : การนำความรู้และ กระบวนการทางวทิ ยาศาสตรใ์ ปใช้ ในการศึกษา คนควา้ หาความรู้ และ แกปั ญั หาอยา่ งเปน็ ระบบ การคดิ อย่าง เป็นเหตเุ ป็นผล คดิ วเิ คราะห์ คดิ สรา้ งสรรค์ และจติ วทิ ยาศาสตร์ ภาษาต่างประเทศ : ความรู้ ทักษะ เจตคติ และวฒั นธรรม การใช้ ภาษาด่างประเทศในการ ส่อื สาร การแสวงทาความรูแ้ ละ การ ประกอบอาชีพ สงั คมศึกษา ศาสนาและ วฒั นธรรม : การอยรู่ ว่ มกนั ใน สังคมไทยและสังคมโลก อยา่ งสันติสขุ การเป็นพลเมีองดี ศรทั ธา ในหลักธรรมของศาสนา การเท้นคุณคา่ ของทรพั ยากรและ ส่ิงแวดล้อม ความรักชาติ และภมู ิใจในความเป็นไทย สขุ ศึกษาและพลศึกษา : ความรู้ ทักษะและเจตคติในการสร้างเสรมี สุขภาพพลานามยั ของตนเอง และผู้อ่ีน การปัองกันและปฏบิ ตั ิต่อส่งิ ตา่ งๆ ท่มี ี ผลตอ่ สขุ ภาพอย่างถูกวิธี และทกั ษะในการคำเนินชีวติ คลิ ปะ : ความรู้และทกั ษะใน การ คิดริเรมี จนิ ตนาการสร้างสรร คง์ านคลิ ปะสนุ ทรยี ภาพและ การเหน คณุ คำทางคิลปะ การงานอาชีพและเทคในใลยึ : ความรู้ ทักษะ และเจตคดใี นการ ทำงาน การจดั การ การดำรงขวึ ติ การประกอบอาชพี และการใช้ เทคโนโลยึ 7. กิจกรรมพัฒนาผู้เรยี น กจิ กรรมพฒั นาผู้เรียน มงุ่ ใหผ้ ู้เรยี นไดพ้ ัฒนาตนเองตามศักยภาพ พัฒนาอย่างรอบด้าน เพื่อความ เปน็ มนษุ ยท์ ่สี มบรู ณ์ ทัง้ รา่ งกาย สติปัญญา อารมณ์ และสงั คม เสรมิ สรา้ งใหเ้ ปน็ ผ้มู ีศลึ ธรรม จรยิ ธรรม มรี ะเบยี บวินัย ปลกู ผเ้ งและสรา้ งจติ สำนกึ ของการทำประโยชนเ์ พือ่ สงั คม สามารถจดั การ ตนเองได้ และอยู่ร่วมกับผอู้ น่ื อยา่ งมี ความสขุ ภาษาไทย : ความรู้ ทักษะ และวฒั นธรรมการใชภ้ าษาเพ่ือการสอ่ื สาร ความชื่นชม การเห็นคณุ คา่ ภมู ปิ ัญญา ไทย และภมู ใิ จในภาษาประจำชาติ คณิตศาสตร์ : การนำความรู้ทกั ษะและกระบวนการทางคณิตศาสตรไ์ ปใช้ในการแก้ปัญหา การดำเนินชีวิต และศึกษาต่อ การมีเหตมุ ีผลมเี จตคตทิ ีด่ ตี ่อคณติ ศาสตร์ พัฒนาการคดิ อย่างเป็นระบบ และสรา้ งสรรค์

99 วิทยาศาสตร์ : การนำความรู้และกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ไปใชใ้ น การศึกษา ค้นคว้าหาความรู้ และแกป้ ัญหาอยา่ งเป็นระบบการคิดอยา่ ง เป็นเหตุเปน็ ผล คดิ วเิ คราะห์ คดิ สร้างสรรค์ และจิตวิทยาศาสตร์ ภาษาตา่ งประเทศ : ความรู้ ทักษะเจตคติ และวฒั นธรรม การใชภ้ าษาตา่ งประเทศในการ สอ่ื สาร การแสวงหาความรู้และ การประกอบอาชีพ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม : การอย่รู ่วมกนั ในสังคมไทยและสังคมโลก อยา่ งสันติสุข การ เป็นพลเมืองดี ศรทั ธา ในหลักธรรมของศาสนาการเหน็ คณุ ค่า ของทรัพยากรและสิง่ แวดลอ้ ม ความรักชาติ การงานอาชพี และเทคโนโลยี : ภมู ิใจในความเป็นไทยความรู้ ทักษะ และเจตคติในการทำงาน การ จดั การ การดำรงชีวติ การประกอบอาชีพ และการใช้เทคโนโลยี สุขศกึ ษาและพลศึกษา : ความรู้ทกั ษะและเจตคติในการสร้างเสรมิ สขุ ภาพพลานามยั ของตนเอง และผูอ้ ืน่ การป้องกันและปฏบิ ตั ติ ่อสิง่ ตา่ งๆ ทีม่ ี ผลต่อสุขภาพอยา่ งถูกวธิ ีและทกั ษะในการดำเนินชวี ิต ศลิ ปะ : ความรแู้ ละทักษะใน การคิดริเริ่ม จนิ ตนาการสรา้ งสรรค์งานศิลปะสุนทรยี ภาพและ การเหน็ คณุ คา่ ทางศิลปะองค์ความรู้ ทกั ษะสำคัญ คุณลกั ษณะในหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขนั้ พ้นื ฐาน กจิ กรรมพฒั นาผู้เรียน แบง่ เปน็ 3 ลักษณะ ดังนี้ 1. กจิ กรรมแนะแนว เปน็ กจิ กรรมทส่ี ง่ เสริมและพฒั นาผูเ้ รยี นใหร้ ้จู กั ตนเอง รรู้ ักษส์ ง่ิ แวดล้อม สามารถคดิ ตัดสินใจ คิดแก้ปัญหา กำหนดเป้าหมาย วางแผนชวี ติ ทง้ั ด้านการเรียน และอาชพี สามารถปรบั ตนได้ อยา่ งเหมาะสมนอกจากน้ียงั ช่วยใหค้ รรู จู้ ักและเข้าใจผ้เู รยี น ทัง้ ยังเปน็ กิจกรรมทชี่ ว่ ยเหลอื และให้ คำปรกึ ษาแก่ ผู้ปกครองในการมสี ว่ นรว่ มพัฒนาผ้เู รยี น 2. กจิ กรรมนักเรยี น เปน็ กจิ กรรมทีม่ ุ่งพัฒนาความมรี ะเบียบวินัย ความเปน็ ผนู้ ำผตู้ ามที่ดี ความรบั ผดิ ชอบการทำงานร่วมกนั การรู้จักแกป้ ัญหา การตัดสินใจทเี่ หมาะสม ความมเี หตุผล การช่วยเหลอื แบง่ ปันกนั เอ้ืออาทร และสมานฉนั ท์ โดยจดั ใหส้ อดคล้องกับความสามารถ ความถนดั และความสนใจของผ้เู รยี น ให้ได้ปฏบิ ัตดิ ว้ ยตนเองในทุกข้ันตอน ได้แก่ การศึกษาวิเคราะห์วางแผน ปฏบิ ัติตามแผน ประเมนิ และปรับปรงุ การทำงาน เน้นการทำงานร่วมกนั เป็นกลุ่ม ตามความเหมาะสมและสอดคล้องกับวฒุ ภิ าวะของผู้เรียน บริบทของ สถานศึกษาและท้องถิน่ กจิ กรรมนักเรียนประกอบด้วย 2.1 กจิ กรรมลูกเสือ เนตรนารี ยุวกาชาด ผ้บู ำเพ็ญประโยชน์ และนกั ศึกษาวิชาทหาร 2.2 กจิ กรรมชมุ นุม ชมรม 3. กจิ กรรมเพ่ือสังคมและสาธารณประโยชน์ เป็นกิจกรรมทสี่ ง่ เสรมิ ใหผ้ เู้ รยี นบำเพ็ญตนใหเ้ ป็น ประโยชนต์ ่อสงั คม ชุมชน และท้องถ่นิ ตามความสนใจในลักษณะอาสาสมัคร เพื่อแสดงถึงความรับผดิ ชอบ ความดีงาม ความเสยี สละ ต่อสงั คม มจี ิตสาธารณะ เช่น กิจกรรมอาสาพฒั นาต่างๆ กจิ กรรมสรา้ งสรรคส์ งั คม

1010 การวัดและประเมนิ ผลการเรยี นรูต้ ามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขัน้ พน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 การวดั และประเมนิ ผลการศึกษาตามแนวนโยบายการศึกษาไทย 1. การวัดและประเมินผลในพระราชบญั ญัตกิ ารศกึ ษาแหง่ ชาติ พ.ศ. 2542 พระราชบญั ญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 (กระทรวงศึกษาธกิ าร, 2542) (แก้ไขเพม่ิ เดมิ ฉบับท่ี 2 พ.ศ. 2545) หมวด 4 ทวี่ ่าดว้ ยแนวทางจดั การศกึ ษาในมาตร 26 โดยกลา่ วไวว้ า่ “ให้สถานศึกษาจดั การประเมินผ้เู รียนโดยพิจารณาจากพฒั นาการของผูเ้ รยี น ความประพฤติ การสงั เกตพฤติกรรมการเรียน การร่วมกจิ กรรม และการทดสอบควบคู่ไปในกระบวนการเรียนการสอนตามความ เหมาะสมของแต่ละระดบั และรปู แบบการศกึ ษา” “ใหส้ ถานศึกษาใชว้ ิธีการท่หี ลากหลายในการจดั สรรโอกาสการเข้าศึกษาตอ่ ใหน้ ำผลการประเมิน ตามวรรคหน่ึงมาใช้ประกอบการพจิ ารณาดว้ ย” จากพระราชบัญญัติการศกึ ษาแห่งชาตินนั้ ได็ให้ความสำคัญกบั การประเมนิ ในลักษณะท่ี หลากหลาย และเหมาะสมกับสภาพของผเู้ รยี น รวมถึงการใช้ประโยชนจ์ ากผลของการประเมิน ในการจัด การศกึ ษาดว้ ยเชน่ กนั 2. การวัดและประเมินผลในหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้นื ฐาน พทุ ธคักราช 2551 การวดั และประเมินผลการเรียนร้ขู องผเู้ รียนตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพนื้ ฐาน พุทธคักราช 2551 อยู่บนหลักการพืน้ ฐานสองประการ คือ การประเมินเพ่ือพัฒนาผเู้ รียน และเพื่อตัดสิน ผลการเรยี น ในการพฒั นาคุณภาพการเรียนรขู้ องผเู้ รยี นให้ประสบผลสำเรจ็ น้ัน ผูเ้ รียนจะต้องได้รับการพัฒนา และประเมนิ ตามตวั ชี้วดั เพื่อใหบ้ รรลตุ ามมาตรฐานการเรยี นรู้ สะทอ้ นสมรรถนะสำคัญ และคุณลักษณะ อนั พงึ ประสงค ของผเู้ รียนซึ่งเปน็ เป้าหมายหลักในการวดั และประเมินผลการเรยี นร้ใู นทุกระดับไมว่ ่าจะเปน็ ระดับชนั้ เรียน ระดับสถานศกึ ษา ระดบั เขตพน้ื ที่การศึกษา และระดับชาติ การวัดและประเมนิ ผลการเรียนรู้ เปน็ กระบวนการพฒั นาคุณภาพผู้เรยี นโดยใช้ผลการประเมินเปน็ ขอ้ มลู และสารสนเทศท่ีแสดงพฒั นาการ ความกา้ วหนา้ และความสำเร็จทางการเรียนของผู้เรียน ตลอดจนข้อมลู ท่เี ป็นประโยชน์ตอ่ การสง่ เสรมิ ให้ผ้เู รียน เกิดการพฒั นา และเรียนรู้อย่างเตม็ ศักยภาพ การวดั และประเมินผลการเรียนรู้แบง่ ออกเป็น 4 ระดบั ได้แก่ ระดับชั้นเรยี น ระดับสถานศึกษา ระดับเขตพนื้ ท่ีการศึกษา และระดับชาติ มีรายละเอยี ด ดังน้ี 2.1 การประเมินระดับชัน้ เรยี น เป็นการวัดและประเมนิ ผลท่ีอยูใ่ นกระบวนการจดั การเรียนรู้ โดยผูส้ อนดำเนินการเปน็ ปกติ และสมาํ่ เสมอ ในการจัดการเรยี นการสอน และใชเ้ ทคนิคการประเมินอย่าง หลากหลาย เชน่ การซกั ถาม การสงั เกต การตรวจการบ้าน การประเมินโครงงาน การประเมินชนิ้ งาน/ภาระงาน แฟม้ สะสมงาน การใช้แบบทดสอบ ฯลฯ โดยผู้สอนเปน็ ผูป้ ระเมินเอง หรอื เปิดโอกาสให้ผูเ้ รียนประเมนิ ตนเอง เพอ่ื ประเมินเพื่อน ผูป้ กครองร่วมประเมิน ในกรณที ่ีไม่ผา่ นตวั ชวิ้ ัด ให้มกี ารดำเนินการสอนซอ่ มเสรมิ ช้ิน การประเมินระดับช้ันเรียนเป็น การตรวจสอบวา่ ผู้เรียนมพี ัฒนาการความก้าวหน้าในการเรียนรอู้ ันเปน็ ผลมาจาก การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน หรือไม่ และมากน้อยเพียงใด มสี ง่ิ ท่ีจะต้องได้รบั การพัฒนาปรบั ปรงุ และส่งเสริม ดา้ นใด นอกจากนีย้ งั เปน็ ขอ้ มูลให้ ผสู้ อนใชป้ รับปรุงการเรียนการสอนของตนด้วย ท้ังนโี้ ดยสอดคล้องกับมาตรฐาน

1111 การเรยี นรู้ และตวั ชี้วัด 2.2 การประเมนิ ระดับสถานศึกษา เปน็ การประเมนิ ท่สี ถานศกึ ษาดำเนนิ การเพ่ือตัดสนิ การเรียนรู้ ของผู้เรียน รายปี/รายภาค ไดแ้ ก่ ผลการประเมนิ การอ่าน คิดวิเคราะห์และเขยี น คณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์ และ กิจกรรมพัฒนาผเู้ รียน โดยทำให้ขอ้ มลู เกีย่ วกบั การจดั การศึกษาของสถานศกึ ษาว่าสง่ ผลต่อการเรียนรู้ของผู้เรียน ตามเปา้ หมายหรือไม่ ผเู้ รียนมีจุดพัฒนาในด้านใด รวมทัง้ สามารถนำผลการเรยี นของผูเ้ รียนในสถานศกึ ษา เปรียบเทยี บกับเกณฑ์ระดับชาติ ผลการประเมินระดบั สถานศกึ ษาจะเป็นข้อมูลและสารสนเทศเพื่อการปรับปรงุ นโยบาย หลักสูตร โครงการ หรอื วิธกี ารจัดการเรียนการสอน ตลอดจนเพือ่ การจัดทำแผนพฒั นาคณุ ภาพ การศึกษาของสถานศกึ ษาตามแนวทางการประกนั คณุ ภาพการศกึ ษา และการรายงานผลการจัดการศึกษา ต่อคณะกรรมการสถานศึกษา สำนกั งาน เขตพน้ื ทก่ี ารศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน ผู้ปกครอง และชุมชน 2.3 การประเมนิ ระดับเขตพืน้ ทกี่ ารศึกษา เป็นการประเมินคุณภาพผเู้ รียนในระดบั เขตพื้นท่ี การศกึ ษาตามมาตรฐานการเรียนรตู้ ามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขัน้ พ้ืนฐาน พุทธศกั ราช 2551 เพื่อใช้เปน็ ข้อมูลพ้ืนฐานในการพฒั นาคุณภาพการศกึ ษาของเขตพ้ืนท่ีการศึกษาตามภาระความรบั ผิดชอบ สามารถ ดำเนนิ การ โดยประเมนิ คุณภาพของผู้เรยี นดว้ ยวิธกี าร และเคร่ืองมือท่ีเป็นมาตรฐานซงึ่ จัดทำ และดำเนนิ การ โดยเขตพื้นที่การศึกษา หรือด้วยความร่วมมอื กับหน่วยงานดน้ สังกัด/หน่วยงานทีเ่ กีย่ วขอ้ ง นอกจากนยี้ งั สามารถ ดำเนินการไดด้ ว้ ยการตรวจสอบข้อมูลการประเมนิ ระดับสถานศกึ ษาในเขตพื้นทก่ี ารศกึ ษา 2.4 การประเมินระดบั ชาติ เปน็ การประเมนิ คุณภาพผู้เรียนตามมาตรฐานการเรยี นรู้ ตาม หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพนื้ ฐาน พุทธศกั ราช 2551 สถานศึกษาตอ้ งจัดให้ผู้เรยี นทกุ คนท่เี รียนในช้ัน ประถมศกึ ษาปที ี่ 3 ช้ันประถมศึกษาปที ี่ 6 ช้ันมัธยมศึกษาปที ี่ 3 และช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 6 เข้ารับการประเมนิ โดยผลจากการประเมนิ เป็น ข้อมลู ผ่านการเทียบเคยี งคุณภาพการศึกษาในระดบั ต่างๆ เพื่อนำไปใชใ้ นการวางแผน ยกระดบั คณุ ภาพการจดั การศึกษา ตลอดจนเป็นข้อมูลสนับสนนุ การตดั สินใจระดับนโยบายของประเทศ ข้อมูลการประเมนิ ในระดับตา่ งๆ ขา้ งต้น เปน็ ประโยชน์ตอ่ สถานศกึ ษาในการตรวจสอบ ทบทวน พัฒนาคณุ ภาพผเู้ รียน ถือเป็นภาระความรับผิดชอบของสถานศกึ ษาที่จะตอ้ งจดั ระบบดูแลชว่ ยเหลอื ปรับปรุง แกไ้ ข ส่งเสรมิ เพ่ือใหผ้ ูเ้ รียนไดพ้ ัฒนาเต็มตามศักยภาพบนพืน้ ฐานความแตกต่างระหว่างบุคคลท่จี ำแนกตาม สภาพปญั หา และความต้องการ ได้แก่ กลุ่มผูเ้ รยี นทว่ั ไป กลมุ่ ผเู้ รยี นที่มีความสามารถพิเศษ กลมุ่ ผเู้ รียนท่ีมี ผลสมั ฤทธติ์ ่ํา กลุ่มผูเ้ รยี นทมี่ ีปัญหาด้านวินยั และพฤติกรรม กลุ่มผเู้ รยี นทีป่ ฏเิ สธโรงเรยี น กลมุ่ ผู้เรยี นท่ีมปี ัญหาทาง เศรษฐกจิ และสงั คม กลมุ่ ผเู้ รียนมพ่ี กิ ารทางรา่ งกายและสติปญั ญา เปน็ ต้น ข้อมลู จากการประเมนิ จงึ เป็นหัวใจสำคญั ของสถานศึกษาในการ ดำเนินการชว่ ยเหลอื ผ้เู รียนได้ทันพว่ งที อนั เปน็ โอกาสให้ผู้เรียนไดร้ ับการพฒั นา และประสบความสำเร็จในการเรียน สถานศึกษาในฐานะผ้รู ับผดิ ชอบจัดการศึกษา จะต้องทำระเบียบวา่ ดว้ ยการวัดและประเมนิ ผล การเรียนของสถานศึกษาให้สอดคล้อง เปน็ ไปตามหลกั เกณฑ์ และแนวปฏบิ ัตทิ ี่เป็นข้อกำหนดของหลักสตู ร แกนกลางการศึกษาขน้ั พ้นื ฐาน พทุ ธศักราช 2551 เพ่ือให้บุคลากรทีเ่ กยี่ วขอ้ งทุกฝา่ ยถือปฏิบัตริ ่วมกนั

1212 การวดั และประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน พทุ ธศักราช 2551 เปน็ กระบวนการเก็บรวมรวม ตรวจสอบ ดคี วามผลการเรยี นรู้ และการพัฒนาการดา้ นตา่ งๆ ของผเู้ รียน ตามมาตรฐาน การเรียนร้/ู ตัวช้วี ดั ของหลกั สูตร นำผลไปปรับปรงุ พฒั นาการจัดการท่ีเป็นระบบ เพ่ือใหก้ ารดำเนิน การวัดและประเมนิ ผลการเรียนรเู้ ปน็ ไปอยา่ งมคี ุณภาพ และประสทิ ธภิ าพ ผลการประเมนิ ตรงตามสภาพความรู้ ความสามารถทแี่ ท้จรงิ ของผูเ้ รียนถกู ต้องตามหลักการวดั และประเมนิ ผลการเรยี นรู้ รวมทั้งสามารถรบั การประเมนิ ภายใน และการประเมนิ ภายนอก ตามระบบประกบั คุณภาพการศกึ ษาได้ สถานศึกษาจงึ ควรกำหนดหลกั การวัด และประเมินผลการเรยี นรู้ เพื่อเป็นแนวทางในการตดั สนิ ใจเกีย่ วกบั การวดั และประเมนิ ผลการเรียนรู้ ของสถานศึกษา ดงั นี้ 1. สถานศึกษาเปน็ ผู้รบั ผิดชอบการประเมินผลการเรียนร้ขู องผูเ้ รยี น โดยเปิดโอกาสให้ทุกฝา่ ย ทเี่ ก่ียวข้องมสี ว่ นรว่ ม 2. การวดั และประเมนิ ผลการเรียนรู้ต้องสอดคล้อง และครอบคลุมมาตรฐานการเรยี นร/ู้ ตวั ชว้ี ัดตาม กลุม่ สาระการเรียนรทู้ ี่กำหนดในหลักสตู ร และจัดใหม้ ีการประเมนิ การอ่าน คดิ วเิ คราะห์และเขยี น คณุ ลักษณะอันพงึ ประสงคต์ ลอดจนกิจกรรมพฒั นาผเู้ รยี น 3. การประเมนิ ผ้เู รยี นพจิ ารณาจากพัฒนาการของผเู้ รียน ความประพฤติ การสังเกตพฤติกรรม ของผู้เรียน การร่วมกจิ กรรม และการทดสอบควบคู่กนั ไปในกระบวนการเรียนการสอน ตามความเหมาะสม ของแตล่ ะระดบั และรูปแบบการศึกษา 4. การวดั และประเมินผลการเรยี นรู้เปน็ สว่ นหนึ่งของกระบวนการจดั การเรียนการสอน ต้อง ดำเนนิ การด้วยเทคนิควิธกี ารท่หี ลากหลาย เพ่ือใหส้ ามารถวดั และประเมินผลผเู้ รยี นไดอ้ ยา่ งรอบด้าน ท้ังดา้ น ความรู้ ความคดิ กระบวนการ พฤติกรรม และเจตคติ เหมาะสมกบั สิ่งที่ต้องการวดั ธรรมชาตวิ ิชา และระดบั ชั้น ของผูเ้ รียน โดยตง้ั อยบู่ นพ้ืนฐานความเท่ียงตรง ยุตธิ รรม และเชือ่ ถือได้ 5. การประเมินผลการเรียนรู้ มีจุดมุ่งหมายเพ่ือปรับปรงุ พฒั นาผู้เรียน พฒั นาการจดั การเรยี นรู้ และ ตัดสินผลการเรยี น 6. เปดิ โอกาสผูเ้ รยี น และผ้มู สี ่วนเก่ยี วขอ้ งตรวจสอบผลการประเมนิ ผลการเรียนรู้ 7. ให้มีการเทียบโอนผลการเรยี นระหว่างสถานศึกษา และรปู แบบการศึกษาต่างๆ 8. ใหส้ ถานศึกษาจัดทำเอกสารหลกั ฐานการศกึ ษา เพ่ือเปน็ หลกั ฐานการประเมินผลการเรียนรู้ รายงานผลการเรยี น แสดงวฒุ กิ ารศกึ ษา และรับรองผลการเรียนของผู้เรียน จากการกำหนดการวัดและประเมินผลการเรยี นรูท้ ่ีแบง่ ออกเป็น 4 ระดบั ได้แก่ ระดับช้ันเรยี น ระดับ สถานศึกษา ระดับเขตพน้ื ทกี่ ารศกึ ษา และระดับชาติ แสดงให้เห็นถงึ ความสัมพนั ธ์ และความสำคัญ ของการประเมินทต่ี า่ งก็มีจดุ มุ่งหมายแตกต่างกัน และมีเป้าหมายปลายทางเดียวกนั คือการพฒั นาคุณภาพ และศักยภาพของผูเ้ รยี นให้ เปน็ ไปตามคุณลกั ษณะ และคุณสมบัตขิ องหลกั สตู รที่ได้กำหนดข้นึ

1133 3. องค์ประกอบของการวดั และประเมนิ ผลการเรียนรู้ ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาชัน้ พื้นฐาน พทุ ธศักราช 2551 หลักสตู รแกนกลางการศึกษาชัน้ พื้นฐานพุทธศักราช 2551 (กระทรวงศกึ ษาธกิ าร, 2551) กำหนด จุดหมาย สมรรถนะสำคัญของผูเ้ รียน และมาตรฐานการเรยี นรซู้ ึง่ เปน็ เปา้ หมายและกรอบทิศทางในการพัฒนา ผเู้ รยี น ให้เปน็ คนดี มปี ญั ญา มีคุณภาพชีวติ ทดี่ ี และมีขีดความสามารถในการแข่งขนั ในเวทีระดับโลก โดยกำหนด ใหผ้ เู้ รียนไดเ้ รยี นรูต้ ามมาตรฐานการเรียนร/ู้ ตวั ช้ีวัดท่กี ำหนดในกลุ่มสาระการเรียนรู้ 8 กลุ่มสาระ มีความสามารถ ด้านการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขยี น มีคณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์และเข้ารว่ มกิจกรรมพัฒนาผเู้ รยี น และการวัด และประเมินผลการเรียนร้มู ีองคป์ ระกอบต่างๆ ดังนี้ 3.1 การวดั และประเมินผลการเรียนรูต้ ามรายกลุ่มสาระการเรยี นรู้ ผู้สอนทำการวดั และประเมนิ ผล การเรยี นรู้ผู้เรียนเป็นรายวชิ า ตามตวั ช้ีวัดทก่ี ำหนดในหน่วยการเรยี นรทู้ ่หี ลากหลาย ให้ได้ผลการประเมนิ ตาม ความสามารถทีแ่ ท้จริงของผ้เู รียน โดยทำการวัดและประเมินผลการเรยี นรู้ไปพร้อมกบั การจัดการเรยี นการสอน ได้แก่ การสงั เกตพัฒนาการและความประพฤตขิ องผเู้ รยี น การสงั เกตพฤติกรรมการเรยี น การรว่ มกิจกรรม และการทดสอบ ซง่ึ ผู้สอนตอ้ งนำนวตั กรรมการวัดและประเมินผลการเรียนร้ทู ห่ี ลากหลาย เช่น การประเมนิ สภาพจรงิ การประเมนิ การปฏิบัติงาน การประเมนิ จากโครงงานและการประเมนิ จากแฟ้มสะสมงาน ไปใช้ ในการประเมนิ ผล การเรียนรู้ควบคู่ไป กบั การใช้แบบทดสอบแบบต่างๆ และต้องให้ความสำคญั กบั การประเมิน ระหว่างปี/ภาค มากกวาการประเมนิ ปลายป/ี ภาคโดยกลุ่มสาระการเรียนรู้ทง้ั 8 ได้แก่ กลมุ่ สาระการเรียนรู้ ภาษาไทย กลุ่มสาระการเรยี นร้คู ณิตศาสตร์กลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ กลุ่มสาระการเรียนรูส้ ังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม กลุ่มสาระการเรยี นร้สู ขุ ศึกษาและพลศกึ ษา กลุ่มสาระการเรยี นรู้ศิลปะ กล่มุ สาระ การเรียนรู้การงานอาชพี และเทคโนโลยี และกลมุ่ สาระการเรียนรภู้ าษาต่างประเทศ 3.2 การประเมินการอา่ น คดิ วิเคราะหแ์ ละเขยี น เปน็ การประเมินศักยภาพของผเู้ รยี นในการอ่าน การฟงั การดูและการรบั รู้ จากหนงั สอื เอกสารและสื่อต่างๆ ไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ ง แลว้ นำมาคิดวเิ คราะห์เน้ือหา สาระท่ีนำไปส่กู ารแสดงความคดิ เห็น การสังเคราะห์ สร้างสรรคใ์ นเรือ่ งต่างๆ และถ่ายทอดความคดิ นั้น ดว้ ยการเขียนซ่ึงสะท้อนถึง สติปญั ญา ความรู้ ความเขา้ ใจ ความสามารถในการคิดวิเคราะห์ แก้ปัญหา และสรา้ งสรรค์จนิ ตนาการอย่างเหมาะสม และมีคุณค่าแก่ตนเอง สังคมและประเทศชาติ พรอ้ มดว้ ยประสบการณ์ และทักษะในการเขียนทม่ี ีสำนวนภาษาถกู ต้อง มีเหตุผล และลำดับชนั้ ตอนในการนำเสนอ สามารถสร้าง ความเข้าใจ แกผ่ อู้ ่านได้อย่างชัดเจนตามระดับความสามารถ ในแตล่ ะระดบั ช้นั การประเมินการอ่าน คดิ วเิ คราะห์และเขียน สรปุ ผลเป็นรายป/ี รายภาค เพื่อวนิ ิจฉัยและใชเ้ ป็นข้อมูล เพอ่ื ประเมนิ การเลื่อนชน้ั เรยี น และการจบการศึกษาระดบั ต่างๆ 3.3 การประเมินคณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์ ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขนั้ พื้นฐานพทุ ธศกั ราช 2551 และตามทีส่ ถานศึกษากำหนดเพิ่มเดิม เปน็ การประเมนิ รายคณุ ลักษณะแล้วรวบรวมผลการประเมินจาก ผู้ประเมนิ ทุกฝา่ ยนำมาพจิ ารณาสรุปผลเปน็ รายป/ี รายภาค เพอื่ ใช้เปน็ ข้อมลู ประเมนิ การเล่อื นชนั้ เรียน และ การจบการศึกษาระดบั ต่างๆ คุณลักษณะอนั พึงประสงค์ ได้แก่ รกั ชาตศิ าสน์กษัตริยช์ ื่อสัตย์สจุ ริตมีวินยั ใฝเ่ รยี นรู้ อยอู่ ยา่ งพอเพียง มุ่งมนั่ ในการทำงาน รกั ความเปน็ ไทย มีจิตสาธารณะ

1144 3.4 การประเมนิ กิจกรรมพฒั นาผเู้ รยี น เป็นการประเมินการปฏิบตั กิ จิ กรรมตามจดุ ประสงค์ และเวลาในการเข้าร่วมกจิ กรรมตามเกณฑ์ท่กี ำหนดไว้ ในแตล่ ะกจิ กรรมและใชเ้ ป็นข้อมูลประเมินการเลอ่ื น ช้ันเรยี นและการจบการศึกษาระดบั ตา่ งๆ ไดแ้ ก่ ยุวกาชาด ผู้บำเพญ็ ประโยชน์ และนักศึกษาวชิ าทหาร ชุมนุมชมรม จากการกำหนดแนวทางการประเมินผูเ้ รียนตามมาตรฐานการเรยี นรู้/ตวั ชว้ี ัดท่กี ำหนดในกลุ่มสาระการ เรยี นรู้ 8 กลุ่มสาระ ความสามารถดา้ นการอา่ น คิดวเิ คราะห์และเขยี น คุณลักษณะอันพึงประสงคแ์ ละการเข้ารว่ ม กจิ กรรมพฒั นาผูเ้ รียนนัน้ แสดงให้เห็นถงึ ความสัมพนั ธ์ของความรู้ ความคิด ทกั ษะและคุณธรรม เพ่อื เป็นมนษุ ย์ สมบูรณ์ มาตรฐานทางการทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ สถาบนั ทดสอบทางการศกึ ษาแห่งชาติ (องค์การมหาชน) กำหนดมาตรฐานการทดสอบแห่ชาตขิ น้ึ ครอบคลมุ โครงสร้างและการดำเนินงานของสถานทดสอบ ทางการศึกษาแหง่ ชติ (องค์กรมหาชน) และสามารถนำไปสู่การปฏิบัตเิ พ่ือใหเ้ กิดผลเป็นรูปธรรมได้ โดยมาตรฐาน การทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ ประกอบด้วย 5 ด้าน ดังน้ี 1. มาตฐานการบริหารการทดสอบ เปน็ มาตรฐานเพอ่ื การประกันคุณภาพว่า ระบบการบริหารการ ทดสอบมีความชดั เจน สมารถปฏิบตั ไิ ด้จริง มคี ุณภาพเป็นท่ียอมรับและเช่ือถือไดใ้ นระดบั ชาติและระดับนานาชาติ 2. มาตรฐานด้านการทดสอบ เป็นมาตรฐานเพ่ือการประกันคุณภาพว่าบุคลากรที่เก่ยี วขอ้ งกับการ ทดสอบมีคุณภาพ คณุ สมบัติและหนา้ ท่ีเทยี บตามมาตรฐานสากล 3. มาตฐานดา้ นการพัฒนา นำแบทดสอบเปน็ มาตรฐานเพ่ือการประกนั คณุ ภาพว่าแบบทดสอบที่ใช้ ในการวัดและประเมินมีการพัฒนาอย่างมรี ะบ มีขน้ั ตอนการดำเนินการท่เี ป็นมาตรฐานเชือ่ ถือได้ มีสารสนเทศ เชงิ ประจักษ์และเป็นแบบทดสอบทีม่ ีคุณภาพด้านความตรง ความเทยี่ งและมีความยุตธิ รรม 4. มาตรฐานดา้ นการรบั -ส่ง การตรวจและการประมวลผล เป็นมาตรฐานเพื่อการประกนั คุณภาพวา่ ระบบการพิมพ์แบบทดสอบและกระดาษคำตอบมีกรควบคุมและกำกบั การดำเนนิ งานอย่างมีข้นั ตอนทช่ี ัดเจน มมี าตรการด้านความปลอดภัยและมกี ารเกบ็ รักษาความลับอย่างรดั กุม มีกระบวนการตรวจใหค้ ะแนนที่ถกู ต้อง มรี ะบบขัดเจนและสามารถตรวจสอบความผดิ พลาดได้และมกี ารรายงานผลด้วยคะแนนท่มี คี วามหมายและ มีการแปลคะแนนอยา่ งเหมาะสมเทยี บเคียงกบั ผลการทดสอบแต่ละปี 5. มาตรฐานการรายงานผลและการผลไปใช้ เปน็ มาตรฐานเพอ่ื การประกันคุณภาพว่าการรายงานผล และการนำผลไปใชม้ คี วามถูกต้องเหมาะสมและเปน็ ธรรม

1155 จุดมงุ่ หมายของแตล่ ะมาตรฐานการทดสอบทางการศึกษาแหง่ ชาติ 1. มาตรฐานการบริหารการทดสอบ จุดมุ่งหมาย (1) เพ่ือให้มรี ะบบกาบรหิ ารการทดสอบทช่ี ัดเจนสามารถปฏิบตั ิได้จรงิ (2) เพื่อให้ระบบการบริหารการทดสอบมีคุณภาพเป็นที่ยอมรับ เช่ือถอื ได้ในระดบั ชาติ และระดับนานาชาติ 2. มาตรฐานบคุ ลากรดา้ นการทดสอบ จดุ มงุ่ หมาย (1) เพื่อให้ได้บคุ ลากรทมี่ ีคุณภาพและเปน็ ทีย่ อมรับทัง้ ในระดับชาตแิ ละระดบั นานาชาติ มารวมดาเนินการการทดสอบ (2) เพ่ือให้บุคลากรทีเ่ กี่ยวของกบั การทดสอบมีคณุ สมบัติและหนา้ ทีต่ ามมาตรฐานสากล 3. มาตรฐานการพฒั นาแบบทดสอบ จดุ ม่งุ หมาย (1) เพ่ือให้การพฒั นาแบบทดสอบมรี ะบบ มขี ัน้ ตอนการดาเนนิ การทชี่ ดั เจน เช่อื ถือได้ มีสารสนเทศเชงิ ประจักษ์ (2) เพ่ือให้ได้แบทดสอบทีม่ ีคุณภาพดา้ นความตรง ความเที่ยง และมคี วามยตุ ิธรรม 4. มาตรฐานการพิมพ์การรบั /สง่ การตรวจ การประมวลผลและการแปลผล จุดมุ่งหมาย (1) เพ่ือให้การจัดพิมพ์และการรับ/สง่ แบบทดสอบ มีการควบคุมและกำกับการดำเนนิ งาน มีขนั้ ตอน ท่ีชัดเจน มมี าตรการดา้ นความปลอดภัยและมีการเก็บรกั ษาความลับอย่างรดั กุม (2) เพื่อให้การตรวจให้คะแนนทยี่ ดึ หลกั การความถูกตอ้ ง และความเหมาะสมขององค์ ความรขู้ องศาสตร์แต่ละสาขา มีกระบวนการตรวจใหค้ ะแนนเปน็ ระบบชัดเจน และสามารถตรวจสอบ ความผิดพลาด คลาดเคลอ่ื นที่อาจเกิดขนึ้ ได้ (3) เพื่อให้มีการรายงานผลการทดสอบดว้ ยคะแนนมีความหมาย มวี ธิ กี ารแปลผลคะแนน อย่างเหมาะสม สามารถแปลผลคะแนนเทยี บเคียงกับผลการทดสอบที่แตกต่างกนั 5. มาตรฐานการรายงานผลและการนำผลไปใช้ จุดม่งุ หมาย (1) เพื่อให้การรายงานผลมีความถกู ตองและเหมาะสมต่อการนำไปใช้ (2) เพ่ือให้การนำผลการทดสอบไปใช้เป็นไปอยา่ งถูกต้อง และเป็นธรรม

1166 แนวดำเนินงานการประเมินการจัดสอบทางการศึกษาระดับชาติข้นั พื้นฐาน (Ordinary National Education Testing : O – NET) ปกี ารศึกษา 2562 สถาบันทดสอบทางการศกึ ษาแห่งชาติ (องคก์ ารมหาชน) หรอื สทศ. เป็นองค์การมหาชน เม่อื วันที่ 3 กันยายน 2548 ตามพระราชกฤษฎกี าจดั ต้งั สถาบันทดสอบทางการศกึ ษาแห่งชาติ (องค์การมหาชน) พ.ศ.2548 ภายใตก้ ารกำกับดแู ลของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศกึ ษาธกิ าร เหตผุ ลในการประกาศใช้พระราชกฤษฎีกาดังกล่าว คอื เนอ่ื งจากมีความจำเป็นต้องมีสถาบันทดสอบทางการศึกษา รวมท้งั เป็นศนู ย์กลางความรว่ มมือด้านการทดสอบ ทางการศกึ ษาในระดบั ชาติ และนานาชาติ โดยมวี ัตถุประสงค์เพ่ือบริหารจดั การและดำเนินการเกีย่ วกับการศึกษา วิจัย พฒั นา และให้บริการทางการประเมินผลทางการศกึ ษา และทดสอบทางการศึกษาอยา่ งต่อเนื่อง รวมท้งั เป็น ศูนย์กลางความรว่ มมอื ด้านการทดสอบทางการศกึ ษาในระดับชาติ และระดบั นานาชาติ โดยมีอำนาจหน้าที่ ดังน้ี 1. ดำเนนิ การเกย่ี วกับการจดั ทำระบบ วธิ ีการทดสอบ และพัฒนาเครื่องมือวดั และประเมินผลตาม มาตรฐานการศึกษา 2. ดำเนินการเก่ยี วกับการประเมินผลการจัดการศึกษา และการทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาติ ตลอดจนให้ความร่วมมือ และสนับสนนุ การทดสอบท้งั ระดับเขตพื้นท่ีการศกึ ษา และสถานศกึ ษา 3. ดำเนินการเกี่ยวกบั การทดสอบทางการศึกษา บรกิ ารสอบวดั ความรู้ความสามารถ และการสอบ วดั มาตรฐานวิชาการ และวชิ าชีพ เพ่ือนำผลไปใช้เปน้ สว่ นหน่ึงในการเทียบระดับ และการเทียบโอนผลการเรยี น ท่มี าจากการศึกษาในระบบเดียวกับ หรอื การศึกษาต่างระบบ 4. ดำเนินการเก่ยี วกับศึกษาวิจัย และเผยแพร่วัฒนธรรมเก่ียวกับการทดสอบทางการศึกษาตลอดจน เผยแพรเ่ ทคนิคการวดั และประเมินผลการศกึ ษา 5. เปน็ ศูนย์กลางข้อมลู การทดสอบทางการศึกษา ตลอดจนสนับสนุน และใหบ้ ริการผลการทดสอบ แกห่ นว่ ยงานต่าง ๆ ได้ทง้ั ในประเทศ และต่างประเทศ 6. พัฒนาและสง่ เสริมวิชาการด้านการทดสอบ และประเมินผลทางการศึกษารวมถงึ การพัฒนา บคุ ลากรด้านการทดสอบและประเมินผล ด้านการติดตาม และประเมนิ ผลคุณภาพบัณฑิต รวมทัง้ การให้การ รองรบั มาตรฐานของระบบ วิธีการ เคร่ืองมือวัดของหน่วยงาน การประเมินผลและการทดสอบทางการศึกษา 7. เปน็ ศูนย์กลางความร่วมมือดา้ นการทดสอบทางการศึกษาท้งั ในระดบั ประเทศและระดับนานาชาติ จากวตั ถปุ ระสงค์และหน้าที่ของสถาบนั ทดสอบทางการศึกษาแหง่ ชาติ (องค์การมหาชน) พบว่า ภารกิจ หนง่ึ ท่ีสำคญั คือ การจัดการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพืน้ ฐาน (Ordinary National Education Testing : O-NET) ให้กับนักเรียนทกี่ ำลังศึกษาอย่ชู ัน้ ประถมศกึ ษาปีที่ 6 ชน้ั มัธยมศึกษาปีท่ี 3 และชน้ั มัธยมศึกษา ปีที่ 6 ในปีการศึกษา 2562 ทั้งหมด 4 กระทรวง/เทยี บเทา่ ใน 10 สังกัด ดงั น้ี 1) สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาชน้ั พ้นื ฐาน กระทรวงศกึ ษาธิการ 2) สำนักบรหิ ารคณะกรรมการส่งเสรมิ การศึกษาเอกชน กระทรวงศึกษาธิการ 3) สำนกั งานคณะกรมการการอุดมศึกษา (โรงเรยี นสาธติ แห่มหาวิทยาลัย กระทรวงศกึ ษาธิการ) 4) สำนกั งานการศึกษาพิเศษ 5) สถาบนั การพลศึกษา

1177 6) กองบัญชาการตำรวจตระเวนชายแดน สำนกั งานตำรวจแห่งชาติ 7) สำนกั งานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ (โรงเรียนปริยัตธิ รรม) 8) กรมส่งเสรมิ กาปกครองท้องถิ่น (โรงเรียนเทศบาล, โรงเรยี นองค์การบรหิ ารสว่ นตำบล, โรงเรียนองค์การบรหิ ารสว่ นจงั หวัด) 9) สำนักการศกึ ษากรงุ เทพมหานคร 10) สำนกั การศกึ ษาเมืองพทั ยา โครงสร้างการบริหารการจดั การทดสอบทางการศกึ ษาระดับขาติขน้ั พื้นฐาน (O – NET) เพอื่ กำหนดนโยบายเกี่ยวกับการทดสอบให้การดำเนนิ การเป็นไปดว้ ยความเรียบร้อยบรรลุ ตามเป้าประสงค์มปี ระสทิ ธภิ าพ มีความยุติธรรมและโปรง่ ใส 1. ระดบั ศนู ย์สอบ มหี น้าที่หลักของศูนย์สอบ ดังนี้ 1) ประสานงานกับ สทศ. ดำเนินการตามนโยบายและแนวปฏบิ ตั ขิ องสทศ. โดยเฉพาะ การดำเนนิ งานตาม มาตรฐานการบริหารการทดสอบทางการศกึ ษาแหง่ ชาติ ด้านมาตรฐานการบริหาร การทดสอบและบุคลากรด้านการทดสอบ 2) กำกับและตดิ ตามใหโ้ รงเรียนในความรับผิดชอบของศนู ยส์ อบดำเนนิ การสง่ ขอ้ มลู โรงเรียน รายช่ือนักเรียน ใหค้ รบถว้ นและถูกต้อง เป็นไปตามกำหนดการแนวปฏบิ ัตทิ ี่ สทศ. กำหนด 3) กำหนดสนามสอบโดยเลอื กโรงเรียนในความรับผิดชอบของศนู ยส์ อบ และจดั ห้องสอบ ในแต่ละ สนามสอบ ให้ครบถว้ น ผา่ นระบบ O-NET ภายในเวลาที่กำหนด 4) จัดประชมุ ชแี้ จงคณะทำงานระดับศนู ยส์ อบ และคณะทำงานระดับสนามสอบ เพ่ือให้ทราบ ขัน้ ตอน การดำเนินการสอบ 5) พิจารณาอนุมตั ใิ นกรณมี ีผู้ข้าสอบกรณีพเิ ศษทไี่ มม่ ีเลขที่นง่ั สอบ โดยตรวจสอบว่านักเรียนเป็นผู้ มีสทิ ธ์ิ สอบและแจ้งสนามสอบทราบในวันสอบ 6) แตง่ ตั้งตัวแทนศนู ยส์ อบและสง่ ไปปฏิบตั หิ นา้ ที่ประจำสนามสอบ 7) แตง่ ตง้ั คณะทำงานระดับศูนยส์ อบ และคณะกรรมการระดับสนามสอบ 8) ควบคมุ กำกบั ให้การดำเนินการจัดสอบของศูนย์สอบและสนามสอบเป็นไปด้วยความเรยี บรอ้ ย และ มีประสิทธิภาพ 9) แก้ปัญหาในการดำเนินการจัดสอบของศนู ย์สอบและสนามสอบ 10) บรหิ ารค่าใช้จ่ายในการดำเนนิ การจดั สอบ จากเงนิ จัดสรรที่ไดร้ ับจาก สทศ. 11) รายงานสรปุ ผลการดำเนินการจดั สอบ และสรุปคา่ ใช้จ่ายในการจัดสอบ แจ้งให้ สทศ. ทราบ ภายใน 60 วนั หลังเสร็จสน้ิ การสอบ และดำเนนิ การคืนเงนิ จดั สรรคงเหลือ ภายใน 60 วนั หลงั เสร็จสน้ิ การสอบ 2. มาตรฐานการทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาติ ระดบั ศูนยส์ อบ 1) กำกับให้ผ้ทู ี่เกี่ยวขอ้ งปฏิบัติตามค่มู ือการจัดสอบ O NET สำหรบั สนามสอบและกรรมการกลาง และคมู่ ือการจัดสอบ O-NE สำหรับกรรมการคมุ สอบอย่างเครง่ ครัด

1188 2) แต่งตง้ั คณะทำงานระดับศูนยส์ อบและคณะกรรมการระดับสนามสอบเพอ่ื กำกับดูแลการบรหิ าร การจดั สอบ ให้เปน็ ไปดว้ ยความเรยี บร้อยและมีประสิทธภิ าพ 3) จัดสนามสอบขนาดใหญป่ ระกอบด้วยหลายโรงเรยี น ชั้นประถมศึกษาปที ่ี 6 ใช้หลกั การหนึง่ กล่มุ เครือข่ายโรงเรยี น (กลุ่มคุณภาพ กลุม่ ประสทิ ธภิ าพ กลมุ่ โรงเรียน) เป็นหน่ึงสนามสอบในชนั้ มัธยมศกึ ษาปที ่ี 3 หนึ่งกล่มุ เครือขา่ ย โรงเรียนหรือหน่ึงอำเภอเป็นหนึง่ สนามสอบ หากมีความจำเป็นอยา่ งอื่นใหอ้ ยใู่ นดุลยพนิ จิ ของประธานศูนยส์ อบ แตต่ ้อง คำนงึ ถงึ ความโปร่งใสและยุตธิ รรมในการสอบ 4) แตง่ ตง้ั คณะกรรมการระดับสนามสอบ ซงึ่ ประกอบด้วย ตำแหน่งหัวหน้าสนามสอบซ่ึงเป็น ผู้อำนวยการโรงเรียนหรือผบู้ รหิ ารทศี่ นู ยส์ อบไดพ้ ิจารณาว่าเป็นบคุ ลากรท่ีมคี วามรู้ความสามารถในการบริหาร การทดสอบ กรรมการกลางและกรรมการคมุ สอบ ซง่ึ เปน็ ครูจากตา่ งกลุ่มเครือขา่ ยโรงเรียนทีเ่ ปน็ สนามสอบท้ังชดุ โดยใชว้ ธิ ีการหมุนไขว้กัน ยกเว้นเจ้าหน้าทีป่ ระสานงานระดับสนามสอบ เจ้าหนา้ ทีป่ ระชาสมั พันธ์เจา้ หน้าที่ พยาบาลซ่งึ เปน็ ครูอาจารย์โรงเรียน ทเ่ี ปน็ สนามสอบ 5) รบั กล่องแบบทดสอบแลกระดาษคำตอบจาก สทศ. และนำไปจดั เกบ็ รกั ษาไว้ในหอ้ งมั่นคงหรือ สถานที่ ทปี่ ลอดภยั และเป็นความบ ก่อนกระจายใหส้ นามสอบในตอนเช้าวนั สอบหากสนามสอบใดไมส่ ามารถ ดำเนินการได้ ในตอนเชวนั สอบขอให้ศนู ยส์ อบจดั ศูนย์สอบย่อยประจำอำเภอ และต้องมีระบบการเก็บรกั ษาให้ ปลอดภัย 6) แต่งต้งั ตวั แทนศูนย์สอบไปประจำทกุ สนามสอบ สนามสอบละ 2 คน เพื่อกำกับดแู ลการจตั สอบ ใหเ้ ปน็ ไปตามแนวปฏบิ ัตใิ นคู่มือฯ และเพื่อใหเ้ กิดความยุติธรรม โปร่งใสและเป็นไปตามมาตรฐานการทดสอบ ทางการศกึ ษาแห่งชาติ 7) กำกับใหต้ ัวแทนศนู ย์สอบเปน็ ผรู้ บั กล่องบรรจแุ บบทดสอบและกล่องบรรจุ กระดาษคำตอบ จากศูนย์สอบ เพื่อส่งให้สนามสอบในตอนเชวนั สอบ 8) กำกับใหต้ ัวแทนศนู ยส์ อบประจำสนามสอบ นำกล'องบรรจุชองกระดาษคำตอบกลับและเอกสาร การจดั สอบ ส่งมอบให้ศนู ยส์ อบหลงั จากเสร็จส้ินการสอบในแต่ละวนั 9) ศูนยส์ อบต้องจดั เกบ็ รักษากล่องกระดาษคำตอบและเอกสารการจัดสอบ (เชน่ สก.5 , สทศ.6) ในห้อง ท่ีปลอดภัยก่อนส่งมอบให้สทศ. 10) สกศ.อนญุ าตให้ศนู ย์สอบ/สนามสอบ ดำเนินการทำลายแบบทดสอบภายใน 30 วนั หลังสทศ. ประกาศ ผลสอบ 3. แนวปฏบิ ัตเิ พอ่ื ความโปร่งใสในการจดั สอบ O-NET ปีการศึกษา 2562 1) การจัดสนามสอบ ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 6 ให้จัดสนามสอบ กำหนด 1 กลุ่มเครือข่ายโรงเรียน เปน็ 1 สนามสอบ โดยรวมโรงเรียนในกลมุ่ ท้ังหมดแลว้ ศนู ย์สอบพจิ ารณาเลือกโรงเรยี นใดโรงเรยี นหนึ่งในกลมุ่ ทีม่ คี วามเหมาะสมเป็นสนามสอบ ชัน้ มธั ยมศึกษาปีท่ี 3 ให้จัดสนามสอบโดยกำหนด 1 อำเภอหรือกลุ่มเครือขา่ ย โรงเรียนเปน็ 1 สนามสอบ 2. การแต่งตั้งตัวแทนศูนย์สอบไปประจำทส่ี นามสอบ ศนู ย์สอบพิจารณาแตง่ ต้ังตวั แทนศูนย์สอบ ไปประจำทส่ี นามสอบ โดยให้ศนู ยส์ อบพจิ ารณาแต่งตงั้ จากบคุ ลากรภายในศูนยส์ อบครูต่างเครอื ขา่ ยท่ีมคี ุณสมบัติ

1919 เหมาะสมหรือจากหนว่ ยงานอื่น ๆ ตามความเหมาะสม อัตรา 2 คน/สนามสอบ เพ่ือทำหน้าทีเ่ ป็นผู้ดูแลความ เรียบรอ้ ยภายในสนามสอบ 3) การแต่งตง้ั ตวั แทน สทศ.ประจำสนามสอบ ในวนั สอบจะมบี คุ ลากร ครู อาจารยแ์ ละนักศกึ ษา ระดบั ปริญญาเอก โท ตรี หรือนิสติ /นักศึกษาชัน้ ปีท่ี 34 มหาวทิ ยาลัยราชภฏั และมหาวทิ ยาลัยรฐั เข้าสงั เกต การปฏบิ ตั ิงานของสนามสอบและรายงานผลให้สถาบนั ทดสอบฯ ทราบ 4) การแต่งต้ังคณะกรมการระดบั สนามสอบ ศนู ย์สอบแตง่ ตั้งคณะกรรมการระดบั สนามสอบ ตำแหน่งหวั หน้าสนามสอบ กรรมการกลางและกรรมการคุมสอบ จากต่างกลมุ่ เครือข่ายโรงเรียนท่ีสนามสอบ ทง้ั ชุดโดยใชว้ ธิ ีการหมุนไขว้กัน 5) การรับ-ส่งกล่องแบบทดสอบและกลอ่ งกระดาษคำตอบ เมือ่ ศูนยส์ อบไดร้ ับกลอ่ งแบบทดสอบ และกล่องกระดาษคำตอบจาก สทศ. ศูนย์สอบต้องเก็รกั ษากล่องแบบทดสอบและกลอ่ งกระดาษคำตอบในห้อง ม่นั คงหรอื ห้องที่ปิดมดิ ชดิ มีผู้ทคี่ อยดูแลตลอดเวลาก่อนส่งมอบใหต้ วั แทนศูนยส์ อบนำกล่องบรรจุแบบทดสอบ และกล่องกระดาษคำตอบให้สนามสอบในตอนเชา้ วันสอบ หลงั จากเสรจ็ สิ้นการสอบในแต่ละวนั ให้ตวั แทนศนู ย์ สอบเป็นผู้รบั ผดิ ชอบนำกล่องบรรจุชองกระดาษคำตอบเพื่อส่งกลับ สทศ. พร้อมอกสารประกอบการสอบส่งมอบ ใหศ้ ูนย์สอบหลงั เสร็จสิ้นการสอบ 6) กลอ่ งบรรจุแบบทดสอบและกล่องกระดาษคำตอบ กลอ่ งบรรจแุ บบทดสอบต้องปิดแน่นหนาแลว้ ปดิ ทับดว้ ยเทปกาวเฉพาะของ สทศ. และมัดด้วยสายรัดเฉพาะของ สทศ. โดยสทศ. อนญุ าตใหห้ ัวหน้าสนามสอบ เปิดกล่องบรรจแุ บบทดสอบได้ไมเ่ กิน 1 ชว่ั โมงกอ่ นถึงเวลาสอบตอ่ หนา้ กรรมการกลางและตัวแทนศนู ยส์ อบ 7. จำนวนชุดข้อสอบทีใ่ ช้ ข้อสอบแตล่ ะวิชามจี ำนวน 6 ชดุ ในแตล่ ะชุดจะมีการจดั เรียงลำดบั ขอ้ ท่ี แตกตา่ งกนั โดยขอ้ สอบได้จดั สลับชดุ ข้อสอบไว้เปน็ ทเี่ รียบร้อยแลว้ กรรมการคุมสอบตอ้ งแจกเปน็ รปู ตวั U ตามท่ี สทศ.กำหนด 8) การติดตามการบรหิ ารการทดสอบ สทศ. ร่วมมือกับหน่วยงานตน้ สงั กัดในการติดตามการบรหิ าร การทดสอบตามมาตรฐานการทดสอบทางการศกึ ษาแห่งชาติ โดยคณะทำงานจะเขา้ ตรวจเยี่ยมศนู ยส์ อบและ สนามสอบ ในชว่ งกอ่ นวนั สอบวนั สอบและหลังวันสอบ 9) การรับแจ้งเร่ืองร้องเรียน เรอื่ งความไม่โปร่งใสในการสอบ สทศ. เปิดชอ่ งทางรบั แจ้งเรื่อง ร้องเรยี นในความไมโ่ ปรง่ ใส่ในการสอบ 4 ช่องทาง คือ สายตรงผบู้ ริหาร จดหมาย E-mail : [email protected] และ call center 0-2217-3800 10) ระเบยี บ สทศ. ว่าด้วยแนวทางปฏบิ ตั ิเกย่ี วกบั การดำเนินการทดสอบ พ.ศ.2557 สทศ. ขอให้ บุคลากรประจำสนามสอบปฏิบัตติ ามระเบียบของสทศ. วา่ ดว้ ยแนวทางปฏบิ ัติเกีย่ วกบั การดำเนนิ การทดสอบ พ.ศ.2557 อย่างเครง่ ครดั เพื่อใหก้ ารทดสอบเปน็ ไปด้วยความเรียบรอ้ ยและเป็นมาตรฐานเดยี วกันทัว่ ประเทศ 4. มาตฐานการทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาติ ระดับสนามสอบ 1) ปฏบิ ตั ติ ามคู่มอื การจดั สอบ O-NET สำหรบั สนามสอบและกรรมการกลางและค่มู ือการจัดสอบ O-NET สำหรับกรรมการคมุ สอบอย่างเคร่งครัด 2) ปฏิบัติตามประกาศของ สทศ. และระเบยี บการเข้าหอ้ งสอบอย่างเคร่งครัด

2020 3) เตรียมความพร้อมก่อนการสอบ เกยี่ วกบั สถานทีส่ อบ ห้องสอบ และจัดใหม้ ีการประชาสมั พันธ์ กอ่ นการสอบ 4) ตวั แทนศนู ย์สอบประจำสนามสอบ ทำหนา้ ทร่ี ับ-ส่งแบบทดสอบและกระดาษคำตอบกับศนู ยส์ อบ ในเช้า วนั สอบ ตามวันและเวลาท่ีศนู ย์สอบนดั หมายและจัดเกบ็ รักษาใหป้ ลอดภัย 5) หัวหนา้ สนามสอบเปดิ กล่องบรรจุแบบทดสอบก่อนเวลาสอบไมเ่ กนิ 1 ชว่ั โมงตามตารางสอบ ต่อหนา้ ตัวแทนศูนยส์ อบหรือผูท้ ีศ่ นู ยส์ อบมอบหมาย แล้วบันทึกรายละเอียดในเอกสารให้ครบถ้วน 6) กรรมการกลางต้องแจกแบบทดสอบและกระดาษคำตอบใหต้ รงตามตารางสอบห้ามไมใ่ ห้กรมการ คุมสอบนำแบบทดสอบท่ยี ังไม่ถงึ เวลาสอบไปเกบ็ ไวเ้ พื่อรอการสอบ 7) ก่อนกรรมการคมุ สอบเปดิ ชองแบบทดสอบต้องมีการตรวจสอบความเรียบรอ้ ยและมตี ัวแทน ผ้เู ข้าสอบ 2 คน ลงช่ือรบั รองในใบเซ็นช่อื ผู้เข้าสอบ (สกศ.2) 8) หลงั เสร็จส้ินการสอบของแตล่ ะวชิ า กรรมการคุมสอบต้องตรวจนบั กระดาษคำตอบให้ครบถ้วน ตาม จำนวนผเู้ ขา้ สอบ และนำส่งกรรมการกลางในทันที 9) กรรมการกลางต้องตรวจนับจำนวนกระตาษคำตอบให้ถูกต้องอีกครั้ง แลว้ บรรจุลงในชองกระดาษ คำตอบปิดผนึกซองกระดาษคำตอบใหเ้ รียบร้อย แลว้ จงึ มอบให้ตัวแทนศูนยส์ อบทำหน้าทีน่ ำสกเกอร์แบทำลาย ตัวเองปิดทับทปี่ ากชองกระดาษคำตอบ 10) ห้ามบุคคลอน่ื ทีไ่ ม่ใช่กรรมการคุมสอบประจำห้องสอบเข้ามาภายในห้องสอบระหวา่ งการสอบ 11) หัวหนา้ สนามสอและกรรมการกลางเดินตรวจความเรยี บร้อยระหว่างการสอบ 12) หวั หนา้ สนามสอบและกรรมการกลางบรรจุชองกระดาษคำตอบลงกล่องปรบั ขนาด (กลอ่ ง สำหรบั บรรจุ ชองกระดาษคำตอบกลับ สทศ. และปดิ ผนกึ ให้เรยี บรอ้ ย แลว้ นำสง่ ศูนย์สอบหลังเสร็จสิ้นการสอบ ในแต่ละวนั 13) หัวหนา้ สนามสอบ ต้องกำกับ ตดิ ตาม และตรวจสอบการจัดสอบใหเ้ ปน็ ไปด้วยความเรยี บรอ้ ย ตามคมู่ ือ การจัดสอบฯ ใหม้ ีความโปร่งใส ยุติธรรมและดำเนนิ การตามนโยบายของ สทศ. 5. ตารางสอบและข้อปฏบิ ัติในการสอบ ชนั้ ประถมศึกษาปีท่ี 6 ตาราง 1 แสดงตารางสอบและข้อปฏิบัติในการสอบ ชนั้ ประถมศึกษาปีท่ี 6 ปีการศกึ ษา 2562

2211 6. แบบทดสอบและกระดาษคำตอบ O-NET ปกี ารศกึ ษา 2562 1. แบบทดสอบ ปีการศึกษา 2562 ชั้นประถศึกษาปที ี่ 6 และชั้นมัธยมศึกษาปที ่ี 3 ดำเนินการสอบ 4 วิชา ไดแ้ ก่ ภาษาไทย ภาษาองั กฤษ คณิตศาสตร์ และวทิ ยาศาสตร์ ซึง่ แบบทดสอบท่ีใชใ้ นการสอบ O-NET ช้ันประถมศึกษาปที ่ี 6 และชั้นมัธยมศึกษาปที ่ี 3 แต่ละวิชา จะมี 6 ชดุ ซึง่ แตล่ ะชุดจะมีรหัสชดุ ข้อสอบ แตกตา่ งกนั รหสั ชุดขอ้ สอบ ได้แก่ 100 200 300 400 500 600 ผเู้ ข้าสอบทุกคน ต้องระบายรหสั ชดุ วิชา ข้อสอบบนกระดาษ คำตอบ ใหถ้ ูกต้อง หากไม่ระบาย รหสั ชุดข้อสอบจะไม่มีคะแนนในการสอบแต่ละวชิ า ผเู้ ข้าสอบ ไมจ่ ำเปน็ ต้องไดร้ หัสชดุ ข้อสอบตรงกัน ทุกวิชา ขอใหร้ ะบายรหัสชุดข้อสอบตนเองได้รบั ในแต่ละ วิชาใหถ้ กู ต้อง 2. กระดาษคำตอบ สำหรับกระดาษคำตอบใชใ้ นการสอบ O-NET ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 และชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 จะใช้ กระดาษคำตอบ 1 แผน่ ตอ่ วิชา ยกเว้นวิชาภาษาไทยชัน้ ประถมศกึ ษาปที ี่ 6 จะมีกระดาษคำตอบ 2 แผน่ คือ กระดาษคำตอบ สว่ นปรนยั และอตั นยั โดยแยกบรรจุเปน็ 2 ชอง ซองที่ 1 กระดาษคำตอบแบบปรนัย ซองที่ 2 กระดาษคำตอบแบบอัตนัย ชองกระดาษคำตอบทั้ง 2 ชองจะใชส้ แี ตกต่างกัน หลงั จกสอบเสรจ็ กรรมการคมุ สอบต้อง เกบ็ กระดาษ คำตอบบรรจุแยกชองให้ถูกต้อง

22 บทที่ 3 แนวทางการดำเนนิ การ รายงานผลสอบทางการศึกษาระดับชาติขน้ั พ้นื ฐาน O-NET (Ordinary National Educational Test) ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 6 ปีการศกึ ษา 2562 ของศูนย์เครือข่ายพฒั นาคณุ ภาพการศึกษานากลาง 4 สำนักงานเขต พื้นที่การศึกษาประถมศกึ ษาหนองบัวลำภู เขต 2 มีประเดน็ สำคัญในการนำเสนอ ดงั ต่อไปนี้ 1. กลุ่มเป้าหมาย 2. ขอบเขต และสาระการทดสอบ 3. วธิ กี ารดำเนินการ 4. การวิเคราะหข์ ้อมูล 5. สถิตทิ ใ่ี ชใ้ นการวเิ คราะหข์ ้อมลู 1. กล่มุ เปา้ หมาย โรงเรยี นในสงั กัดศนู ยเ์ ครือข่ายพัฒนาคณุ ภาพการศึกษานากลาง 4 จำนวน 8 โรงเรยี น จำแนกนกั เรยี น ตามระดบั ชั้น โดยมีรายละเอียด ดังน้ี ตาราง 2 จำนวนนักเรียนชัน้ ประถมศกึ ษาปีที่ 6 และชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรยี นในสงั กดั ศนู ยเ์ ครือข่ายพฒั นา คณุ ภาพการศึกษานากลาง 4 จำนวน 8 โรงเรยี น จำแนกนักเรียนตามระดับชน้ั ดังนี้ ท่ี โรงเรียน ช้นั ประถมศึกษาปีท่ี 6 1 บ้านก่าน 10 2 บา้ นซำเสย้ี ว 9 3 บ้านนาหนองทุ่ม 4 4 บา้ นโนนงาม 5 5 บ้านโนนตาล 1 6 บา้ นฝ่ังแดง 20 7 บา้ นแสงดาวโนนธาตุ 14 8 บ้านเออ้ื งโนนไรโ่ นนสาวทิ ยา 7 รวมทั้งส้นิ 70 2. ขอบเขต และสาระการทดสอบ 1. สาระการทดสอบ คอื การทดสอบทางการศึกษาระดับชาติข้ันพ้นื ฐาน (O NET) เป็นการทดสอบ เพ่อื วดั ความรูแ้ ละความคิดของนกั เรียนตามมาตรฐานการเรียนรูใ้ นหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขั้นพื้นฐาน

2233 พุทธศกั ราช 2551 ซึง่ ในปัจจุบันมกี ารจัดการทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาติข้ันพ้ืนฐาน จำนวน 4 รายวิชา ได้แก่ วชิ าภาษไทย วชิ าภาษาองั กฤษ วชิ าคณติ ศาสตร์ และวชิ าวทิ ยาศาสตร์ 2. เคร่ืองมือ คือ แบบทดสอบทางการศกึ ษา โดยสถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (องค์การ มหาชน) ตามจุดมุ่งหมายของหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน พุทธศกั ราช 2551 - การเตรยี มความพร้อมสอบ O-NET ป.6 ภาษาไทย (รูปแบบข้อสอบอัตนยั แบบเขียนตอบ) ลกั ษณะเฉพาะของแบบทดสอบ (Test Specification) ประกอบด้วยวตั ถปุ ระสงค์ของการทดสอบ ขอบเขตของแบบทดสอบ โครงสร้างและรูปแบบของแบบทดสอบ รวมทั้งขอบเขตเนื้อหาของแบบทดสอบ ท่ีสอดคล้องกบั คณุ ภาพผู้เรียน สาระและมาตรฐาน การเรียนรู้ ตวั ช้ีวัดและสาระการเรียนรูแ้ กนกลางของหลักสูตร แกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศกั ราช 2551 และลักษณะเฉพาะของข้อสอบ (Item Specification) 1. วัตถปุ ระสงค์ของการทดสอบ (Purpose of the Test) เปน็ การวดั ความรู้ ความคดิ รวบยอดตามมาตรฐานการเรยี นรู้ กล่มุ สาระการเรียนรภู้ าษาไทย ในหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 ของนักเรียนชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี 6 เพ่ือนำผล การทดสอบไปใชใ้ นการปรบั ปรุงและพัฒนาการเรียน การสอน และใชเ้ ป็นองค์ประกอบหนง่ึ ในการสำเร็จ การศึกษาของนักเรยี น ตลอดจนนำไปใชใ้ นการคดั เลอื กเข้าศึกษาต่อในชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ี่ 1 (สำหรบั โรงเรยี น ทีม่ อี ัตราการแขง่ ขนั สูง) รวมทง้ั ใชใ้ นการประกันคุณภาพการศกึ ษา ใชใ้ นการประเมนิ ผลการเรยี นรู้ ของนักเรยี น ระดบั ชาตแิ ละระดับนานาชาติ และใชใ้ นการวิจยั พัฒนาองคค์ วามรใู้ นกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย 2. ขอบเขตของแบบทดสอบ (Scope of Test) เป็นการวดั คณุ ภาพผู้เรียนในด้านพุทธิพสิ ัย (Cognitive Domain) ในสาระมาตรฐานการเรยี นรู้ และตัวช้ีวัดท่สี ำคญั ของกลุ่มสาระการเรยี นรูภ้ าษาไทยชัน้ ประถมศึกษาปีที่ 6 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน พุทธศักราช 2551 ซ่ึงมี 5 สาระ คือ สาระท่ี 1 การอ่าน สาระที่ 2 การเขยี น สาระที่ 3 การพัง การดู และ การพูด สาระท่ี 4 หลกั การใช้ภาษาไทย และสาระที่ 5 วรรณคดแี ละวรรณกรรม 3. โครงสรา้ งและรูปแบบของแบบทดสอบ (Test Structure and Test Format) แบบทดสอบมงุ่ วัดดา้ นพุทธพิ ิสัย (Cognitive Domain) ในมาตรฐาน ตวั ช้ีวัด สาระการเรียนรู้ แกนกลาง ซึ่งประกอบดว้ ย รูปแบบขอ้ สอบ (Item Format) จำนวน 2 รูปแบบ คอื 1. ข้อสอบปรนยั แบบเลอื ก ตอบทีมีคำตอบท่ีถกู ทสี่ ดุ เพยี ง 1 ตัวเลือก (รอ้ ยละ 80) และ 2. ข้อสอบอตั นยั แบบเขยี นตอบ (รอ้ ยละ 20) คะแนน เต็ม 100 คะแนน ใชเ้ วลาในการทดสอบ 90 นาที 1) ขอ้ สอบปรนัยแบบเลือกตอบที่มคี ำตอบที่ถูกที่สุดเพยี ง 1 ตัวเลอื ก จำนวน 32 ขอ้ คะแนน 80 คะแนน ใชเ้ วลาในการทดสอบ 60 นาที 2) ข้อสอบอัตนยั แบบเขยี นตอบ จำนวน 2 ข้อ คะแนน 20 คะแนน ใชเ้ วลาในการทดสอบ 30 นาที ประกอบดว้ ยสาระ มาตรฐาน ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง 2.1 โครงสร้างการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาติขัน้ พืน้ ฐาน (O-NET) (test blueprint) ระดับ ช้นั ประถมศึกษาปที ่ี 6 จัดสอบตามมาตรฐานการเรยี นรตู้ ามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศกั ราช 2551 มรี ายละเอยี ดจำแนกตามกลมุ่ สาระการเรยี นรู้ ดงั น้ี

2424 ตาราง 3 รูปแบบข้อสอบและจำนวนขอ้ สอบในแต่ละรายวิชา ชนั้ ประถมศึกษาปที ี่ 6 ปีการศกึ ษา 2562 วชิ า รายการ ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ คณติ ศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ 1. รูปแบบข้อสอบ จำนวน คะแนน จำนวน คะแนน จำนวน คะแนน จำนวน คะแนน 1.1 ปรนยั 4 ตวั เลือก 1 คำตอบ ขอ้ ข้อ ขอ้ ข้อ 1.2 ปรนยั 4 ตัวเลือก 2 คำตอบ 1.3 ปรนัย 5 ตัวเลอื ก 1 คำตอบ 32 80 40 100 18 75 30 90 1.4 ปรนยั 5 ตัวเลือก 2 คำตอบ -------- 1.5 ปรนัย หลายตวั เลอื ก 1 คำตอบ -------- 1.6 ปรนัยหลายตัวเลอื ก มากกว่า 1 -------- คำตอบ/เลือกตอบเชิงซ้อน -------- 1.7 เลือกคำตอบจากแต่ละหมวด - - - - - - 2 10 ทส่ี ัมพันธ์กัน 1.8 ระบายคำตอบทีเ่ ป็นคา่ /ตัวเลข -------- 1.9 อัตนยั รวมจำนวนข้อสอบ -- -- 5 25 -- 2. จำนวนเวลาทีใ่ ชส้ อบ (นาท)ี 2 20 -- -- -- 34 100 40 100 20 100 32 100 90 60 60 60

2255

2266

2277

2288

2299

3300

3311

3232

3333

3434

3535

3366

3377

3388

3399

4400

4411

4422

4433

4444