Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การโค้ช3_1539206334

การโค้ช3_1539206334

Published by ปาริชาติ ปิติพัฒน์, 2019-09-18 09:10:58

Description: การโค้ช3_1539206334

Search

Read the Text Version

90 Cognitive Coaching กับการคดิ วเิ คราะห์แก้ปัญหาที่ต้นตอ (Root Cause Analysis) การคิดวเิ คราะห์แกป้ ัญหาที่ต้นตอ คือ กระบวนการพิจารณา เหตุปัจจัยท่ีทาให้เกิดปัญหาอย่างเป็นระบบ เพื่อทาให้เข้าใจวงจร ของการเกดิ ปญั หาอนั จะนาไปส่กู ารแก้ไขปัญหาทต่ี ้นตอ เป้าหมายหนึ่งของการโค้ชเพ่ือการรู้คิด คือ การต้ังคาถาม ให้ผู้เรียนเกิดความสงสัยในปัญหา และคิดวิเคราะห์เช่ือมโยงให้เห็น ระบบของปญั หา โดยผูโ้ คช้ ทาหน้าที่ต้ังคาถามท่ีกระตุ้นการคิด โดยไม่มี การให้คาตอบที่ถูกต้อง คาถามต่างๆ ของผู้โค้ชจะช่วยกาหนดประเด็น และวิธีการคิดของผู้เรียน ให้ผู้เรียนได้ใช้กระบวนการทางสติปัญญา ของตนเอง ซงึ่ เปน็ กระบวนการพัฒนาการรูค้ ิดไดเ้ ป็นอย่างดี การต้ังคาถามเพื่อนาไปสู่การคิดวิเคราะห์แก้ปัญหาท่ีต้นตอ อาจใช้กระบวนการแก้ปัญหาเป็นกรอบในการต้ังคาถาม เวลาถามต้อง ถามไปทีละขั้นตอน จะถามข้ามขั้นตอนไม่ได้ เช่น กระบวนการ แก้ปัญหา ประกอบด้วย ข้ันที่ 1 การระบุปัญหา ข้ันท่ี 2 การวิเคราะห์ สาเหตุของปัญหา ข้ันท่ี 3 การกาหนดเป้าหมายของการแก้ปัญหา ขั้นท่ี 4 การกาหนดวิธีการแก้ปัญหา การต้ังคาถามจะไล่ถามไปทีละข้ัน แต่ละข้ันอาจมีเพียงคาถามเดียวหรือหลายคาถาม ขึ้นอยู่กับ ความสามารถของผูเ้ รยี นว่าจะบรรลุผลในแต่ละขั้นแล้วหรือไม่ ซึ่งผู้โค้ช จะต้องมีความสามารถในการต้ังคาถาม และใจเย็นไม่บอกคาตอบ แกผ่ ูเ้ รียน

91 ตวั อย่างกรณศี กึ ษา การคดิ วิเคราะหแ์ ก้ปัญหาที่ตน้ ตอ หอคอยบรรหารท่ีสุพรรณบรุ ี มคี วามสวยงามมาก กลางวนั จะมผี ้มู าเย่ยี มชม กลางคืนมีไฟสาดสอ่ งสวยงาม นกพิราบชอบมาอาศัยอยู่ และสรา้ งปญั หาข้ีรดหอคอย พนกั งานตอ้ งใชอ้ ปุ กรณ์ และน้ายาทาความสะอาด ซ่งึ ใชง้ บประมาณเปน็ จานวนมาก ถา้ ท่านเปน็ ผดู้ แู ลหอคอย ทา่ นจะแก้ปัญหานี้อยา่ งไร การตง้ั คาถามกระตนุ้ การคดิ วเิ คราะหแ์ กป้ ัญหาที่ต้นตอ คิดว่าอะไรคือต้นตอของปญั หา 1. นก 2. แมลง 3. แสงไฟ คิดว่ารากเหงา้ ของปัญหาคืออะไรทจ่ี ะทาให้ปัญหาหมดไป

92 การตั้งคาถามกระตุ้นการคิดของผู้เรียน ควรตะล่อมความคิด ของผ้เู รียน ให้นาไปสู่การคน้ พบคาตอบ ดังน้ี เปดิ ไฟสว่าง แมลงชอบมาเล่นแสงไฟ นกพริ าบจงึ มากนิ แมลงเป็นอาหาร แล้วข้ีรดหอคอย ถา้ คดิ วา่ นกเป็นปัญหา จบั นกให้หมดไป นกกลมุ่ อน่ื กจ็ ะมาอีก ถ้าคดิ ว่าแมลงเปน็ ปัญหา กาจดั แมลงให้หมดไป แมลงกลมุ่ อ่นื ก็จะมาอีก ถา้ คิดว่าแสงไฟเป็นปัญหา ปิดไฟตอนกลางคนื แมลงไม่มาเล่นไฟ นกไม่มากนิ แมลง ปญั หานกข้ีรด หอคอยหมดไป

93 11. การประเมินผลการเรียนรู้ทีเ่ สรมิ พลัง สิ่งใดทวี่ ดั ไม่ไดก้ ป็ รบั ปรุงพัฒนาไม่ได้ It you can’t measure, You Can’t improve. การประเมินไม่ใช่การพิสูจน์แตเ่ ป็นการปรบั ปรงุ พฒั นา Evaluation is not to prove, but to improve. (Ebel, R.L. (1979) หลักการประเมินผลการเรียนรู้ที่เสริมพลัง คือ วิธีการวัด และประเมินผลตามสภาพจริง (authentic assessment) มีหลักการ 4 ขอ้ ดังนี้ 1) ใชผ้ ู้ประเมนิ หลายๆ ฝ่าย เชน่ ผเู้ รียน เพอ่ื น ตนเอง ผู้ปกครอง ผู้เกยี่ วขอ้ ง 2) ใช้วิธีการและเคร่ืองมือหลายๆ ชนดิ เชน่ การสังเกต การปฏิบัติจริง การทดสอบ 3) วดั และประเมินหลายๆ ครง้ั ในชว่ งเวลาการเรยี นรู้ ได้แก่ ก่อนเรียน ระหว่างเรียน หลงั เรียน ตดิ ตามผล 4) สะท้อนผลการประเมนิ สกู่ ารปรบั ปรุงและพฒั นา ผเู้ รียน รวมทง้ั การจัดการเรียนการสอนอย่างตอ่ เน่อื ง

94 จากหลักการประเมินผลการเรียนรู้ท่ีเสริมพลัง ทั้ง 4 ข้อ ดงั กล่าว สามารถสรปุ ได้ดังแผนภาพตอ่ ไปนี้ ตนเอง กอ่ น การทดสอบ เรยี น การสังเกต ระหว่างเรยี น ติดตามผล เพอื่ น การรายงาน หลัง การตรวจ ผโู้ ค้ช ตนเอง เรียน ช้ินงาน ผเู้ ก่ยี วข้อง การสะทอ้ นผล แผนภาพ 8 รปู แบบการประเมินผลการเรียนร้ทู ่เี สรมิ พลัง

95 การประเมินในศตวรรษท่ี 21 กระบวนทัศน์การประเมินผลการเรียนรู้ในศตวรรษท่ี 21 เป็นแนวความคิดในการประเมินผลการเรียนรู้ที่เน้นการประเมินเพื่อ การปรับปรุงและพัฒนา (assessment for improvement) โดยแบ่ง แนวทางการประเมินออกเป็น 3 แนวทาง ได้แก่ 1) การประเมินเพื่อ การเรียนรู้ (assessment for learning) 2) การประเมินขณะเรียนรู้ (assessment as learning) และ 3) การประเมินผลการเรียนรู้ (assessment of learning) การประเมนิ เพ่อื การเรยี นรู้ (assessment for learning) กระบวนการรวบรวมหลักฐานข้อมูลเชิงประจักษ์ต่างๆ ตามสภาพจริงเกีย่ วกบั การเรยี นรู้ของผเู้ รียน เพ่อื ระบแุ ละวนิ ิจฉัยปัญหา การเรียนรู้ และให้ข้อติชมท่ีมีคุณภาพแก่ผู้เรียน เพ่ือปรับปรุง การเรยี นรู้ใหด้ ีข้ึน โดยใชว้ ิธกี ารประเมินท่หี ลากหลาย และเพ่ือให้เข้าใจ กระบวนการเรียนรู้ของผู้เรียนอย่างรอบด้าน อันจะนาไปสู่การปรับการ เรยี นและเปล่ยี นการสอนให้มีประสทิ ธภิ าพยิ่งขนึ้ การประเมินเพ่ือพัฒนาการเรียนรู้ ผู้สอนและผู้เรียนใช้ ข้อมูลสารสนเทศทางการประเมินเป็นข้อมูลป้อนกลับ เพ่ือการวินิจฉัย ปัญหาการเรียนรู้ของผู้เรียน การปรับปรุงวิธีการเรียนรู้หรือวิธีการ

96 ทางานของผู้เรียน และพัฒนาผู้เรียนเป็นรายบุคคลท่ีควบคุมกากับ และปรับปรุงวิธีการเรียนรู้ วางแผนการเรียนในขั้นตอนต่อไป ให้บรรลุผลสาเร็จ และค้นหาการปรับปรุง วิธีการเรียนรู้เพื่อไปสู่ เป้าหมายการเรียนรู้ด้วยตนเอง ซึ่งผู้สอนทาหน้าที่ให้ข้อมูลที่มีคุณค่า ต่อการเรียนรู้แก่ผู้เรียน ประกอบด้วยการให้ข้อมูลกระตุ้นการเรียนรู้ (feed - up) การให้ข้อมูลย้อนกลับ (feed back) และการให้ข้อมูล เพอ่ื การเรยี นรูต้ ่อยอด (feed - forward) การให้ข้อมูลกระตุ้นการเรียนรู้ (feed - up) เป็นการ ให้ข้อมูลพื้นฐานของการเรียนรู้ ได้แก่ จุดประสงค์การเรียนรู้ วิธีการ เรียนรู้ กระบวนการเรียนรู้ ส่ือการเรียนรู้ แหล่งการเรียนรู้ ภาระงาน (job and task) ตลอดจนวิธีการวัดและเกณฑ์การประเมินผลท่ีผู้สอน ต้องแจ้งให้ผู้เรียนทราบก่อนท่ีจะเริ่มการเรียนการสอน นอกจากน้ี ผู้สอนยังต้องสร้างแรงจูงใจในการเรียนรู้ ที่เน้นแรงจูงใจภายใน (inner motivation) ชี้แจงให้ผู้เรียนเห็นคุณค่าในส่ิงท่ีจะเรียน การให้ข้อมูล กระตุ้นการเรียนรู้มีความสาคัญมาก เพราะผู้เรียนได้ทราบข้อมูล ท่ีสาคัญก่อนที่จะเร่ิมเรียน มีแรงจูงใจและอยากเรียนรู้เห็นเป้าหมาย การเรยี นรู้ และภาระงานทตี่ ้องปฏิบัติ การให้ข้อมูลย้อนกลับ (feed back) เป็นการให้ข้อมูล ในระหว่างและภายหลังท่ีผู้เรียนได้ปฏิบัติกิจกรรมการเรียนรู้ หรือการ ทางานต่างๆ เกี่ยวกับผลการเรียนรู้ของผู้เรียน คุณภาพของผลงาน พฤติกรรมคุณธรรมจริยธรรม และค่านิยมอันพึงประสงค์ มีจุดมุ่งหมาย

97 เพ่ือให้ผู้เรียนทราบจุดแข็งและจุดท่ีต้องปรับปรุงแก้ไขของตนเอง การให้ข้อมูลย้อนกลับท่ีดี ผู้สอนควรใช้การส่ือสารเชิงบวก (positive communication) ท่ีทาให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ ปรับปรุงแก้ไ ข และพฒั นาตนเอง มแี รงบนั ดาลใจในการเรยี นรู้ การให้ข้อมูลเพื่อการเรียนรู้ต่อยอด (feed - forward) เป็นการให้ข้อมูลเพื่อให้ผู้เรียนเรียนรู้ด้วยตนเอง (self - learning) เพิ่มเติม ภายหลังการจัดการเรียนการสอน มุ่งเน้นการชี้แนะแนวทาง และวิธีการเรียนรู้ท่ีเหมาะสมกับผู้เรียนรายบุคคล เพ่ิมแรงบันดาลใจ ในการเรียนรู้ ให้กาลังใจผู้เรียนและเสริมพลังของการเรียนรู้ให้กับ ผู้เรียน ผู้เรียนได้ทบทวนตนเองและสามารถนาไปพัฒนาการเรียนรู้ ตอ่ ไป การประเมนิ ขณะเรียนรู้ (assessment as learning) กระบวนการรวบรวมหลักฐานข้อมูลเชิงประจักษ์เก่ียวกับ การเรียนรู้ของผู้เรียนขณะเรียนรู้เพ่ือช่วยให้ผู้เรียนตระหนักในการ เรียนรู้ของตน สามารถวางแผนการเรียนรู้ กากับการเรียนรู้ วินิจฉัย ประเมิน และปรับปรุงการเรียนรู้ของตน การให้ผู้เรียนออกแบบ แผนการเรียนรู้ ฝึกให้ผู้เรียนคิดทบทวนเก่ียวกับการเรียนรู้และกลยุทธ์ ในการเรียนรู้ จะช่วยให้ผู้เรียนพัฒนาการเรียนรู้ของตนเอง อยา่ งต่อเนือ่ ง

98 การประเมินลักษณะน้ี มีจุดเน้นคือการให้ผู้เรียนได้ใช้ การประเมินตนเองและการประเมินเพ่ือน เป็นกระบวนการเรียนรู้ชนิด หนึ่ง การประเมินท่ีเกิดข้ึนเป็นระยะๆ ในระหว่างการทากิจกรรม การเรียนรู้ ผู้เรียนจะได้ประเมินตนเองและแสวงหาแนวทางพัฒนา ตนเองอย่างต่อเน่ือง อีกทั้งยังมีโอกาสการประเมินเพื่อนร่วมชั้นเรียน และให้ข้อเสนอแนะเพ่ือพัฒนาการเรียนรู้ ท่ีมีประโยชน์ต่อผู้เรียน หลายประการ ได้แก่ 1) กระตุ้นคุณลักษณะความรับผิดชอบในการ เรยี นร้ขู องตนเอง 2) ได้เรียนรู้วิธีการประเมินตนเอง การประเมินเพ่ือน การรับฟังความคิดเห็นของผู้อ่ืน และการให้ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับ การเรียนรู้ 3) เปิดโอกาสให้ผู้เรียนตั้งคาถามเก่ียวกับการเรียนรู้ ของตนเอง และพยายามตอบคาถามน้ันด้วยตนเอง 4) ผู้เรียนได้ใช้ผล การประเมินตนเองทั้งท่ีเป็นทางการและไม่เป็นทางการในการกาหนด เป้าหมายการเรียนรู้สาหรับตนเอง 5) กระตุ้นผู้เรียนให้สะท้อนผล การเรียนรใู้ หก้ ับตนเอง (self - reflection) สาหรับการประเมินตนเองโดยผู้เรียนนั้น ผู้เรียนควร ตัง้ คาถามตรวจสอบการเรียนรู้ของตนเองดังต่อไปน้ี 1) จุดมุ่งหมายของ การเรียนรู้ของเราคืออะไร 2) เราได้ความรู้อะไรบ้างจากการเรียนรู้ ในคร้ังน้ี 3) มีวิธีการเรียนรู้ในเรื่องน้ีอย่างไร 4) มีความเข้าใจ สาระสาคัญที่เรียนนี้ว่าอย่างไร 5) มีเกณฑ์การประเมินผลการเรียนรู้ ของเราอย่างไร และประสบความสาเร็จตามเกณฑ์น้ันหรือไม่ 6) จะมี วิธีการยกระดับผลการเรียนรู้ของเราในการเรียนคร้ังต่อไปอย่างไร

99 ซึ่งคาถามทั้ง 6 ประการน้ี สามารถปรับใช้ กับการประเมินโดยเพ่ือน ไดด้ ว้ ย การพัฒนาผู้เรียนให้มีความสามารถในการประเมินตนเอง และการประเมินเพ่ือนขณะเรียนรู้ ผู้สอน ควรเปิดโอกาสให้ผู้เรียนร่วม อภิปรายแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับผลการเรียนรู้ ( learning outcomes) ท่ีผู้สอนกาหนดไว้ ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการกาหนดเกณฑ์ การประเมินผลการเรียนรู้ การให้ข้อมูลย้อนกลับต่อผู้เรียนอย่าง ต่อเนื่อง ตลอดจนการต้ังคาถามชี้แนะทางปัญญา (cognitive guided questions) เพ่ือให้ผู้เรียนใช้กระบวนการคิดต่างๆ ในการประเมิน ตนเองและแสวงหาแนวทางการพัฒนาตนเอง ซ่ึงเป็นการส่งเสริม คณุ ลักษณะการเรยี นรูด้ ้วยตนเองตลอดชวี ิตของผเู้ รยี นอีกด้วย การประเมินผลการเรยี นรู้ (assessment of learning) กระบวนการรวบรวมหลักฐานข้อมูลเชิงประจักษ์ต่างๆ เมื่อส้ินสุดกระบวนการเรียนรู้ เพื่อตัดสินคุณค่าในการบรรลุ วัตถุประสงค์หรือผลลัพธ์การเรียนรู้ เป็นการประเมินผลสัมฤทธ์ิ ทางการเรียน ซึ่งแสดงถึงมาตรฐานทางวิชาการในเชิงสมรรถนะ และคุณลักษณะที่พึงประสงค์ สารสนเทศดังกล่าวนาไปใช้ในการ กาหนดระดับคะแนนให้ผู้เรียน รวมทั้งใช้ในการปรับปรุงหลักสูตร และการเรียนการสอน

100 การประเมินผลการเรียนรู้ มีวัตถุประสงค์สาคัญเพ่ือตัดสิน ผลการเรียนรู้ของผู้เรียน โดยผู้สอนเป็นผู้ที่มีบทบาทหลักในการ ประเมิน โดยการประเมินจะมีลักษณะเป็นการประเมินรวบยอด (summative assessment) ท่ีใช้วัตถุประสงค์หรือผลลัพธ์การเรียนรู้ เป็นมาตรฐานการประเมิน ตลอดจนใช้วิธีการและเคร่ืองมือประเมิน ท่ีมีคุณภาพเชื่อถือได้ มีความเป็นทางการมากกว่าการประเมินเพ่ือการ เรียนรู้ (assessment for learning) และการประเมินขณะเรียนรู้ (assessment as learning) บท บา ท ขอ ง ผู้ส อน ใ นก า รป ระ เ มิน ผ ลก าร เ รีย น รู้ ประกอบด้วย 1) เป็นพ่ีเลี้ยงโดยการให้ข้อมูลย้อนกลับเชิงสร้างสรรค์ ต่อผู้เรียนเพื่อพัฒนาผลการเรียนรู้ 2) เป็นผู้ช้ีแนะโดยการวินิจฉัย จุดบกพร่องในการเรียนรู้ของผู้เรียนและนามาสู่การดูแลช่วยเหลือ ให้เกิดการเรียนรู้ 3) บันทึกผลการประเมินท่ีสะท้อนความก้าวหน้า ทางการเรียนรู้ของผู้เรียนอย่างเป็นระบบ 4) ส่ือสารผลการประเมิน ไปยังผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่าย เช่น ผู้เรียน ผู้บริหาร ผู้ปกครอง เป็นต้น และ 5) เป็นผู้จัดการคุณภาพ โดยนาผลการประเมินมาปรับปรุงและพัฒนา ประสิทธิภาพของการจัดการเรียนการสอน ซึ่งผู้สอนควรใช้การ ประเมินผลการเรียนรู้ ควบคู่กับการประเมินเพื่อการเรียนรู้ และการ ประเมินขณะการเรียนรู้ เพ่อื ให้มีผลการประเมินท่ีหลากหลาย สามารถ ใช้พัฒนาผู้เรียนได้อย่างต่อเนื่อง รวมทั้งใช้เป็นสารสนเทศจากการ

101 ประเมินเป็นแนวทางในการปรับปรุงและพัฒนาการเรียนการสอน ของผสู้ อนอยา่ งตอ่ เนอ่ื ง การประเมนิ ตนเองเพ่ือตรวจสอบความพรอ้ มในการเป็นโคช้ ผู้สอนสามารถประเมินตนเองเกยี่ วกบั ความพรอ้ มทจ่ี ะเปน็ ผโู้ ค้ช ได้จากประเดน็ การประเมนิ 5 ระดบั ดังต่อไปน้ี ระดับที่ 1 ไม่สนใจ ไมใ่ สใ่ จ คนเราก็เหมอื นๆ กัน ระดับท่ี 2 สนใจ แต่ไมย่ อมรับ ยงั เชอื่ ว่าวิธีคิดของตนเองดีกว่า ระดับท่ี 3 สนใจและยอมรบั ในความแตกต่าง แตย่ งั ไมอ่ ยากทา ระดับที่ 4 สนใจและอยากเรียนรเู้ พ่ือปรับปรุงตนเอง วิธคี ิด การติดต่อสอ่ื สารใหเ้ ข้ากับสังคมวฒั นธรรมนั้น ระดับท่ี 5 สนใจอยากเรียนรู้ มองเชิงรุก และสามารถ นาความแตกตา่ งมาสรา้ งพลังร่วม (synergy)

102 แบบประเมินความมีวินัย คาชแ้ี จง 1. แบบประเมนิ น้ีมผี ้ปู ระเมนิ 3 ฝ่าย คอื ตนเอง เพอ่ื น และครู ขอ้ มลู การประเมนิ มาจาก 3 ฝา่ ย เพอ่ื พจิ ารณาในการตดั สนิ ผลการประเมิน 2. จงเขยี นระดับคะแนนลงในชอ่ งผลการประเมนิ ดงั น้ี 1 คะแนน หมายถงึ แสดงพฤติกรรมเมื่อได้รับคาสัง่ 2 คะแนน หมายถงึ แสดงพฤติกรรมเม่อื ได้รบั การกระตนุ้ 3 คะแนน หมายถึง แสดงพฤติกรรมด้วยตนเอง ผลการประเมนิ ชอ่ื – สกุล ต้ังใจ ปฏิบตั งิ าน อดทน รบั ผิดชอบ รวม ในการ บรรลุ ตอ่ สงิ่ ยวั่ ยุ ต่อตนเอง เรยี นรู้ เป้าหมาย และส่วนรวม

103 แบบประเมนิ จติ อาสา คาชแ้ี จง 1. แบบประเมนิ น้ีมีผู้ประเมิน 3 ฝ่าย คอื ตนเอง เพื่อน และครู ข้อมลู การประเมินมาจาก 3 ฝา่ ย เพ่ือพจิ ารณาในการตัดสินผลการประเมนิ 2. จงเขยี นระดบั คะแนนลงในช่องผลการประเมนิ ดังน้ี 1 คะแนน หมายถึง แสดงพฤติกรรมเม่อื ได้รบั การร้องขอ 2 คะแนน หมายถงึ แสดงพฤติกรรมเมื่อไดร้ บั การกระต้นุ 3 คะแนน หมายถงึ แสดงพฤติกรรมด้วยตนเอง ผลการประเมิน ชอ่ื – สกลุ แบ่งปัน ให้ความ ให้คา ให้ความรู้สึก รวม สง่ิ ของ ช่วยเหลือ แนะนา ท่ีดี ความคิด ทางบวก

104 แบบประเมินการแก้ปัญหา กลุ่มที่ ....... ช่ือผเู้ รยี น 1. ……………………………………………........................................................ 2. …………………………………………........................................................... 3. ……………………………………………........................................................ 4. ……………………………………………........................................................ คาชี้แจง บันทกึ การปฏบิ ตั ิงานของผเู้ รียนแต่ละคนในกล่มุ ตามเกณฑท์ ี่ระบุ โดยเขยี นเลขระบุระดับคุณภาพ 1 คะแนน หมายถงึ ลงมือปฏบิ ัตไิ ดเ้ มอ่ื มีตวั อยา่ ง 2 คะแนน หมายถงึ ลงมือปฏบิ ตั ิได้เมอ่ื ได้รบั คาแนะนา 3 คะแนน หมายถงึ ลงมือปฏบิ ตั ิอยา่ งเปน็ ระบบได้ด้วยตนเอง เลขท่ีของผเู้ รยี น รายการ เลขท่ี 1 เลขท่ี 2 เลขที่ 3 เลขท่ี 4 1. แสดงความเข้าใจปญั หา 2. วางแผนและลงมอื ปฏิบตั ิ 3. ใชค้ วามพยายามในการทางาน 4. อธิบายวิธีการแกป้ ัญหา 5. แสดงผลการทางาน ได้อยา่ งชดั เจน รวมคะแนน (15 คะแนน)

105 งานวดั ร้านเลน่ เกมแห่งหนง่ึ ในงานวัด การเล่นเกมน้ีเริ่มด้วยหมุนวงล้อ ถ้าวงล้อหยุดที่เลขคู่ ผู้เล่นจะได้หยิบลูกหินในถุง วงล้อและลูกหินในถุง แสดงไดด้ งั รูปขา้ งลา่ งนี้ 14 2 10 35 68 ผู้เล่นจะได้รับรางวัล เม่ือหยิบได้ลูกหินสีดา ถ้าสมพร เลน่ เกม 1 ครัง้ ความเปน็ ไปได้ทีส่ มพรจะได้รับรางวัล เป็นอยา่ งไร ก. เปน็ ไปไม่ไดท้ ีจ่ ะไดร้ ับรางวัล ข. เปน็ ไปได้น้อยมากท่ีจะไดร้ ับรางวลั ค. จะไดร้ บั รางวัลประมาณ 50% ง. เป็นไปได้มากที่จะไดร้ ับรางวัล จ. ไดร้ ับรางวลั แนน่ อน

106 “โคช้ ทีด่ ี ต้องไดใ้ จเดก็ น่งั อยู่ในหวั ใจเดก็ เดก็ จะเรยี นรสู้ ่ิงตา่ งๆ ทุกเร่ืองไดอ้ ย่างมหศั จรรย์”

107 บรรณานุกรม วิชยั วงษใ์ หญ่ และมารุต พัฒผล. (2556). จากหลกั สตู รแกนกลาง สหู่ ลักสูตรสถานศกึ ษา: กระบวนทศั นใ์ หม่การพฒั นา. (พมิ พ์ครั้งที่ 6). กรงุ เทพฯ: จรัลสนทิ วงศก์ ารพิมพ์ จากดั . วชิ ัย วงษใ์ หญ่ และมารุต พฒั ผล. (2557). กระบวนทัศน์ใหม่ การ Mentor and Coaching ในสงั คมสอ่ื สารสนเทศ เพื่อเสรมิ สร้างศกั ยภาพนกั ศึกษาฝกึ ประสบการณ์ วชิ าชพี ครู. กรงุ เทพฯ: บณั ฑิตวิทยาลยั มหาวิทยาลยั ศรนี ครินทรวิโรฒ. Anderson, L. W, & Krathwohl, D. R. (eds.) (2001). A Taxonomy for Learning, Teaching, and Assessing: A Revision of Bloom's Taxonomy of Educational Objectives. New York: Longman. Costa, Arthur L. and Garmston, Robert j. (2002). Cognitive Coaching A Foundation For Renaissance Schools. 2nd ed. Massachusetts: Christopher – Gordon Publishers, Inc.

108 Grasha, A.F. (1996). Teaching with style: A Practical guide to enhancing learning by understanding teaching and learning styles. Pittsburgh: Alliance Publishers. Knight, Jim. (2009). Coaching Approaches & Perspectives. California: Corwin Press. Marzano , Robert J. and Simms, Julia. (2012). Coaching Classroom Instruction: The Classroom Strategies Series. Bloomington: Marzano Research Laboratory. Sobel, Andrew and Panas, Jerold. (2012). Power questions: build relationships, win new business, and influence others. New York: John Wiley & Sons, Incorporated. Sweeney, Diane. (2011). Student – Centered Coaching: A Guide for K – 8 Coachers and Principles. California: Corwin Press.

109 ดรรชนีคาสาคัญ คาสาคัญ หนา้ การกากบั ตนเอง 13 การแกป้ ญั หาอยา่ งสรา้ งสรรค์ 10, 11 การเข้ากับคนอนื่ 48 การเขา้ ใจตนเอง 44 การควบคุมตนเอง 13 การคิดขัน้ สงู 3, 9 การคดิ วเิ คราะหแ์ ก้ปญั หาทต่ี น้ ตอ 90, 91 การโคช้ เพ่ือการรูค้ ดิ 1, 2, 3, 4, 6, 7, 8, 10, 11, 18, 20, 90 การดาเนนิ ชีวติ อยา่ งมสี ตแิ ละปญั ญา 13 การตระหนกั ร้วู ่าเปน็ สว่ นหน่งึ ของทีม 12 การต้งั คาถามกระตนุ้ การคิด 23, 91, 92 การต้งั คาถามและการฟัง 9, 11 การตดิ ตามพัฒนาการของผเู้ รยี น 46 การถอดบทเรยี น 22, 23, 67, 69, 70, 72 การนาตนเอง 13 การบริหารเวลา 9, 11 การบูรณาการ 17, 79 การปฏบิ ตั ติ นให้เหมาะสมกบั วฒั นธรรมองค์กร 7

110 ดรรชนีคาสาคญั หน้า 65 คาสาคญั 15 การประมวลผลทางสมอง 79 การประเมนิ ที่เสริมพลัง 80 การเพ่มิ 12 การมีโครงการทารว่ มกนั 14, 47, 66 การมวี ินยั ในตนเอง เคารพ อดทน 80 การยอมรับ 81, 86 การเรยี นแบบ Multi - Disciplinary Team 81, 86 การเรยี นรู้ด้วยการดู 81, 86 การเรยี นรดู้ ้วยการฟงั 80 การเรยี นรู้ดว้ ยการสัมผสั 74 การเรยี นรู้ที่จะฟัง 74, 80 การเรยี นรทู้ มี่ คี วามยดื หยนุ่ 4, 78 การเรยี นร้ใู นสงั คมพหวุ ัฒนธรรม 79 การเรยี นรู้เพ่อื การเปลย่ี นแปลง 13, 67, 74, 76, 80, 85 การลด 1, 4, 5, 8 การแลกเปลย่ี นเรียนรู้ 40, 45, 97 การสอน 46 การสอ่ื สารเชงิ บวก 84 การสอ่ื สารในแนวราบ 79 การเสริมพลงั การหลอมรวม

111 ดรรชนีคาสาคัญ หนา้ 39, 96 คาสาคญั 39, 43, 44, 97 การให้ข้อมลู กระตุ้นการเรยี นรู้ (feed - up) 3, 39, 40 ,96, 97, การใหข้ ้อมลู เพอื่ การเรยี นรตู้ อ่ ยอด (feed - forward) 99, 100 การให้ขอ้ มูลย้อนกลับ (feedback) 21 แกไ้ ขปรับปรงุ ข้อผดิ พลาดให้ผเู้ รียน 36 คนสมบรู ณ์แบบ (Perfectionist) 14 ความเขา้ ใจ 14, 21, 40 ความจริงใจ 76 ความเปน็ มอื อาชีพ 23 ความผกู พนั ของผู้เรียนกบั ผโู้ ค้ช 16 ความรเู้ กี่ยวกับการวิจยั 16 ความรู้เกี่ยวกบั เทคโนโลยี 17 ความรเู้ ก่ียวกบั สาระทส่ี อน 17 ความรใู้ นวิธกี ารสอน 53, 98 คาถามตรวจสอบผลการเรยี นรู้ 54 คาถามท่ชี ีใ้ ห้ผเู้ รยี นมมี มุ มองทหี่ ลากหลาย 54 คาถามทใ่ี ชต้ รวจสอบทศั นคตขิ องผเู้ รยี น 6, 50, 51, 57, 58, คาถามทที่ รงพลงั 63, 71 56 คาถามที่ทาใหผ้ ูเ้ รยี นเกดิ ความเชื่อม่นั ในตนเอง 56 คาถามที่ใหผ้ ้เู รียนกาหนดเปา้ หมายของตนเอง

112 หน้า 55 ดรรชนคี าสาคญั 55 54 คาสาคัญ 56 คาถามท่ีให้ผู้เรียนทบทวนผลการเรียนร้ขู องตนเอง คาถามที่ใหผ้ ู้เรยี นทานายปรากฏการณบ์ างอยา่ ง 55 คาถามทีใ่ หผ้ เู้ รยี นลงสรปุ แนวคดิ หรอื สรุปความรู้ 54 คาถามทใ่ี หผ้ ้เู รยี นวางแผนการพัฒนาตนเอง คาถามที่ใหผ้ เู้ รียนศึกษาคน้ ควา้ ด้วยตนเองเพ่มิ เตมิ 54 55 คาถามทใ่ี ห้ผเู้ รียนสนับสนุนความคิดของตนเอง 55 คาถามที่ให้ผู้เรยี นแสดงความคดิ เหน็ ตอ่ ส่ิงใดส่งิ หนึ่ง 53 6, 19, 64 คาถามที่ใหผ้ เู้ รยี นแสวงหาวิธกี ารแกป้ ัญหา 7 คาถามทใ่ี หผ้ ู้เรียนให้เหตผุ ลเกี่ยวกบั สิ่งใดส่งิ หนง่ึ 7, 8, 11, 14, 20 คาถามท่ใี หผ้ ูเ้ รยี นอธิบายขยายรายละเอยี ด 27, 32, 34, 86 คดิ ไตรต่ รอง 7 คุณลกั ษณะด้านพฤติกรรม 75, 76, 77, 78, จรณทกั ษะ 45 จรติ ในการเรียนรู้ 45 จติ วิญญาณของทมี 47 ชมุ ชนแหง่ การเรยี นรเู้ ชิงวชิ าชีพ ใชภ้ าษากายท่ีมปี ระสิทธภิ าพ ใช้ภาษาเชิงบวก ทกั ษะการช่นื ชมเหน็ คณุ คา่

ดรรชนีคาสาคญั 113 คาสาคัญ หนา้ ทกั ษะการต่อรอง 7 ทกั ษะการตดิ ต่อส่ือสารระหวา่ งบคุ คล 7 ทกั ษะดา้ นความรู้ทางวิชาการ 7 ทกั ษะทางสังคม ทักษะแลกเปลย่ี นเรยี นรกู้ บั บุคคลรอบขา้ ง 7, 74 เทคนคิ การปรบั (modify) 13 นกั สังเกตการณ์ (Observer) 79 นกั แสดง (Performer) 37 บทบาทการโค้ชเพื่อการร้คู ิด 36 บทบาทของผู้สอน 6 บทบาทผูเ้ ออื้ อานวยความสะดวกในการเรยี นรู้ แบบปฏบิ ตั ทิ ดี่ ี 1, 6, 100 ผปู้ กปอ้ ง (Protect) 6 ผปู้ ระสานไมตรี (Mediators) 70 ผภู้ กั ดี (Royal Skeptic) 38 ผู้เสพ (Epicene) 38 ผู้ให้ (Giver) 37 ผเู้ ออื้ อานวยความสะดวกในการเรยี นรู้ 38 ภาวะผูน้ าทางวชิ าการ 36 มารยาททางสงั คม 1 มีความมน่ั คงทางอารมณ์ 22 7, 8, 11 15

114 ดรรชนีคาสาคญั คาสาคญั หน้า มคี วามยดื หยุ่น 15, 74 มีความสามารถในการใชภ้ าษา 8, 11 มีจริยธรรม มีบุคลิกภาพท่ีดี 15 มมี นุษยสมั พนั ธ์ดี 8, 11 รูปแบบการเรียนรู้ 9, 11 แรงบนั ดาลใจ 33, 86 3, 21, 30, 40, 43, 45, 60, 82, ลาดบั ขน้ั การรูค้ ดิ วิธกี ารเรยี นรู้ 97 61, 62, 63 ศกั ยภาพ 3, 39, 43, 74, 86, 95, 96, 97, สรา้ งความทา้ ทายให้ผเู้ รยี น สร้างแรงบนั ดาลใจใหก้ บั ผู้เรยี น 98 สอนนอ้ ย...เรยี นรมู้ าก 1, 2, 3, 4, 23, 59, 82, 84, สปั ปรุ สิ ธรรม 7 สาระสาคญั 22 สือ่ สารอยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ 21 สุนทรยี สนทนา 82 ใหก้ าลังใจสนบั สนนุ ผเู้ รยี น 19, 20 ให้ความเอาใจใส่ต่อผเู้ รยี น 17, 24, 35, 63, 79, 82, 98 8, 11 6, 22, 46, 67, 68, 70, 80 21 45

ดรรชนีคาสาคญั 115 คาสาคญั หนา้ องคป์ ระกอบของการโค้ชเพื่อการรู้คิด 20 อารมณศ์ ลิ ปนิ (Romantic) 37 Assessment as learning 95, 100 Assessment for learning 95, 100 Assessment of learning 95 Feed - up Gen Me 30, 31, 32 Generation Y 32 Reflection for action 65 Reflection in action 65 Reflection on action 65


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook