40 Feedback การให้ข้อมูลย้อนกลับ (feedback) เป็นการให้ข้อมูล ใ น ร ะ ห ว่ า ง แ ล ะ ภ า ย ห ลั ง ท่ี ผู้ เ รี ย น ไ ด้ ป ฏิ บั ติ กิ จ ก ร ร ม ก า ร เ รี ย น รู้ หรือการทางานต่างๆ เกี่ยวกับผลการเรียนรู้ของผู้เรียน คุณภาพของ ผลงาน พฤติกรรมคุณธรรมจริยธรรม และค่านิยมอันพึงประสงค์ มีจุดมุ่งหมายเพื่อให้ผู้เรียนทราบจุดแข็งและจุดที่ต้องปรับปรุงแก้ไข ของตนเอง การให้ข้อมูลย้อนกลับท่ีดี ผู้โค้ชควรใช้การส่ือสารเชิงบวก (positive communication) ด้วยความจริงใจทั้งท่ีเป็นภาษาพูด และภาษากายท่ีทาให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ ปรับปรุงแก้ไขและพัฒนา ตนเอง มีแรงบันดาลใจในการเรียนรู้ ตัวอย่างคาพูด ในการให้ข้อมูล ย้อนกลับ เช่น - ครูดีใจมากท่ีเธอทาการบ้านมาส่งครู แต่อยากให้ ตรวจสอบความเรียบรอ้ ยก่อน - ครูคิดว่าถ้าเธอใช้ความพยายามเพ่ิมขึ้นอีกนิด เธอจะทางานไดด้ กี วา่ เดิมมาก - ครูไม่ค่อยมั่นใจในคาตอบของเธอ อยากให้ลอง ทบทวนดอู กี ครัง้
41 ปรับเปลยี่ นการพูด Feedback ตาราง 4 บทบาทผู้โค้ชจาแนกตามจริตของผ้เู รยี น การพูดแบบเดมิ การพดู แบบใหม่ บอกให้รู้ ทาตวั เปน็ ผูเ้ ชย่ี วชาญ ต้งั คาถามชวนคดิ ควบคมุ ความรู้ คาดเดาความหมาย ชักชวนให้คนอน่ื แบง่ ปันสิ่งท่ีถนัด ชีน้ าทางออก ช่วยดงึ ประสบการณ์ของผู้เรยี นออกมา วเิ คราะห์ ถามความหมายท่ีแทจ้ รงิ แสดงใหค้ นอน่ื รวู้ ่าพวกเขาเกง่ และฉลาดแคไ่ หน สังเคราะหห์ รือนาความคดิ ของผู้อน่ื มาผสมผสานเปน็ หนง่ึ เดียว และมองภาพรวม
42 Feedback เพ่ิมพลังปรารถนา - สว่ นใดของงานหรือสงิ่ ท่ีนกั เรียนกาลังทาอยู่ คือสง่ิ ทนี่ ่าตนื่ เตน้ หรือน่าสนใจทสี่ ดุ เพราะอะไร - อะไรคือสิง่ ทนี่ กั เรียนประทับใจมากทีส่ ดุ ในงานที่ทา - อะไรทีช่ ่วยใหง้ านมีคณุ ภาพมากย่ิงขึ้น Feedback ทสี่ ่งเสรมิ ใหผ้ ู้เรียนใชค้ วามพยายามมากยง่ิ ขน้ึ - ยังมีวธิ ีการพัฒนางานให้ดีข้ึนกว่านอ้ี ีกหรือไม่ - ส่วนไหนที่คดิ ว่าดที ี่สดุ - เล่าใหฟ้ ังมากกว่าน้ีไดไ้ หม Feedback เพ่ิมพลงั การตรวจสอบตัวเอง - ใจของนักเรียนบอกว่าอะไร - นกั เรียนคิดว่าถ้าทาอย่างนี้แล้วจะเกิดผลเสียอะไร - นักเรียนคิดว่าอะไรเปน็ ปจั จัยท่ชี ว่ ยใหน้ ักเรียนตดั สินใจได้ - จากตรงนน้ี ักเรียนคดิ วา่ จะทาอะไรต่อไป - มสี ว่ นไหนของงานที่นักเรียนอยากใช้เวลากบั มันมากขึน้ - มีอะไรทนี่ ักเรียนอยากทาให้น้อยลง
43 Feed – Forward การให้ขอ้ มลู เพ่ือการเรียนรู้ต่อยอด (feed - forward) เป็น การใหข้ อ้ มูลเพ่ือให้ผู้เรียนเรียนรู้ด้วยตนเอง (self - learning) เพ่ิมเติม ภายหลงั การจดั การเรียนการสอน การใช้คาถามท่ีกระตุ้นการรู้คิด มุ่งเน้นการช้ีแนะแนวทาง และวิธีการเรียนรู้ท่ีเหมาะสมกับผู้เรียนรายบุคคล เพ่ิมแรงบันดาลใจ ในการเรียนรู้ ให้กาลังใจ ผู้เรียน และเสริมพลัง ( empower) อย่างต่อเน่ือง กระตุ้นให้ผู้เรียนวินิจฉัยตนเอง ตรวจสอบความรู้ และการเรยี นรู้ต่อยอด เช่น - พยายามตอ่ ไปนะครับ อยา่ ทอ้ ถอย - คุณทาดที ส่ี ุดแล้วใชไ่ หม - ครูเชือ่ วา่ การทางานคร้งั น้จี ะประสบความสาเร็จ อย่างแนน่ อน - แน่ใจนะวา่ คณุ ทาสดุ ฝีมอื แล้ว - ทางานชิน้ นี้เสรจ็ แลว้ นามาใหค้ รชู น่ื ชมดว้ ยนะ - ขอใหม้ ีความละเอียดรอบคอบในการทางาน ชิน้ นี้ ผลงานจะออกมาดีมาก
44 การให้ข้อมูลเพ่ือการเรียนรู้ต่อยอด โดยการใช้คาถาม ปลายเปดิ ชีช้ ดั ใช่หรือไม่ใช่ เช่น - ตอ้ งการรู้ว่าใครบางคนจะรว่ มมอื กบั คณุ จริงหรอื - คณุ จะรับผดิ ชอบเรือ่ งน้ไี ดจ้ รงิ หรอื เปลา่ - คณุ ตดั สินใจตอนนเ้ี ลยไดห้ รือไม่ - คุณได้เรยี นรอู้ ะไรเก่ียวกับเร่ืองน้ี - จากประสบการณ์ อะไรคือสิง่ ทีจ่ ะนาไปสู่ ความคิดริเร่มิ ของคุณ ครูคาดหวงั จะใหผ้ ู้เรยี นทาอะไรมากกว่าท่เี ปน็ อยู่จรงิ อยา่ แก้ไขดว้ ยคาตาหนิตเิ ตยี น แต่ใหแ้ กไ้ ขที่สาเหตุของปญั หา สิ่งท่ผี ู้เรยี นทาไม่ถกู ตอ้ ง อาจเป็นเพราะขาดความรู้ ทกั ษะหรอื ยงั ไม่มีความถนัด
45 7. การสื่อสารเชิงบวก (Positive communication) การใช้การสื่อสารเชิงบวก (positive communication) ในระหว่างการสะท้อนผลการประเมินไปสู่ผู้เรียน เพื่อให้ผู้เรียน เกดิ แรงบนั ดาลใจ และความมุ่งมน่ั ในการพัฒนาตนเอง ดงั นี้ 1. ให้ความเอาใจใส่ต่อผู้เรียน ให้ความสาคัญกับผู้เรียน ในฐานะที่เป็นมนุษย์ มีเกียติและศักด์ิศรีที่ต้องให้ความเคารพ ให้ความสาคัญกับมิตทิ างด้านจติ ใจท่อี ่อนโยนในฐานะท่ียงั เป็นเด็ก 2. ใช้ภาษากายท่ีมีประสิทธิภาพ ในการส่ือสารอารมณ์ ความรู้สึก ถงึ ความหว่ งใย ความรักและความปรารถนาดตี ่อผเู้ รยี น 3. ใช้ภาษาเชิงบวก หลีกเล่ียงคาตาหนิ ภาษาเชิงบวก เปน็ ภาษาท่มี ีพลงั สามารถสรา้ งแรงบนั ดาลใจและความมุ่งม่ันให้ผู้เรียน เกิดความต้องการพัฒนาตนเอง ความเชื่อมั่น ความภาคภูมิใจ ไม่ใช้ ภาษาในเชิงตาหนิติเตียน หรือเปรียบเทียบกับผู้เรียนคนอ่ืนๆ เพราะ เป็นการบั่นทอนกาลังใจ ความเชื่อมั่น และทาลายความภาคภูมิใจ ในตนเอง ซ่งึ ส่งิ เหลา่ น้ีลว้ นเป็นปจั จัยส่งเสรมิ การเรียนร้ทู ่สี าคญั มาก
46 4. การส่ือสารในแนวราบ เป็นการสื่อสารด้วยภาษา ที่มีความเท่าเทียมกันระหว่างผู้โค้ชและผู้เรียน ในลักษณะของสุนทรีย สนทนา และการฟังอย่างลึกซ้ึง ไม่ด่วนตัดสิน ทาให้บรรยากาศ การสะท้อนผลการประเมินเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ ผู้เรียนไม่มี ความหวาดกลัว ท่จี ะรับทราบผลการประเมินมโี อกาสเลือกแนวทางการ ปรับปรุงและพัฒนาตนเอง กาหนดเป้าหมายและวิธีการพัฒนาตนเอง โดยได้รับคาแนะนาจากผ้โู ค้ช 5. การติดตามพัฒนาการของผู้เรียน เป็นส่วนสาคัญ ท่ีทาให้ผู้เรียนทราบว่าผู้โค้ชให้ความเอาใจใส่พัฒนาการการเรียนรู้ ของผู้เรียน ทาให้ผู้เรียนเกิดความรู้สึกว่าตนเองเป็นบุคคลท่ีมีคุณค่า เป็นความหวังของผู้โค้ช การไต่ถามถึงความก้าวหน้าของการปรับปรุง และพัฒนาตนเอง การให้กาลังใจทุกคร้ังเม่ือผู้เรียนแสดงพฤติกรรม ที่สะท้อนถึงการพัฒนาตนเอง หรือการเสริมแรงทางบวกให้กับผู้เรียน อยา่ งสมา่ เสมอ จงปฏบิ ัตติ ัวต่อผู้อนื่ อยา่ งทเี่ ราอยากให้ผู้อน่ื ปฏิบัติต่อเรา ผูเ้ รยี นก็มคี วามปรารถนาเชน่ เดยี วกนั
47 ทักษะการช่นื ชมและเหน็ คณุ คา่ ทักษะการช่ืนชมเห็นคุณค่า (appreciation skills) เป็นทักษะ สาคัญของผู้โค้ชท่ีทาหน้าที่โค้ช การช่ืนชมและเห็นคุณค่าเป็นการ สื่อสารระหว่างผู้โค้ชและผู้เรียนอย่างสร้างสรรค์ ทาให้การโค้ช มีประสิทธิภาพมากย่ิงข้ึน ท้ังยังเป็นการเสริมสร้างสัมพันธภาพท่ีดี อกี ดว้ ย โดยทักษะการชน่ื ชมและเหน็ คณุ คา่ มีดงั ต่อไปน้ี 1. ประทับใจผลงาน “ครูร้สู ึกดใี จมากทค่ี ุณสอบแขง่ ขนั เขา้ ทใ่ี หม่ได้” การกลา่ วดว้ ยเสียงแสดงความยินดี แววตาเปน็ ประกาย จะทาใหล้ ูกศษิ ยเ์ กดิ ความเชื่อม่ันในสมรรถนะของตน (Self - efficacy) 2. ชน่ื ชอบพฤติกรรม เป็นการพูดระบกุ ารกระทา “ครูนึกถงึ เมอ่ื สัปดาหท์ ี่แล้วก่อนสอบคุณทบทวน เร่อื งต่างๆ และค้นคว้าผ่าน internet ร่วมกบั เพ่ือน ครปู ระทบั ใจมาก” การพดู เร่ืองราวทชี่ ัดเจนจะทาให้ลกู ศษิ ย์รสู้ ึกภูมใิ จ ในตนเอง (self - esteem) รวู้ ่าอะไรท่พี ฒั นา และได้รับการยอมรับ
48 3. ช่นื ชมลักษณะ เป็นการกลา่ วเชอื่ มโยงผลงานหรอื ลักษณะนิสัยทีด่ ีงาม “สง่ิ ทสี่ าเร็จไดก้ ็ด้วยความอดทน มีวนิ ยั มีความใฝ่รู้ และรู้จักควบคมุ ตนเอง ลักษณะนิสัยที่ดีงามนี้ จะตดิ ตวั เธอไป และทาใหเ้ ธอสาเร็จเสมอ” กล่าวดว้ ยนา้ เสียงเชื่อมน่ั จะทาใหล้ ูกศิษย์ร้จู กั ตวั เอง (self - realization) มลี ักษณะนสิ ยั อย่างที่ควร ธารงรกั ษาไว้และพฒั นาต่อไป วาจาที่แช่มช่ืน เพ่ิมอานาจการส่ังสอน การเข้าใจตนเอง (intrapersonal) การเข้ากับคนอ่ืน (interpersonal) การใช้ชีวิต อย่างมีความหมาย (existential) จะพัฒนาได้จากการให้แรงเสริม อย่างเหมาะสม คาพดู ทไี่ มส่ ร้างสรรค์และสร้างสรรค์ 1- นักเรยี นเมอ่ื ไรจะหยุดพดู กันเสยี ที 1+ ถา้ นกั เรียนเงยี บเสยี ง นักเรยี นจะไดย้ ินครูพดู ได้ชัดเจน 2- นักเรยี นพูดมากตลอดเวลา 2+ ครเู ข้าใจวา่ นักเรียนอยากปรกึ ษากัน แต่ขณะน้ีครูขอให้ นักเรยี นเงียบกอ่ น เพื่อทุกคนจะไดย้ นิ สงิ่ ทคี่ รูพดู
49 3- เธอนี่ชอบตะโกนพดู จาหยาบคายเป็นประจา 3+ คาพดู บางอย่างเหมาะทจ่ี ะใชเ้ ฉพาะกล่มุ เฉพาะท่ี ผู้เรยี นไมค่ วรนามาใช้ในโรงเรียน 4- ผทู้ ีข่ ดี เขียนโตะ๊ เปน็ พวกทาลายทรพั ย์สมบัติ 4+ นักเรยี นควรเขยี นบนกระดานเพราะโตะ๊ เรียนเปน็ สมบัติ ของสว่ นรวมเราตอ้ งช่วยกนั รักษา ของท่ีรบั ฝากไว้ พอ่ แมร่ ักลูกแม้น ดวงตา ยงั ส่งลูกรกั มา มอบให้ ของเราสิรกั ษา ดีสดุ ใจเอย ของท่ีรับฝากไว้ จะต้องทวีคณู มล.ป่นิ มาลากุล
50 8. คาถามทที่ รงพลัง (Power questions) คาถามที่ทรงพลัง เป็นคาถามกระตุ้นการคิด และนาไปสู่ การเรียนรู้ เป็นคาถามท่ีสอดคล้องกับจุดมุ่งหมายของการเรียนรู้ เปน็ คาถามท่ีมีประสิทธภิ าพมากกวา่ เป็นคาถามทว่ั ๆ ไป คาถามท่ีทรงพลัง เป็นคาถามกระตุ้น ความคิด เป็นคาถาม แบบเปิด การต้ังใจฟัง เปิดโอกาสรับฟัง รอคอยการรับฟังอย่างจริงจัง เชน่ นกั เรียนคิดว่าคุณมีวิธีการแก้ปญั หาน้ีอยา่ งไร โสเครตีส (Socrates) ผู้เป็นเทพแห่งการตั้งคาถาม เขาใช้ คาถามกระตุกต่อมความคิดของลูกศิษย์ ดึงความสนใจของลูกศิษย์ให้ อยูก่ บั กระบวนการเรยี นรู้ เชน่ ถามวา่ ความดีคืออะไร สิง่ ใดเรียกว่าดี Harvard University นาวิธีการนี้มาใช้สอนนักศึกษา เพราะว่า ความเป็นเลิศของมนษุ ยอ์ ยทู่ ี่การตัง้ คาถามกับตนเองและผู้อ่ืน ชวี ติ ท่ไี มเ่ คยตง้ั คาถามเปน็ สง่ิ ขาดคุณค่า การเรียนการสอนยุคใหม่จะต้องเร่ิมด้วยคาถาม แทนการพูด การออกคาส่งั หรือการกลา่ วอ้างอวดรู้
51 กลยุทธก์ ารตัง้ คาถามท่ีทรงพลงั 1. วางแผนการตั้งคาถามล่วงหน้า โดยเป็นคาถาม ที่ตอบสนองจุดประสงค์การเรียนรู้ ให้ความสาคัญกับการถามในเชิง วิเคราะห์ สังเคราะห์ ประเมินค่า คิดวิจารณญาณ คิดเป็นระบบ คดิ แกป้ ญั หา และคดิ สรา้ งสรรค์ 2. หลักเล่ียงการใช้คาถามที่ช้ีนาคาตอบ ( leading questions) เพราะจะทาใหผ้ เู้ รียนไม่ตอ้ งใชค้ วามคิด 3. เว้นระยะเวลาให้ผู้เรียนคิดหาคาตอบ โดยการ ต้ังคาถามแต่ละคาถามจะต้องเว้นช่วงระยะเวลาที่เหมาะสม เพ่ือให้ ผู้เรยี นไดค้ ดิ แสวงหาคาตอบ 4. ไม่ย้าคาถาม การย้าคาถามหรือการถามซ้าจะทาให้ ผเู้ รยี นขาดความสนใจในคาถามของผโู้ ค้ช เพราะเกิดการเรียนรู้ว่าผู้โค้ช จะต้องถามซา้ ๆ ดงั น้ันจึงไม่จาเปน็ ตอ้ งสนใจคาถามของผูโ้ ค้ช 5. ถ า ม ด้ ว ย ค า ถ า ม ท่ี ชั ด เ จ น ( clear) มี ค ว า ม เฉพาะเจาะจง (specific) เพราะคาถามท่ีชัดเจนและเฉพาะเจาะจง จะทาให้ผู้เรียนมีประเด็นการคิดหาคาตอบ การตั้งคาถามที่กว้างมาก เกนิ ไป ทาให้ผ้เู รยี นสับสนวา่ ผู้โคช้ ต้องการถามอะไร 6. ถามทีละหน่ึงคาถาม ไม่ถามหลายคาถามในครั้ง เดียวกัน เพราะทาให้คาถามลดความสาคัญลง และยังทาให้ผู้เรียน เกิดความสับสนอกี ดว้ ย
52 7. ใช้คาถามท่ีหลากหลาย ได้แก่ คาถามปลายปิด คาถามปลายเปิด ตลอดจนการเชื่อมโยงสาระที่ถามให้สอดคล้องกับ สถานการณ์ในชีวิตจริง เป็นเรื่องใกล้ตัวผู้เรียน ซ่ึงจะทาให้ผู้เรียน ใหค้ วามสนใจคาถามมากยงิ่ ขนึ้ กลยทุ ธก์ ารตอบสนองต่อคาตอบของผ้เู รยี น 1. ผู้โค้ชตั้งข้อตกลงเบื้องต้นกับตนเองว่า คาตอบของ ผู้เรียนเป็นสิ่งท่ีมีคุณค่า ไม่ว่าจะเป็นคาตอบท่ีถูกหรือผิด ผู้โค้ชจะให้ ความสนใจกับทุกคาตอบ 2. ไม่ขัดจังหวะการตอบคาถามของผู้เรียนโดยไม่จาเป็น โดยเปิดโอกาสให้ตอบคาถามได้อย่างเต็มที่ และถ้าสิ่งที่ผู้เรียนตอบนั้น มีประเดน็ ท่ีนา่ สนใจ ผโู้ ค้ชอาจต้งั คาถามตอ่ เนอื่ งไปได้ 3. แสดงทา่ ทางให้ความสนใจกบั คาตอบของผู้เรียน ไม่ว่า คาตอบนั้นจะถูกต้องหรือไม่ก็ตาม การแสดงท่าทางให้ความสนใจ ดังกล่าว เป็นการให้แรงเสริมกับผเู้ รียนใหต้ อบคาถามได้มากๆ 4. ไม่ด่วนสรุปตัดสินคาตอบของผู้เรียน ว่าเป็นคาตอบ ท่ีไม่ถูกต้อง หรือเป็นคาตอบท่ีไม่เข้าท่า แต่ผู้โค้ชควรให้คาแนะนา หรือแสดงความคิดเห็นของตนเองเพิ่มเติม เพ่ือทาให้ผู้เรียนมีความ เข้าใจทถ่ี ูกต้อง
53 5. ถ้าผู้เรียนไม่ตอบคาถามใดๆ ผู้โค้ชควรตั้งคาถามใหม่ ที่ง่ายกว่าคาถามเดิม และเม่ือผู้เรียนตอบคาถามท่ีง่ายนั้นได้แล้ว จึงกลับมาถามคาถามเดมิ ทผี่ เู้ รียนไม่ตอบอีกครั้ง ประเภทของคาถาม คาถามที่ใช้ถามผู้เรียนมีหลายประเภท แต่ละประเภท มีจุดมุ่งหมายในการถามที่แตกต่างกัน แต่ล้วนใช้เป็นคาถามที่กระตุ้น การคิดของผู้เรียนได้เป็นอย่างดี ผู้โค้ชควรใช้ประเภทคาถามท่ีมีความ หลากหลาย เพ่ือให้ผู้เรียนได้ใช้ความคิดในลักษณะต่างๆ ซึ่งมีตัวอย่าง ประเภทคาถาม และตัวอย่างคาถาม ดังต่อไปนี้ 1. คาถามตรวจสอบผลการเรยี นรู้ 1) องค์ประกอบของสิ่งมชี ีวิตคอื อะไร 2) การออกกาลงั กายมปี ระโยชน์อย่างไร 2. คาถามทใ่ี ห้ผเู้ รียนอธบิ ายขยายรายละเอียด 1) อธิบายความหมายของคาว่าประชาธิปไตย 2) อธิบายความเกี่ยวข้องกนั ระหว่างมนุษย์ กบั สง่ิ แวดลอ้ ม
54 3. คาถามทใ่ี ช้ตรวจสอบทัศนคติของผูเ้ รียน 1) นักเรียนคิดวา่ คณติ ศาสตร์มปี ระโยชนอ์ ยา่ งไร 2) นักเรยี นคดิ ว่าการทาความดีน้ันทางา่ ยหรือยาก 4. คาถามทชี่ ใี้ ห้ผูเ้ รยี นมมี มุ มองทห่ี ลากหลาย 1) นักเรียนคดิ ว่ายงั มีวธิ กี ารอ่ืนอีกหรือไม่ 2) นกั เรียนคิดวา่ เรอ่ื งน้ีมขี ้อดีและข้อเสยี อยา่ งไร 5. คาถามทใ่ี ห้ผู้เรียนลงสรุปแนวคิดหรือสรปุ ความรู้ 1) นักเรยี นได้ความรอู้ ะไรจากการเรยี นเร่อื งน้ี 2) ใจความสาคัญของสง่ิ นีค้ ืออะไร 6. คาถามทใ่ี หผ้ ู้เรยี นสนบั สนนุ ความคดิ ของตนเอง 1) นกั เรียนเหน็ ด้วยกบั เร่อื งนี้เพราะอะไร 2) นักเรยี นตัดสินใจแบบนี้เพราะอะไร 7. คาถามทใ่ี ห้ผเู้ รยี นแสดงความคิดเห็นตอ่ ส่งิ ใดสงิ่ หนึ่ง 1) นกั เรยี นคิดอยา่ งไรกับเรื่องน้ี 2) นักเรียนเหน็ ด้วยกบั เรอื่ งนี้หรือไม่
55 8. คาถามทใ่ี หผ้ ้เู รียนใหเ้ หตุผลเก่ียวกับสิง่ ใดสง่ิ หน่ึง 1) นกั เรียนคดิ วา่ เพราะเหตุใดเราจึงควรประหยัด 2) ทาไมสิ่งแวดลอ้ มมคี วามสาคัญกับมนษุ ย์ 9. คาถามทีใ่ ห้ผู้เรยี นแสวงหาวิธกี ารแก้ปัญหา 1) นักเรียนคิดวา่ ปญั หาที่เกิดข้ึนจะแก้ไขอยา่ งไร 2) นกั เรียนคดิ วา่ มีวธิ ีการแกไ้ ขปัญหาได้อย่างไร 10. คาถามทใ่ี ห้ผ้เู รยี นศึกษาค้นควา้ ดว้ ยตนเองเพิ่มเติม 1) นักเรียนคดิ วา่ สงิ่ ทีต่ ้องศึกษาเพ่มิ เตมิ คืออะไร 2) นักเรียนคดิ วา่ จะหาความรูเ้ พิ่มเติมได้จากท่ีใด 11. คาถามท่ีใหผ้ ู้เรยี นทานายปรากฏการณ์บางอยา่ ง 1) นกั เรยี นคิดวา่ จะเกดิ อะไรขน้ึ กบั เหตุการณ์นี้ 2) ถา้ สงิ่ นเี้ กดิ ขน้ึ นักเรยี นคดิ วา่ จะเกิดอะไรต่อไป 12. คาถามที่ใหผ้ ู้เรียนทบทวนผลการเรยี นร้ขู องตนเอง 1) นกั เรยี นคดิ ว่าคาตอบท่ีได้มขี ้อผดิ พลาดอะไร 2) นักเรยี นมั่นใจในคาตอบของตนเองหรอื ไม่
56 13. คาถามที่ใหผ้ เู้ รยี นกาหนดเปา้ หมายของตนเอง 1) นกั เรียนมเี ป้าหมายในการเรยี นว่าอย่างไร 2) วันนี้นกั เรียนตอ้ งการเรียนร้เู ร่ืองใด 14. คาถามท่ใี ห้ผู้เรยี นวางแผนการพัฒนาตนเอง 1) นักเรยี นคิดว่าจะวางแผนการเรียนอย่างไร 2) นกั เรยี นจะวางแผนอยา่ งไรให้ผลงานมีคณุ ภาพ 15. คาถามทีท่ าให้ผเู้ รียนเกิดความเชอ่ื ม่ันในตนเอง 1) นกั เรียนคิดว่าตนเองมีความเก่งในเรื่องใด 2) นกั เรยี นเช่ือหรือไม่วา่ ตนเองจะทาไดส้ าเรจ็ หมายเหตุ ผโู้ คช้ สามารถปรบั ปรุงโครงสร้างของคาถามแตล่ ะประเภท ใหส้ อดคลอ้ งกบั เน้ือหาสาระทจ่ี ดั การเรียนการสอนได้ ทาไม ถ้าใช้ผิดที่ ผิดเวลา ผดิ ประเด็น อาจส่ือว่ามีความไม่พอใจแฝงอยู่ ทาไม เป็นคาถามทด่ี ี ทาให้ผถู้ กู ถาม คดิ ลกึ ซง้ึ หยดุ คิด ไตรต่ รอง ตรวจสอบการกระทา วา่ กาลังทาอะไรอยู่
57 ผู้ ส อ น ค ว ร ป รั บ เ ป ล่ี ย น ก า ร ใ ช้ ค า ก ล่ า ว ท่ี ข า ด พ ลั ง ใ ห้ เ ป็ น คาถามท่ีทรงพลัง (power questions) เพื่อกระตุ้นและส่งเสริม การรู้คิดของผ้เู รียน ดังตัวอยา่ งตอ่ ไปน้ี คากลา่ วทว่ั ไป - เราจาเปน็ ตอ้ งปรบั ปรุงกระบวนการเรยี นรู้หรือไม่ คาถามทรงพลัง - การปรับปรงุ กระบวนการเรียนรู้ของเราควรทาอย่างไร คากล่าวทั่วไป - ครทู นอารมณ์ฉนุ เฉยี วของเธอไม่ไหวแลว้ คาถามทรงพลัง - เวลาทน่ี กั เรียนโมโห ฉนุ เฉียว นกั เรียนคิดว่ามนั กระทบ ความสัมพันธ์กับคนท่ีนักเรียนสนทิ ท่ีสุดอยา่ งไร คากลา่ วท่วั ไป - นักเรียนต้องคดิ ริเริ่มให้มากกว่าน้ี คาถามทรงพลัง - ชว่ ยอธิบายความคดิ รเิ รมิ่ ของนักเรยี นวา่ คืออะไร
58 คากลา่ วท่ัวไป - เธอต้องทางานเป็นทมี ให้มากข้นึ คาถามทรงพลัง - เธอคิดวา่ การทางานเปน็ ทมี มีประโยชนอ์ ยา่ งไร คาถามท่ีทรงพลงั 5 ประเภท การต้งั คาถามทีท่ รงพลงั จาแนกออกได้ 5 ประเภท ดงั น้ี 1. คาถามกระตุน้ ให้มจี ุดหมายในการคิด (focus questions) เป็นคาถามท่ีใช้ถามเพื่อให้ผู้เรียนกาหนดจุดมุ่งหมาย ในการคิดอย่างเฉพาะเจาะจง ซ่ึงการกาหนดจุดมุ่งหมายในการคิด เปน็ ส่ิงสาคัญของกระบวนการใชค้ วามคิด มีตัวอย่างคาถามดังตอ่ ไปน้ี - ส่ิงทน่ี ักเรียนต้องการทาให้สาเร็จคอื อะไร - จุดมุ่งหมายของนกั เรียนคืออะไร - นกั เรียนกาลังจะตดั สนิ ในเรื่องอะไร - ผลลพั ธท์ ตี่ ้องการคืออะไร - ตอ้ งมปี ัจจัยอะไรบ้างจงึ จะประสบความสาเร็จ
59 2. คาถามกระตุ้นความปรารถนา (passion questions) เป็นคาถามที่ทาให้ผู้เรียนกาหนดเป้าหมายทางการเรียนรู้ ของตนเอง หรือความปรารถนาท่ีจะเรียนรู้ มีตวั อย่างคาถามดังต่อไปนี้ - สงิ่ ทน่ี ักเรียนอยากรคู้ ืออะไร - นักเรียนอยากประสบความสาเร็จในการเรยี นอยา่ งไร - นักเรียนคาดหวังวา่ อนาคตของนักเรียนจะเปน็ อย่างไร - นกั เรียนประสงค์จะทากิจกรรมการเรยี นรูอ้ ะไร - จดุ มุ่งหมายในชีวิตของนกั เรยี นคอื อะไร 3. คาถามท่เี สรมิ พลัง (empowerment questions) เป็นคาถามท่ีทาให้ผู้เรียนเกิดความเช่ือม่ันในศักยภาพ ของตนเอง ท้ังด้านการคิด การกระทา และการตัดสินใจ มีตัวอย่าง คาถามดงั ตอ่ ไปนี้ - นักเรยี นคดิ ว่าจะตดั สนิ ใจในเร่อื งน้ีอย่างไร - นกั เรียนมคี วามคดิ เห็นในเรอื่ งนเ้ี ปน็ อย่างไร - นักเรยี นคิดว่าส่ิงทน่ี ักเรยี นทาไดด้ ีคืออะไร - สิง่ ที่นกั เรยี นภาคภูมใิ จคอื อะไร - ส่ิงทนี่ ักเรยี นจะปรับปรงุ และพัฒนาต่อไปคืออะไร
60 4. คาถามกระตุ้นแรงบนั ดาลใจ (inspiration questions) เปน็ คาถามทที่ าใหผ้ ู้เรียนเกิดแรงบันดาลใจในการที่จะคิด และกระทาสิ่งต่างๆ ให้ประสบความสาเร็จ โดยไม่ต้องอาศัยแรงจูงใจ จากภายนอก มีตัวอยา่ งคาถามดังต่อไปน้ี - นักเรียนคิดวา่ ทางานช้ินน้ีดที ส่ี ุดแล้วหรอื ยัง - สิ่งท่ีนกั เรียนคดิ ว่าจะตอ้ งทาให้ดีท่สี ุดในชีวิตคืออะไร - นกั เรียนคิดว่ากาลงั ทาในส่ิงทค่ี วรทาหรือไม่ - นกั เรยี นคดิ ว่าตนเองเปน็ คนเกง่ แล้วหรอื ยัง - ทาอย่างไรให้ส่ิงที่นักเรยี นคาดหวังน้ันเป็นจรงิ 5. คาถามเชงิ ลึก (depth questions) เป็นคาถามท่ที าให้ผู้เรียนใช้ความคิดวิเคราะห์ คิดวิพากษ์ คิดอย่างมีวิจารณญาณ คิดอย่างเป็นระบบ คิดแก้ปัญหา รวมทั้ง การสะท้อนคิด (reflection) มีตวั อยา่ งคาถามดงั ตอ่ ไปน้ี - นักเรียนคดิ วา่ สาเหตุของปญั หาน้คี ืออะไร - นกั เรียนคดิ ว่าจะแก้ปญั หานีไ้ ด้อย่างไร - นักเรยี นคิดวา่ เรอ่ื งน้ีเป็นความจริงหรอื ไมเ่ พราะอะไร - นกั เรียนคดิ วา่ เรือ่ งน้นี ่าเชือ่ ถือได้หรือไมเ่ พราะอะไร - นกั เรยี นคิดว่าเรอื่ งนีม้ ขี อ้ ดีข้อเสียอย่างไร
61 คากรยิ าท่ใี ชใ้ นการตงั้ คาถาม การตั้งคาถามที่ดี ควรเป็นคาถามท่ีกระตุ้นให้ผู้เรียนได้ใช้ ความคิดในระดับต่างๆ ได้แก่ ความจา ความเข้าใจ การประยุกต์ การวเิ คราะห์ การประเมินคา่ และการสรา้ งสรรค์ ซ่ึง Anderson, and Krathwohl. (2001) ได้ปรับปรุงลาดับขั้นการรู้คิด (cognitive domain) ของ Bloom (1956) ดังแผนภาพต่อไปน้ี การ สร้างสรรค์ ประเมนิ คา่ ประเมินค่า การสังเคราะห์ วเิ คราะห์ การวิเคราะห์ ประยุกต์ การนาไปใช้ ความเข้าใจ ความเขา้ ใจ ความจา ความรู้ Anderson and Krathwohl. (2001) Bloom. (1956) แผนภาพ 4 ลาดับข้นั การรู้คิดของ Bloom และ Anderson and Krathwohl
62 จากการปรับปรุงลาดับขั้นการรู้คิดดังกล่าว จึงได้มีการ กาหนดคากริยา (action verb) ที่สอดคล้องกับลาดับขั้นการรู้คิด ซ่ึงมี รากฐานมาจากคากรยิ าที่ Bloom ได้คิดค้นไว้ ดงั ตอ่ ไปนี้ ตาราง 5 คากรยิ าทใี่ ชใ้ นการต้งั คาถามตามลาดับขนั้ การรคู้ ดิ ระดับการคิด คากริยาที่ใชใ้ นการต้งั คาถาม สร้างสรรค์ ออกแบบ เรียบเรียง สร้าง วางแผน ประเมนิ ค่า ประมวล กาหนด ประดษิ ฐ์ ตัง้ สมมตฐิ าน เปลีย่ น ทดแทน เขียน พฒั นา สรุปอา้ งอิง บรู ณาการ ปรับปรุง จดั ระบบ เตรียมการ ผลติ จดั เรยี งใหม่ เรียบเรยี งใหม่ แก้ไขใหด้ ีขน้ึ เลือก ตดั สิน ตดั สินใจ ประเมิน เลือก ประมาณ ใหค้ ะแนน ทานาย เลอื ก ทดสอบ เรียงลาดบั ความสาคญั พิจารณา ลงความเห็น วพิ ากษ์ วจิ ารณ์ ตชิ ม โนม้ น้าว ชกั จูง วดั ปกป้อง ลงความเหน็
63 ตาราง 5 คากริยาท่ใี ช้ในการต้ังคาถามตามลาดับขนั้ การรู้คดิ (ตอ่ ) ระดบั การคดิ คากรยิ าทใ่ี ชใ้ นการต้งั คาถาม วเิ คราะห์ วเิ คราะห์ เปรยี บเทียบ จดั ประเภท ประยกุ ต์ อธิบายความแตกตา่ ง จดั กลุม่ คัดแยก ความเขา้ ใจ คานวณ อนุมาน แนะนา เลอื ก จาแนก ความจา แยกแยะ เชอ่ื มโยง บ่งช้ี สารวจ ระบุความสัมพนั ธ์ แก้ปญั หา ประยุกต์ สาธติ แสดงตวั อย่าง ใช้ เปล่ียน เลือก แสดง ทาใหส้ มบรู ณ์ เตรียม สอน จัดการ ทดลอง ใช้แทน อธิบาย บรรยาย ตีความ ขยายความ สรปุ ทาให้ชัดเจน อภิปราย แปล เทียบเคยี ง สรปุ กล่าวอา้ ง ระบุ บอกช่ือ จบั คู่ เลือก ระลกึ ท่อง อ่าน บันทกึ เขียน ทาสัญลักษณ์ ทาเครอ่ื งหมาย บอกรายการ การต้ังคาถามท่ีทรงพลัง จะนาคากริยาข้างต้นไปผสมผสาน กับสาระสาคัญ (main concept) แล้วนามาเรียบเรียงเป็นข้อคาถาม ท่มี ่งุ วัดผลการเรียนรู้ดา้ นการรคู้ ดิ
64 9. การสะท้อนคิด (Reflection) การสะท้อนคิด หมายถึง การให้ผู้เรียนคิดไตร่ตรอง ทบทวน (reflective thinking) พิจารณาส่ิงต่างๆ อย่างรอบคอบ มีเหตุผล ด้วยสติและปัญญา เป็นวิธีการทบทวนประสบการณ์จากการ ปฏิบัติของตนเอง เพ่ือนาไปสู่การเรียนรู้ การสร้างความรู้ การค้นพบ จุดเดน่ และจดุ ทตี่ ้องปรบั ปรุงแก้ไข เกดิ การพัฒนาอยา่ งตอ่ เนื่อง การสะท้อนคิด เป็นกระบวนการช่วยให้เกิดการเรียนรู้ โดยใช้กระบว นการคิดผ่านประสบการณ์ท่ีมีผลต่ออารม ณ์ และความรู้สึก ช่วยให้เกิดการหยั่งรู้และค้นพบตนเอง การเขียนบันทึก การสะท้อนคิดยังช่วยให้ค้นพบข้อมูลเชิงประจักษ์ท่ีนาไปสู่การคิด อยา่ งมีวิจารณญาณ การสะท้อนคิดมีประโยชน์ช่วยพัฒนาการเรียนรู้ 6 ขั้น ดังต่อไปน้ี 1. สรา้ งความตระหนกั ใช้สถานการณ์กระตนุ้ ความรู้สึก และความคดิ 2. ท บ ท ว น แ ล ะ ต ร ะ ห นั ก ถึ ง ค ว า ม รู้ สึ ก บั น ทึ ก และแลกเปล่ยี นเรยี นรู้ 3. ทบทวนข้อเท็จจริง เขียนบันทึก และนาไป แลกเปลี่ยนเรยี นรู้ 4. หาข้อมูล วิเคราะห์ เพือ่ ทาความเข้าใจเหตุการณ์นน้ั
65 5. ปรับเปลี่ยนการเรียนรู้ ปรับมุมมอง ความคิด ซง่ึ เป็นผลมาจากการเรยี นรู้ 6. การนาความรู้จากการสะท้อนคิดไปประยุกต์ใช้ ในสถานการณใ์ หม่ การสะทอ้ นคดิ 3 ระยะ Reflection on action เกิดขึ้นหลังจากประสบการณ์ เป็นการมองย้อนสถานการณ์ เพื่อให้เกิดความเขา้ ใจท่ีดขี ้นึ Reflection in action เกิดข้ึนในขณะท่ีอยู่ใน สถานการณ์ ที่ไม่มีคาตอบชัดเจน และทาให้หยุดคิด เพ่ือหาทางออก แกป้ ัญหาขณะทากจิ กรรม Reflection for action เป็นการเปิดความคิดที่มุ่งจะ วางแผนการแก้ปญั หาในอนาคต การสะท้อนคิดเป็นกระบวนการประมวลผลทางสมอง เรียกว่า Mental Model เรมิ่ จากการรบั ขอ้ มูลผา่ นประสาทสัมผัสต่างๆ นาไปสู่การสังเกตข้อมูลและประสบการณ์ การเลือกข้อมูล การแปล
66 ระบบความหมายประมวลผลข้อมูล การกาหนดสมมติฐาน การสรุป และเกิดการยอมรบั และความเชื่อ นอกจากนี้การสะท้อนคิดยังช่วยให้ เกิดการคิดที่เป็นระบบ ท่ีมองเห็นความเป็นองค์รวมซึ่งถือว่าเป็นระบบ ใหญ่ และส่วนที่เป็นองค์ประกอบต่างๆ คือระบบย่อย มีความสัมพันธ์ เช่ือมโยงกัน กระบวนการสะท้อนคิดของ Mental Model แสดงได้ ดงั แผนภาพตอ่ ไปน้ี แผนภาพ 5 กระบวนการสะท้อนคดิ ของ Mental Model
67 การถอดบทเรยี น (lesson - learned) ก า ร ก ร ะ ตุ้ น ใ ห้ ผู้ เ รี ย น เ กิ ด ก า ร เ รี ย น รู้ ท่ี ดี มี ห ล า ย วิ ธี การถอดบทเรียน (lesson - learned) เป็นวิธีการหน่ึงท่ีมุ่งเน้นการ วิเคราะห์ความรู้และประสบการณ์หลังการปฏิบัติกิจกรรมการเรียนรู้ สามารถพัฒนาการคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ นาไปสู่การปรับปรุง และพฒั นาการปฏิบัตหิ รือการเรยี นร้ใู หม้ ปี ระสทิ ธภิ าพ มากข้นึ นอกจากนี้การถอดบทเรียนยังเป็นการให้ข้อมูลป้อนกลับ อย่างเป็นระบบต่อคณะทางานเกี่ยวกับผลการปฏิบัติกิจกรรม ท่ีดาเนินการแล้วเป็นการกระตุ้นให้คณะทางานเกิดความต่ืนตัว และมีความรู้สึกผูกพัน (involve) อยู่กับกิจกรรม เป็นกระบวนการ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน โดยเน้นผลการปฏิบัติว่าเป็นไ ปตาม “สง่ิ ท่ีคาดหวัง” อยา่ งไรให้ผู้เรียนไดร้ ูจ้ กั ทบทวนตนเอง การจับประเด็น ความรู้ท่ีเกิดขึ้นส้ันๆ ภายหลังการทากิจกรรมของกลุ่มรวมทั้งทบทวน และสะท้อนบทเรียนเพอื่ นาไปสู่การวางแผนต่อไป สนุ ทรียสนทนา (Dialogue) คือ วิธีการถอดบทเรียน ที่มุ่งใช้การสนทนาอย่างครุ่นคิด และผลิดอกออกผลเป็นกระบวนการพูดจา เพ่ือให้เกิดความเข้าใจ ซ่ึงกันและกัน โดยผ่านการครุ่นคิดอย่างลึกซ้ึง เพื่อให้เกิดความคิดใหม่
68 มุมมองใหม่ที่ผลิดอกออกผล การสนทนาแบบนี้จะทาให้แต่ละคน พยายามฟังคนอนื่ และต้งั คาถามเพือ่ ให้เกิดความรู้ใหม่รว่ มกนั สุนทรียสนทนา การสร้างพ้ืนที่ทางสังคมใหม่ที่เอ้ือต่อ การคิดร่วมกันอย่างเสมอภาค การสนทนาท่ีนาไปสู่การคิดร่วมกัน ฟังซ่ึงกันและกันโดยไม่มีการตัดสินข้อสรุปใดๆ ความคิดท่ีดี เกิดจาก การฟังที่มีคุณภาพ การต้ังใจฟังกัน การเข้าใจ การเทใจมารวมกัน มีสมาธิอยู่กับตัวเอง และเสียงที่ได้ยิน ให้ความเข้าใจกับเสียงผู้อื่น กาหนดใจรับรูค้ วามเงยี บด้วยความรู้สกึ เชงิ บวก สุนทรียสนทนา เน้นการฟังอย่างสงบ ฟังอย่างลึก (Deep Listening) เม่ือสงบและลึกก็สัมผัสความจริงได้ ทาให้เกิดปัญญาจะคิด จะพูด จะทา ก็ผ่านสภาวะทางปัญญามาแล้ว จึงตรงต่อความจริง เกิดประโยชน์มากกว่าการคิด การพูด การกระทาอย่างต้ืนๆ สุนทรียสนทนาจะทาให้จิตสงบและประสบอสิ รภาพ สุนทรียสนทนา มุ่งเน้นการส่ือสารของมนุษย์ เพ่ือให้เกิด ความเข้าใจอย่างลึกระหว่างกัน สร้างความละเอียดอ่อน (awareness and sensibility) ท่ีมองไปถึง “ความคิดที่แฝงอยู่ภายใน” (Tacit) ซ่ึงกลายเป็นสิ่งเพาะเลี้ยงความขัดแย้งของแต่ละบุคคล และอาจ กลายเป็นความขดั แยง้ ระหวา่ งกนั ได้ การ จั ด การ ค ว ามคิด ท่ียึ ด มั่ น ถือม่ัน ห รื อค ว ามเ ป็ น ตั ว ต น โดยมหี ลักการของสนุ ทรียสนทนา 3 ประการ ไดแ้ ก่
69 1. หลักความเท่าเทียมกัน การสนทนาท่ีดีเป็นการขจัด สลายอานาจ ให้ทุกคนมีความเท่าเทียมกัน เกิดการมีส่วนร่วม ในกระบวนการแหง่ ความคิดรว่ ม 2. หลักการรับฟังอย่างลึกซึ้งเมื่อมีคนกาลังพูด รวมท้ัง รับฟังเสียงแห่งความเงียบที่เกิดขึ้นในวงสนทนาขณะท่ียังไม่มีผู้พูด โดยถือว่าความเงียบเปน็ ส่ิงปกตไิ มจ่ าเปน็ ต้องรู้สกึ อดึ อัดที่ไม่มีคนพดู 3. ห ลั ก ก า ร เ ฝ้ า ดู จิ ต ใ จ แ ล ะ ค ว า ม คิ ด ที่ เ กิ ด ขึ้ น อย่างไม่ตัดสินว่าถูกหรือผิด เฝ้าดูความคิดของตนเองท่ีเกิดขึ้นมาใหม่ ประเมินความรู้สึกว่า อยากจะเข้าร่วมแลกเปลี่ยนความคิดเห็น หรอื ไม่ ลกั ษณะของการถอดบทเรยี น 1. บทเรยี นจะอธบิ ายเหตุการณ์ และเงอ่ื นไขที่เกิดข้ึน 2. คาอธบิ ายจะตอ้ งมีคณุ ค่าไปสกู่ ารปฏิบตั ิ 3. คาอธิบายจะมีคาสาคัญ (keywords) หรือ Main Concepts ท่เี กิดจากการเรยี นรู้ ในกระบวนการน้ัน 4. บทเรียนที่เกิดขึ้น เม่ือจบเหตุการณ์หรือบทเรียน ทีส่ ังเคราะห์ จากสารสนเทศทีเ่ ก็บสะสมขอ้ มลู ในอดตี
70 การถอดบทเรยี นเป็นกระบวนการ ขั้ น ต อ น ก า ร ถ อ ด บ ท เ รี ย น ต้ อ ง อ า ศั ย ปั จ จั ย และองค์ประกอบที่เหมาะสม องค์ประกอบของผู้ถอดบทเรียน ด้านความพร้อม คุณสมบัติ ทักษะการส่ือสาร การเปิดใจ ความมุ่งม่ัน ที่จะเรียนรู้ มากกว่าการวิพากษ์วิจารณ์ องค์ประกอบของ ผู้ถอดบทเรียน เป็นการแบ่งปันความรู้ เพ่ือขยายส่ิงดีๆ ให้เกิด การเรยี นรู้ตอ่ ยอดขึ้นไป วิธกี ารถอดบทเรียน 1. ต้องตอบโจทย์ การถอดบทเรียนอะไร เพ่ืออะไร 2. ใครคือบุคคลท่ีจะถอดบทเรียน การถอดบทเรียน ของคนอ่ืน หรือการถอดบทเรียนตวั เอง 3. วิธีการถอดบทเรียน ควรเลือกวิธีการให้เหมาะสม กบั ผ้ถู อดบทเรียน 4. แบบปฏิบัติท่ีดี (best practice) อาจจะมีประเด็น ที่คล้ายกัน แต่แตกต่างบริบท การหาบทเรียนท่ีดีถือว่าได้ความรู้ ทม่ี คี ณุ คา่ มพี ลงั 5. สุนทรียสนทนา (dialogue) เป็นกลไกสาคัญในการ ถอดบทเรยี นที่มากกว่าการตัง้ คาถาม
71 6. บทเรียนมิใช่ความแตกต่างท่ีเกิดข้ึน จากส่ิงท่ี คาดหวังกับสิ่งที่เกิดขึ้นจริง ตามนัยของการต้ังสมมติฐานการวิจัยอะไร ท่ีทาให้เกิดความแตกต่างนั้น เป็นปัจจัยก่อให้เกิดพฤติกรรมอย่างไร สิง่ นี้คอื บทเรียน ปจั จัยความสาเรจ็ ของการสะท้อนคิด คือ การต้ังคาถามที่ทรงพลงั
72 ใบงานการถอดบทเรียน คาชี้แจง ให้ผู้เรียนทบทวนถงึ สาระและกจิ กรรมการเรยี นรู้ แลว้ ถอดบทเรยี นลงในตารางต่อไปน้ี แลว้ นามา แลกเปลี่ยนเรยี นรู้กับเพือ่ น ประเด็นการถอดบทเรยี น บทเรียนทีน่ ักเรยี นไดร้ บั ส่งิ ทีค่ าดหวงั ในการเข้ารว่ มกิจกรรม การเรยี นรูค้ อื อะไร ส่งิ ท่ีได้เรยี นรใู้ นวนั นคี้ อื อะไร เชือ่ ในสง่ิ ทไ่ี ดเ้ รยี นรจู้ ากผู้โคช้ หรอื ไม่ ถา้ เชื่อ เช่อื อย่างไร เพราะเหตุใด เพราะเหตุใดจึงคดิ ว่าส่ิงทไี่ ด้รบั จากผ้โู คช้ เปน็ สิง่ ที่ถูกต้อง ถา้ ไมเ่ ชอื่ มสี าเหตมุ าจากอะไร ส่งิ ทจี่ ะเรยี นรตู้ ่อยอด คอื อะไร
73 10. การเรยี นร้ยู ุคใหม่จากการใส่ใจของผู้โค้ช สอนใหจ้ า ทาให้ดู อยูใ่ ห้เหน็ เยน็ สัมผสั ได้ แนวคิดการจดั การเรียนรู้ 1. เป้าหมายการจัดการเรียนรู้ท่ีชัดเจน 2. ตอบสนองธรรมชาติของผู้เรยี นเป็นสาคัญ 3. เน้นผลท่เี กิดจากการเรยี นรู้ของผเู้ รียน 4. ม่งุ เนน้ กระบวนการเรยี นรู้และการแสวงหาความรู้ 5. กจิ กรรมการเรียนรู้สอดคล้องกับจดุ ประสงค์ 6. การประเมินผลการเรยี นรู้อยา่ งต่อเนือ่ ง “การเรียนรู้” ไม่จากัดอยู่เฉพาะห้องส่ีเหล่ียม การเรียนรู้มีอยู่รอบตัว เกิดท่ีชุมชนหรือท่ีบ้าน สามารถ นาไปปรับใชก้ ับชวี ิตได้จริง
74 จุดเนน้ การเรียนรู้ เน้นการเรียนรู้รากเหง้า รู้เท่าทันโลกาภิวัฒน์ การเรียนรู้จากความจา แล้วทาอะไรไม่ได้ การเรียนรู้จักตัวเอง พัฒนา ภายใน เจริญสติ การอยู่ร่วมกับธรรมชาติ ยอมรับความแตกต่าง ความหลากหลายในพหุวัฒนธรรม ลักษณะการจัดห้องเรียนจะเปลี่ยนเป็น Learning Innovative Center: LIC ที่ตอบโจทย์ความต้องการของผู้เรียน บางครั้งจะเข้าไป เรียนในพื้นท่ีเพื่อหาข้อเท็จจริงและความรู้ในพื้นที่หรือใช้เทคโนโลยี ในการเรียนรู้ มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ที่ทาให้เกิดความคิดสร้างสรรค์ และนวตั กรรม เรียนที่บ้าน ทาการบ้านที่โรงเรียน (Flipped Classroom) ผ้เู รยี นไมต่ ้องการให้ผู้โค้ชอยู่ในชั้นเรียนเพื่อบอกความรู้ เพราะสามารถ เข้าถึงความรู้ได้ด้วยตนเอง สิ่งที่ผู้เรียนต้องการ คือ การแลกเปล่ียน กับผู้โค้ช เวลาติดขัดและต้องการความช่วยเหลือ เพ่ือเสริมสร้างทักษะ การคดิ และทักษะทางสงั คม การเรียนรู้ที่มีความยืดหยุ่น (Flexibility Learning) เป็นวิธีการ เรยี นรใู้ นสงั คมพหวุ ัฒนธรรม ตอบโจทย์ผ้เู รียนเพื่อสร้างสรรค์นวัตกรรม หรือการแก้ไขปัญหาของสังคม ในลักษณะต่างๆ เช่น การเรียนรู้โดยใช้ โครงงาน (Project – Based Learning) การเรียนรู้โดยใช้การวิจัย เป็นฐาน (Research – Based Learning) การเรียนรู้โดยใช้ปัญหา เป็นฐาน (Problem – Based Learning)
75 ชุมชนแห่งการเรียนรู้เชิงวิชาชีพ (Professional Learning Community: PLC) การเรยี นรรู้ ่วมกนั ทัง้ ผโู้ ค้ชและผูเ้ รยี น ชุมชนแห่งการเรียนรู้เชิงวิชาชีพ (Professional Learning Community: PLC) เป็นพัฒนาการของการจัดการความรู้ (Knowledge Management) องค์กรแห่งการเรียนรู้ (Learning Organization) ชุมชนแห่งการเรียนรู้ (Learning Community) มาตามลาดบั ดังแผนภาพตอ่ ไปน้ี การจัดการความรู้ (Knowledge Management: KM) องค์กรแห่งการเรยี นรู้ (Learning Organization: LO) ชมุ ชนแหง่ การเรยี นรู้ (Learning Community: LC) ชมุ ชนแห่งการเรียนรเู้ ชงิ วชิ าชพี (Professional Learning Community: PLC) แผนภาพ 6 พฒั นาการของชุมชนแห่งการเรยี นรู้เชิงวิชาชพี
76 ชุ ม ช น แ ห่ ง ก า ร เ รี ย น รู้ เ ชิ ง วิ ช า ชี พ เ ป็ น ก า ร ผ ส ม ผ ส า น แนวคดิ 2 ประการ ไดแ้ ก่ 1) ความเป็นมืออาชีพ (professional) หมายถึง การทาอะไรได้ดีกว่ามือสมัครเล่น การไม่ทาร้ายสังคม จากความ เชี่ยวชาญของตน การมีความสุจริตแห่งวิชาชีพ การมีความสุขจากการ ได้ทาประโยชน์แก่สังคม และการตระหนักถึงจรรยาบรรณ แห่งวิชาชีพ ซึ่ง ความเป็นวิชาชีพ ประกอบด้วย มีหลักสูตรการจัดการ เรียนรู้ ที่ได้มาตรฐาน มีการฝึกปฏิบัติทางวิชาชีพ และมีองค์กรวิชาชีพ รับรอง 2) ชุมชนแห่งการเรียนรู้ (learning community) ซ่ึงหมายถึง การรวมกลุ่มกันของผู้ประกอบวิชาชีพ โดยมีจุดมุ่งหมาย เพื่อพัฒนาสมรรถนะเชิงวิชาชีพ และคุณภาพของผู้เรียนร่วมกัน ผ่านกระบวนการเรียนรู้ร่วมมือร่วมใจ (collaborative learning) การเรียนรู้ประสบการณ์การปฏิบัติงานในพ้ืนท่ี (field) และการ แลกเปล่ียนเรียนรู้ (sharing learning) อย่างต่อเนื่อง เป็นการเรียนรู้ ร่วมกันมากกว่าการสอน (focus on learning rather than on teaching) การทางานร่วมกัน (work collaborative) และความ รบั ผิดชอบตอ่ ตนเอง (self - accountable)
77 ชมุ ชนแหง่ การเรยี นรเู้ ชิงวิชาชพี (Professional Learning Community: PLC) ความเปน็ มืออาชีพ (Professional) PLC ชุมชนแห่งการเรียนรู้ (Learning Community) แผนภาพ 7 การผสมผสานแนวคดิ ของชุมชนแห่งการเรียนรู้เชิงวชิ าชพี
78 จุดเน้นของชุมชนแห่งการเรียนรู้เชิงวิชาชีพ คือ การเรียนรู้ ร่วมกันระหว่างผู้โค้ชกับผู้โค้ช และผู้โค้ชกับผู้เรียน ท่ีเป็นมากกว่า การ จัดการเรียนรู้เท่านั้น แต่ยังมีการแลกเปล่ียนความคิด ความรู้ เพ่ือการเรียนรู้ต่อยอด เป็นการเรียนรู้เพ่ือการเปล่ียนแปลง (transformative learning) นอกจากนี้ องค์ความรู้ท่ีเกิดจากการจัดการเรียนการสอน ในชั้นเรียนของผู้โคช้ แตล่ ะคน จะถกู นามาจดั การความรอู้ ย่างเป็นระบบ และนามาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ซึ่งกันและกันอย่างต่อเนื่อง ช่วยทาให้ครู มีความรู้ในเนื้อหา และเทคนิควิธีการจัดการเรียนการสอน ส่งผลทาให้ สามารถจัดการเรียนการสอนได้อย่างมีประสิทธิผล เกิดการปรับปรุง และพัฒนาอย่างต่อเน่ือง การใช้ mentor และ coaching เป็นกลไก การขับเคลอ่ื นของชมุ ชนแหง่ การเรียนรเู้ ชิงวชิ าชีพ การเรียนรูต้ ามสภาพจรงิ ในพ้ืนท่ี เปน็ ความจรงิ ความรู้ ที่มาจากพ้นื ที่สอดคล้องกบั บริบทของความเป็นไทย สอดคล้องกับวัฒนธรรม ประเพณี ภูมปิ ัญญา คณุ ลกั ษณะ ความเกรงใจ การเคารพอาวุโส ความเปน็ กัลยาณมิตรแบบเครือญาติ
79 เทคนิคการปรับ (modify) การออกแบบการจัดการเรียนรู้ การโค้ชท่ีดีจะต้องสามารถตอบสนองความแตกต่างระหว่าง ผู้เรียนรายบุคคลได้ ทุกคนสามารถเรียนรู้ได้เม่ือได้รับการโค้ช ด้วยเทคนิควิธีการท่ีเหมาะสม เทคนิคการปรับ (modify) ให้การโค้ช เหมาะสมกับผเู้ รียน มีดังตอ่ ไปน้ี 1. การเพ่ิม (add) สาระสาคัญในส่ิงที่เป็นความรู้ใหม่ และจาเป็นต่อผู้เรียน เพ่ือให้ผู้เรียนมีความรู้ท่ีเป็นปัจจุบัน ทันกับการ เปลี่ยนแปลงของสังคม 2. การลด (subtract) สาระสาคัญ (concept) ท่ีผู้เรียน รูแ้ ล้ว รวมท้งั กจิ กรรมทไ่ี ม่จาเปน็ ออก เพ่ือเป็นการประหยัดเวลาในการ เรยี นรู้ 3. การบูรณาการ (integration) ผสมผสานสาระสาคัญ กิจกรรมการเรียนรู้ และการประเมินผล ระหว่างการจัดการเรียนรู้ เพ่ือตอบสนองความตอ้ งการและช่วยเหลอื ผู้เรียนแตล่ ะบุคคล 4. การหลอมรวม (infuse) ผสมผสานในส่ิงที่ใกล้เคียงกัน ให้มีความชัดเจนและลดเวลาการทากิจกรรมรวมท้ังการประเมิน ท่ซี า้ ซอ้ น
80 การเรียนรู้ในสังคมพหุวัฒนธรรม ทาให้เกิดนวัตกรรม การสร้างสรรค์ และเกิดประโยชน์ต่อตนเองและส่วนรวม ตลอดจน สามารถดารงชีวิตอยู่ในสังคมท่ีมีความหลากหลายทางวัฒนธรรม ประเพณี ศาสนา ความเชื่อ และค่านิยม ได้อย่างมีคุณภาพ และมคี วามสุข ซง่ึ การเรียนร้ใู นสังคมพหวุ ัฒนธรรมมลี ักษณะดงั ตอ่ ไปนี้ 1. การเรียนแบบ Multi - Disciplinary Team ที่ผู้เรียน ได้เรียนรู้กับบุคคลอ่ืนอย่างหลากหลาย เช่น เรียนกับบุคคลท่ีมีช่วงวัย ต่างกนั มแี นวคดิ วธิ ีการทางานที่แตกตา่ งกนั แต่เรยี นรู้รว่ มกันได้ 2. การเรียนรู้ท่ีจะฟังจากคนอื่น ฟังเร่ืองราวท่ีเราไม่เชื่อ จากบุคคลอ่ืน นวตั กรรมจะเกดิ ขน้ึ การฟงั เปน็ การเปิดโอกาสการเรียนรู้ สง่ิ ใหม่ใหก้ ับตนเอง การฟังอยา่ งสงบ ไมด่ ่วนสรุป ไมด่ ว่ นตดั สนิ คนอื่น 3. การมีโครงการทาร่วมกัน (project work) สร้างความ หลากหลายทางความคิดนามาร่วมกันแก้ปัญหาที่ซับซ้อนของโลก ปัจจบุ นั และอนาคต 4. การแลกเปล่ียนเรียนรู้ ด้วยกระบวนการสุนทรียสนทนา การแลกเปลยี่ นเรียนร้จู ะสร้างคุณลักษณะความเคารพศักด์ิศรีของความ เป็นมนุษย์ ทาใหป้ ฏิบัตติ อ่ กนั ด้วยความรกั และเมตตา
81 การเรยี นรู้ 3 ลักษณะ 1. การเรียนรู้ดว้ ยการดู คือ การเรียนรู้จากการดู ภาษากาย ของผู้โค้ช และเกิดเป็นภาพ ชอบนั่งอยู่หน้าห้อง เรียนรู้ได้ดีจากส่ือ ท่ีเป็นภาพ ชอบพิจารณารายละเอียดไปด้วย ซึ่งโค้ชท่ีดีควรใช้สื่อ เทคโนโลยีช่วยการโค้ช จะทาให้ผเู้ รียนเกิดการเรียนรไู้ ดด้ ขี นึ้ 2. การเรียนรูด้ ว้ ยการฟงั คือ การเรยี นรู้จากการฟังบรรยาย การสัมมนาแลกเปล่ียน การพูดคุย จะตีความคาพูดด้วยการสังเกต น้าเสียง ชอบการพูดมากกว่าการเขียน โค้ชควรมีความสามารถในด้าน การอธิบายขยายความ การเล่าเร่ืองกระตุ้นการคิดและจินตนาการ ตลอดจนการพดู โนม้ นา้ ว 3. การเรียนรูด้ ว้ ยการสมั ผัส คือ การเคลื่อนไหว การกระทา คือ เรียนรู้ผ่านการปฏิบัติ ชอบสารวจ น่ังน่ิงๆ นานไม่ได้ ไม่ชอบอ่าน จาได้ในส่ิงท่ีทา ผู้โค้ชควรเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้ลงมือปฏิบัติกิจกรรม ด้วยตนเอง มีการวางแผน การปฏิบัติ และประเมินผลการปฏิบัติของ ตนเอง บทบาทของผู้โค้ชสาหรับผู้เรียนท่ีเรียนรู้ด้วยการสัมผัส ควรให้ คาตชิ ม และใหข้ ้อเสนอแนะที่เป็นประโยชน์ต่อการปรับปรุงและพัฒนา ผลงาน และควรหลีกเลย่ี งการพดู อธบิ ายขยายรายละเอียด
82 สอนนอ้ ย...เรียนรู้มาก (Teach Less Learn More: TLLM) การจัดการศึกษาให้สอดคล้องกับการเปล่ียนแปลงของ ศตวรรษ ท่ี 21 การจัดการเรียนรู้ต้องเปล่ียนท้ังในและนอกห้องเรียน การจัดการเรียนรู้สนับสนุนให้ผู้เรียนเกิดแนวคิดใหม่ การคิดวิเคราะห์ รอบด้าน สร้างแรงบันดาลใจ สร้างความมุ่งมั่นเพื่อการแสวงหาความรู้ เน้นคุณภาพและประสิทธภิ าพเพิ่มข้ึน เรียนน้อยไม่ได้แปลว่าแย่ เรียนมากไม่ได้แปลว่าดี ผู้เรียน หันหนา้ หนีการฟงั บรรยาย โดยอ่านหนังสือมาสอบ กระบวนการเรียนรู้ ใช้ปัญหาเป็นตัวตั้ง ค้นคว้าด้วยตนเอง ลงมือปฏิบัตินอกห้องเรียน เป็นแนวทางให้ผเู้ รยี นเข้าใจอยา่ งลกึ ซ้ึง ซ่งึ มีแนวคิดสาคญั ดงั ตอ่ ไปน้ี 1. เหตุผลของการจัดการเรียนรู้ 1.1 ตอบสนองความแตกต่างระหว่างบุคคล ให้ได้มากท่ีสุด เพื่อให้เกิดการเรยี นรูส้ ูงสดุ ในมิตติ ่างๆ ได้แก่ ความต้องการ ความสนใจ แรงบันดาลใจ 1.2 กระตนุ้ ผเู้ รยี นใหใ้ ช้ศักยภาพของตนในการเรยี นรู้ 1.3 ช่วยผู้เรียนให้เกิดแนวคิด และการเรียนรู้ในสาระสาคัญ ของสง่ิ ท่ีเรียน 1.4 เตรียมผู้เรียนไปสู่การดารงชีวิตในอนาคตมากกว่า การทดสอบต่างๆ
83 2. สงิ่ ท่ีจัดการเรียนการรู้ 2.1 คณุ ภาพของผู้เรยี นทั้งตัวบคุ คล 2.2 ความอยากรู้ 2.3 ความเชือ่ มน่ั ในตนเอง 2.4 การคดิ วิจารณญาณ 2.5 กระบวนการเรยี นรู้ 2.6 ค่านยิ ม เจตคติ และระบบคดิ 2.7 การตั้งคาถามเพื่อนาไปสกู่ ารเรยี นรู้เพิ่มมากขน้ึ 3. วิธีการจัดการเรียนรู้ 3.1 เชอ่ื มโยงสิ่งทีจ่ ัดการเรยี นรู้ไปส่กู ารลงมือปฏบิ ัติ 3.2 เอ้ืออานวยความสะดวกในการเรียนรู้ แนะนา เปน็ ตวั แบบ ให้ผู้เรยี นเกดิ แรงจูงใจในการเรียนรู้ 3.3 ยอมรบั ความแตกตา่ งระหวา่ งบคุ คลของผเู้ รียน 3.4 ปรับเปลี่ยนวิธีการจัดการเรียนรู้ให้สอดคล้องกับ ผเู้ รยี นรายบุคคล 3.5 ประเมนิ ผลการเรียนรู้เพ่ือการปรับปรงุ และพฒั นา 3.6 ส่งเสริมจิตใจนวัตกรรม (spirit of innovation) การประกอบกิจการ และความกลา้ หาญในการสร้างสิ่งใหม่
84 การเสริมพลงั การเรยี นรู้ให้กบั ผู้เรยี น การเสริมพลัง (empowerment) คือ กระบวนการ ปรับเปล่ียนความรู้สึกของผู้เรียน ให้เกิดความเชื่อมั่นในศักยภาพ ของตนเอง (self - confidence) ทัศนคติท่ีมีต่อตนเอง ต่อสิ่งที่เรียนรู้ ซงึ่ เปน็ ปจั จยั เอ้อื ตอ่ การประสบความสาเร็จ การเสริมพลัง เกี่ยวข้องกับการทาให้ศักยภาพที่แฝงอยู่ ภายในตัวผู้เรียนปรากฏออกมาเป็นความจริง และการทาให้ผู้เรียน บรรลุเป้าหมาย ด้วยการให้ผู้เรียนได้เข้ามามีส่วนร่วมกับความสาเร็จ และเกดิ ความพึงพอใจในการปฏบิ ตั งิ านตามบทบาทหน้าท่รี ับผิดชอบ นอกจากน้ี การเสริมพลังยังเป็นการกระตุ้นให้ผู้เรียน สร้างสรรค์ส่ิงใหม่ ในการกระทาส่ิงต่างๆ และสามารถพัฒนาศักยภาพ และขีดความสามารถของตนเองได้อย่างต่อเน่ือง การเสริมพลัง มีองค์ประกอบที่สาคัญ 4 ประการ ได้แก่ 1) การเข้าถึงข้อมูลข่าวสารและสารสนเทศ 2) การมีเสรีภาพในการ เลือกที่จะปฏิบัติสิ่งต่างๆ 3) การมีส่วนร่วมในการคิดและการตัดสินใจ 4) ความรับผดิ ชอบรว่ มต่อผลลพั ธ์ วธิ ีการเสรมิ พลงั มดี งั ต่อไปน้ี 1. เปิดโอกาสให้ผู้เรียนแสดงความสามารถในการ ปฏิบัติงานและความคิดเห็นตลอดจนการตัดสินใจและการมีส่วนร่วม ตา่ งๆ ในการเรียนรู้
85 2. เสริมสร้างให้ผู้เรียนเกิดการแลกเปล่ียนเรียนรู้ ซ่งึ กนั และกนั 3. ให้ความรู้ ทักษะ ประสบการณ์ และสนับสนุน ทรพั ยากรตา่ งๆ ทมี่ คี วามจาเป็นต่อการเรียนรูอ้ ยา่ งเหมาะสม 4. เสริมสร้างและสนับสนุนให้ผู้เรียนมีทักษะ และกระบวนการในการทางานเป็นกลมุ่ 5. ใ ห้ ผู้ เ รี ย น ส า ม า ร ถ เ ข้ า ถึ ง ข้ อ มู ล ข่ า ว ส า ร และสารสนเทศทจ่ี าเป็นตอ่ การเรียนรู้ได้อยา่ งรวดเร็ว 6. ให้ข้อมูลย้อนกลับการปฏิบัติงานของผู้เรียน เพือ่ เป็นขอ้ มลู สารสนเทศ สาหรับการปรบั ปรุงและพฒั นาการ 7. สรา้ งบรรยากาศแห่งความไว้วางใจซง่ึ กันและกัน 8. เปิดโอกาสให้ผู้เรียนมีโอกาสในการเลือก และกาหนดวิธีการปฏิบัติงานภายในขอบเขตความรับผิดชอบของ ตนเองโดยอสิ ระ 9. ให้ความช่วยเหลือและบรรเทาปัญหาที่เกิดขึ้น ซ่งึ เปน็ อปุ สรรคตอ่ การเรียนร้ขู องผู้เรยี น 10. เสริมสร้างและสนับสนุน ผู้เรียนให้มีความ กล้าหาญในการคิดและตัดสินใจอย่างมีเหตุผล และกล้าเผชิญปัญหา ทท่ี ้าทายความคิดและความสามารถ
86 แ น ว ท า ง ก า ร จั ด ก า ร เ รี ย น รู้ ท่ี เ ห ม า ะ ส ม กั บ วิ ธี ก า ร เ รี ย น รู้ ของผู้เรยี นโดยผ่านกระบวนการโค้ช 1. มีความเข้าใจว่าผู้เรียนมีวิธีการเรียนรู้ที่แตกต่างกัน การจัดการเรียนรู้ต้องมีความหลากหลายรูปแบบ เช่น รูปแบบ การเรียนรู้ด้วยการดู รูปแบบการเรียนรู้ด้วยการฟัง รูปแบบการเรียนรู้ ด้วยการสมั ผสั นอกจากนยี้ งั มีจรติ ในการเรียนรู้ ทั้ง 6 แบบ ดังน้ันผู้โค้ช ควรใช้วิธีการจดั การเรยี นรู้เพียงวธิ ีการเดียวกับผเู้ รียนทง้ั ช้นั เรยี น 2. ช่วยให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ในวิธีการที่เหมาะสมกับผู้เรียน แต่ละบุคคล เปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้เลือกปฏิบัติกิจกรรมการเรียนรู้ อย่างหลากหลาย ไม่จาเป็นต้องปฏิบัติเหมือนกันท้ังชั้นเรียน ช่วยทาให้ ผู้เรียนได้เรียนรู้ด้วยวิธีการท่ีตนเองชอบและถนัด เช่น ผู้เรียนท่ีชอบ การอ่าน ควรได้รับโอกาสให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง สรุปความรู้ นาเสนอ และแลกเปลี่ยนเรยี นร้กู ับเพ่อื นๆ 3. การสื่อสารกับผู้เรียนด้วยความเคารพในความแตกต่าง ของรูปแบบการเรียนรู้ วิธีคิด และยอมรับลักษณะเฉพาะของแต่ละคน ด้วยการเปิดใจรับฟัง ฟังโดยไม่ตัดสินหรือด่วนสรุป เคารพผู้เรียน ในฐานะท่ีมีศักด์ิศรีความเป็นมนุษย์ การสื่อสารด้วยภาษาท่ีเป็นระดับ เดยี วกนั ไมใ่ ช้อานาจส่งั การ แตใ่ ช้การสรา้ งความร่วมมอื จากผเู้ รียน
87 การวิเคราะห์สาระสาคญั เร่อื ง น้าพรกิ กะปิ จากการเรยี นรูแ้ บบโครงงาน ผา่ นกระบวนการโค้ช พรกิ กระตุน้ ความอยากอาหาร หอมแดง มะเขอื พวง ต้านอนุมลู อสิ ระ ปอ้ งกันท้องผูก เซลล์แขง็ แรง ลดความดนั กระเทยี ม นา้ พริกกะปิ ผกั สด / ผักต้ม ปอ้ งกันการตดิ เชอ้ื ใหว้ ิตามนิ ลดไขมนั ในเส้นเลอื ด และเกลอื แร่ กงุ้ แหง้ กะปิ มโี ซเดียม ไอโอดีน มีแคลเซยี ม วิตามินซี ช่วยกระดูกแข็งแรง ปลาทู มไี อโอดนี ชว่ ยการเจรญิ เติบโต และเสรมิ สร้างความจา
88 การวเิ คราะห์สาระสาคญั เร่ือง มาตรฐานขา้ ว จากการเรยี นร้แู บบสืบค้น ผ่านกระบวนการโคช้ คดั เมล็ดพนั ธ์ุ บรรจลุ งถุง ปลกู ขา้ ว มาตรฐานขา้ ว ปรบั ปรุงคณุ ภาพ เกบ็ เกี่ยวขา้ ว นาเขา้ โรงสี
89 การวเิ คราะห์สาระสาคญั เรื่อง หัวใจของการคา้ เสรี จากการเรียนรู้แบบโครงงาน ผ่านกระบวนการโคช้ การแข่งขนั เปน็ ธรรม บรกิ าร กฎ กติกา คุณภาพ ซ่อื สัตย์ หัวใจ ของการคา้ เสรี ราคา ตลาด
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126