Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Best Practice ระบบการนิเทศออนไลน์

Best Practice ระบบการนิเทศออนไลน์

Published by ปาริชาติ ปิติพัฒน์, 2021-09-05 18:22:57

Description: Best Practice ระบบการนิเทศออนไลน์

Search

Read the Text Version

ร า ย ง า น วิ ธี ก า ร ป ฏิ บั ติ ที เ ป น เ ลิ ศ (BEST PRACTICE) ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคตดิ เชอื ไวรัสโคโรนา 2019 ร ะ บ บ ก า ร นิ เ ท ศ อ อ น ไ ล น์ โดย ก ลุ่ ม ง า น ส่ ง เ ส ริ ม พั ฒ น า สื อ น วั ต ก ร ร ม แ ล ะ เ ท ค โ น โ ล ยี ท า ง ก า ร ศึ ก ษ า ก ลุ่ ม นิ เ ท ศ ติ ด ต า ม แ ล ะ ป ร ะ เ มิ น ผ ล ก า ร จั ด ก า ร ศึ ก ษ า สํา นั ก ง า น เ ข ต พื น ที ก า ร ศึ ก ษ า ป ร ะ ถ ม ศึ ก ษ า ห น อ ง บั ว ลํา ภู เ ข ต 2 สาํ นั ก ง า น ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร ก า ร ศึ ก ษ า ขั น พื น ฐ า น

การพั ฒนาการนิเทศในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชือไวรัสโคโรนา 2019 โดยการใช้แอปพลิเคชัน ระบบการนิเทศออนไลน์ : BEST PRACTICE ก คาํ นํา นวตั กรรมการนิเทศการศึกษา เรือง การพฒั นาการนิเทศโดยการใชแ้ อปพลเิ คชนั ระบบการนิเทศออนไลน์ เปนนวตั กรรมทคี ดิ คน้ และพฒั นาขนึ เพอื ใชแ้ กป้ ญหาการนิเทศ การศึกษาในชว่ งสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคตดิ เชอื ไวรัสโคโรนา 2019 ซึงจาก การดาํ เนินการอยา่ งตอ่ เนือง สามารถแกป้ ญหาการนิเทศการศึกษาไดเ้ ปนอยา่ งดี เปนทนี ่า พอใจ ซึงการจัดทาํ รายงานนวตั กรรมเลม่ นี รายงานตามรูปแบบของกลมุ่ นิเทศ ตดิ ตาม และประเมนิ ผลการจัดการศึกษา สาํ นักงานเขตพนื ทกี ารศึกษาประถมศึกษาหนองบวั ลาํ ภู เขต 2 ขอขอบคณุ ผอู้ าํ นวยการสาํ นักงานเขตพนื ทกี ารศึกษาประถมศึกษาหนองบวั ลาํ ภู เขต 2 ผทู้ รงคณุ วฒุ ิ ผบู้ ริหารสถานศึกษา ขา้ ราชการครู และผมู้ สี ว่ นเกยี วขอ้ งทกุ ทา่ น ทใี หค้ วามร่วมมอื ในการขบั เคลอื นนวตั กรรมจนประสบความสาํ เร็จ หวงั เปนอยา่ งยงิ วา่ นวตั กรรมการนิเทศการศึกษา เรือง การพฒั นาการนิเทศโดยการใชแ้ อปพลเิ คชนั ระบบ การนิเทศออนไลน์ จะเปนประโยชน์ตอ่ โรงเรียนและหน่วยงาน หรือผทู้ สี นใจ ในการนําไป ประยกุ ตใ์ ชเ้ พอื แกป้ ญหา การนิเทศการศึกษาในชว่ งสถานการณ์ไวรัสโคโรนา และดา้ นอนื ๆ ในโอกาสตอ่ ไป คณะผจู้ ัดทาํ

การพั ฒนาการนิเทศในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชือไวรัสโคโรนา 2019 โดยการใช้แอปพลิเคชัน ระบบการนิเทศออนไลน์ : BEST PRACTICE ข ส า ร บั ญ สว่ นที 1 ความสาํ คัญ/ ความเปนมา หนา้ 1 ความสาํ คัญและความเปนมา 1 กรอบแนวคิดการนเิ ทศขบั เคลือนคณุ ภาพการศึกษา 3 นยิ ามศัพท์เฉพาะ 4 แนวคิดหลักการสาํ คัญทีเกียวขอ้ ง 5 6 แนวคิด และทฤษฎีทีเกียวขอ้ งกับการนเิ ทศการสอน 18 แนวคิด และทฤษฎีทีเกียวขอ้ งกับแอปพลิเคชนั 25 การสรา้ งแอปพลิเคชนั ด้วย โปรแกรม Glide 31 แอปพลิเคชนั ระบบการนเิ ทศออนไลน์ สว่ นที 2 จุดประสงค์และเปาหมาย สว่ นที 3 กระบวนการปฏิบตั ิงาน การดาํ เนินงาน หนา้ 33 หรอื ขนั ตอนการดาํ เนินงาน หนา้ 34 เปาหมายการดําเนนิ งาน 33 ประชากรและกล่มุ ตัวอยา่ ง 34 จุดประสงค์ 33 เครอื งมอื ทีใชพ้ ฒั นาแอปพลิเคชนั 34 ระบบการนเิ ทศออนไลน์ 35 วธิ กี ารสรา้ งและพฒั นานวตั กรรม 40 การเก็บรวบรวมขอ้ มูล 40 การวเิ คราะห์ขอ้ มูล และสถิติทีใช้ สว่ นที 4 ผลการดาํ เนนิ การ หน้า 42 42 47 ตอนที 1 ผลประเมนิ คณุ ภาพแอปพลิเคชนั ระบบการนเิ ทศออนไลน์ ตอนที 2 ผลประเมนิ ความพงึ พอใจต่อแอปพลิเคชนั ระบบการนเิ ทศออนไลน์ สว่ นที 5 ปจจยั ความสาํ เรจ็ หน้า 48 สว่ นท้าย ประโยชนท์ ีได้รบั 48 บรรณานกุ รม 49 ขอ้ เสนอแนะ 48 การเผยแพร่ 48 ภาคผนวก 50 ภาคผนวก ก โครงการพฒั นา กระบวนการนเิ ทศออนไลน์ โดย ใชส้ อื แอปพลิเคชนั 51 ภาคผนวก ข คําสงั แต่งตัง คณะกรรมการดําเนนิ งาน 56 ภาคผนวก ค ค่มู อื การใชง้ าน แอปพลิเคชนั ระบบการนเิ ทศออนไลน์ 59 ภาคผนวก ง ตัวอยา่ งจากแอปพลิเคชนั ฯ 64 ภาคผนวก จ ภาพกิจกรรมฯ 78

การพั ฒนาการนิเทศในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชือไวรัสโคโรนา 2019 โดยการใช้แอปพลิเคชัน ระบบการนิเทศออนไลน์ : BEST PRACTICE ค ส า ร บั ญ ต า ร า ง ตารางที 1 แสดงความถีและค่ารอ้ ยละขอ้ มูลทัวไป 42 ตารางที 2 แสดงค่าเฉลีย สว่ นเบยี งเบนมาตรฐานของคณุ ภาพแอปพลิเคชนั 43 ระบบการนเิ ทศออนไลน์ สงั กัดสาํ นกั งานเขตพนื ทีการศึกษาประถมศึกษา 43 หนองบวั ลําภู เขต 2 โดยผทู้ รงคณุ วุฒิ ภาพรวม 44 ตารางที 3 แสดงค่าเฉลีย สว่ นเบยี งเบนมาตรฐานของคณุ ภาพแอปพลิเคชนั 44 ระบบการนเิ ทศออนไลน์ สงั กัดสาํ นกั งานเขตพนื ทีการศึกษาประถมศึกษา 45 หนองบวั ลําภู เขต 2 โดยผทู้ รงคณุ วุฒิ ดา้ นการตรงความต้องการของผใู้ ช้ 45 แอปพลิเคชนั 46 ตารางที 4 แสดงค่าเฉลีย สว่ นเบยี งเบนมาตรฐานของคณุ ภาพแอปพลิเคชนั ระบบการนเิ ทศ 46 ออนไลน์ สงั กัดสาํ นกั งานเขตพนื ทีการศึกษาประถมศึกษาหนองบวั ลําภู เขต 2 47 โดยผทู้ รงคณุ วุฒิ ดา้ นที 2 ดา้ นการใชง้ านแอปพลิเคชนั ตารางที 5 แสดงค่าเฉลีย สว่ นเบยี งเบนมาตรฐานของคณุ ภาพแอปพลิเคชนั ระบบการนเิ ทศ ออนไลน์ สงั กัดสาํ นกั งานเขตพนื ทีการศึกษาประถมศึกษาหนองบวั ลําภู เขต 2 โดยผทู้ รงคณุ วุฒิ ดา้ นที 3 ดา้ นความง่ายต่อการใชง้ านแอปพลิเคชนั ตารางที 6 แสดงค่าเฉลีย สว่ นเบยี งเบนมาตรฐานของคณุ ภาพแอปพลิเคชนั ระบบการนเิ ทศ ออนไลน์ สงั กัดสาํ นกั งานเขตพนื ทีการศึกษาประถมศึกษาหนองบวั ลําภู เขต 2 ภาพรวม ตารางที 7 แสดงค่าเฉลีย สว่ นเบยี งเบนมาตรฐานของคณุ ภาพแอปพลิเคชนั ระบบการนเิ ทศ ออนไลน์ สงั กัดสาํ นกั งานเขตพนื ทีการศึกษาประถมศึกษาหนองบวั ลําภู เขต 2 ดา้ นที 1 ดา้ นการตรงความต้องการของผใู้ ชแ้ อปพลิเคชนั ตารางที 8 แสดงค่าเฉลีย สว่ นเบยี งเบนมาตรฐานของคณุ ภาพแอปพลิเคชนั ระบบการนเิ ทศ ออนไลน์ สงั กัดสาํ นกั งานเขตพนื ทีการศึกษาประถมศึกษาหนองบวั ลําภู เขต 2 ดา้ นที 2 ดา้ นการใชง้ านแอปพลิเคชนั ตารางที 9 แสดงค่าเฉลีย สว่ นเบยี งเบนมาตรฐานของคณุ ภาพแอปพลิเคชนั ระบบการนเิ ทศ ออนไลน์ สงั กัดสาํ นกั งานเขตพนื ทีการศึกษาประถมศึกษาหนองบวั ลําภู เขต 2 ดา้ นที 3 ดา้ นความง่ายต่อการใชง้ านแอปพลิเคชนั ตารางที 10 ความพงึ พอใจต่อแอปพลิเคชนั ระบบการนเิ ทศออนไลน์ สงั กัดสาํ นกั งาน เขตพนื ทีการศึกษาประถมศึกษาหนองบวั ลําภู เขต 2

การพั ฒนาการนิเทศในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชือไวรัสโคโรนา 2019 โดยการใช้แอปพลิเคชัน ระบบการนิเทศออนไลน์ : BEST PRACTICE 1 ส่ ว น ที ค ว า ม สาํ คั ญ / 1 ความเปนมา ความสาํ คญั และความเปนมา ตามแผนแมบ่ ทภายใตย้ ทุ ธศาสตร์ชาติ (พ.ศ.2561 - 2580) และแผนปฏริ ูปประเทศดา้ น การศึกษากาํ หนดใหม้ กี ารพฒั นาเดก็ ตงั แตร่ ะดบั ปฐมวยั ใหม้ สี มรรถนะและคณุ ลกั ษณะทดี ี สมวยั ทกุ ดา้ นโดยการปฏริ ูปกระบวนการเรียนรู้ทตี อบสนองตอ่ การเปลยี นแปลงในศตวรรษที 21 ตระหนัก ถงึ พหปุ ญญาของมนุษยท์ หี ลากหลาย มเี ปาหมายใหผ้ เู้ รียนทกุ กลมุ่ วยั ไดร้ ับการศึกษาทมี คี ณุ ภาพ ตามมาตรฐาน มที กั ษะทจี ําเปนของโลกอนาคต สามารถแกป้ ญหา ปรับตวั สอื สาร และทาํ งานร่วมกบั ผอู้ นื ไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธิผล มวี นิ ัย มนี ิสยั ใฝเรียนรู้ อยา่ งตอ่ เนืองตลอดชวี ติ รวมทงั เปนพลเมอื งทรี ู้สทิ ธิ และหน้าที มคี วามรับผดิ ชอบ และมจี ิตสาธารณะ กระทรวงศึกษาธิการ มวี สิ ยั ทศั น์ในการเปนองคก์ รหลกั ทมี งุ่ จัดการและสง่ เสริมการศึกษา ใหป้ ระชาชน มคี ณุ ธรรมนําความรู้ มคี ณุ ภาพ มศี ักยภาพในการพฒั นาตนเองตามหลกั การเศรษฐกจิ พอเพยี ง เสริมสร้างสงั คมคณุ ธรรม พฒั นาสงั คมฐานความรู้ ใหย้ นื หยดั ในเวทโี ลกบนพนื ฐานของ ความเปนไทย โดยมพี นั ธกจิ ในการเร่งรัดการปฏริ ูปการศึกษา เพอื เสริมสร้างโอกาสทางการศึกษา ใหแ้ กป่ ระชาชน ดว้ ยการพฒั นาคณุ ภาพและมาตรฐานการศึกษา รวมถงึ การพฒั นาระบบบริหาร จัดการการศึกษาทมี คี ณุ ภาพและประสทิ ธิภาพ สาํ นักงานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ จึงดาํ เนินการ จัดทาํ แผนแมบ่ ทเทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอื สารเพอื การศึกษา ของกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2557 - 2559 เพอื ใชเ้ ปนแนวทางในการพฒั นาระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอื สาร ใหม้ ี ประสทิ ธิภาพ สง่ ผลใหเ้ กดิ การใชส้ ารสนเทศทสี ามารถบรรลภุ ารกจิ ดา้ นตา่ งๆ ดว้ ยความพร้อมทจี ะ รองรับการบริหารจัดการและการเรียนการสอน รวมทงั ปรับเปลยี นการดาํ เนินงานทางอเิ ลก็ ทรอนิกส์ เพอื ทจี ะประสานความร่วมมอื กบั องคก์ รตา่ งๆไดเ้ ปนอยา่ งดี โดยแสวงหาความร่วมมอื จากผเู้ ชยี วชาญ เพอื ใหไ้ ดแ้ ผนแมบ่ ทฯทมี กี ารวเิ คราะหข์ อ้ มลู อยา่ งรอบดา้ นทงั ปจจัยภายในและภายนอก ซึงจะเน้น ใหเ้ กดิ การเชอื มโยงและมคี วามร่วมมอื จากทกุ ภาคสว่ น (รมณียา สรุ ธรรมจรรยา. 2558 : 1 - 2) ชนิ วจั น์ งามวรรณากร (2562 : 10) กลา่ วไวว้ า่ ความกา้ วหน้าทางเทคโนโลยไี ดเ้ ขา้ มามี บทบาททางดา้ นการจัดการศึกษามากขนึ โดย ในปจจุบนั มชี อ่ งทางในการศึกษาทเี ปนประโยชน์ โดยเฉพาะแอปพลเิ คชนั สอื การเรียนรู้บนอปุ กรณ์เคลอื นที ดว้ ยเทคนิคทางดา้ นการพฒั นาสอื การสอน กลายมาเปนแอปพลเิ คชนั ทสี ามารถดาวน์โหลดมาใชง้ าน และสามารถนํามาประยกุ ตใ์ ชง้ านในการ จัดการเรียนการสอน หรือเปนสอื เสริมการเรียนรู้ได้ ยคุ ทเี ทคโนโลยเี ขา้ มามบี ทบาทในชวี ติ ประจําวนั ทาํ ใหก้ ารเรียนการสอนมกี ารนําเอาเทคโนโลยเี ขา้ มาเกยี วขอ้ งในรูปแบบของสอื ตา่ ง ๆ ทงั วดิ ที ศั น์ คอมพวิ เตอร์ชว่ ยสอน รวมไปถงึ แอปพลเิ คชนั โดยการใชส้ อื ใหเ้ หมาะสมกบั ผเู้ รียนจะชว่ ยใหผ้ เู้ รียน สามารถเรียนรู้ไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ ซึงทาํ ใหเ้ กดิ การพฒั นาสอื การสอนในรูปแบบแอปพลเิ คชนั บน สมาร์ทโฟน หรือแทบ็ เลต็ โดยเปนอกี ชอ่ งทางทที าํ ใหก้ ารเรียนรู้ไมจ่ ํากดั อยแู่ ตภ่ ายในหอ้ งเรียน อกี ทงั ยงั สะดวกสามารถทบทวนบทเรียนไดท้ กุ ทตี ามตอ้ งการ จึงมคี วามจําเปนทจี ะตอ้ งใชส้ อื การเรียนรู้ที เหมาะสมแกบ่ คุ คลเหลา่ นี โดยเฉพาะอยา่ งยงิ การนําเทคโนโลยมี าใชใ้ นการเรียนการสอน ทาํ ใหต้ อบ สนองตอ่ การเรียนรู้ของผเู้ รียน มกี ารจับกลมุ่ กนั ทางอนิ เทอร์เน็ตเพอื แบง่ ปนสงิ ทสี นใจร่วมกนั รวมทงั แบง่ ปนความรู้ความชาํ นาญ และทกั ษะความสามารถตา่ งๆ ร่วมกนั (ชนิ วจั น์ งามวรรณากร. 2562 : 10) ซึงสอดคลอ้ งกบั พมิ พช์ นก อดุ มผล (2558 : 1 - 2)

การพั ฒนาการนิเทศในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชือไวรัสโคโรนา 2019 โดยการใช้แอปพลิเคชัน ระบบการนิเทศออนไลน์ : BEST PRACTICE 2 แอปพลเิ คชนั หรือชอฟตแ์ วร์ เปนโปรแกรมทางคอมพวิ เตอร์ทใี ชส้ าํ หรับปฏบิ ตั งิ าน ซึง แอปพลเิ คชนั จะมี 2 ประเภท ไดแ้ ก่ ชอฟตแ์ วร์ระบบ และชอฟตแ์ วร์ประยกุ ต์ โดยชอฟตแ์ วร์ระบบ เปนชอฟตแ์ วร์ทใี ชใ้ นการควบคมุ ดาํ เนินงานของเครือง สว่ นชอฟตแ์ วร์ประยกุ ตค์ อื ชอฟตแ์ วร์ทใี ช้ สาํ หรับงานเฉพาะอยา่ ง อาทเิ ชน่ เพอื ความบนั เทงิ เพอื การศึกษา เปนตน้ ปจจุบนั แอปพลเิ คชนั เขา้ มามบี ทบาทในชวี ติ ประจําวนั ของประชาชน ไมว่ า่ จะเปนการใชง้ านเพอื การศึกษา การสอื สาร การบนั เทงิ และอนื ๆ ปจจัยสาํ คญั ทที าํ ใหแ้ อปพลเิ คชนั เปนทตี อ้ งการอยา่ งแพร่หลาย สามารถเขา้ ถงึ ไดง้ า่ ย ไมว่ า่ จะเปนในรูปแบบของสมาร์ทโฟน แทบ็ เลต และพซี ี แนวโน้มการใชง้ าน Mobile Device อยา่ งสมาร์ทโฟนเพมิ ขนึ อยา่ งกา้ วกระโดดในชว่ ง ไมก่ ปี ทผี า่ นมา ซึงเปนผลมาจากการพฒั นา Mobile Applications และเทคโนโลยขี องตวั เครือง โทรศัพทจ์ ากคา่ ยผผู้ ลติ โทรศัพท์ โดยเฉพาะการพฒั นาตอ่ ยอดแอปพลเิ คชนั บนอปุ กรณ์เคลอื นที ของบริษทั ตา่ งๆ ทแี ขง่ ขนั กนั เพอื ชงิ ความเปนหนึงในตลาดดา้ น Mobile Application ซึงการพฒั นา แอปพลเิ คชนั แบง่ เปนการพฒั นาแอปพลเิ คชนั ระบบ (Operation System) และแอปพลเิ คชนั ชอฟตแ์ วร์ทตี อบสนองการใชง้ านบนอปุ กรณ์ และดว้ ยแอปพลเิ คชนั ทเี พมิ ขนึ และมปี ระสทิ ธิภาพมาก ขนึ ทาํ ใหผ้ ใู้ ชอ้ ปุ กรณ์เคลอื นทมี แี นวโน้มใชโ้ ปรแกรมตา่ งๆ เพอื ตอบสนองกจิ กรรมในชวี ติ ประจําวนั ไดแ้ ก่ ทาํ ธุรกรรมทางการเงนิ เชอื มตอ่ และสบื คนั ขอ้ มลู บนเครือขา่ ยอนิ เทอร์เน็ต ชมภาพยนตร์ ฟงเพลง หรือแมแ้ ตก่ ารเลน่ เกมซึงมที งั ออนไลน์และออฟไลน์ ดว้ ยอตั ราการขยายตวั ดา้ นการใชง้ าน อปุ กรณ์เคลอื นที ทาํ ใหบ้ ริษทั ชนั นําดา้ นโทรศัพทม์ อื ถอื หลายแหง่ หนั มาใหค้ วามสาํ คญั กบั การพฒั นา โปรแกรมบนโทรศัพทม์ อื ถอื โดยเชอื วา่ จะมอี ตั ราการดาวน์โหลดเพอื ใชง้ านทเี ตบิ โตอยา่ งเหน็ ไดช้ ดั (สชุ าดา พลาชยั ภริ มยศ์ ิล, 2554 : 110) จากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคตดิ เชอื ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ในประเทศ ตา่ งๆ ทวั โลก รวมถงึ การแพร่ระบาดในประเทศไทยมาตงั แตเ่ ดอื นมกราคม พ.ศ.2563 จนถงึ ปจจุบนั นี ซึงมผี เู้ ชยี วชาญทางการแพทยห์ ลายทา่ นไดแ้ สดงความคดิ เหน็ วา่ การแพร่ระบาดครังนีน่าจะใชร้ ะยะ เวลาอกี ยาวนาน จําเปนอยา่ งยงิ ทหี น่วยงานทเี กยี วขอ้ งในการจัดการศึกษาทกุ ภาคสว่ น ตอ้ งวางแผน เตรียมความพร้อมรับมอื สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรค ดงั กลา่ ว ทสี ง่ ผลกระทบอยา่ งมากตอ่ ระบบการจัดการเรียนการสอน กระทรวงศึกษาธิการตระหนักถงึ ความปลอดภยั ในชวี ติ ของนักเรียน จึงไดป้ ระกาศใหโ้ รงเรียนในสงั กดั และในกาํ กบั เลอื นการเปดภาคเรียนที 1 ปการศึกษา 2564 ออกไป พร้อมทงั ไดก้ าํ หนดแนวทางการดาํ เนินงาน เพอื ไมใ่ หก้ ารเลอื นวนั เปดภาคเรียนกระทบตอ่ โอกาส ในการเรียนรู้และสทิ ธิของนักเรียนโดยใหผ้ บู้ ริหาร ผบู้ ริหารโรงเรียน ศึกษานิเทศก์ ครู บคุ ลากร ทางการศึกษา เตรียมความพร้อมในดา้ นอาคารสถานที การจัดการเรียนการสอน และภารกจิ อนื ๆ เพอื รองรับการเปดภาคเรียน ตอ้ งสอื สาร และทาํ ความเขา้ ใจกบั ผปู้ กครอง จัดกจิ กรรมการเรียนรู้ ใหแ้ กน่ ักเรียน ซึงอาจใชร้ ูปแบบการเรียนการสอนทางไกล หรือรูปแบบอนื ๆ ไดต้ ามความเหมาะสม สาํ หรับการวางแผนการดาํ เนินการจัดการเรียนการสอนในชว่ งเวลาดงั กลา่ วนี ตอ้ งเปนการหารือ วางแผนและประสานงานร่วมกนั ของผเู้ กยี วขอ้ งทกุ ฝาย โดยเฉพาะอยา่ งยงิ ตอ้ งเปนการสร้างทาง เลอื กในการเรียนรู้ใหแ้ กน่ ักเรียน ไดเ้ ลอื กรูปแบบการเรียนรู้ไดต้ ามความสมคั รใจ โดยพจิ ารณาจาก ความพร้อมของนักเรียน ผปู้ กครองและครอบครัว รวมทงั อปุ กรณ์ทจี ําเปนในการเขา้ ถงึ การเรียนรู้ ในรูปแบบตา่ งๆ ของนักเรียนเปนสาํ คญั แตไ่ มว่ า่ จะเลอื กจัดการเรียนการสอนในรูปแบบใดกต็ าม ทกุ โรงเรียนตอ้ งตระหนักเรืองความปลอดภยั ดา้ นสขุ ภาพของนักเรียน ครู และบคุ ลากรทเี กยี วขอ้ ง ใหพ้ จิ ารณาดาํ เนินการใหเ้ ปนไปตามระดบั ของการแพร่ระบาดของโรคตดิ เชอื ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ของพนื ทตี งั โรงเรียน (สาํ นักงานคณะกรรมการการศึกษาขนั พนื ฐาน. 2564 : 1)

การพั ฒนาการนิเทศในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชือไวรัสโคโรนา 2019 โดยการใช้แอปพลิเคชัน ระบบการนิเทศออนไลน์ : BEST PRACTICE 3 ดว้ ยพฒั นาการดา้ นเทคโนโลยสี ารสนเทศในยคุ ปจจุบนั กอ่ ใหเ้ กดิ สงั คมขอ้ มลู สารสนเทศ ทเี ปนขมุ ความรู้อนั มคี ณุ คา่ มหาศาลสาํ หรับการพฒั นาองคค์ วามรู้ อกี ทงั เทคโนโลยกี ารสอื สารทลี า หน้า เชน่ อนิ เทอร์เน็ต และโปรแกรมการสอื สารรูปแบบตา่ ง ๆ ชว่ ยเพมิ โอกาสในการเขา้ ถงึ แหลง่ วทิ ยาการ รวมทงั ชอ่ งทางตดิ ตอ่ สอื สารไดอ้ ยา่ งสะดวก รวดเร็ว สง่ เสริมใหบ้ คุ คลเกดิ การเรียนรู้ ตลอดชวี ติ อนั จะนําไปสสู่ งั คมแหง่ การเรียนรู้และสงั คมแหง่ ความรู้ตามมาตรฐานการศึกษาของชาติ กลมุ่ นิเทศ ตดิ ตาม และประเมนิ ผลการจัดการศึกษา สาํ นักงานเขตพนื ทกี ารศึกษาประถม ศึกษาหนองบวั ลาํ ภู เขต 2 ซึงมภี ารกจิ หลกั ในการกาํ กบั ดแู ล ชว่ ยเหลอื แนะนําดา้ นวชิ าการ โรงเรียนในสงั กดั ตระหนักถงึ ประโยชน์ในการประยกุ ตใ์ ชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอื สาร หรือ ICT (Information and Communication Technology) เพอื งานนิเทศการศึกษา สง่ เสริมให้ การดาํ เนินกจิ กรรมและการใหบ้ ริการการนิเทศครอบคลมุ กลมุ่ เปาหมาย สะดวก รวดเร็ว ลดตน้ ทนุ คา่ ใชจ้ ่าย ตลอดจนชว่ ยสร้างเสริมทกั ษะการใช้ ICT เพอื การเรียนรู้และพฒั นาตนเองแกผ่ นู้ ิเทศและ ผรู้ ับการนิเทศพฒั นาคณุ ภาพการศึกษาใหเ้ ปนไปตามนโยบายของสาํ นักงานคณะกรรมการการศึกษา ขนั พนื ฐาน จึงไดพ้ ฒั นาแอปพลเิ คชนั นิเทศออนไลน์ เพอื ใชเ้ ปนสอื และเครืองมอื เกบ็ ขอ้ มลู เปนแนวทาง ในการแกป้ ญหาและพฒั นา ตรวจสอบ ตดิ ตามความกา้ วหน้าของการดาํ เนินงาน การสะทอ้ นผลและ การประเมนิ ผลการดาํ เนินงาน ซึงเปนเครืองมอื ทมี คี ณุ ภาพ ใชง้ า่ ย สามารถเกบ็ ขอ้ มลู ทตี อบประเดน็ ปญหา และเปนประโยชน์ในการแกป้ ญหา ปรับปรุงและพฒั นา คณุ ภาพการศึกษา สร้างความเขา้ ใจ ตรงกนั ระหวา่ งผนู้ ิเทศและผรู้ ับการนิเทศ ชว่ ยใหก้ ารนิเทศมปี ระสทิ ธิภาพ บรรลวุ ตั ถปุ ระสงค์ และชว่ ย เกบ็ รายละเอยี ดทผี รู้ ับการนิเทศไมส่ ามารถแสดงออกมาได้ และสามารถเกบ็ ขอ้ มลู นํามาเปรียบเทยี บ ผลทเี กดิ ขนึ เพอื ใชน้ ิเทศพฒั นาคณุ ภาพการศึกษา และเพอื สร้างความเขม้ แขง็ ของการนิเทศ โดยใชส้ อื ออนไลน์ เน้นการบรู ณาการ งาน/โครงการตา่ งๆ ไดแ้ ก่ การพฒั นาหลกั สตู ร การจัดการเรียนรู้เชงิ รุก (ACTIVE LEARNING) การจัดการเรียนรู้โดยใชส้ อื เทคโนโลยี ทางไกล (DLTV/DLIT) การอา่ นออก เขยี นได้ การยกระดบั ผลสมั ฤทธิทางการเรียน และการประกนั คณุ ภาพการศึกษา เพอื ใหผ้ เู้ รียนมี คณุ ภาพและมคี ณุ ลกั ษณะทพี งึ ประสงคต์ ามหลกั สตู ร กรอบแนวคดิ การนิเทศขบั เคลอื นคณุ ภาพการศกึ ษา กระบวนการบริหาร สภาพปจจุบนั / กระบวนการจัดกจิ กรรม คณุ ภาพผเู้ รียน ปญหา/ การเรียนการสอน ความตอ้ งการ/ กระบวนการนิเทศ

การพั ฒนาการนิเทศในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชือไวรัสโคโรนา 2019 โดยการใช้แอปพลิเคชัน ระบบการนิเทศออนไลน์ : BEST PRACTICE 4 นิยามศพั ทเ์ ฉพาะ แอปพลเิ คชนั หมายถงึ โปรแกรมประยกุ ตห์ รือซอฟแวร์แอปพลเิ คชนั ประเภทหนึงสาํ หรับ ใชง้ านเฉพาะทาง ซึงแตกตา่ งจากซอฟแวร์ประเภทอนื เชน่ ระบบปฏบิ ตั กิ ารทใี ชส้ าํ หรับรองรับ การทาํ งานในหลายๆ ดา้ น โดยไมจ่ ําเพาะเจาะจง แอปพลเิ คชนั เปนสงิ ทชี ว่ ยเพมิ มติ แิ ละประโยชน์ ในการใชง้ าน แอปพลเิ คชนั นิเทศออนไลน์ หมายถงึ ระบบการนิเทศทพี ฒั นาขนึ เพอื สร้างความเขม้ แขง็ ของการนิเทศโดยใชส้ อื ออนไลน์ ซึงมผี สู้ ว่ นเกยี วขอ้ งกบั การจัดการศึกษาสามารถนําไปใชไ้ ด้ การนิเทศการสอน หมายถงึ การปฏบิ ตั กิ ารนิเทศการสอนร่วมกนั ระหวา่ งผนู้ ิเทศ การสอน และผรู้ ับการนิเทศ ตามแนวทางหรือรูปแบบการนิเทศการสอน โดยใหค้ าํ ปรึกษา แนะนําชว่ ยเหลอื สนับสนุน กระตนุ้ ชแี นะ ร่วมคดิ ร่วมทาํ และดาํ เนินการสร้างเสริมกาํ ลงั ใจใหผ้ รู้ ับการนิเทศสามารถ พฒั นา ปรับปรุงการจัดการเรียนการสอน ใชส้ อื เครืองมอื และเทคโนโลยี หมายถงึ การดาํ เนินการจัดหา รวบรวม และเลอื กใชส้ อื เครืองมอื และเทคโนโลยที หี ลากหลายและทนั สมยั มคี ณุ ภาพในการนิเทศการสอน เพอื สง่ เสริมความ สามารถในการพฒั นาผเู้ รียนใหเ้ หมาะสมกบั ผรู้ ับการนิเทศ จัดทาํ ขอ้ มลู สารสนเทศ หมายถงึ การดาํ เนินการรวบรวม และจัดเกบ็ ขอ้ มลู ตา่ งๆ ทเี กยี วขอ้ ง และจําเปนตอ่ การนิเทศการสอน โดยดาํ เนินการเตรียมการวางแผน ประสานความร่วมมอื วเิ คราะห์ และประมวลผลขอ้ มลู ตา่ งๆ โดยใชเ้ ทคโนโลยที ที นั สมยั ใหข้ อ้ มลู มคี ณุ ภาพ สมบรู ณ์ ถกู ตอ้ งเปน ปจจุบนั สะดวกในการนําไปใชน้ ิเทศการสอน วางแผนการนิเทศการสอน หมายถงึ การกาํ หนดขนั ตอน และเคา้ โครงการดาํ เนินการนิเทศ การสอนเพอื สง่ เสริมความสามารถในการพฒั นาผเู้ รียนใหเ้ หมาะสมกบั ผรู้ ับการนิเทศ เพอื ใหบ้ รรลผุ ล สาํ เร็จ ตามเปาหมาย โดยนําขอ้ มลู สารสนเทศตง่ ๆ มาเปนกรอบจัดทาํ แผน มกี ารทาํ งานร่วมกนั กบั ผู้ เกยี วขอ้ ง มกี ารกาํ หนดปฏทิ นิ การนิเทศทนี ําไปสกู่ ารปฏบิ ตั ไิ ด้ และมกี ารประเมนิ ปรับปรุงแผนการ ดาํ เนินงานใหด้ ขี นึ การประเมนิ ผลการนิเทศการสอน หมายถงึ การดาํ เนินการสร้างความรู้ ความเขา้ ใจแกผ่ ู้ รับการนิเทศ เกยี วกบั การประเมนิ ผล การมสี ว่ นร่วมในการประเมนิ และดาํ เนินการประเมนิ ผลการ นิเทศ ตามภารกจิ ทงั กอ่ นนิเทศ ระหวา่ งนิเทศ และภายหลงั นิเทศอยา่ งเปนระบบ มกี ารใชป้ ระโยชน์ จากผลการประเมนิ และประเมนิ ผลการนิเทศการสอนอยา่ งตอ่ เนือง เพอื พฒั นาคณุ ภาพการศึกษา การพฒั นานวตั กรรมการนิเทศ หมายถงึ การกระทาํ การสร้าง สงิ ใหม่ หรือการพฒั นา ดดั แปลง วธิ ีการ เทคนิค สอื สงิ ประดษิ ฐ์ โดยดาํ เนินการวเิ คราะหป์ ญหา การออกแบบ การลงมอื สร้าง หาประสทิ ธิภาพ คณุ ภาพนวตั กรรม การนํานวตั กรรมไปใชใ้ นการนิเทศการจัดการเรียนรู้ใหม้ ี ประสทิ ธิภาพดขี นึ กวา่ เดมิ ผรู้ ับการนิเทศสง่ เสริมความสามารถในการพฒั นาผเู้ รียนได้ ผนู้ ิเทศการสอน หมายถงึ ผบู้ ริหารการศึกษาสาํ นักงานเขตพนื ทกี ารศึกษา ศึกษานิเทศก์ ผบู้ ริหารสถานศึกษา และครูวชิ าการ ทมี คี วามรู้ ความสามารถมปี ระสบการณ์ มหี น้าที หรือไดร้ ับ มอบหมายในการนิเทศการสอน เพอื สง่ เสริมความสามารถในการพฒั นาผเู้ รียนระดบั การศึกษา ขนั พนื ฐาน ความพงึ พอใจ หมายถงึ สภาพจิตใจ ความรู้สกึ ความคดิ และกริยาทา่ ทางทมี ตี อ่ การนิเทศ โดยใชแ้ อปพลเิ คชนั ระบบการนิเทศออนไลน์ โดยใชเ้ กณฑใ์ นการวดั 5 ระดบั คอื มากทสี ดุ มาก ปานกลาง น้อย น้อยทสี ดุ

การพั ฒนาการนิเทศในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชือไวรัสโคโรนา 2019 โดยการใช้แอปพลิเคชัน ระบบการนิเทศออนไลน์ : BEST PRACTICE 5 แนวคดิ หลกั การสาํ คญั ทเี กยี วขอ้ ง การพัฒนาการนิเทศโดยการใชแ้ อปพลิเคชนั ระบบการนิเทศออนไลน์ ในสถานการณ์ การแพร่ระบาดของโรคติดเชอื ไวรัสโคโรนา 2019 สาํ นักงานเขตพืนทีการศึกษาประถมศึกษา หนองบัวลําภู เขต 2 ทีได้ดําเนินการศึกษาแนวคิด หลักการสาํ คญั ทีเกยี วข้อง จากสอื สงิ พิมพ์ และสอื อิเล็กทรอนิกส์ เพือประมวลเปนพืนฐานความรู้ โดยแบ่งเนือหาทีศึกษาออกเปน ลําดบั ดงั นี 1. แนวคิด และทฤษฎีทีเกียวข้องกับการนิเทศการสอน 1.1 ความหมายของการนิเทศการศึกษา 1.2 ความมุ่งหมายของการนิเทศการศึกษา 1.3 บทบาทของผู้นิเทศ 1.4 ขันตอนการนิเทศการศึกษา 1.5 ประโยชน์ของการนิเทศการศึกษา 1.6 การใช้ ICT เพือการนิเทศการศึกษา 2. แนวคิด และทฤษฎีทีเกียวข้องกับแอปพลิเคชนั 2.1 ความหมายของแอปพลิเคชนั 2.2 สว่ นประกอบของแอปพลิเคชนั 2.3 ประเภทของแอปพลิเคชนั 2.4 ข้อดี และข้อจํากัดของแอปพลิเคชนั 2.5 แนวโน้มการใชง้ าน Mobile Device/TabletDevice 2.6 การพัฒนาแอปพลิเคชนั 3. การสร้างแอปพลิเคชนั ด้วย โปรแกรม Glide 3.1 โปรแกรม Glide 3.2 การสมัครเข้าใชง้ านแอปพลิเคชนั 3.3 การสร้างแอปพลิเคชนั 3.4 การเผยแพร่แอปพลิเคชนั 4. แอปพลิเคชนั ระบบการนิเทศออนไลน์ 4.1 หลักการทํางานของระบบ 4.2 แอปพลิเคชนั ระบบการนิเทศออนไลน์

การพั ฒนาการนิเทศในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชือไวรัสโคโรนา 2019 โดยการใช้แอปพลิเคชัน ระบบการนิเทศออนไลน์ : BEST PRACTICE 6 1 แนวคดิ และทฤษฎที เี กยี วขอ้ งกบั การนิเทศการสอน 1.1 ความหมายของการนิเทศการศึกษา การนิเทศการศึกษามีความหมายแตกต่างกันตามยคุ สมัย มีนักการศึกษาและนักวชิ าการ ได้ใหค้ วามหมายของการนิเทศการศึกษาไวห้ ลายความหมาย ดังนี สรุ ชาติ ภูผาผุย (2550 : 49) ได้ใหค้ วามหมายของการนิเทศการศึกษา หมายถึง กระบวนการทํางานร่วมกันระหวา่ งผู้นิเทศและผู้รับการชว่ ยเหลือ แนะนํา และพัฒนาครูและบุคลากร ทางการศึกษาใหส้ ามารถทํางานร่วมกันได้อย่างมีประสทิ ธิภาพ เน้นการร่วมคดิ ร่วมทํา ประสาน ประโยชน์ มีความสขุ ในการพัฒนาคุณภาพทางการศึกษา และคุณภาพผู้เรียน สอดคล้องเจตนารมณ์ ของหลักสตู รอย่างแท้จริง วชั รา เล่าเรียนดี (2553 : 3) กล่าววา่ การนิเทศการศึกษา หมายถงึ กระบวนการปฏบิ ัติ งานร่วมกันด้วยการชว่ ยเหลือ สนับสนุน สง่ เสริมระหวา่ งผู้ใหก้ ารนิเทศหรือผูน้ ิเทศกบั ผรู้ ับการนิเทศ หรือระหวา่ งเพือนครู เพือทีจะพัฒนาหรือปรับปรุงคณุ ภาพการจัดการศึกษาและการจัดการเรียนรู้ ของครูเพือใหไ้ ด้มาซึงประสทิ ธิผลในการเรียนรู้ของผ้เู รียน ชาญชยั อาจินสมาจาร (2552 : 5) กล่าววา่ การนิเทศการศึกษา เปนกระบวนการใหค้ าํ แนะนําและชชี อ่ งทางในลักษณะทีเปนกันเองแกค่ รูเพือการปรับปรุงตวั ของเขา ตลอดจนสภาพการ เรียนการสอนเพือใหบ้ รรลุเปาหมายทางการศึกษาทีพงึ ประสงค์ ชมุ พล ประเทพา (2553 : 48) ได้สรุปไวว้ า่ การนิเทศการศึกษา เปนกระบวนการของ การปฏิบัติงานร่วมกันระหวา่ งผู้นิเทศ คือ ผู้บริหาร ผู้รับการนิเทศ และผู้ร่วมนิเทศ โดยร่วมกันกําหนด แผนงาน โครงการนิเทศ ระยะเวลา กรอบปฏิบัติตา่ งๆ รวมทังร่วมกันสงั เกตพฤติกรรม เก็บขอ้ มูล การสอน ประชมุ สะท้อนผลร่วมกัน เพือนําไปสกู่ ารปฏิบตั ิทีเพิมประสทิ ธิภาพต่อการเรียนการสอน อรวรรณ คํายอด (2555 : 40) ได้สรุปไวว้ า่ การนิเทศการศึกษา หมายถงึ การทําความ เข้าใจและสร้างความเข้าใจร่วมกันระหวา่ งบุคลากรในโรงเรียน เกยี วกับนิเทศภายในโรงเรียน มีการ แต่งตังผู้รับผิดชอบเกียวกับการนิเทศภายในโรงเรียน ใหก้ ารสนับสนุนในดา้ นเครืองมือวสั ดุ อุปกรณ์ ตลอดจนเอกสารทีจําเปนสาํ หรับการดําเนินการตามแผนการนิเทศทีวางไว้ มีการประเมินผลรวบรวม ผลการนิเทศและเอกสารทีเกียวข้องกับการนิเทศไวอ้ ย่างเปนระบบ ธนานันต์ ดียิง (2556 : 102) ได้สรุปความหมายของการนิเทศวา่ หมายถงึ กระบวนการ ทีผู้นิเทศได้ดําเนินการใหค้ ําแนะนํา ชว่ ยเหลือ ผู้ทีได้รับการนิเทศ เพอื ใหบ้ รรลุเปาหมายทีกาํ หนดไว้ แฮริส (HARRIS. 1985 : 10) กล่าววา่ การนิเทศการสอน หมายถงึ การทีบุคลากรใน โรงเรียนกระทํากับบุคคลหรือสงิ หนึงสงิ ใดเพอื คงไวห้ รือเปลียนแปลงการปฏิบตั ิงานในโรงเรียนทสี ง่ ผลโดยตรงต่อกระบวนการสอนทีใชใ้ นการสง่ เสริมพัฒนาการเรียนรู้ของนักเรียน และตอ้ งเปนไป เพือการคงไวแ้ ละการปรับปรุงกระบวนการสอนและกระบวนการเรียนรู้ของโรงเรียน คาร์ล ดี กลิคแมน (CARL D. GLICKMAN. 1985 อ้างอิงจาก สทุ ธนู ศรีไสย.์ 2549 : 3) ได้สรุปไวว้ า่ การนิเทศการศึกษา หมายถึง หน้าทีของทางโรงเรียนในการปรับปรุงการสอนโดยให้ ความชว่ ยเหลือครูด้านการพัฒนาหลักสตู ร การใหบ้ ริการเสริมวชิ าการ การพฒั นากลุ่มและการ สนับสนุนใหค้ รูทําวจิ ัยเชงิ ปฏิบัติการ เพือนําขอ้ มลู มาปรับปรุงการสอนใหม้ ีประสทิ ธิภาพ กล่าวโดยสรุป การนิเทศการศึกษา หมายถงึ การทํางานร่วมกนั ระหวา่ งผู้นิเทศ และผรู้ ับ การนิเทศ โดยผู้นิเทศใชห้ ลักการทางวชิ าการ ใหก้ ารแนะนํา ใหค้ ําปรึกษา เสนอแนะชว่ ยเหลือ สง่ เสริม สนับสนุนผู้รับการนิเทศ และผู้รับการนิเทศยอมรับนําไปปรับปรุง พัฒนา การจัดการศึกษาโดยเฉพาะ การจัดการเรียนรู้ได้อย่างมีประสทิ ธิภาพ เพือพฒั นาผเู้ รียนใหม้ ีคณุ ภาพตามหลักสตู รอย่างแท้จริง

การพั ฒนาการนิเทศในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชือไวรัสโคโรนา 2019 โดยการใช้แอปพลิเคชัน ระบบการนิเทศออนไลน์ : BEST PRACTICE 7 1.2 ความมุ่งหมายของการนิเทศการศึกษา นักวชิ าการได้กล่าวถึงการนิเทศการศึกษาเพือปรับปรุงพฒั นาคุณภาพการศึกษาของ โรงเรียน และคุณภาพของผู้เรียน ไวด้ ังนี สมโภชน์ หลักฐาน (2550 : 60 – 61) ไดส้ รุปความมุ่งหมายของการนิเทศการศึกษาวา่ เปนกระบวนการทํางานทีมุ่งสกู่ ารปรับปรุงประสทิ ธิภาพการสอนของครู โดยการใหค้ วามรู้ เสนอแนะ ในกระบวนการจัดการเรียนรู้ของครูผู้สอน เพอื พฒั นาผเู้ รียนมคี ณุ ภาพตามมาตรฐานการเรียนรู้และ จุดมุ่งหมายของการศึกษา และในขณะเดียวกนั การนิเทศการศึกษาตอ้ งสง่ เสริมใหค้ รูผสู้ อนมคี วาม มันใจ มีขวญั และกําลังใจในการทํางาน และกระบวนการนิเทศจะเปนไปในลักษณะทีก่อใหเ้ กดิ การ ประสานสมั พันธ์อันดี ปราศจากความขัดแย้ง ปรียาพร วงศ์อนุตรโรจน์ (2553 : 226) สรุปความมุ่งหมายการนิเทศการศึกษา ไวด้ งั นี 1. เพือพัฒนาและสง่ เสริมการบริหารและงานวชิ าการของสถานศึกษา 2. เพือการบริหารงานวชิ าการในสถานศึกษาใหม้ ีประสทิ ธิภาพยิงขึน 3. เพือสาํ รวจ วเิ คราะห์ วจิ ัยและประเมินผล เพือปรับปรุงคุณภาพ และมาตรฐานการ ศึกษา 4. เพือพัฒนาหลักการ และสอื การเรียนการสอนใหไ้ ดม้ าตรฐาน และเอกสารทาง วชิ าการใหม้ ีประสทิ ธิภาพสอดคล้องกับความต้องการ และจําเปนของสถานศึกษาและครูอาจารย์ 5. เพือพัฒนาบุคลากรโดยเฉพาะครูอาจารย์ใหม้ ีความรู้ ทักษะ และประสบการณ์ อันจําเปนทีจะนําไปใชใ้ นการเรียนการสอน การจัดการศึกษาทังใหส้ ามารถแกป้ ญหาเหลา่ นันได้ อรวรรณ คํายอด (2555 : 40) ได้กล่าวถึงความมุ่งหมายของการนิเทศการศึกษาไวด้ งั นี 1. ศึกษาระบบการนิเทศงานวชิ าการและการเรียนการสอนภายในสถานศึกษา โดยร่วม เปนคณะกรรมการนิเทศภายในสถานศึกษา ร่วมวางแผนนิเทศภายในสถานศึกษาโดยใชก้ จิ กรรม ทีหลากหลายและเหมาะสมกับสถานศึกษา จัดทําเครืองมือนิเทศงานวชิ าการและการเรียนการสอน 2. ดําเนินการนิเทศงานวชิ าการและการเรียนการสอนตามทีได้รับมอบหมายสร้างความ ตระหนักความรู้ความเข้าใจกับผู้เกียวข้อง กําหนดปฏิทินการนิเทศ ดําเนินการตามแผนนิเทศ 3. ประเมินผลระบบ และกระบวนการนิเทศภายในสถานศึกษา ตังคณะกรรมการ ประเมินผลการนิเทศ จัดทําเครืองมือประเมินผลการนิเทศ ประเมินผลการนิเทศอย่างต่อเนือง 4. ประสานงานกับเขตพืนทีการศึกษา เพอื พัฒนาระบบและกระบวนการนิเทศ งาน วชิ าการและการเรียนการสอนของสถานศึกษา ขอความร่วมมือเปนวทิ ยากร พฒั นาผนู้ ิเทศเกยี วกบั ความรู้และทักษะการนิเทศงานวชิ าการ การเรียนการสอนและการสร้างเครืองมือนิเทศ ขอความร่วม มือประเมินระบบและกระบวนการนิเทศภายในสถานศึกษา 5. แลกเปลียนเรียนรู้และประสบการณ์การจัดระบบการนิเทศภายในกบั สถานศึกษาอนื หรือเครือข่ายการนิเทศภายในเขตพืนทีการศึกษา เพือเชอื มโยงกบั องค์ความรู้และประสบการณ์เดมิ ปรับปรุง พัฒนาองค์ความรู้ใหม่อย่างต่อเนืองจนเกดิ ผลดตี ่อการจัดประสบการณ์เรียนรู้ แลกเปลียน ประสบการณ์เรียนรู้ระหวา่ งครู กลุ่มสาระ สถานศึกษาหรือสถาบนั อืนๆ ธนานันต์ ดียิง (2556 : 107) ได้สรุปไวว้ า่ การนิเทศการสอนมุ่งใหค้ รูไดพ้ ัฒนาพฤตกิ รรม ในการสอนอันมีผลต่อการเรียนรู้ของผู้เรียน หากครูมีความรู้ความสามารถ มีพฤตกิ รรมและเทคนิควธิ ี การสอนทีเหมาะสมแล้วก่อใหเ้ กิดประสทิ ธิภาพการเรียนรู้ของผู้เรียนดว้ ย สรุปได้วา่ การนิเทศการศึกษาเปนการปรับปรุง พฒั นาการจัดการเรียนการสอนของครู สร้างขวญั และกําลังใจใหแ้ ก่ครู เพือพัฒนาผู้เรียนใหม้ ีมาตรฐานการเรียนรู้ โดยอาศัยการนิเทศชว่ ย เหลือ แนะนําเทคนิควธิ ีการเรียนการสอนใหม่ ๆ

การพั ฒนาการนิเทศในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชือไวรัสโคโรนา 2019 โดยการใช้แอปพลิเคชัน ระบบการนิเทศออนไลน์ : BEST PRACTICE 8 1.3 บทบาทของผู้นิเทศ สทุ ธนู ศรีไสย์ (2549 : 9 – 10) กล่าวถึงบทบาทของผนู้ ิเทศไวว้ า่ ผู้มีสว่ นรับผิดชอบ โดยตรงต่อการใหค้ ําปรึกษา แนะนําหรือใหก้ ารสนับสนุนแกค่ รู ในการปรับปรุงการสอนในหอ้ งเรียน ใหม้ ีประสทิ ธิภาพสงู ขึนเรียกวา่ ผู้นิเทศ ซึงผ้นู ิเทศทางการศึกษาหรือผู้นิเทศการสอนในปจจุบัน ได้แก่ ฝายบริหารสถานศึกษาศึกษานิเทศก์ หวั หน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ ทีปรึกษา ผู้ประสานงาน หรือบคุ คล อืน ๆ ทีเกียวข้อง เปนต้น กรองทอง จิรเดชากุล (2550 : 5 – 6) กล่าวถึงบทบาทของบคุ ลากรการนิเทศ ดังนี 1. บทบาทในการสง่ เสริมและจัดใหม้ ีการนิเทศภายในโรงเรียน เพอื ใหเ้ กิดการพัฒนา ตนเอง สามารถดําเนินงานตามนโยบายได้ถูกต้อง ทําหน้าทีนิเทศภายในโรงเรียนไดอ้ ย่างสมบูรณ์ 2. บทบาทในการใชน้ วตั กรรม เทคโนโลยี เพือการศึกษาเพือพฒั นาศักยภาพครู โดย เฉพาะการจัดการเรียนรู้ใหด้ ีขึน สง่ เสริมใหม้ ีการใชน้ วตั กรรม เทคโนโลยี ทีมีประสทิ ธิภาพนํามาปรับ ใชใ้ หเ้ หมาะสมกับครูในโรงเรียน 3. บทบาทในการจัดประชมุ อบรม มีการจัดประชมุ อบรมในรูปแบบต่าง ๆ เชน่ การประชมุ ปฏิบัติการ การสมั มนา อภิปรายกลุ่ม เปนต้น นอกจากนี ยังต้องสง่ เสริมใหค้ รูมโี อกาส เข้ารับการอบรมในการพัฒนาวชิ าชพี นําทักษะความรู้มาปฏิบัติงานได้อย่างมปี ระสทิ ธิภาพ 4. บทบาทในการติดตามประเมินผล ซึงจะชว่ ยใหค้ รูพฒั นาศักยภาพไดด้ ีขึน การ ประเมินเพือนําผลทีได้มาปรับปรุงแก้ไข ใหเ้ กดิ การพัฒนาเชงิ สร้างสรรค์ 5. บทบาทในการใชก้ ลุ่มโรงเรียน สมาคมวชิ าชพี หรือเครือข่ายเปนแนวทาง เพอื ก่อให้ เกิดประโยชน์แก่ครูในโรงเรียน โดยใชก้ ลมุ่ หรือเครือข่ายชว่ ยเหลือด้วยวธิ ีการตา่ ง ๆ เชน่ การจัด ประชมุ ทางวชิ าการ การศึกษาเอกสาร การศึกษาดูงาน ฯลฯ 6. บทบาทในการสร้างครูต้นแบบในสาขาวชิ าต่าง ๆ ซึงจะก่อใหเ้ กิดผลในการพฒั นา และเปนแบบอย่างแก่ครู ทัวไปได้ อารมณ์ ฉนวนจิตร (2551 : 41 – 42) ได้สรุปบทบาทของศึกษานิเทศก์ ดังนี 1. วางแผนงาน 2. ตรวจโรงเรียน 3. นิเทศการสอน 4. ประเมินผลการสอน 5. ควบคุมมาตรฐานการศึกษาของโรงเรียน 6. เสนอแนะ ใหค้ ําปรึกษา 7. ประสานงานระหวา่ งศึกษานิเทศก์ ครู และผู้บริหาร 8. จัดประชมุ ทางวชิ าการ อบรมครู 9. เปนวทิ ยากร 10. ผลิตและเผยแพร่เอกสารทางวชิ าการ และอุปกรณ์การศึกษา 11. ค้นควา้ ทดลอง และวจิ ัย ในเรืองเกียวกบั งานการนิเทศการสอน 12. จัดทําและปรับปรุงแผนการสอน สรุปได้วา่ ผู้นิเทศ คือ ผู้ทีมีสว่ นรับผิดชอบต่อการใหค้ าํ แนะนํา ใหก้ ารสนับสนุนแกค่ รู ประกอบด้วย ฝายบริหารสถานศึกษา ศึกษานิเทศก์ กลุ่มวชิ าการโรงเรียน หรือบุคคลอืน ๆ ทีเกยี วข้อง โดยมีบทบาท ได้แก่ การพัฒนาศักยภาพครูในการใชน้ วตั กรรม ติดตาม ประเมินผล และสนับสนุนครู ในการปรับปรุงการเรียนการสอนใหม้ ีประสทิ ธิภาพ

การพั ฒนาการนิเทศในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชือไวรัสโคโรนา 2019 โดยการใช้แอปพลิเคชัน ระบบการนิเทศออนไลน์ : BEST PRACTICE 9 1.4 ขันตอนการนิเทศการศึกษา สาํ นักงานคณะกรรมการการศึกษาขันพืนฐาน (2555ค : 8 – 124) ได้กล่าวถึง กระบวนการพัฒนาการนิเทศสวู่ ธิ ีปฏิบัติทีดี เพือเปนแนวทางสาํ หรับศึกษานิเทศก์นําไปใชพ้ ัฒนา ตนเองในการปฏิบัติงานทีรับผิดชอบในสภาวะปกติ ประกอบด้วยขนั ตอน 7 ขนั สรุปได้ ดงั นี ขันที 1 วเิ คราะหบ์ ริบท (CRITICIZING CONTEXT) การวเิ คราะหบ์ ริบทงาน/องค์กร เปนปจจัยสาํ คัญทีชว่ ยใหเ้ หน็ ภาพของาน/ องค์กรรอบด้านทังสภาพการณ์ภายใน (จุดแข็ง จุดอ่อน) และสภาพการณ์ภายนอก (โอกาส อปุ สรรค) โดยใชเ้ ทคนิคการวเิ คราะหอ์ ย่างหลากหลาย ผลทีได้จากการวเิ คราะหบ์ ริบท สามารถนําไปกาํ หนด กรอบแนวคิดในการพัฒนางานนิเทศการศึกษาได้อย่างถูกต้อง เหมาะสม ขันที 2 กําหนดกรอบแนวคิดทิศทาง (CREATING CONCEPTUAL FRAMEWORK) กรอบแนวคิดสร้างขึนจากการสงั เคราะหค์ วามต้องการตามสภาพจริงทีใช้ หลักการ ทฤษฎีและผลการวจิ ัยทีเกียวข้อง การสร้างกรอบแนวคดิ ชดั เจน ทําใหส้ ามารถจัดระบบ ข้อมูลได้ และเหน็ ความสมั พันธ์ระหวา่ งข้อมูลอย่างเปนระบบ เกิดความเขา้ ใจทีถกู ต้องตรงกนั ระหวา่ ง ผู้มีสว่ นเกียวข้อง การกําหนดกรอบแนวคิดในการพัฒนางาน ทําได้หลายลกั ษณะขึนอยูก่ บั ลักษณะ ของงาน ขอบเขตและวธิ ีปฏิบัติงาน ขันที 3 สร้างรูปแบบ เทคนิควธิ ีพัฒนางาน (CONSTRUCTING INNOVATION) การสร้างรูปแบบ เทคนิค วธิ ีการพัฒนางานนิเทศสวู่ ธิ ีปฏิบัติทีดี เปนการนํา กรอบแนวคิดทีกําหนดไวต้ ามแนวคิด ทฤษฎีและวรรณกรรมทีเกยี วข้อง โดยคัดสรรเทคนิควธิ ีการทไี ด้ ผลดีมาสงั เคราะหอ์ อกแบบจัดโครงสร้างกระบวนการ กจิ กรรม วธิ ีปฏิบตั ิ สอื และเครืองมือทีคาดวา่ จะนําสผู่ ลได้จริงสร้างเปนนวตั กรรม นําไปทดลองใช้ เกบ็ ข้อมูลมาวเิ คราะหด์ ้วยเครืองมอื ทีมีคณุ ภาพ เชอื ถือได้ และปรับปรุงใหม้ ีประสทิ ธิภาพตามเกณฑท์ ีกําหนด จึงนําไปใชก้ ับกลุ่มเปาหมายในงาน ทีต้องการ ขันที 4 ปฏิบัติการนิเทศติดตาม (CONTROLLING SUPERVISION) การนิเทศติดตาม ผู้นิเทศต้องมีข้อมูลสารสนเทศเกยี วกบั งานทีนิเทศอยา่ ง สมบูรณ์ ชดั เจนและเปนปจจุบัน รวมทังขอ้ มูลคุณภาพรายโรงเรียนและผู้รับการนิเทศรายบุคคล เพือนํามาวางแผนเลือกใชก้ ระบวนการ กิจกรรม เทคนิค และวธิ ีการนิเทศใหเ้ หมาะสมสอดคล้องกับ เปาหมายและการเรียนรู้ของผู้รับการนิเทศ ใชเ้ ครืองมือในการเก็บรวบรวมข้อมูลตรงตามสภาพจริง นําผลการนิเทศมาใชป้ รับปรุงงานใหม้ ีประสทิ ธิภาพและประสทิ ธิผลสงู ขึนอย่างตอ่ เนือง ขันที 5 ถามหาผลสาํ เร็จของงาน (CONCLUDING ACHIEVEMENT) การถามหาความสาํ เร็จของงานเปนการค้นหาคาํ ตอบตามวตั ถปุ ระสงค์ เปา หมายและสมมติฐานของงานทีกําหนดไว้ กระบวนการในการคน้ หาคาํ ตอบ นอกจากจะใชเ้ ครืองมือ ทีมีคุณภาพและวธิ ีการเก็บรวบรวมข้อมูลทีเหมาะสมเชอื ถือได้แล้ว จะต้องตรวจสอบความถูกต้อง ความครอบคลุมสอดคล้องของข้อมูลตามวตั ถุประสงค์ทีกาํ หนดและเลือกใชว้ ธิ ีการวเิ คราะหข์ ้อมลู ใชเ้ กณฑ์ในการวเิ คราะหท์ ีเหมาะสมกับลักษณะของข้อมลู สรุปผลทีวเิ คราะหไ์ ดต้ รงประเด็นตาม วตั ถุประสงค์และเปาหมายทีกําหนดสะท้อนผลของงานทีเกิดขึนจากการดําเนินงานไดถ้ กู ต้องตรงตาม ความเปนจริง ขันที 6 จัดการแลกเปลียนเรียนรู้ (CONDUCTING LEARNING EXCHANGE) การแลกเปลียนประสบการณ์ทีเกิดจากการปฏิบตั ิงานนิเทศ เปนการนําความรู้ ประสบการณ์จากการปฏิบัติงานทีประสบความสาํ เร็จมาแลกเปลียนกัน ซึงอาจดําเนินกิจกรรมแลก เปลียนในรูปเครือข่ายประเภทต่าง ๆ ได้อย่างหลากหลาย กอ่ ใหเ้ กิดการเรียนรู้ร่วมกนั อยา่ งกวา้ งขวาง

การพั ฒนาการนิเทศในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชือไวรัสโคโรนา 2019 โดยการใช้แอปพลิเคชัน ระบบการนิเทศออนไลน์ : BEST PRACTICE 10 ลึกซึง ชว่ ยใหไ้ ด้แนวปฏิบัติทีดี ชว่ ยใหไ้ ด้แนวคิดความรู้ใหม่ไปใชใ้ นการปรับปรุงการปฏบิ ตั ิ งานใหม้ ี ประสทิ ธิภาพยิงขึนถือเปนการพัฒนาแบบก้าวกระโดด (LEAP FROG) สามารถลดระยะเวลาในการ ค้นหา ค้นควา้ ทดลองเพือการปรับปรุงประสทิ ธิภาพงานของตนเอง ขันที 7 มุ่งสเู่ ครือข่าย ขยายผล ต่อยอด (CONNECTING ENHANCE NETWORK) การสร้างเครือข่ายพัฒนาการนิเทศสวู่ ธิ ีปฏิบตั ิทีดี เปนการพฒั นาผลงานด้าน การนิเทศทีเกิดจากการคิด วเิ คราะห์ ยอมรับ และตัดสนิ ร่วมกัน ซึงตอ้ งการใหค้ วามสาํ คญั ของ การขับเคลือนคุณภาพของงานนิเทศการศึกษาผา่ นกระบวนการกลุ่มทีมีเปาหมายและวตั ถปุ ระสงค์ เดียวกัน ใสใ่ จต่อการปลูกฝงความรู้สกึ ผูกพนั การมปี ฏิสมั พนั ธ์ระหวา่ งกนั การสง่ เสริมเกอื หนุนพึงพา กันภายใต้การรับรู้ มุมมองและวสิ ยั ทัศน์ร่วมกนั รูปแบบของการปฏิบัติงานผา่ นเครือขา่ ยและการ ปฏิบัติงานระหวา่ งเครือข่าย จึงมีความมันคงในเจตนารมณ์ร่วมกัน ต่อการพัฒนางานนิเทศการศึกษา สคู่ วามมีคุณภาพทีจะดําเนินงานได้อย่างเปนระบบและต่อเนือง จอมพงศ์ มงคลวนิช (2555 : 136) กล่าววา่ ขันตอนการนิเทศการศึกษาวา่ การดาํ เนิน งานการนิเทศภายในโรงเรียนจะต้องจัดกระบวนการนิเทศอย่างมีแบบแผนตามลําดบั ขนั ตอนตอ่ เนือง กันอย่างมีระบบตามวธิ ีการทางวทิ ยาศาสตร์ พร้อมด้วยเหตุผลและความเปนไปได้ นันคือ จะต้อง ประกอบด้วยการวางแผนการนิเทศ การใหค้ วามรู้ในสงิ ทีจะต้องทํา การลงมือปฏิบตั ิ การสร้างขวญั และกําลังใจ การประเมินผลกระบวนการดาํ เนินงาน และการปรับปรุงแกไ้ ขเพือพฒั นาการนิเทศใหม้ ี ประสทิ ธิภาพมากยิงขึน สรุปได้วา่ ขันตอนการนิเทศการศึกษา ประกอบด้วยขันตอนทีสาํ คญั คอื 1. ขันวางแผนการนิเทศ เปนการตังวตั ถุประสงค์ 2. ขันพัฒนาสอื และเครืองมือนิเทศ เปนการสร้างสอื และเครืองมือนิเทศ 3. ขันใหค้ วามรู้ เปนการใหค้ วามรู้ ความเขา้ ใจถงึ สงิ ทีจะดําเนินการ 4. ขันนําไปปฏิบัติ เปนการปฏิบัติงานของผู้รับการนิเทศ ผู้นิเทศ และผู้ สนับสนุนการนิเทศ 5. ขันควบคุม เปนการติดตามดูแล ใหโ้ อกาสและชนี ําใหป้ ฏิบัติ 6. ขันประเมินผล เปนการประเมินผลงานอย่างมีแบบแผน เทียงตรง

การพั ฒนาการนิเทศในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชือไวรัสโคโรนา 2019 โดยการใช้แอปพลิเคชัน ระบบการนิเทศออนไลน์ : BEST PRACTICE 11 1.5 ประโยชน์ของการนิเทศการศึกษา การนิเทศการศึกษามีประโยชน์ต่อการพัฒนาคุณภาพของครู ดังนี สทุ ธนู ศรีไสย์ (2549 : 8) กล่าวถึงประโยชน์ของการนิเทศ ดังนี 1. การนิเทศชว่ ยใหค้ รูมีความเชอื มันในตนเอง ถ้าครูยังคงมีความสนใจเกียวกบั เรือง ต่าง ๆ ในหอ้ งเรียน ครูก็จะเปนบุคคลทีทําหน้าทีได้สมบูรณ์แบบและมีความเขม้ แข็งในการปฏบิ ัตงิ าน ทุกด้าน 2. การนิเทศสนับสนุนใหค้ รูสามารถประเมินผลการทํางานได้ด้วยตนเอง ครูสามารถ มองเหน็ ด้วยตนเองวา่ ตนเองนันประสบผลสาํ เร็จในการสอนไดม้ ากน้อยเพียงใด และการปฏิบัติงาน ภายในโรงเรียนของครู สว่ นมากจะเกียวขอ้ งอย่กู บั วธิ ีการควบคุมมากกวา่ การจัดการ ดังนัน ในการ ควบคุมสงิ ใดโดยเฉพาะอย่างยิงในหอ้ งเรียน ครูจะต้องมอี ํานาจอยา่ งแท้จริง จึงจะสามารถควบคุม สงิ นันได้เหมาะสมกับสถานการณ์และสามารถมองเหน็ ความสามารถของตนเองไดอ้ ย่างชดั เจน 3. การนิเทศชว่ ยครูได้แลกเปลียนประสบการณ์ซึงกนั และกนั ครูผู้สอนแต่ละคนสามารถ สงั เกต การทํางานหรือการสอนของครูคนอืน ๆ เพือปรับปรุงการสอนของตน นอกจากนีจะมกี ารแลก เปลียนวสั ดุอุปกรณ์การสอน และรับเอาวธิ ีการสอนใหม่ ๆ จากครูคนอืนไปทดลองใช้ รวมทังเรียนรู้วธิ ี การชว่ ยเหลือใหก้ ารสนับสนุนแก่ครูคนอืน ๆ ด้วย 4. การนิเทศชว่ ยกระตุ้นครูใหม้ ีการวางแผนจัดทําจุดมุ่งหมายและแนวปฏิบตั ิไปพร้อม ๆ กัน ครูแต่ละคนสามารถใหค้ วามชว่ ยเหลือเพือนครูด้วยกัน เพอื ตดั สนิ ใจเกยี วกบั ปญหาการสอน อย่างกวา้ ง ๆ ภายในโรงเรียน การวางแผนฝก หรือใหบ้ ริการเสริมวชิ าการ การพัฒนาหลักสตู ร และ กระตุ้นใหค้ รูผู้สอนทํางานวจิ ัยเกียวกับชนั เรียน รวมทังการมีสว่ นร่วมในการปฏิบตั งิ านของครูกับกลมุ่ จะชใี หเ้ หน็ ความสามารถในการควบคุมและจัดการความน่าเชอื ถอื และความเปนนักวชิ าการของครูคน นันได้เปนอย่างดี 5. การนิเทศจะเปนกระบวนการทีท้าทายความสามารถของครูใหม้ ีความคิดเชงิ นามธรรมสงู ขึน ในขณะปฏิบัติงาน ครูผู้สอนจะไดร้ ับข้อมูลยอ้ นกลับ ซึงเปนผลจากการประเมนิ ผล ข้อมูลเหล่านี จะสะท้อนใหเ้ หน็ ข้อดีและข้อเสยี ของการปฏิบตั ิงาน รวมทังแนวคดิ หลายแนวทางทีจะใช้ เปลียนแปลง การปฏิบัติงานใหม้ ีประสทิ ธิภาพมากยิงขนึ ซึงวธิ ีการดังกล่าวจะเปนวธิ ีการหนึงทีจะ ท้าทายและชว่ ยพัฒนาแนวคิดเชงิ นามธรรม (ABSTRACT THINKING) ของครูใหส้ งู ขึนได้อีกด้วย กรองทอง จิรเดชากุล (2550 : 10) กล่าวถงึ ประโยชน์ของการนิเทศการศึกษา ดังนี 1. ครูมีขวญั กําลังใจในการทํางาน อุทิศเวลาและเสยี สละเพืองานการจัดการเรียนรู้ ตามความสามารถและศักยภาพของแต่ละบคุ คล 2. หอ้ งเรียน สงิ อํานวยความสะดวก และสภาพแวดล้อม มีความพร้อมเพอื รองรับ การปรับเปลียนทางการจัดการศึกษายุคใหม่ 3. เกิดการคิดค้นและพัฒนานวตั กรรมใหม่ ๆ ในการเรียนรู้อย่างมีประสทิ ธิภาพ 4. โรงเรียนมีเสน้ แนวโน้มการพัฒนาทีสงู ขนึ เปนองค์กรต้นแบบ มีความเปนมาตรฐาน ด้านการเรียนรู้ มุ่งสอู่ งค์กรแหง่ ความเปนเลิศในอนาคต สรุปได้วา่ การนิเทศการศึกษาเปนการชว่ ยกระตุ้นใหค้ รูมีการวางแผนการทํางาน ประเมินผลการทํางาน แลกเปลียนประสบการณ์ซึงกนั และกันในขณะปฏิบตั ิ และครูผูส้ อนจะได้รับ ข้อมูลย้อนกลับ เกิดการเปลียนแปลงการปฏิบตั ิ ทําใหง้ านมีประสทิ ธิภาพมากขึน มีการพฒั นางาน จนสง่ ผลใหน้ ักเรียนได้รับการพัฒนาได้อย่างเต็มตามศักยภาพ

การพั ฒนาการนิเทศในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชือไวรัสโคโรนา 2019 โดยการใช้แอปพลิเคชัน ระบบการนิเทศออนไลน์ : BEST PRACTICE 12 1.6 การใช้ ICT เพือการนิเทศการศึกษา ยุคโลกาภิวตั น์งานในด้านการศึกษาได้เจริญกา้ วหน้าไปมาก มีการเปลียนแปลงหลายๆ ประการ เชน่ การเปลียนแปลงหลักสตู รความรู้ในสาขาวชิ าการต่ง ๆ รวมถงึ แนวความคิด และแนวการ เรียนการสอนใหม่ ๆ เพิมขึน ตลอดจนความจริญก้าวหน้าทางเทคโนโลยีเพือการเรียนการสอน แต่ยังพบวา่ ผู้บริหาร ครู และผู้เกียวข้องจํานวนมาก ยังไม่สามารถปรับเปลียนใหท้ นั ตอ่ ความ เปลียนแปลง ปญหาดังกล่าวข้างตันสามารถจะแก้ไขได้ไดยอาศัยหรือศึกษานิเทศก์ ซึงมหี น้าทีนิเทศ การศึกษาใหค้ รู มีความเจริญงอกงามทางวชิ าการ สามารถพึงตนเองได้ และนําความรู้เหลา่ นีไปใช้ ใหเ้ ปนประโยชน์ในการพัฒนาการเรียนการสอนตามวตั ถปุ ระสงคท์ ีวางไว้ ดังนัน เรืองการนิเทศ การศึกษา จึงเปนเรืองสาํ คัญทีศึกษานิเทศก์ก็ควรจะได้ศึกษาและทําความเข้าใจในหลักการ กระบวนการ และวธิ ีการของการนิเทศการศึกษาโดยเฉพาะการนํา ICT ไปใชใ้ นการนิเทศการศึกษา เพือการเรียนการสอน การนิเทศการศึกษา เปนการดําเนินงานทีต้องใชท้ ังศาสตร์และศิลป การนิเทศการศึกษา เปนศาสตร์ เพราะมีหลักการ แนวคิด ทฤษฎี และองคค์ วามรู้ทีมาจากเหตุและผล ทผี า่ นการพิสจู น์จน เปนริธีการทีจะนํามาใชแ้ ก้ปญหาทียอมรับแล้ววา่ นํามาใชแ้ ก้ปญหาได้การนิเทศการศึกษาเปนศิลป เพราะการนิเทศการศึกษาต้องอาศัย ความรู้ ทักษะประสบการณ์กระบวนการ ทังด้านจังหวะ เวลา กาลเทศะ สงิ แวดล้อม วธิ ีการหลาย ๆ อย่างประกอบเข้าดว้ ยกนั จึงจะทําใหก้ ารนิเทศประสบผลสาํ เร็จ ศึกษานิเทศก์ก็มีบทบาททีสาํ คัญยิงทีต้องปฏิบัติการนิเทศติดตามอย่างต่อเนืองกับบุคลากรในโรงเรียน ได้แก่ ผู้บริหาร ครู นักเวยี น และผู้ทีเกียวซ้อง เพอื ใหท้ ราบปญหาตา่ ง ๆ จึงจะชว่ ยแกไ้ ขปรับปรุง คุณภาพการศึกษาใหส้ ามารถพัฒนาได้สอดคล้องกับปญหาและความต้องการของบุคลากรใน โรงเรียนได้อย่างดี การนิเทศ ติดตามและประเมินผลการใช้ ICT เพือการเรียนการสอน เปนภารกิจหนึง ของศึกษานิเทศก์ ไดยกลุ่มนิเทศ ติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษา ซึงมีภารกจิ ในการดําเนิน การแบ่งเปนกลุ่มงานต่าง ๆ ได้แก่ งานธุรการ กลุ่มงานพัฒนาหลักสตู รการศึกษาขนั พืนฐานและ กระบวนการเรียนรู้ กลุ่มงานวดั ผลและประเมินผลการศึกษา กลุ่มงานสง่ เสริมและพฒั นาสอื นวตั กรรม และเทคโนโลยีทางการศึกษา กลุ่มงานนิเทศ ติดตามและประเมินผลระบบบริหารและการจัดการ ศึกษา กลุ่มงานสง่ สริมพัฒนาระบบการประกนั คณุ ภาพการศึกษา และกลุ่มงานเลขานุการคณะ กรรมการ ติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผล และนิเทศการศึกษา ซึงศึกษานิเทศกท์ ุกกลุ่มงานควรจะมี ความสามารถในการนิเทศ ติดตามและประเมินผลด้านการใช้ ICT เพือการเรียนการสอนได้ จากบทบาทหน้าที และภารกิจหลักด้านการนิเทศ ติตาม และประเมินผลการใช้ ICT เพือการเรียนการสอน โดยมีรายละเอียดของภาระงานดังกล่าวมาแล้วนัน ทําใหเ้ หน็ ความสมั พนั ธ์ ดา้ นองค์ความรู้ทีเกียวข้องกับศึกษานิเทศก์ทีปฏิบตั ิหน้าที และภารกจิ หลักในการนิเทศต้าน ICT เพือการเรียนการสอน

การพั ฒนาการนิเทศในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชือไวรัสโคโรนา 2019 โดยการใช้แอปพลิเคชัน ระบบการนิเทศออนไลน์ : BEST PRACTICE 13 1.6.1 ความรู้ทีเกียวกับการใช้ ICT เพือการนิเทศการศึกษา ประกอบด้วย 1. การนิเทศการศึกษา - เปนกิจกรรมทีชว่ ยใหผ้ ู้รับการนิเทศ มีเจตคติทีดตี ่อวชิ าชพี ครู มีขวญั กําลงั ใจ และมีความรู้ความสามารถทีจะปฏิบัติงานใหบ้ รรลุผลตามมาตรฐานการศึกษาของโรงเรียน และมาตรฐานการเรียนรู้ทีกําหนตไวแ้ ละยกระตับคุณภาพใหส้ งู ขึนอยู่เสมอ - เปนกิจกรรมทีดําเนินไปอย่างเปนระบบและรองรับด้วยข้อมูลสารสนเทศ - เปนกิจกรรมทีอยู่ในบรรยากาศของความร่วมมือร่วมใจเขา้ ใจอันตีต่อกนั ระหวา่ งผู้นิเทศและผู้รับการนิเทศ - เปนกิจกรรมทีเคารพในความแตกต่างระหวา่ งบคุ คลของผรู้ ับการนิเทศ - เปนกิจกรรมทีดึงศักยภาพของผู้รับการนิเทศมาใช้ และใหก้ ารยกย่อง - เปนกิจกรรมทีชว่ ยใหผ้ ู้รับการนิเทศพัฒนาตนเองใหอ้ ยู่ในระตับมาตรฐาน วชิ าชพี หรือระดับคุณภาพครูของคุรุสภาใหส้ งู ขึน และรักษาไวใ้ ด้ 2. เทคโนโลยีสารสนเทศและการสอื สาร เทคโนโลยีเปนการประยุกต์องค์ความรู้ทางวทิ ยาศาสตร์ใหส้ ามารถนํามาใชง้ าน เกิดประโยชน์ได้ เทคโนโลยีสารสนเทศและการสอื สาร ได้รับการยอมรับใหเ้ ปนสาขาหนึงของการจัด การศึกษา ทีทัวโลกใหค้ วามสนใจและพยายามวางขอบเขตของการศึกษาต้านเทคโนโลยี ทังแนวกวา้ ง และแนวลึก เพือประโยชน์สงู สดุ ตลอดจนได้นําไปสแู่ นวทางของการจัดการเรียนการสอนเทคโนโลยี ในสถาบันการศึกษา และววิ ฒั นาการด้านเทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอื สาร (Information and Communication Technology : ICT) ซึงในปจจุบนั ไดพ้ ฒั นาและเกิดการเปลยี นแปลงอยา่ งมาก การเปลียนแปลงเปนไปอย่างรวดร็วสง่ ผลตอ่ ภาคการศึกษาโดยเฉพาะด้านการเรียนการสอนผู้เรียน สามารถเรียนรู้จากสอื เทคนไลยีอย่างหลากหลาย สามารถติดต่อกับคนทังโลก สามารถคันหาข้อมูล ได้เพียงปลายนิวสมั ผัสบนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ซึงเปนขมุ ความรู้อันมหาศาล สามารถ ใชค้ วามรู้ดา้ น เทคโนโลยีสารสนเทศและการสอื สาร วทิ ยาการทีหลากหลาย มาประยุกต์ใชใ้ นการพฒั นาองคค์ วามรู้ ของตนเอง หรือหน่วยงานใหท้ ันยุค เหน็ ตัวอย่างไดช้ ดั จนจากการจัดรูปแบบการเรียนการสอนในรูป แบบ e-Learning จึงเกิดขึนอย่างมาก และรวดเร็วในยคุ นี 3. เทคโนโลยีทางการศึกษา เทคโนโลยีทางการศึกษา เปนการประยุกต์องค์ความรู้ทางนวทิ ยาศาสตร์และ วทิ ยาการสาขาอืน ๆ มาประยุกต์เพือประโยชในการจัดการศึกษา เปนการสร้างเสริมคณุ ภาพและ ประสทิ ธิภาพในการจัดการศึกษาใหเ้ ปนไปตามความต้องการ เพือพฒั นาแนวทางการจัดการศึกษาที เปนสภาวะการณ์ของการเปลียนแปลงในปจจุบนั การจัดการศึกษาตอ้ งใชว้ ธิ ีการผสมผสานทางดา้ น เทคโนโลยีจากวธิ ีการทีเคยใชม้ าในอดีตกบั แนวทางใหม่ เปนการสนับสนุนแนวทางการใหค้ วามรู้ด้วย เทคนิควธิ ีการสมัยใหม่เพือใชเ้ ปนแนวทางการปฏิบัติใหส้ อดคล้องกับสภาพปจจุบนั เปนแรงผลักดนั ด้านเทคโนโลยีในปจจุบันและทีจะเกิดขึนในอนาคตต่อไป เนืองจากเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และอินเทอร์เน็ตได้พัฒนาเติบโตอย่างรวดเร็ว และได้ก้าวมาเปนเครืองมือสาํ คัญทีเปลียนแปลงรูปแบบการเรียนการสอน การฝกอบรม รวมทังการ ถ่ายทอดความรู้โดยเฉพาะ การเรียนรู้ระบบ e-Learning ซึงหมายถงึ การเรียนรู้บนฐานเทคโนโลยี สารสนเทศซึงครอบคลุมวธิ ีการเรียนรู้หลากหลายรูปแบบ เชน่ การเรียนรู้บนคอมพิวเตอร์ (Computer Assisted Instruction) การเรียนรู้บนเวบ็ (Web Based Instruction) หอ้ งเรียนเสมอื น จริง (Virtual Classroom) เปนต้นผู้เรียนสามารถเรียนรู้ผ่านสอื อิเล็กทรอนิกส์ ทุกประเภท เชน่

การพั ฒนาการนิเทศในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชือไวรัสโคโรนา 2019 โดยการใช้แอปพลิเคชัน ระบบการนิเทศออนไลน์ : BEST PRACTICE 14 อินเทอร์เน็ต (Internet) อินทราเน็ต (Intranet) การถา่ ยทอดผ่านดาวเทียม (Satellite Broadcast) แถบบันทึกเสยี งวดี ิทัศน์ (Audia/Video tape)และซีตีรอม (CD-ROM) แต่ทีใชก้ ันอย่างมากในขณะนี คือ การเรียนการสอนผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต โดยเฉพาะการเรียนการสอนผ่านเวบ็ (Web Based Instruction : WBI) เพราะข้อมูลในรูป WBI สามารถเผยแพร่ได้รวดเร็ว และกวา้ งไกล และเนืองจากมี ผู้พัฒนาปรับปรุงแบบของสอื การเรียนการสอนนีอย่างต่อเนืองตลอดเวลาสง่ ผลใหส้ อื WBI นีสร้างได้ ง่ายใชไ้ ด้คล่อง ซึงเปนรูปแบบหนึงของ e-Learning ทีกาํ ลงั ได้รับความนิยมอยา่ งสงู ในปจจุบนั E-Learning ในรูปแบบ WBI คือ การนําเทคโนโลยีอินเทอร์เน็ต โดยเฉพาะ บริการด้านเวบ็ เพจ ซึงใชก้ ารนําเสนอตัวยตัวอักษรภาพนิง ผสมผสานกับการใชภ้ าพเคลือนไหว วดี ิทัศน์และเสยี ง เข้ามาชว่ ยในการเรียนการสอน การถา่ ยทอดความรู้และการอบรม โดยองค์ ประกอบเหล่านีเปนปจจัยสาํ คัญในการสร้างสรรคใ์ หเ้ กิดการศึกษาในรูปแบบของ E-Learning การเรียนรูปแบบนีจะมีการนําเสนอเนือหาหรือข้อมูลโดยใชว้ ธิ ีการนําเสนอใหม้ ีความน่าสนใจ เนืองจาก E-Learning มีเทคโนโลยีมัลติมเี ดีย และการจัดการเรียนในลักษณะนีต้องมีการบริหาร จัดการเรียนทีดี ผู้เรียนต้องมีความรับผิดชอบในการเรียน จึงจะทําใหก้ ารเรียนมปี ระสทิ ธิภาพ ซึงผู้ เรียนสามารถฝกทําแบบฝกหดั หรือวดั ผลความรู้จากแบบทสอบทีมีอยู่ในระบบได้หลังจากทีศึกษา เนือหาในสว่ นนันเสร็จสนิ แล้ว เมือมีการเรียนการสอนระบบ e-Learning ขึน สงิ ทีเขา้ มาใชเ้ ปนสอื ในการถ่ายทอดเนือหาการเรียนการสอน ดังตัวอย่างนี E-Book เปนหนังสอื หรือเอกสารในรูปแบบของสงิ พิมพอ์ ิเล็กทรอนิกส์ เพือใชใ้ นการเรียนการสอนผ่านเครือข่ายซึงผู้เรียนสามารถเขา้ ไปสรู่ ะบบเครือข่ายเพือศึกษาบทเรียน เหมือนเปดเอกสารอ่าน E-Library หอ้ งสมุดอิเล็กทรอนิกสท์ ีใชใ้ นเครือข่าย มีลักษณะเหมือนกับ หอ้ งสมุดทัวไปต่างกันทีอยู่ในรูปของข้อมูลติจิตอลเท่านัน ซึงสามารถค้นควา้ หาข้อมลู ตา่ ง ๆ ผา่ น เครือข่ายได้ Virtual Lab เปนหอ้ งปฏิบัติการจําลองทีสามารถเข้ามาทําการทลอง ตามคําแนะนําทีใหไ้ ว้ หรือการทดลองในรูปแบบของ simulation Video เปนการสร้างเนือหาในรูปแบบของวดี ิโอ หรือการบนั ทึกเสยี ง เพือใหส้ ามารถเรียกผ่านได้ทางเครือข่ายคอมพิวเตอร์โดยกระจายสญั ญาณภาพแบบ streaming Virtual Classroom กรสร้างหอ้ งเวยี นจําลอง ไตยใชก้ ระดานข่าว บนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต หรือแม้แต่ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ (E-Mail) เพอื ประโยชน์ในการเรียนรู้ ผ่านเครือข่าย Web Based Instruction เปนเวบ็ เพจทีสร้างขึนมาเพือใชป้ ระโยชน์ใน การเรียนการสอนผ่านเวบ็ การเรียนการสอนระบบ E-Learning ซึงในประทศไทยขณะนีมเี วบ็ ไซต์ ต่าง ๆ ทีเปดใหบ้ ริการการเรียนการสอนระบบ 8-Learning ในลักษณะนีและเวบ็ ไซตท์ ีรู้จักกนั ดี อย่างมากมาย ตัวอย่างเชน่ www.chulaonline.com, www.elearning.au.edu เปนตน้

การพั ฒนาการนิเทศในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชือไวรัสโคโรนา 2019 โดยการใช้แอปพลิเคชัน ระบบการนิเทศออนไลน์ : BEST PRACTICE 15 1.6.2 การใช้ ICT ในการพัฒนาคุณภาพการนิเทศการศึกษา การนําเทคโนโลยีสารสนเทศและการสอื สาร (Information and Communication Technology : ICT) มาใชเ้ ปนเครืองมือในการนิเทศการศึกษาในยุคของการปฏิรูปการศึกษา ซึง การพัฒนาทางการศึกษาจะเบินการพัฒนคุณภาพของพลเมืองในประเทศ เทคโนโลยีสารสนเทศและ การสอื สาร (ICT) จึงเปนเครืองมือทีชว่ ยเพมิ ประสทิ ธิภาพของการนิเทศการศึกษา สง่ เสริมการนิเทศ การศึกษาต่อเนือง ทังยังชว่ ยจัดทําข้อมูลสารสนเทศ เพือการนิเทศการศึกษาและใชเ้ ทคโนโลยี เพือเปนเครืองมือสาํ คัญทีชว่ ยการนิเทศการศึกษาอย่างมีประสทิ ธิภาพ เทคโนโลยีจะเกยี วขอ้ งกับ การเรียนการสอน 3 ลักษณะ คือ 1. การนิเทศเกียวกับเทคโนโลยี ได้แก่ นิเทศพัฒนาระบบการทํางานของคอมพวิ เตอร์ ความสามารถในการใชร้ ะบบคอมพิวเตอร์ การจัดทําระบบขอ้ มลู สารสนเทศ การจัดการสอื สารขอ้ มูล ทางไกลผ่าน e-Mail และ Internet เปนต้น 2. การนิเทศเกียวกับการใชเ้ ทคโนโลยี ได้แก่ การใหร้ ู้ความรู้ใหม่ ๆ และการฝก ทักษะความสามารถ การใชเ้ ทคโนโลยีในการพัฒนาสอื การใชส้ อื เทคโนโลยี เชน่ ใชค้ อมพวิ เตอร์ชว่ ย สอน (CAI) โทรทัศน์ทีสง่ ผ่านดาวเทียม การคันควา้ เรืองทีสนใจผ่าน Internet เปนตนั 3. การนิเทศโดยใชเ้ ทคโนโลยี ได้แก่ การสอื สาร การนิเทศด้วยระบบ การสอื สาร 2 ทาง (Interactive) กับเทคโนโลยี เชน่ การอบรมผ่านระบบเครือข่าย การฝกทักษะกบั โปรแกรมทีให้ ข้อมูลย้อนกลับถึงความถูกต้อง (Feedback) องค์ความรู้ด้านเทคโนโลยีสามารถนํามาใชง้ านใหเ้ กิดประโยชน์ดา้ นการนิเทศ การศึกษา โดยการประยุกต์เทคโนโลยี เพอื ใชพ้ ัฒนาคุณภาพการนิทศการศึกษา เพือสง่ เสริมสนับสนุน ใหก้ ารจัดการศึกษา พัฒนา ปรับปรุงคุณภาพการจัดการศึกษาได้เปนไปตามเปาหมาย ข้อดีของการใชเ้ ทคโนโลยีด้านการนิเทศการศึกษา 1. ผู้รับการนิเทศสามารถข้าถึงได้ทุกแหง่ ทีมอี ินเทอร์เน็ต 2. สามารถนิเทศไต้ตลอ 24 ชวั ไมง ตลอตสปั าห์ 3. ผู้รับการนิทศไม่ต้องทิงงานประจําเพือมารับการนิเทศ 4. ประหยัดไม่ต้องเสยี ค่าใชจ้ ่าย เชน่ คําทีพัก คา่ เดินทาง ฯลฯ 5. การจัดการนิทศลักษณะผู้รับการนิเทศเปนศูนย์กลาง ผู้รับการนิเทศได้เขา้ รับ การนิเทศและการพัฒนาได้ไดยตรง 6. การนิเทศปนไปตามความแตกต่าง ศักยภาพและความกา้ วหน้าของผูร้ ับการนิเทศ 7. ทําใหเ้ กิดชมุ นุมชนหรือเครือข่ายสงั คมแหง่ การเรียนรู้ ผู้นิเทศ ผู้รับการนิเทศ และ ผู้มีสว่ นเกียวข้องจะมีการปฏิสมั พันธ์กับข้อมูลความรู้จํานวนมาก ทําใหเ้ กดิ การต่อยอดความรู้ 8. สามารถตรวจสอบ ทบทวนสาระเนือหาประเต็นการนิทศได้ตลอดเวลาเมือต้องการ 9. สามารถซักถาม หรือเสนอแนะ หรือแลกเปลียนความรู้ โดยการใชเ้ ครืองมือ เทคในโลยีสารสนเทศและการสอื สารได้ตลอดเวลา 10. ลดชอ่ งวา่ งระหวา่ งการสอื สารในเมืองและชนบท สร้างความเท่าเทียมกัน และ ขยายโอกาสใหผ้ ู้นิเทศ ผู้รับการนิเทศได้เรียนรู้ร่วมกัน รู้เท่าทัน และสนับสนุนนโยบายการพัฒนาระบบ เทคโนโลยี การศึกษาและเครือข่ายสารสนเทศใหด้ ีขึน 11. สร้างมูลค่าเพิมจากทรัพยากรเทคโนโลยีเพือการศึกษาทีได้ลงทุนไปแล้ว ใหใ้ ชง้ าน ทีเกิดประสทิ ธิภาพและประสทิ ธิผลสงู สดุ โดยการสร้างระบบการบริหาร การจัดการและ การพัฒนา บุคลากรทีมีประสทิ ธิภาพ

การพั ฒนาการนิเทศในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชือไวรัสโคโรนา 2019 โดยการใช้แอปพลิเคชัน ระบบการนิเทศออนไลน์ : BEST PRACTICE 16 1.6.3 ปจจัยทีสง่ ผลต่อการใช้ ICT ในการนิเทศการศึกษา ปจจัยสาํ คัญทีสง่ ผลประยุกต์ใช้ ICT ในการพัฒนาคุณภาพและประสทิ ธิภาพ การนิเทศการศึกษา 1. การประยุกต์ใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศและการสอื สารในการเพมิ ประสทิ ธิภาพ การนิเทศการศึกษา บริหารจัดการ และการใหบ้ ริการทางการศึกษา 2. การพัฒนาบุคลากรด้านการนิเทศการศึกษา ใหม้ ีความรู้ ทักษะ และศักยภาพ ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสอื สารใหส้ อดคล้องกับการพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการ สอื สารของประเทศ 3. การสง่ เสริม สนับสนุน การวจิ ัยและพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสอื สาร ในการนิเทศการศึกษา การจัดการศึกษา 4. จัดใหม้ ีการเลือกใชแ้ ละกระจายโครงสร้างพืนฐานเทคโนโลยสี ารสนเทศและ การสอื สารทีเกียวกับระบบคอมพิวเตอร์ ซอฟแวร์ปฏิบตั ิการสาํ หรับการพฒั นาการเรียนรู้ การบริหาร จัดการ และการใหบ้ ริการทางการศึกษา 5. บุคลากรทุกคนมีโอกาสเข้าถึง สามารถใช้ และมีทักษะการใชเ้ ทคโนโลยี สารสนเทศและการสอื สารเพือการนิเทศการศึกษา การจัดการศึกษา และการพฒั นาคณุ ภาพการจัด การเรียนรู้ได้ตามมาตรฐานทีหลักสตู รกําหนด 6. จัดใหม้ ีระบบเครือข่ายภายในองค์กร การเชอื มต่ออินเทอร์เน็ตใหม้ ีประสทิ ธิภาพ สงู ขึน 7. สง่ เสริมใหส้ ถานศึกษาทุกแหง่ จัดการเรียนการสอนและการใชเ้ ทคโนโลยี สารสนเทศ และการสอื สารเพือพัฒนาการเรียนรู้ รวมทังมีเวบ็ ไซต์เพอื การใหบ้ ริการทางการศึกษา 8. จัดสภาพแวดล้อมด้านการใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศและ การสอื สารเพอื พัฒนาการ เรียนรู้ เชน่ มีหอ้ งปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ในสถานศึกษา สอื อิเล็กทรอนิกส์ หนังสอื อเิ ลก็ ทรอนิกส์ (E- Book) สอื บทเรียนอิเล็กทรอนิกล์ (Courseware) ศูนย์รวมสอื (Courseware center) หอ้ งสมดุ อิเล็กทรอนิกส์ (e-Library)ศูนย์กลางข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ (Data center) เพอื ใชใ้ นการจัดการเวยี น การสอน เครืองมือติดต่อสอื สาร และการใหบ้ ริหารทางการศึกษา 9. หน่วยงานทางการศึกษาทุกแหง่ ใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอื สารในการ บริหารจัดการ มีศูนย์ปฏิบัติการ มีเวบ็ ไซต์เพอื ใหบ้ ริการข้อมูลสารสนเทศ 10. บุคลากรทางการศึกษาทุกคน มีความรู้และมีทักษะการใชเ้ ทคนโลยีสารสนเทศ และการสอื สาร ในการจัดการเรียนการสอน การบริหารจัดการ และการปฏิบัติงานตาม มาตรฐานทักษะการใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศ และการสอื สารทีสอดคล้องกับการปฏิบัตงิ าน 1 1. สนับสนุนการวจิ ัยและพัฒนา เพือการประยุกต์ใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศและการสอื สาร

การพั ฒนาการนิเทศในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชือไวรัสโคโรนา 2019 โดยการใช้แอปพลิเคชัน ระบบการนิเทศออนไลน์ : BEST PRACTICE 17 1.6.4 องค์ประกอบทีสง่ ผลต่อการใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศและการสอื สาร เพือการนิเทศ การศึกษา เพือใหบ้ รรลุวตั ถุประสงค์ และเปาหมายของการใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศและการ สอื สาร ในการนิเทศการศึกษา ดังนี 1. ด้านการใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศและการสอื สารเพือพฒั นาคณุ ภาพ สง่ เสริม สนับสนุนใหใ้ ชป้ ระโยชน์จากเทคโนโลยีสารสนทศและการสอื สารเพือการบริหารจัดการ การจัด การเรียนรู้ จากแหล่งและวธิ ีการทีหลากหลาย การพัฒนาสอื อิเล็กทรอนิกส์ การพัฒนาผสู้ อน และ บุคลากรทางการศึกษา การพัฒนาหลักสตู รใหเ้ อือต่อการประยุกต์ใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศ และการ สอื สาร เพือการจัดการเรียนการสอน การเพิมประสทิ ธิภาพการเรียนทางไกล จัดใหม้ ีศูนย์กลางขอ้ มูล อิเล็กทรอนิกส์ (Data Center) ใหม้ ีการเวยี นการสอนผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ การสง่ เสริมใหเ้ กดิ การเรียนรู้ใด้ด้วยตนเองอย่างต่อเนืองตลอดชวี ติ (Lifelong Learning) เพือนําไปสสู่ งั คมแหง่ คุณธรรม และสงั คมแหง่ ภูมิปญญาและการเรียนรู้ 2. การใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศและการสอื สารพฒั นาการบริหารจัดการ การให้ บริการทางการศึกษา การนิเทศการศึกษา การพฒั นาระบบงานคอมพิวเตอร์ การจัดระบบฐานขอ้ มลู การบริหารจัดการและพัฒนาบุคลากรทุกระดับทีเกียวข้อง การจัดใหม้ ีศูนยป์ ฏิบัติการสารสนเทศ (Oparation Center) เชอื มโยงแลกเปลียนขอ้ มลู รวมทังสง่ เสริมการใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศ และ การสอื สาร เพิมประสทิ ธิภาพการบริหารจัดการ และใหบ้ ริการทางการศึกษา ตัวยระบบอเิ ลก็ ทรอนิกส์ ทีสอดคล้องกับการปฏิรู ประบบราชการ 3. การพัฒนาบุคลากรด้านเทคโนโลยีสารสนทศและการสอื สาร เพอื รองรับความ ก้าวหน้า ด้านเทคโนโลยีสารสนทศและการสอื สารสง่ เสริมการวจิ ัยและการนําผลการวจิ ัยไปประยุกต์ ใชร้ วมทังการประสานความร่วมมือกับองคก์ รในการพฒั นาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสอื สารมาใช้ ใหเ้ กิดประโยชน์ทางการศึกษา 4. ด้านโครงสร้างพืนฐานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสอื สารเพือการศึกษาทีจัด ใหม้ ีและกระจายโครงสร้างพืนฐาน ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสอื สารอย่างทัวถึง มุ่งเน้นการจัด หาและใชท้ รัพยากรทางด้านเครือข่ายร่วมกัน จัดหาระบบคอมพวิ เตอร์และซอฟต์แวร์พืนฐานทีใชใ้ นการ ดําเนินการ เตรียมบุคลากรปฏิบัติงานด้านเทศโนโลยสี ารสนเทศและการสอื สารใหเ้ พยี งพอและมี ประสทิ ธิภาพในการใชป้ ฏิบัติงาน 5. การพัฒนาสาระทางการศึกษาและการสร้างความรู้ สนับสนุนใหเ้ จ้าของเนือหา ความรู้ และผู้ทีมีศักยภาพในการผลิตข้อมูลความรู้ เร่งสร้าง และเผยแพร่ความรู้ออกสสู่ าธารณะในวง กวา้ งอย่างมีประสทิ ธิภาพ ครอบคลุมการพัฒนาและประยุกต์สารสนเทศ (Information) และความรู้ (Knowledge) ทีสนับสนุนการเรียนรู้ทีมีผู้เวยี นเปนศูนย์กลาง พัฒนาทรัพยากรมนุษย์ทีมคี ณุ ภาพมี คุณธรรม เพือลดความเหลือมลาของการเข้าถึงและรับบริการการศึกษาและการเรียนรู้ และรองรับการ พัฒนาสสู่ งั คมแหง่ ภูมิปญญาและการเรียนรู้ 6. สง่ เสริมและสนับสนุนการวจิ ัยและพัฒนาเร่งจัดหาและพัฒนาทรัพยากรการเรียน รู้สอื การเรียนรู้และหอ้ งสมุดอิเล็กทรอนิกส์ สง่ เสริมการพฒั นาซอฟต์แวร์

การพั ฒนาการนิเทศในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชือไวรัสโคโรนา 2019 โดยการใช้แอปพลิเคชัน ระบบการนิเทศออนไลน์ : BEST PRACTICE 18 2 แนวคดิ และทฤษฎที เี กยี วขอ้ งกบั แอปพลเิ คชนั 2.1 ความหมายของแอปพลิเคชนั ศูนย์ข้อมูล Data Center Building Blocks Page (ออนไลน์) (2556 : 5) กล่าววา่ แอปพลิเคชนั หมายถึง เปนโปรแกรมทีออกแบบมาชว่ ยใหส้ ามารถทําสงิ ต่างๆ เชน่ สร้างเอกสาร แก้ไขรูปภาพ และฟงเพลงได้โดยไม่จําเปนต้องติดตังซอฟต์แวร์ทีชบั ซ้อน ในปจจุบันเวบ็ ไซตม์ ีฟงกช์ นั การทํางานทีมีประสทิ ธิภาพหลากหลายทีจะได้รับจากแอปพลิเคชนั บนเดสก์ท็อปในคอมพวิ เตอร์ ซึง เรียกรายการเหล่านีวา่ แอปพลิเคชนั ทีมีประสทิ ธิภาพ หรือเรียกสนั ๆ วา่ \"แอป\" สชุ าดา พลาชยั ภิรมย์ศิล (2554 : 110-115) กล่าวา่ แอปพลิเคชนั หมายถึง ซอฟต์แวร์ที ใชเ้ พือชว่ ยการทํางานของผู้ใช้ (User) โดย Application จะต้องมสี งิ ทีเรียกวา่ สว่ นตดิ ต่อกบั ผใู้ ช้ (UserInterface หรือ UI1) เพือเปนตัวกลางการใชง้ านต่างๆ บุรินทร์ รุจจนพันธุ์ (2548 : 63) ได้ใหค้ วามหมายของแอปพลิเคชนั ไวว้ า่ แอปพลเิ คชนั คือชอฟต์แวร์หรือโปรแกรมทีถูกเขียนขึนเพือการทํางานเฉพาะอย่างทีเราตอ้ งการ เชน่ งานสว่ นตัว งานทางด้านธุรกิจงานทางด้านวทิ ยาศาสตร์ โปรแกรมทางธุรกจิ เกมส์ ระบบฐานข้อมูล ตลอดจนตัว แปลภาษา เราอาจเรียกโปรแกรมประเภทนีวา่ Users's Program โปรแกรมประเภทนีโดยสว่ นใหญ่ มักใชภ้ าษาระดับสงู ในการพัฒนา ซึงแต่ละโปรแกรมกจ็ ะมีเงือนไขหรือแบบฟอร์มทีแตกต่างกนั ตาม ความต้องการหรือกฎเกณฑ์ของแต่ละหน่วยงานทีใช้ ปรัชกร พรหมมา (2559 : 10) แอปพลิเคชนั จะเปนโปรแกรมประยุกต์ สาํ หรับอุปกรณ์ เคลือนที เชน่ โทรศัพท์มือถือ สมาร์ทโฟน แท็บเล็ต ซึงมีการใชง้ านกันอย่างแพร่หลาย ตอบสนอง ความต้องการของมนุษย์ในทุกๆ ด้าน สะดวกในการใชง้ าน สามารถพัฒนาใหป้ ระยุกต์ใชง้ านได้ ในด้านต่างๆ ได้อย่างมีประสทิ ธภาพ สะดวก รวดเร็ว สามารถใชง้ านได้ทุกทีทุกเวลา รวมถงึ การนํา มาใชเ้ ปนสอื การศึกษาพัฒนาเพือใชเ้ ปนสว่ นหนึงของระบบการเรียนการสอนได้ คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวทิ ยาลัยราชภัฏมหาสารคาม (ม.ป.ป. : 24) แอปพลิเคชนั (Application) หรือเรียกสนั ๆวา่ แอป (App) คอื โปรแกรมอํานวยความสะดวกในด้าน ต่างๆ ทีออกแบบมาสาํ หรับแท็บเล็ตโดยเฉพาะ ซึงในแต่ละระบบปฏิบตั ิการจะมีผู้พฒั นา แอปพลเิ คชนั ขึนมามากมายเพือใหต้ รงกับความต้องการของผู้ใชง้ าน ซึงจะมีใหด้ าวโหลดทังทีฟรีและไม่ฟรี ทงั ใน ด้านการศึกษา ด้านการสอื สารหรือด้านความบนั เทิงต่างๆ เหล่านี เปนต้น คณะศึกษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยรามคําแหง (2562 : 4) แอปพลิเคชนั คือโปรแกรม หรือ กลุ่มของโปรแกรม ทีถูกออกแบบสาํ หรับอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกสแ์ บบพกพา เชน่ โทรศัพท์มือถือ แท็บเล็ต เปนต้น โดยในปจจุบันมีการพัฒนาแอปพลิเคชนั เกยี วกับการศึกษาออกมากมาย ซึงสามารถ ชว่ ยเหลือการสอนของครูทังในและนอกชนั เรียนได้อย่างมีประสทิ ธิภาพ และยังชว่ ยพฒั นาทักษะ การเรียนรู้ของผู้เรียนในด้านต่างๆได้อีกดว้ ย รวมถงึ ทังผู้สอนและผู้เรียนสามารถเขา้ ถงึ การใช้ แอปพลิเคชนั ได้ตลอดเวลา สรุปได้วา่ แอปพลิเคชนั หมายถึง โปรแกรมทีออกแบบมาชว่ ยใหส้ ามารถทําสงิ ต่างๆ เชน่ สร้างเอกสาร แก้ไขรูปภาพ และฟงเพลงได้โดยไม่จําเปนต้องติดตงั ซอฟต์แวร์ทีซับซ้อน ใชเ้ พือชว่ ยการทํางานของผู้ใช้ (User) โดย Application จะต้องมีสงิ ทีเรียกวา่ สว่ นติดต่อกับผู้ใช้ (UserInterface หรือ UI1) เพอื เปน ตัวกลางการใชง้ านต่างๆ ขียนขึนเพือการทํางานเฉพาะอย่างทีเราต้องการ

การพั ฒนาการนิเทศในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชือไวรัสโคโรนา 2019 โดยการใช้แอปพลิเคชัน ระบบการนิเทศออนไลน์ : BEST PRACTICE 19 2.2 สว่ นประกอบของแอปพลิเคชนั จักรชยั โสอินทร์ (2557 : 15) แบ่งสว่ นประกอบของแอปพลิเคชนั ออกเปน 4 สว่ น คอื Activity, Service, Content Provider และ Broadcast ดังนี 1. Activityคือ หน้าจอทีติดต่อกับผู้ใชท้ ังนีในแต่ละแอปพลิเคชนั อาจจะมีมากกวา่ 1 หน้าจอ จะทําหน้าทีเก็บสถานการณ์ใชง้ านในสว่ นต่างๆ ตัวอย่างเชน่ ในการแสดงรายการเมนู นักพัฒนาสามารถเลือกใหร้ ายการเมนูทีแสดงออกมามีภาพและคําบรรยายใต้ภาพได้ 2. Service คือ งานหรือบริการต่างๆ ทีทํางานอยู่เบอื งหลัง เชน่ ทีเปดดนตรีอยู่ขณะที ผู้ใชง้ านทํางานอืนๆ หรือใชแ้ อปพลิเคชนั อืนๆ ไปด้วย 3. Broadcast and Intent Receiver คือ การตอบสนองซึงโดยปกติแล้ว Broadcast Receiver จะเปนการตอบสนองต่อการเกดิ อีเวนต์ของระบบในวงกวา้ ง เชน่ การประกาศเตอื นวา่ แบตเตอรีใกล้จะหมดแล้ว เปนต้น นอกจากนี Intent Receiver เปนสว่ นทําใหแ้ อปพลิเคชนั อนื ๆ เข้าถึงการทํางานของ Activity และ Service ซึงในการปฏิบตั ิงานแต่ละอย่างเปนการตอบสนองการ ร้องขอจากข้อมูลหรือบริการของ Activity อืนๆ 4. Content Provider คือ สว่ นของการใหบ้ ริการข้อมูลสาํ หรับแต่ละแอปพลิเคชนั ทังนีข้อมูลสามารถเก็บอยู่ในรูปแบบของระบบไฟล์ หรือฐานข้อมูลก็ได้ เชน่ Google สามารถเขา้ ใช้ งานข้อมูลผู้ใชง้ านได้ในแอปพลิเคชนั ทีต้องการข้อมูลของผู้ใชง้ าน 2.3 ประเภทของแอปพลิเคชนั สชุ าดา พลาชยั ภิรมย์ (2556 : 59) ได้แบง่ ประเภทแอปพลิเคชนั ทีทํางานบนโทรศัพท์ มือถือ แบ่งเปน 2 ประเภทดังนี 1. แอปพลิเคชนั ระบบเปนสว่ นซอฟต์แวร์ระบบทีรองรับการใชง้ านของแอปพลิเคชนั หรือโปรแกรมต่างๆได้ 2. แอปพลิเคชนั ทีตอบสนองความต้องการของกลุ่มผู้ใชเ้ นืองจากผู้ใชม้ ีความต้องการ ใชแ้ อปพลิเคชนั แตกต่างกันจึงมีผู้ผลิตและพฒั นาแอพพลิเคชนั ใหม่ๆ ขึนเปนจํานวนมากไดแ้ ก่ - แอปพลิเคชนั กลุ่มเกม - แอปพลิเคชนั เครือข่ายสงั คมออนไลน์ - แอปพลิเคชนั กลุ่มมัลติมีเดีย ศศิธร ลิจันทร์พร (2556 : 24) แบ่งประเภทของแอปพลิเคชนั ไวด้ ังนี 1. Desktop Application คือ Application ทีทํางานบนเครือง Desktop Computer เชน่ PC หรือ Mac เปนต้น 2. Mobile Application คือ Application ทีทํางานบน Mobile Device เชน่ โทรศัพท์ มือถือ เปนต้น 3. Web Application คือ Application ทีทํางานบน Web เชน่ Gmail เปนต้น แอปพลิเคชนั (ออนไลน์). (2564) ได้กล่าวไวว้ า่ โมบายแอพฯ จะแบ่งออกเปน 3 ประเภท คือ Native Application, Hybrid Applicationและ Web Application 1. Native App (เนทีฟ แอพ) คือ Application ทีถูกพฒั นามาดว้ ย Library (ไลบรารี) หรือ SDK (เอส ดี เค) เครืองมือทีเอาไวส้ าํ หรับพัฒนาโปรแกรมหรือแอพพเิ คชนั ของ OS Mobile (โอ เอส โมบาย) นันๆ โดยเฉพาะ อาทิ Android (แอนดรอยด์) ใช้ Android SDK (แอนดร อยด์ เอส ดี เค), IOS (ไอ โอ เอส) ใช้ Objective c (ออปเจคทีฟ ซี), Windows Phone (วนิ โดว์ โฟน) ใช้ C# (ซีฉาบ) เปนต้น

การพั ฒนาการนิเทศในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชือไวรัสโคโรนา 2019 โดยการใช้แอปพลิเคชัน ระบบการนิเทศออนไลน์ : BEST PRACTICE 20 2. Hybrid Application (ไฮบริด แอปพลิเคชนั ) คอื Application ทีถกู พัฒนาขึน มาด้วยจุดประสงค์ ทีต้องการใหส้ ามารถ รันบนระบบปฏิบตั ิการได้ทุก OS โดยใช้ Framework (เฟรมเวริ ์ก) เข้าชว่ ย เพือใหส้ ามารถทํางานได้ทุกระบบปฏิบัติการ 3. Web Application (เวบ็ แอปพลิเคชนั ) คือ Application ทีถกู เขยี นขึนมาเพือ เปน Browser (บราวเซอร์) สาํ หรับการใชง้ านเวบ็ เพจต่างๆ ซึงถูกปรับแต่งใหแ้ สดงผลแต่สว่ นทีจําเปน เพือเปนการลดทรัพยากรในการประมวลผลของตัวเครืองสมาร์ทโฟน หรือ แท็บเล็ต ทําใหโ้ หลดหน้า เวบ็ ไซต์ได้เร็วขึน อีกทังผู้ใชง้ านยังสามารถใชง้ านผา่ น อินเตอร์เน็ตและอินทราเน็ต ในความเร็วตาได้ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยรามคําแหง (2562 : 6 - 7) กล่าววา่ แอปพลิเคชนั ที ทํางานบนโทรศัพท์มือถือ เรียกกวา่ \"โมบาย\" ประเภทของโมบายแอปพลิเคชนั ตามคณุ ลักษณะไว้ 2 ประเภท ดังนี 1. แอปพลิเคชนั ระบบ เปนสว่ นซอฟต์แวร์ระบบทีรองรับการใชง้ านของ แอปพลิเคชนั หรือโปรแกรมต่างๆ ได้ 2. แอปพลิเคชนั ทีตอบสนองความต้องการของกลุ่ม เนืองจากผู้ใชม้ ีความต้องการ ใชแ้ อปพลิเคชนั แตกต่างกัน จึงมีผู้ผลิตพัฒนาแอปพลิเคชนั ใหม่ๆ ขนึ เปนจํานวนมาก ได้แก่ แอปพลิเคชนั ในกลุ่มเกม ผู้ผลิตเกมจึงคิดคน้ เกมสใ์ หม่ๆ ออกสตู่ ลาดมากขึน ซึงผู้เลน่ มากนิยมเลน่ เกม ออนไลน์ รวมทังมีการเชอื มโยงกับกลุ่มเครือข่ายสงั คมออนไลน์ (Social Networking) เชน่ เกมทีอยู่ ใน Twitter หรือ Facebook เปนต้น 3. แอปพลิเคชนั ในกลุ่มเครือข่ายสงั คมออนไลน์ เพือใหผ้ ู้ใชส้ ามารถปรับข้อมูลให้ ทันสมัยตลอดเวลา เชน่ ใน Facebook, MySpace เปนต้น 4. แอปพลิเคชนั ในกลุ่มมัลติมีเดีย ได้แก่ เสยี งทีเปนไฟล์ในแบบ mp3, wav เปนต้น ภาพนิงในรูปแบบ gif, jpg เปนต้น ภาพเคลือนไหว คลิปวดิ ีโอในรูปแบบ mp4 หรือ avi เปนต้น สรุปได้วา่ ระบบแอปพลิเคชนั ทีใชอ้ ยู่ในปจจุบนั มี 2 รูปแบบ คือ 1) iPhone OS พัฒนาโดยบริษัท Apple เพอื รองรับการทํางานของแอปพลิเคชนั ต่างๆ ของ iPhone โดยตรง โดยกลุ่มทีนิยมใช้ iPhone จะเปนผู้ทีชนื ชอบทางด้านมลั ติมเิ ดีย เชน่ การ ฟงเพลง ดูหนัง หรือการเล่นเกม เปนต้น บริษัทเกมหลายแหง่ จึงทําการผลิตเกมขึนมาเพอื รองรับการ ทํางานบน iPhone โดยเฉพาะ ซึงผู้ใชส้ ามารถซือแอปพลิเคชนั ต่างๆ บนอินเทอร์เน็ต แลว้ ชาํ ระเงิน ผ่านทางบัตรเครดิต ซึงเปนธุรกิจอีกหนึงประเภททีกําลงั เติบโตไปพร้อมกับธุรกิจในกล่มุ สมาร์ทโฟน 2) Android พัฒนาโดยบริษัท Google เปนระบบปฏิบตั ิการล่าสดุ ทีกําลังเปนทีนิยม รองรับการเชอื มต่ออินเทอร์เน็ตแบบเรียลไทม์ เพอื ใชบ้ ริการจากกเู กลิ ได้อย่างเต็มที ทัง Search Engine, Gmail, Google Calendar, Google Docs และ Google Maps มีจุดเด่นคือ เปนระบบ ปฏิบัติการแบบ Open Soure ซึงทําใหม้ ีการพฒั นาไปอยา่ งรวดเร็ว ซึงตอนนีมีโปรแกรมต่างๆ ใหเ้ ลือกใชง้ านมากมาย จึงเหมาะสาํ หรับ ผู้ทีต้องใชง้ านบริการต่างๆ จากทางกูเกิล รวมทังต้องการเชอื มต่อ อินเทอร์เน็ตอยู่ตลอดเวลา

การพั ฒนาการนิเทศในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชือไวรัสโคโรนา 2019 โดยการใช้แอปพลิเคชัน ระบบการนิเทศออนไลน์ : BEST PRACTICE 21 2.4 ข้อดี และข้อจํากัดของแอปพลิเคชนั 1) ข้อดี การพัฒนาแอปพลิเคชนั เพือสร้างรายได้หรือทําเปนธุรกจิ จะเหน็ ไดว้ า่ ทุกวนั นีชอ่ ง ทางการหารายได้กับเทคโนโลยีกําลังเปนทีนิยม หลายคนเริมหาความรู้เพืมทีจะสร้างแอปพลิเคชนั เพือหวงั วา่ จะเปนนวตั กรรมเพือดึงดูดผู้คนใหเ้ ขา้ มาใชง้ าน ยิงมียอดดาวน์โหลดมกเพยี งใด นันก็ เท่ากับวา่ ผู้สร้างแอปพลิเคชนั ก็จะมีรายได้มากเท่านัน ชอ่ งทางการขายแอปพลิเคชนั หลกั ๆ ผพู้ ฒั นา นําไปขายหรือปล่อยใหด้ าวน์โหลดฟรีที Play Store และ APP Store ดังนันตลาดแอปพลเิ คชนั บนมือถือยังมีโอกาสพัฒนาไปได้อีกไกลเพราะจะมีผใู้ ชร้ ะบบ Android และ iOS เพิมขึนทุกวนั อยา่ ง ต่อเนือง การพัฒนาแอปพลิเคชนั เพือใชใ้ นสนับสนุนภาพลักษณ์ขององคก์ รในปจจุบนั เกอื บทุกองคก์ ร จะมี Apps เปนของตัวเอง เพือความสะดวก รวดเร็วในการบริการขององคก์ ร จึงทาํ ใหส้ ร้างความ ประทับใจใหก้ ับลูกค้าได้ ยิงสะดวกมาก รวดเร็วมาก ลดการเดินทางหรือการโทรศัพท์ ยงิ สร้างภาพ ลักษณ์ขององค์กรได้มากทําใหล้ ูกค้าหนั มาใชบ้ ริการองค์กรนันๆ มากขนึ แอปพลิเคชนั กับชวี ติ ประจําวนั ปจจุบันมกี ารพฒั นาแอปพลิเคชนั ใหม่ๆ มาใหผ้ ู้ใชไ้ ด้ นํามาใชก้ ันอย่างต่อเนือง และในวงการแอปพลิเคชนั กย็ ังไดม้ ีการพฒั นาก้าวหน้าขนึ เรือยๆ และไม่มี วแี วววา่ จะหยุดการพัฒนา จึงทําใหก้ ลายเปนสงิ ทีเรียกวา่ มีอิทธิพลกับชวี ติ คนในยคุ นีไปแลว้ เพราะ แอปพลิเคชนั ทีได้สร้างขึนมานันล้วนเปนเครืองมืออํานวยความสะดวกใหแ้ ก่ผู้ใชง้ านไดเ้ ปนอย่างดี เชน่ การใหค้ วามบันเทิง การใหค้ วามรู้ข่าวสารทีมีการอัพเดทกนั อยา่ งรวดเร็ว และยงั มี Apps อีก มากมายทีสามารถใหโ้ หลดได้ตามต้องการจนทุกวนั นีมือถือสมาร์ทโฟนอย่าง iPhone กลายเปนอกี หนึงปจจัยด้านเทคโนโลยีทีหลายคนใหค้ วามสาํ คัญในการใชง้ านควบคู่ไปกบั การใชช้ วี ติ ประจําวนั ศูนย์ข้อมูล Data Center Building Blocks Page (ออนไลน์) (2556) กล่าววา่ สมรรถภาพการทํางานและประสทิ ธิพของแอปพลิเคชนั เปนสงิ สาํ คัญทีสดุ ทีผู้ดูแลการบริหารแอป พลิเคชนั คํานึงอย่างมาก โดยแอปพลิเคชนั มหี ลากหลายนานประเภท เชน่ เวบ็ เมนเฟรม ระบบบริหาร จัดการลูกค้าสมั พันธ์ แอปพลิเคชนั ทางการศึกษา และแอปพลิเคชนั ข้อมูลหลักสาํ คัญๆ อีกมากมาย นอกเหนือจากการรวบรวมโอนถ่ายข้อมูลเข้าไปอยูใ่ นเชริ ์ฟเวอร์ข้อมูลเดียวกนั ได้แลว้ ศูนยข์ ้อมลู ยังสามารถรองรับระบบสอื สารแบบ IP Communications เชน่ วดิ ีโอ และ call center ซึงตา่ งมขี อ้ กําหนดชอ่ งสญั ญาณทีแตกต่างกัน และมีความต้องการเจาะจงทีไมเ่ หมือนกัน การโอนถา่ ยรวบรวม ข้อมูลนัน มาพร้อมกับความท้าทายในการรองรับการเขา้ ไปใชง้ านแอปพลิเคชนั ต่างๆ ผ่านตัวเชริ ์ฟ เวอร์เพียงหนึงเชริ ์ฟเวอร์ โดยทังผู้ใชภ้ ายในพืนทีเดียวกนั และผู้ใชท้ ีอยู่หา่ งไกลออกไป ดงั นันการทจี ะ ลดค่าใชจ้ ่ายแอปพลิเคชนั ต่างๆ พร้อมด้วยการเพิมระยะเวลา การตลาดและการขยายตวั นัน องคก์ ร จึงจําเปนต้องใชแ้ อปพลิเคชนั ทีมีโครงสร้างพืนฐานอยบู่ นเวบ็ เพอื รองรับโครงสร้างแบu N-tier โดยในสภาพแวดล้อมทีได้ถูกรวบรวมแล้วนัน ในการดําเนินการกระบวนการตา่ งๆ ควรใชไ้ ปกบั แอปพลิเคชนั นานาประเภททีมีอยู่อย่างเต็มที และไมค่ วรเน้นไปกบั งานสอื สารง่ายๆ เชน่ SSL หรือ การจัดเก็บข้อมูลสถิตเพียงชวั คราว 1. เทคโนโลยีด้านเวบ็ และแอปพลิเคชนั ต่างๆ สามารถถ่ายเทขอ้ มูลได้ตงั แต่ชนั 4 จนถึงชนั 7 ได้ในระบบเครือข่ายอัจฉริยะภายในชนั ต่างๆ ของโครงสร้างแอปพลิเคชนั ขอ้ มูลสถติ ิ จะถูกบันทึกเก็บไวช้ วั คราวในหน่วยความจํา รวมถงึ connection เพอื ดงึ มาใชใ้ นโอกาสหน้า 2. เพิมสมรรถภาพการทํางานของเซิร์ฟเวอร์ผ่านโซลูชนั SSL offload ของ Cisco ซึงจําเปนต้องมีเพือได้รับการอนุมัติเมือถูกตรวจคน้ และขณะทําการถา่ ยโอนยา้ ยข้อมลู ระหวา่ ง SSL- encrypted session ต่างๆ 3. ขยายเชงิ ธุรกิจโดยการเปลียนแปลงแอปพลิเคชนั และเชริ ์ฟเวอร์อย่างงา่ ยดาย

การพั ฒนาการนิเทศในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชือไวรัสโคโรนา 2019 โดยการใช้แอปพลิเคชัน ระบบการนิเทศออนไลน์ : BEST PRACTICE 22 4. ปกปองสมรรถภาพการทํางานของแอปพลิเคชนั โดยใชก้ ลไกแบบ multicast และ Quality-of-Sevice (QOS) ขณะทีข้อมูลไหวเวยี นจากชอ่ งสญั ญาณเร็วของศูนยข์ ้อมลู ไปสู่ ชอ่ งสญั ญาณเชอื มโยงชา้ ของผู้ใช้ 5. แอปพลิเคชนั หลักจะได้รับการบริการชนั เลิศด้วยเทคโนโลยกี ารบริหาร และ บันทึกเก็บข้อมูลชวั คราวทีทันสมัยทีสดุ ระบบปฏิบัติการแอนดรอยด์ (ออนไลน์) (2551) กล่าวไวว้ า่ ขอ้ ดีของระบบปฏิบัติการ แอนดรอยด์ ไวด้ ังนี 1. ความเข้ากันได้ระหวา่ งมือถือกับระบบ: ด้วยความทีเปน Open-Source ทําใหค้ า่ ย มือถือสามารถหาทางออกร่วมกันในแง่ข้อกําหนดขันตาทีจะใช้ Android และด้วยความทีเปน Open- Source จึงมีคนเริมดัดแปลงใหใ้ ชก้ ับ Netbook ไดด้ ้วย 2. ราคา: Open-Source ไม่มีค่าใชจ้ ่ายในการใช้ แถมยังเขา้ กันไดก้ บั ตัวเครือง เนืองจากร่วมกันผลิต ดังนันต้นทุนผลิตจึงตา และตัวแอนดรอยด์ (ไม่รวมราคาของเครืองทีใช)้ ถูกกวา่ ios ของ iphone 3. เราสามารถพัฒนาเองโดยไม่ต้องสง่ คืนไปใหท้ ีบริษทั แม้ในต่างประเทศเหมือน เทคโนโลยีอืนๆ ก่อนหน้านี เนืองจากเปนระบบเปด จึงสามารถพัฒนาได้เอง ในสว่ นของซอฟตแ์ วร์ ภายในเครืองนัน 90% จากต่างประเทศและอีก 10% เปนของคนไทย โดยใช้ platform android ที สามารถพัฒนโปรแกรมต่างๆ ได้อย่างแทบไม่มีขีดจํากดั ตัวพัฒนาโปรแกรมใน android (SDK) นัน สามารถโหลดมาใชไ้ ด้ฟรีๆ และไม่ได้มีข้อจํากดั เหมือน iphone ทีเวลาโอนถ่ายข้อมูลระหวา่ งโทรศัพท์ กับคอมพิวเตอร์ต้องต่อสายและโอนข้อมลู ผ่าน itune เท่านัน 4. หากเทียบกับ iphone แล้ว Android เน้นในเรืองการใชง้ านแอปพลิเคชนั ทีหลากหลาย สามารถตกแต่งได้ตามใจชอบมากกวา่ 5. สามารถใชง้ านด้วยนิวได้สะดวกและลืนไหล 6. สามารถทํางานได้เร็วกวา่ windows mobile เร็วพอๆ กบั iphone ในมาตรฐาน ราคา licences ทีเท่ากัน 2) ข้อจํากัด ศูนย์ข้อมูล Data Center Building Blocks Page (ออนไลน์) (2556) กล่าวไวว้ า่ ข้อจํากัดของแอปพลิเคชนั ดังนี 1. ค่าใชจ้ ่ายในการพัฒนาสงู 2. มีขอบเขตในการใชง้ านจํากัด 3. ระบบปฏิบัติการแอนดรอยด์ในโลกของการติดต่อสอื สารในปจจุบันไดม้ ีการพฒั นา ทีก้าวหน้าเปนอย่างมาก โดยเฉพาะการสอื สารแบบไร้สาย ทีได้มีการพัฒนาความเร็วในการรับสง่ ข้อมูลทีสงู ขึน จากเดิมทีมีการสง่ ได้เพียงข้อความสนั (SMS : Sh ort Message Service) และ MMS(Multimedia Messaging Service ) ปจจุบันสามารถทําการโทรศัพท์แบบเหน็ หน้าคสู่ นทนากนั ได้ (Video Call) แต่ต้องผ่านทางระบบของวายฟาย Wi-Fi (wireless fidelity) หรือ ระบบ 3G (Third Generation of Mobile Telephone) ซึงสาํ หรับประเทศไทยแล้ว อุปกรณ์มือถือ และอุปกรณ์ พกพา สว่ นมากในตลาดจะรองรับระบบการรับสง่ ข้อมูลความเร็วสงู เปนทีเรียบร้อยแลว้ และไดร้ ับ ความนิยมจากผู้ใชง้ านเปนจํานวนมาก โดยอุปกรณ์สว่ นใหญ่ทีมีอยู่ในท้องตลาด จะมรี ะบบปฏบิ ัตกิ าร เปนของตัวเอง ทีไม่เหมือนกับระบบปฏิบัติการทีอยู่บนคอมพวิ เตอร์สว่ นบคุ คล (PC : Personal Computer)

การพั ฒนาการนิเทศในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชือไวรัสโคโรนา 2019 โดยการใช้แอปพลิเคชัน ระบบการนิเทศออนไลน์ : BEST PRACTICE 23 2.5 แนวโน้มการใชง้ าน Mobile Device/TabletDevice แนวโน้มการใชง้ าน Mobile Device/TabletDevice เพมิ ขึนอย่างรวดเร็วในชว่ งเวลา ไม่กีป เปนผลมาจากการพัฒนา Applications และ เทคโนโลยขี องตัวเครืองโทรศัพท์จากค่ายผูผ้ ลิต โทรศัพท์โดยเฉพาะการพัฒนาต่อยอดแอปพลิเคชนั ระบบบนอุปกรณ์เคลือนทีของบริษทั ตา่ งๆ ที แข่งขันกันเพือชงิ ความเปนหนึงในตลาดด้าน Application การพัฒนาแอปพลิเคชนั แบง่ เปนการ พัฒนาแอปพลิเคชนั ระบบ (Operation System) และแอปพลิเคชนั ซอฟต์แวร์ทีตอบสนองการใชง้ าน บนอุปกรณ์เนืองจากแอปพลิเคชนั ทีเพิมมากขึนและมีประสทิ ธิภาพสงู ขึน ทําใหผ้ ู้ใชง้ านอปุ กรณ์ เคลือนทีมีแนวโน้มใชโ้ ปรแกรมต่างๆเพือตอบสนองกิจกรรมในชวี ติ ประจําวนั ไดแ้ ก่ การทําธุรกรรม ทางการเงินเชอื มต่อและสบื ค้นข้อมูลบนเครือข่ายอินเทอร์เน็ตชมภาพยนตร์ ฟงเพลงหรือการเลน่ เกม ซึงมีทังออนไลน์และออฟไลน์ด้วยอัตราการขยายตัวดา้ นการใชง้ านอุปกรณ์เคลือนที ทําใหบ้ ริษทั ชนั นําด้านโทรศัพท์มือถือหลายแหง่ หนั มาใหค้ วามสาํ คัญกับการพฒั นาโปรแกรมบนโทรศัพทม์ อื ถือ โดยจะมีอัตราการดาวน์โหลดเพือใชง้ านทีเติบโตอย่างเหน็ ไดช้ ดั อุปกรณ์สอื สารทีไดร้ ับความนิยมมาก ในปจจุบัน คือ โทรศัพท์มือถือแบบสมาร์ทโฟน สดั สว่ นของยอดจําหน่ายสมาร์ทโฟนเพมิ ขึนมาก เนืองจากการพัฒนาความสามารถของโทรศัพท์มือถือทีแต่เดิมมีไวส้ นทนากนั เท่านันแตป่ จจุบันผใู้ ช้ มีกิจกรรมเพิมขึนจากการใชง้ านโทรศัพท์มือถือ เชน่ การเชอื มต่อเข้าสอู่ ินเทอร์เน็ต การเปดรับขอ้ มลู ข่าวสาร การดูหนังหรือฟงเพลง การเล่มเกมทังออนไลน์และออฟไลน์ทังนีเปนผลมาจากแอปพลิเคชนั บนอุปกรณ์เคลือนทีมีการพัฒนาต่อยอดมากขึน ทังจากคา่ ยผู้ใหบ้ ริการโทรศัพท์ หรือจากทีบริษทั พัฒนาซอฟต์แวร์หลายบริษัททีหนั มาพัฒนาโปรแกรมบนโทรศัพท์มือถอื โดยเชอื วา่ จะมีอัตราการ ดาวน์โหลดเพือใชง้ านทีเติบโตอย่างชดั เจน สงิ สาํ คัญทีทําใหอ้ ุปกรณ์ประเภท Smart Device มีมลู ค่า มากขึนก็คือ ความสามารถและความหลากหลายของแอปพลิเคชนั ต่างๆ ในประเทศไทยมีแนวโน้มวา่ จํานวนการใชง้ านผ่าน แอปพลิเคชนั มีแนวโน้มสงู ขนึ เรือยๆ ดังนันจึงหลีกเลียงไม่ไดท้ ีธุรกจิ ในอนาคต กําลังจะเคลือนตัวเข้าสนู่ วตั กรรมบนอุปกรณ์ Smart Device เหล่านี แอปพลิเคชนั ในปจจุบันนีมีการใชก้ ันอย่างแพร่หลาย เพือมาสนองความต้องการของ มนุษย์ในทุกๆ ด้านเพือใหเ้ กิดความสะดวกรวดเร็ว มีระบบทีใชท้ ํางานหลากหลาย เชน่ ios และ Android ดังนันแอปพลิเคชนั จึงถูกเขียนและพฒั นาลงใน สมาร์ทโฟน Mobile Application, Tablet เหมาะสาํ หรับธุรกิจและองค์กรต่างๆ ในการเขา้ ถงึ กลุ่มคนรุ่นใหม่ รวมถงึ ขยายการใหบ้ ริการผา่ นมือ ถือ สะดวกง่าย ทุกที ทุกเวลา การประยุกต์ใช้ เชน่ แอปพลิเคชนั สาํ หรับการท่องเทียว แอปพลิเคชนั สาํ หรับอสงั หาริมทรัพย์ แอปพลิเคชนั สาํ หรับภตั ตาคาร แอปพลิเคชนั สาํ หรับการขายสนิ ค้า แอปพลิเคชนั สาํ หรับการศึกษา แอปพลิเคชนั เพือสขุ ภาพ เปนต้น Application จึงเปนนวตั กรรมทีมีประโยชน์ในธุรกิจเพือเปนชอ่ งทางในการหารายได้ และใชเ้ พือสร้างภาพลักษณ์ขององค์กร ปจจุบันมีการพัฒนาแอปพลิเคชนั อย่างต่อเนือง จึงทําให้ แอปพลิเคชนั มีอิทธิพลกับชวี ติ คนในปจจุบันมาก แนวโน้มการใชง้ านแอปพลิเคชนั จึงเพิมขนึ อยา่ งมาก ธุรกิจในอนาคตกําลังเคลือนเข้าสนู่ วตั กรรมบนอุปกรณ์ Smart Device อุปกรณ์โมบาย จะมีอัตราถึง 1 ใน 4 จากชอ่ งทางการเข้าถึงทังหมด และมีแนวโน้มวา่ จะสงู ขึน (กิตตยิ า วงศ์นรเศรษฐ์, 2556 : 12) สรุปได้วา่ แอปพลิเคชนั จะเปนโปรแกรมประยุกต์สาํ หรับอุปกรณ์เคลือนที เชน่ โทรศัพท์ มือถือ สมาร์ทโฟน แท็บเล็ต ซึงมีการใชง้ านกันอยา่ งแพร่หลาย ตอบสนองความตอ้ งการของมนุษย์ ในทุกๆ ด้าน สะดวกในการใชง้ าน สามารถพัฒนาใหป้ ระยุกต์ใชง้ านไดใ้ นดา้ นต่างๆ ไดอ้ ย่างมี ประสทิ ธภาพ สะดวก รวดเร็ว สามารถใชง้ านได้ทุกทีทุกเวลา รวมถึงการนํามาใชเ้ ปนสอื การศึกษา พัฒนาเพือใชเ้ ปนสว่ นหนึงของระบบการเรียนการสอนได้

การพั ฒนาการนิเทศในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชือไวรัสโคโรนา 2019 โดยการใช้แอปพลิเคชัน ระบบการนิเทศออนไลน์ : BEST PRACTICE 24 2.6 การพัฒนาแอปพลิเคชนั การพัฒนาแอปพลิเคชนั ในรูปแบบ System Development Life Cycle : SDLC ซึงประกอบด้วย 7 ขันตอน โอภาส เอียมสริ ิวงศ์ (2544 อ้างใน ดาราวรรณ นนทวาส,ี 2557 : 2185- 2186) ดังนี ขันตอนที 1 การกําหนดปญหา (Problem Definition) ดําเนินการกาํ หนดเรืองทีจะ ทําการศึกษาความเปนไปได้ในการทํา ศึกษาเอกสาร กาํ หนดความต้องการและองคป์ ระกอบในการ สร้างแอปพลิเคชนั เพือการเรียนรู้ โดยนําแบบสอบถามผู้เชยี วชาญด้านสอื และเทคโนโลยี ขันตอนที 2 การวเิ คราะห์ (Analysis นําข้อมลู ทีได้จากขนั ตอนที 1 มาวเิ คราะห์ ความต้องการของแอปพลิเคชนั เพือการเรียนรู้ วา่ สอื การเรียนรู้ดงั กล่าว จะต้องทํางานอย่างไร และ เลือกใชเ้ ครืองมือการพัฒนาระบบทีเหมาะสม ขันตอนที 3 การออกแบบ (Design) ในขนั ตอนของการออกแบบมีขันตอนในการ ออกแบบสว่ นติดต่อกับผู้ใช้ ดังนี 1) กําหนดเนือหา ออกแบบรูปแบบการแสดงผล กําหนดกิจกรรมการเรียนรู้ 2) เขียนสตอรีบอร์ด (Storybo ard) เพือแสดงใหเ้ หน็ ลําดับการดาํ เนินของ แอปพลิเคชนั เพือการเรียนรู้บนระบบปฏิบัติการแอนดรอยด์ 3) การออกแบบหน้าจอ (Screen Design) ในสว่ นของแอปพลิเคชนั เพอื การเรียน รู้บนระบบปฏิบัติการแอนดรอยด์ โดยประกอบด้วย (1) การกําหนดความละเอียดภาพ (Resolution) (2) การจัดพืนทีแต่ละหน้าจอภาพในการนําเสนอ (3) การเลือกรูปแบบและขนาดของตัวอักษรทังภาษาไทยและภาษาอังกฤษ (4) การกําหนดสี ได้แก่ สขี องตัวอักษร (Font Color) , สขี องฉากหลัง (Background) , สขี องสว่ นอืนๆ (5) การกําหนดสว่ นอืนๆ ทีเปนสงิ อํานวยความสะดวกในการใชง้ าน ขันตอนที 4 การพัฒนา (Development ในการสร้างแอปพลิเคชนั บนระบบปฏิบตั ิ การแอนดรอยด์ โดยมีขันตอนการพัฒนาดังนี 1) เครืองมือทีนํามาใชใ้ นการพัฒนาแอปพลิเคชนั นี ประกอบด้วย โปรแกรม Android Studio ซึงเปนโปรแกรมทีใชส้ าํ หรับพัฒนาแอปพลิเคชนั ต่างๆ ในระบบปฏบิ ตั ิการ แอนดรอยด์, โปรแกรม JDK (Java Development Kit! และเครืองมือเสริมทีใชใ้ นการพัฒนา แอปพลิเคชนั บนระบบปฏิบัติการแอนดรอยด์ ได้แก่ Android DK (Android Software Development Kit), ADT (Android Development Tool) และ AVD (Android Visual Device) 2) ดําเนินการสร้างแอปพลิเคชนั เพือการเรียนรู้บนระบบปฏิบตั ิการแอนดรอยด์ ตามรูปแบบเทคนิควธิ ีการทีได้มาจากการวเิ คราะหใ์ นขันต้น ขันตอนที 5 การทดสอบ (Testing) นําแอปพลิเคชนั ทีพฒั นามาทําการทดลองใช้ เพือทดสอบการใชง้ านเบืองต้นของระบบกอ่ น ด้วยการสมมตติ ัวผู้วจิ ัยเปนผู้เรียน และหากมกี าร ทํางานผิดพลาดก็ใหน้ ํากลับไปแก้ไขใหม่จนกวา่ จะไดแ้ อปพลิเคซันเพือการเรียนรู้บนระบบปฏิบตั ิการ แอนดรอยด์ตามทีได้วเิ คราะหแ์ ละออกแบบไว้ ขันตอนที 6 การติดตัง (Implementation) นําแอปพลิเคชนั อัพโหลดเขา้ สรู่ ะบบ Google Play เพือนําไปเปนเครืองมือในการวจิ ัยตามขนั ตอน ขันตอนที 7 การบํารุงรักษา (Maintanance) การตรวจสอบข้อมูลและความผิด พลาดทีเกิดขึนระหวา่ งใชง้ านและแก้ไข

การพั ฒนาการนิเทศในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชือไวรัสโคโรนา 2019 โดยการใช้แอปพลิเคชัน ระบบการนิเทศออนไลน์ : BEST PRACTICE 25 3 การสร้างแอปพลเิ คชนั ดว้ ย โปรแกรม Glide 3.1 โปรแกรม Glide ในโลกยุคปจจุบันคงปฏิเสธไม่ได้ทีจะบอกวา่ โทรศัพท์สมาร์ทโฟนเปนสว่ นสาํ คญั ในชวี ติ ของเราทุก ๆ ด้าน แล้วถ้าหากเรามีไอเดียทีจะแก้ไขปญหาต่าง ๆ หรือปรับปรุงกระบวนการทาํ งาน ใหส้ ะดวกมากขึน หลายคนก็เริมคิดจะทํา Mobile App มาแกป้ ญหาตา่ ง ๆ นี ก่อนเปนอนั ดับแรก หลายคนคงไม่ได้ทีจะมีความรู้ในการพัฒนา Mobile App แต่หากเรามีความคิดทีดีแล้วอยากจะลด ขันตอนการทํางานลง ซึงปจจุบันมีบริการใหม้ ีการพฒั นา Application บน Platform เชน่ เวบ็ แอป มากมาย ซึงจะมาชว่ ยลดขันตอนหลัก ๆ คอื การเขยี นโค้ด ทีใคร ๆ กบ็ อกวา่ ยากลงได้ ในวงการศึกษา ก็คงหลีกเลียงไม่ได้ในเรืองการนําเทคโนโลยเี ข้ามาชว่ ยในการบริหารจัดการเพือเปนชอ่ งทางในการ ใหบ้ ริการแก่นักศึกษา หากมีแอปพลิเคชนั เพอื บริหารจัดการ หรือเปนแหล่งรวบรวมสอื ขอ้ มูลต่าง ๆ รวมไวใ้ นแอปพลิเคชนั เดียว คงเปนเรืองดไี มน่ ้อยทีจะชว่ ยใหม้ ีความสะดวก สบายมากยิงขึน ประหยดั เวลา ประหยัดกระดาษ และอืน ๆ อีกมากมาย การออกแบบใหแ้ อปพลิเคชนั มีความน่าสนใจ เปนอีก เรืองหนึงทีผู้สร้างแอปพลิเคชนั ต้องพิจารณา การสร้างแอปพลิเคชนั พลิเคชนั ต้องไมส่ ลับซับซ้อนมาก จนทําใหผ้ ู้ใชง้ ง และรู้สกึ ไม่อยากใชง้ านต่อไป เวบ็ ไซตท์ ีจะใชส้ ร้างแอปพลิเคชนั ทีจะแนะนําในทนี ี สร้างได้ด้วยวธิ ีการ และขันตอนทีง่ายชอื วา่ Glide ทีจะชว่ ยจัดการในด้านการแสดงผลข้อมลู ตา่ ง ๆ จาก Google Sheet ทีเรามีใหม้ าอยู่บน สมาร์ทโฟน สามารถเลือกรูปแบบการแสดงผลได้หลากหลาย แบบตามต้องการ โดยแค่เรามีข้อมูลใน Google Sheet กเ็ ปลียนเปน Mobile App ได้ง่าย ๆ Main Idea 1 4 Code 5 Deploy Plan 2 ขนั ตอนการพฒั นา 6 Monitor Mobile App ดว้ ยโปรแกรม Glide Design 3 ขันตอนเหล่านีคงต้องใชเ้ วลา บุคคลเปนอย่างมาก แต่หลายคนคงไม่ได้ทีจะมีความรู้ในการ พัฒนา mobile app ขนาดนี แต่หากเรามี idea ทีดี แล้วอยากจะลดขนั ตอนการทํางานลง จนสามารถ ทําคนเดียวได้ก็คงดี ซึงปจจุบันได้มีบริการใหม้ ีการพัฒนา application บน platform เชน่ เวบ็ แอป มากมายหลายเจ้า ซึงจะมาชว่ ยลดขันตอนหลักๆ คอื การ Code ทีใครๆ ก็บอกวา่ ยากลงได้ วนั นีก็เลย จะขอยกตัวอย่าง platform ทีชอื วา่ Glide (https://www.glideapps.com/)

การพั ฒนาการนิเทศในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชือไวรัสโคโรนา 2019 โดยการใช้แอปพลิเคชัน ระบบการนิเทศออนไลน์ : BEST PRACTICE 26 3.2 การสมัครเข้าใชง้ านแอปพลิเคชนั 3.2.1 การลงชอื เข้าใชง้ าน 1) พิมพ์ https://www.glideapps.com/ 2) คลิกทีปุม Log in 3) คลิก \"Sign in with Google\" 4) เมือ Login ได้แล้ว หน้าตาของ Application จะมีใหส้ ร้างใหม่กับ มี Template ใหเ้ ลือกสร้าง Application ใหม่ 5) เลือก Sheet ทีเปนฐานข้อมูล แล้ว จะเข้ามาสหู่ น้าของการปรับ แต่ง Application โดยระบบของ เวบ็ ไซต์จะใชช้ อื Sheet ทีสร้าง ปรับมาเปนแถบเมนู

การพั ฒนาการนิเทศในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชือไวรัสโคโรนา 2019 โดยการใช้แอปพลิเคชัน ระบบการนิเทศออนไลน์ : BEST PRACTICE 27 3.2.2 เมนูแอปพลิเคชนั Application Glide Tabs คือ สว่ นของการปรับ Layout คือ หน้าตาการแสดงผล แต่งเมนูของApplication ของ Application Preview as คือ สว่ นทีให้ Data คือ สว่ นทีแสดงรายละเอียด เลือกการแสดงผลของหน้า ข้อมูลเหมือนใน Google Sheet Layout วา่ ต้องการใหแ้ สดง ผลแบบ iOS หรือ Andriod Setting คือ สว่ นของการปรับแต่ง Application ทังสขี อง App Icon Edit Sheet คอื สว่ นทเี ชอื มกบั ของ App ชอื ของ App Google Sheet หากคลกิ เลอื ก ภาพนี ระบบจะเปดไฟล์ Google Reload Sheet คือ สว่ นทีต้องกดทุกครัง Sheet ทเี ราสร้างไวข้ นึ มา เมือมีการเพิม-ลด Sheet หรือการเพิมลด Column ในแต่ละ Sheet

การพั ฒนาการนิเทศในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชือไวรัสโคโรนา 2019 โดยการใช้แอปพลิเคชัน ระบบการนิเทศออนไลน์ : BEST PRACTICE 28 3.3 การสร้างแอปพลิเคชนั เลือก Setting ---> เลือกธีมสี ของ Application ---> ดูแถบ เมนูด้านขวา จะมีตัวเลือกใหป้ รับแต่งคือ 1. Design รูปแบบ คือ เลือกสขี อง Application จะแสดง ใน App และตัว Icon ของ App 2. Icon คือ ภาพของ Icon ทีจะปรากฎอยหู่ น้าจอ โทรศัพท์ สว่ น General เปนตัวปรับแก้ชอื Application วา่ จะตังชอื App วา่ อะไร ใครเปนผู้เขียน App สว่ นถัดไป คือการกําหนดเมนูใน Application โดยเลือก Tabs ในแถบเมนูด้านซ้าย จากนันใหเ้ ครืองหมาย + ตรงมุมบนขวา-->เลือกได้ วา่ เมนูทีจะกําหนด ต้องการใหแ้ สดงผลจาก Sheet ไหน หากต้องการเรียงลําดับเมนูใน Application ใหม่ ใหค้ ลิกทีชอื เมนูนันจากแถบมนูด้านซ้าย คลิก ค้างไวแ้ ล้วลากไปอยู่ในลําดับทีต้องการ

การพั ฒนาการนิเทศในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชือไวรัสโคโรนา 2019 โดยการใช้แอปพลิเคชัน ระบบการนิเทศออนไลน์ : BEST PRACTICE 29 สามารถเลือก Icon ของแต่ละเมนูได้ ด้วยการเลือกภาพ ด้านล่าง (ไม่สามารถอัพโหลด Icon ใหม่ได)้ สว่ นเมนูไหนทีไม่ ต้องการ เราก็สามารถคลิกเลือกเมนูนัน แล้วกดรูปถังขยะ เพือลบเมนูนันทิง ตกแต่งหน้าตาการแสดงผลของเมนู ทําได้ โดยเลือกเมนู Layout ในแถบเมนูด้านซ้าย แล้วดู ชดุ คําสงั สาํ หรับปรับแต่งด้านขวามือ เมนูแรกทีจะปรับคือ เมนู \"หน้าหลัก\" ทีต้องการให้ เหน็ เปนหน้าแรกเมือเข้า Applicaion โดยหน้าแรกจะมี Link สาํ หรับกรอกข้อมูลการนิเทศ ติดตาม และ Link สาํ หรับดูสรุปรายงานทังหมด ซึงในฐานขอ้ มูลจะเชอื มกับ Sheet ดังนัน เมือต้องการทีจะใหค้ นเข้า Application สามารถคลิกทีข้อความแล้วเข้าไปสหู่ น้า Google Form ทีกําหนดไว้ ใหเ้ รา 1 . เลือกรูปแบบการแสดงผลเปน Details 2. คลิกเครืองหมาย + ทีมุมบนขวา ตรง ตัวเลือก Buttons ใหเ้ ลือกLink

การพั ฒนาการนิเทศในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชือไวรัสโคโรนา 2019 โดยการใช้แอปพลิเคชัน ระบบการนิเทศออนไลน์ : BEST PRACTICE 30 3.4 การเผยแพร่แอปพลิเคชนั เมือสร้าง Application เรียบร้อยแล้ว ใหก้ ด Share ระบบจะประมวลผลซักพัก แล้วจะสร้าง QR code กบั Link เพอื ใชใ้ นการแชร์ save QR code เพือสง่ ต่อ กด Copy เพือคัดลอก Link สาํ หรับสง่ ต่อ

การพั ฒนาการนิเทศในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชือไวรัสโคโรนา 2019 โดยการใช้แอปพลิเคชัน ระบบการนิเทศออนไลน์ : BEST PRACTICE 31 4 แอปพลเิ คชนั ระบบการนิเทศออนไลน์ 4.1 หลกั การทาํ งานของระบบ ระบบแอปพลเิ คชนั ทจี ะสร้างขนึ สาํ หรับการใชง้ านนิเทศการศึกษาในสถานการณ์ การแพร่ระบาดของโรคตดิ เชอื ไวรัสโคโรนา 2019 เปนการประยกุ ตใ์ ชง้ านจากเครืองมอื ทมี ใี หใ้ ชฟ้ รี ในปจจุบนั โดยองคป์ ระกอบของแอปพลเิ คชนั นี จะประกอบดว้ ย 1. หน้าหลกั ทรี วบรวม LINK สาํ หรับการกรอกขอ้ มลู ทไี ดจ้ ากการนิเทศ ตดิ ตาม และ ประเมนิ ผลการจัดการศึกษา รวมประเดน็ ในการนิเทศ ตดิ ตาม และประเมนิ ผลการจัดการศึกษา 2. ระบบการนิเทศ ตดิ ตาม และประเมนิ ผลการจัดการศึกษา แยกประเดน็ ในการ นิเทศ ตดิ ตาม และประเมนิ ผลการจัดการศึกษา เปนการประยกุ ตใ์ ชข้ อ้ มลู จาก GOOGLE FORM และ GOOGLE SHEET โดยการสร้าง GOOGLE FROM เพอื ใหศ้ ึกษานิเทศก์ และผทู้ มี หี น้าทเี กยี วขอ้ งใน การนิเทศ ตามคาํ สงั สาํ นักงานเขตพนื ทกี ารศึกษาประถมศึกษาหนองบวั ลาํ ภู เขต 2 กรอกขอ้ มลู ทไี ด้ จากการนิเทศ แลว้ นําขอ้ มลู จาก GOOGLE SHEET มาสรุป 3. ระบบการรายงานผลนิเทศ ตดิ ตาม และประเมนิ ผลการจัดการศึกษา แยกประเดน็ ในการรายงานผลนิเทศ ตดิ ตาม และประเมนิ ผลการจัดการศึกษา เปนการประยกุ ตใ์ ชข้ อ้ มลู จาก GOOGLE SHEET มาสรุปโดยใช้ GOOGLE DATA STUDIO เพอื ใหผ้ รู้ ับการนิเทศสามารถดผู ลการ นิเทศของตนเองได้ และสามารถ DOWNLOAD หรือ PRINT เสนอผบู้ ริหารได้ 4. ฐานขอ้ มลู กจิ กรรมการนิเทศ เปรียบเสมอื นขอ้ มลู สรุปสาํ หรับการปฏบิ ตั งิ านของ ศึกษานิเทศก์ ทงั นี การสร้าง APPLICATION จากเครืองมอื ดงั กลา่ ว เปนการสร้างเพอื การใชง้ านเบอื ง ตน้ หากตอ้ งการสร้างเพอื ใชง้ านนอกเหนือจากนี อาจตอ้ งลองศึกษาแนวทางหรือวธิ ีการ แลว้ นํามา ประยกุ ตใ์ ชง้ านตอ่ ไป

การพั ฒนาการนิเทศในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชือไวรัสโคโรนา 2019 โดยการใช้แอปพลิเคชัน ระบบการนิเทศออนไลน์ : BEST PRACTICE 32 4.2 แอปพลเิ คชนั ระบบการนิเทศออนไลน์

การพั ฒนาการนิเทศในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชือไวรัสโคโรนา 2019 โดยการใช้แอปพลิเคชัน ระบบการนิเทศออนไลน์ : BEST PRACTICE 33 ส่ ว น ที จุ ด ป ร ะ ส ง ค์ 2 และเปาหมาย ข อ ง ก า ร ดาํ เ นิ น ง า น เปาหมายการดาํ เนินงาน เปาหมาย 1. ขา้ ราชการครูและบคุ ลากรทางการศึกษาในสงั กดั ไดร้ ับการนิเทศ เพอื พฒั นาประสทิ ธิภาพในการจัด การศึกษา โดยการใชแ้ อปพลเิ คชนั ระบบการนิเทศออนไลน์ 2. สาํ นักงานเขตพนื ทกี ารศึกษาประถมศึกษาหนองบวั ลาํ ภู เขต 2 มแี อปพลเิ คชนั ระบบการนิเทศออนไลน์ สาํ หรับนําไปใช้ ในการกาํ กบั ดแู ล ชว่ ยเหลอื แนะนําดา้ นวชิ าการใหก้ บั โรงเรียน ทกุ โรงเรียนในสงั กดั 3. โรงเรียนในสงั กดั สาํ นักงานเขตพนื ทกี ารศึกษาประถมศึกษา หนองบวั ลาํ ภู เขต 2 มแี อปพลเิ คชนั ระบบการนิเทศออนไลน์ สาํ หรับนําไปใชใ้ นการนิเทศภายใน เพอื การกาํ กบั ดแู ล ชว่ ยเหลอื แนะนําดา้ นวชิ าการใหก้ บั โรงเรียนทกุ โรงเรียนในสงั กดั จุดประสงค์ จุดประสงค์ 1. เพอื พฒั นาแอปพลเิ คชนั 2. เพอื ทดลองใชแ้ อปพลเิ คชนั 3. เพอื ศึกษาความพงึ พอใจ ระบบการนิเทศออนไลน์ ให้ ระบบการนิเทศออนไลน์ ในการใชแ้ อปพลเิ คชนั สอดคลอ้ งกบั บริบทเชงิ พนื ที สาํ นักงานเขตพนื ทกี ารศึกษา ระบบการนิเทศออนไลน์ ของสาํ นักงานเขตพนื ทกี าร ประถมศึกษาหนองบวั ลาํ ภู สาํ นักงานเขตพนื ทกี ารศึกษา ศึกษาประถมศึกษา เขต 2 ประถมศึกษาหนองบวั ลาํ ภู หนองบวั ลาํ ภู เขต 2 เขต 2

การพั ฒนาการนิเทศในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชือไวรัสโคโรนา 2019 โดยการใช้แอปพลิเคชัน ระบบการนิเทศออนไลน์ : BEST PRACTICE 34 ส่ ว น ที กระบวนการปฏิบัติงาน 3 หรือ ขันตอนการดาํ เนินงาน การพฒั นาการนิเทศในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคตดิ เชอื ไวรัสโคโรนา 2019 โดยการใชแ้ อปพลเิ คชนั ระบบการนิเทศออนไลน์ มกี ระบวนการ วธิ ีการในการวางแผนการปฏบิ ตั ิ งาน การนําสอื เครืองมอื ไปใช้ และการพฒั นาผลงาน สอื กระบวนการ วธิ ีการปฏบิ ตั ิ โดยมขี นั ตอน ดงั นี 1. ประชากรและกลมุ่ ตวั อยา่ ง 2. เครืองมอื ทใี ชพ้ ฒั นาแอปพลเิ คชนั ระบบการนิเทศออนไลน์ 3. วธิ ีการสร้างและพฒั นานวตั กรรม 4. การเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู 5. การวเิ คราะหข์ อ้ มลู และสถติ ทิ ใี ช้ 1. ประชากรและกลมุ่ ตวั อยา่ ง 1.1 ประชากรในการศึกษาครังนี ไดแ้ ก่ ศึกษานิเทศก์ จํานวน 14 คน ผอู้ าํ นวยการ โรงเรียน จํานวน 102 คน และครูวชิ าการ จํานวน 102 คน รวมจํานวน 218 คน 1.2 กลมุ่ ตวั อยา่ งในการศึกษาครังนี ไดแ้ ก่ ศึกษานิเทศก์ จํานวน 4 คน ผอู้ าํ นวยการ โรงเรียน จํานวน 102 คน และครูวชิ าการ จํานวน 102 คน รวมจํานวน 208 คน 2. เครืองมอื ทใี ชพ้ ฒั นา แอปพลเิ คชนั ระบบการนิเทศออนไลน์ การพฒั นาการนิเทศในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคตดิ เชอื ไวรัสโคโรนา 2019 โดยการใชแ้ อปพลเิ คชนั ระบบการนิเทศออนไลน์ ครังนี ไดจ้ ัดทาํ เครืองมอื ประกอบดว้ ย 2.1 แอปพลเิ คชนั ระบบการนิเทศออนไลน์ 2.1.1 การนิเทศการจัดการเรียนการสอนในสถานการณ์แพร่ระบาดของโรคตดิ เชอื ไวรัส โคโรนา 2019 (covid 19) การนิเทศการจัดประสบการณ์เรียนรู้ระดบั ปฐมวยั 2.1.2 การนิเทศการจัดประสบการณ์เรียนรู้ระดบั ปฐมวยั 2.1.3 การนิเทศการจัดประสบการณ์เรียนรู้ตามแนวทางโครงการบา้ นนักวทิ ยาศาสตร์ น้อย ประเทศไทย 2.1.4 การนิเทศการจัดประสบการณ์การเรียนรู้วทิ ยาการคาํ นวณ (Coding) ระดบั ปฐมวยั 2.1.5 การนิเทศการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ตามแนวทางสะเตม็ ในระดบั ปฐมวยั 2.1.6 การนิเทศการจัดการเรียนรู้วทิ ยาการคาํ นวณ (Coding) ระดบั ประถมศึกษา 2.1.7 การนิเทศการจัดการเรียนการสอนเพศวถิ ี 2.1.8 การนิเทศ ตดิ ตามการจัดการเรียนการสอน เปดภาคเรียนที 1 ปการศึกษา 2564

การพั ฒนาการนิเทศในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชือไวรัสโคโรนา 2019 โดยการใช้แอปพลิเคชัน ระบบการนิเทศออนไลน์ : BEST PRACTICE 35 2.2 แบบประเมนิ คณุ ภาพแอปพลเิ คชนั ระบบการนิเทศออนไลน์ ประกอบดว้ ย 3 ดา้ น ดงั นี ดา้ นที 1 ดา้ นการตรงความตอ้ งการของผใู้ ชแ้ อปพลเิ คชนั ดา้ นที 2 ดา้ นการใชง้ านแอปพลเิ คชนั ดา้ นที 3 ดา้ นความงา่ ยตอ่ การใชง้ านแอปพลเิ คชนั 2.3 แบบประเมนิ ความพงึ พอใจทมี ตี อ่ แอปพลเิ คชนั ระบบการนิเทศออนไลน์ ประกอบดว้ ย 2 ตอน ซึงมรี ายละเอยี ด ดงั นี ตอนที 1 ขอ้ มลู สว่ นตวั ของผตู้ อบแบบสอบถาม ตอนที 2 ประเมนิ ความพงึ พอใจทมี ตี อ่ แอปพลเิ คชนั ระบบการนิเทศออนไลน์ 3. วธิ ีการสร้างและพฒั นานวตั กรรม การสร้างเครืองมอื ครังนีไดด้ าํ เนินการโดยมขี นั ตอน ดงั นี 3.1 แอปพลเิ คชนั ระบบการนิเทศออนไลน์ มขี นั ตอนในการสร้าง ดงั นี 3.1.1 ศึกษาเอกสารและงานวจิ ัยทเี กยี วขอ้ งกบั การนิเทศการศึกษา การนิเทศภายใน โรงเรียน และการนิเทศในประเดน็ ตดิ ตาม ดงั นี การจัดการเรียนการสอนในสถานการณ์แพร่ระบาด ของโรคตดิ เชอื ไวรัสโคโรนา 2019 (covid 19) การจัดประสบการณ์เรียนรู้ระดบั ปฐมวยั การจัด ประสบการณ์เรียนรู้ระดบั ปฐมวยั การจัดประสบการณ์เรียนรู้ตามแนวทางโครงการบา้ นนัก วทิ ยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย การจัดประสบการณ์การเรียนรู้วทิ ยาการคาํ นวณ (Coding) ระดบั ปฐมวยั การจัดประสบการณ์การเรียนรู้ตามแนวทางสะเตม็ ในระดบั ปฐมวยั การจัดการเรียนรู้ วทิ ยาการคาํ นวณ (Coding) ระดบั ประถมศึกษา การจัดการเรียนการสอนเพศวถิ ี และการจัด การเรียนการสอน เปดภาคเรียนที 1 ปการศึกษา 2564 3.1.2 ศึกษาทฤษฎแี ละหลกั การทเี กยี วขอ้ งกบั การสร้างแอปพลเิ คชนั ระบบการนิเทศ ออนไลน์ จากเอกสารและงานวจิ ัยทเี กยี วขอ้ ง 3.1.3 ศึกษาโปรแกรมทสี ามารถนํามาใชแ้ อปพลเิ คชนั โดยเลอื กโปรแกรมทนี ํามาใช้ สร้างแอปพลเิ คชนั ระบบการนิเทศออนไลน์ ไดแ้ ก่ โปรแกรม Glide 3.1.4 สร้างแอปพลเิ คชนั ระบบการนิเทศออนไลน์ ตามทไี ดอ้ อกแบบนิเทศ ตดิ ตาม ในแตล่ ะประเดน็ การนิเทศไว้ โดยใชโ้ ปรแกรม Glide และใชโ้ ปรแกรมชว่ ยสร้างผสมผสาน เชน่ Google form, Google Sheet, และ Google data studio เพอื ใหม้ คี วามสมบรู ณ์และน่าสนใจยงิ ขนึ 3.1.5 นําแอปพลเิ คชนั ระบบการนิเทศ ทสี ร้างเสร็จเรียบร้อยแลว้ ไปใหผ้ ทู้ รงคณุ วฒุ ิ ตรวจสอบ แกไ้ ข และขอคาํ แนะนําในสว่ นทบี กพร่อง เพอื เปนแนวทางในการพฒั นาแอปพลเิ คชนั ระบบการนิเทศออนไลน์ พร้อมทงั ใหผ้ ทู้ รงคณุ วฒุ ปิ ระเมนิ คณุ ภาพสอื โดยใชแ้ บบประเมนิ คณุ ภาพ แอปพลเิ คชนั ระบบการนิเทศออนไลน์ จํานวน 10 ทา่ น ดงั นี 1) นายผดงุ เกยี รติ รักษว์ รโชติ ผอู้ าํ นวยการสาํ นักงานเขตพนื ทกี ารศึกษา ประถมศึกษาหนองบวั ลาํ ภู เขต 2 2) นายบญุ ชู สทิ ธิสอน รอง ผอู้ าํ นวยการสาํ นักงานเขตพนื ทกี ารศึกษา ประถมศึกษาหนองบวั ลาํ ภู เขต 2 3) นายพทิ กั ษ์ รันรัตยิ า ผอู้ าํ นวยการกลมุ่ นิเทศ ตดิ ตาม และประเมนิ ผล การจัดการศึกษา สพป.หนองบวั ลาํ ภู เขต 2

การพั ฒนาการนิเทศในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชือไวรัสโคโรนา 2019 โดยการใช้แอปพลิเคชัน ระบบการนิเทศออนไลน์ : BEST PRACTICE 36 4) นายประภาส พลไชย ผอู้ าํ นวยการกลมุ่ สง่ เสริมการจัดการศึกษาทางไกล สพป.หนองบวั ลาํ ภู เขต 2 5) นายนิยมชาติ รสโสดา ผอู้ าํ นวยการกลมุ่ นิเทศ ตดิ ตาม และประเมนิ ผล การจัดการศึกษา ศึกษาธิการจังหวดั หนองบวั ลาํ ภู 6) นางศุภภทั ร สงั วงศ์ ผอู้ าํ นวยการโรงเรียนบา้ นโคกสะอาดหนองหวั ชา้ ง ศูนยเ์ ครือขา่ ยพฒั นาคณุ ภาพการศึกษานาวงั 3 สพป.หนองบวั ลาํ ภู เขต 2 7) นายสมบตั ิ จิตเจริญ ผอู้ าํ นวยการโรงเรียนบา้ นกา่ น ศูนยเ์ ครือขา่ ยพฒั นาคณุ ภาพการศึกษานากลาง 4 สพป.หนองบวั ลาํ ภู เขต 2 8) นายธนกร พนั ธะศรี ผอู้ าํ นวยการโรงเรียนบา้ นหนองแวงคาํ ศูนยเ์ ครือขา่ ยพฒั นาคณุ ภาพการศึกษานากลาง 1 สพป.หนองบวั ลาํ ภู เขต 2 9) นายวรรณชยั งามขาํ ผอู้ าํ นวยการโรงเรียนบา้ นอดุ มศรีวไิ ลวทิ ยา ศูนยเ์ ครือขา่ ยพฒั นาคณุ ภาพการศึกษานากลาง 5 สพป.หนองบวั ลาํ ภู เขต 2 10) นางวนิดา กณั หา ผอู้ าํ นวยการโรงเรียนบา้ นหนิ ตงั บงั พระจันทร์ ศูนยเ์ ครือขา่ ยพฒั นาคณุ ภาพการศึกษานาวงั 1 สพป.หนองบวั ลาํ ภู เขต 2 โดยใชแ้ บบประเมนิ คณุ ภาพตามแบบประเมนิ ทสี ร้างขนึ มลี กั ษณะเปนมาตราสว่ น ประมาณคา่ 5 ระดบั ดงั นี ระดบั 5 หมายถงึ แอปพลเิ คชนั ระบบการนิเทศออนไลน์มคี ณุ ภาพดมี าก ระดบั 4 หมายถงึ แอปพลเิ คชนั ระบบการนิเทศออนไลน์มคี ณุ ภาพดี ระดบั 3 หมายถงึ แอปพลเิ คชนั ระบบการนิเทศออนไลน์มคี ณุ ภาพปานกลาง ระดบั 2 หมายถงึ แอปพลเิ คชนั ระบบการนิเทศออนไลน์มคี ณุ ภาพพอใช้ ระดบั 1 หมายถงึ แอปพลเิ คชนั ระบบการนิเทศออนไลน์มคี ณุ ภาพปรับปรุง โดยกาํ หนดเกณฑแ์ ปลความหมายไวด้ งั นี คา่ เฉลยี ระหวา่ ง 4.51 - 5.00 หมายถงึ แอปพลเิ คชนั ระบบการนิเทศออนไลน์ มคี ณุ ภาพดมี าก คา่ เฉลยี ระหวา่ ง 3.51 - 4.50 หมายถงึ แอปพลเิ คชนั ระบบการนิเทศออนไลน์ มคี ณุ ภาพดี คา่ เฉลยี ระหวา่ ง 2.51 - 3.50 หมายถงึ แอปพลเิ คชนั ระบบการนิเทศออนไลน์ มคี ณุ ภาพปานกลาง คา่ เฉลยี ระหวา่ ง 1.51 - 2.50 หมายถงึ แอปพลเิ คชนั ระบบการนิเทศออนไลน์ มคี ณุ ภาพพอใช้ คา่ เฉลยี ระหวา่ ง 1.00 - 1.50 หมายถงึ แอปพลเิ คชนั ระบบการนิเทศออนไลน์ มคี ณุ ภาพปรับปรุง 3.1.6 นําแอปพลเิ คชนั ระบบการนิเทศออนไลน์ ไปทดลองใชก้ บั ผบู้ ริหารสถานศึกษา และครู โดยวธิ ีการเลอื กแบบเจาะจง

การพั ฒนาการนิเทศในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชือไวรัสโคโรนา 2019 โดยการใช้แอปพลิเคชัน ระบบการนิเทศออนไลน์ : BEST PRACTICE 37

การพั ฒนาการนิเทศในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชือไวรัสโคโรนา 2019 โดยการใช้แอปพลิเคชัน ระบบการนิเทศออนไลน์ : BEST PRACTICE 38 3.2 สร้างแบบประเมนิ คณุ ภาพแอปพลเิ คชนั ระบบการนิเทศออนไลน์ ประกอบไปดว้ ยขนั ตอน ดงั นี (ทวิ ตั ถุ์ มณีโชต,ิ 2554 : 105 - 106) 3.2.1 ศึกษาเอกสารเกยี วกบั การสร้างแบบประเมนิ คณุ ภาพแอปพลเิ คชนั จากหนังสอื ตาํ รา และเอกสารทเี กยี วขอ้ งกบั การประเมนิ 3.2.2 กาํ หนดจุดมงุ่ หมายทตี อ้ งการประเมนิ โดยแบง่ เปน 3 ดา้ น ดงั นี ดา้ นที 1 ดา้ นการตรงความตอ้ งการของผใู้ ชแ้ อปพลเิ คชนั 1. ขอ้ มลู ทไี ดจ้ ากแอปพลเิ คชนั ตรงตามวตั ถปุ ระสงคข์ องการนิเทศ 2. แอปพลเิ คชนั มคี วามเร็วในการตอบสนองตอ่ การใชง้ านไดเ้ ปนอยา่ งดี 3. แอปพลเิ คชนั สามารถแสดงผลไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ งตามความเปนจริง 4. แอปพลเิ คชนั ออกแบบไดเ้ หมาะสมกบั การนําไปใชใ้ นการนิเทศ 5. สามารถออกแบบไดต้ รงตามความตอ้ งการ ดา้ นที 2 ดา้ นการใชง้ านแอปพลเิ คชนั 6. ความครอบคลมุ ของแอปพลเิ คชนั กบั การใชง้ าน 7. ความเร็วในการประมวลผลของแอปพลเิ คชนั 8. ความถกู ตอ้ งของผลลพั ธ์ทไี ดจ้ ากการประมวลผลในแอปพลเิ คชนั 9. ความน่าเชอื ถอื ไดข้ องโปรแกรม 10. สามารถจัดการแอปพลเิ คชนั ไดเ้ หมาะสมกบั งาน ดา้ นที 3 ดา้ นความงา่ ยตอ่ การใชง้ านแอปพลเิ คชนั 11. กระบวนการในการตดิ ตงั แอปพลเิ คชนั งา่ ยและเหมาะสม 12. แอปพลเิ คชนั มกี ารจัดวางรูปแบบโครงร่างหน้าจอไดอ้ ยา่ งเหมาะสม 13. แอปพลเิ คชนั มรี ูปแบบการนําเสนอทดี งี า่ ยตอ่ การทาํ ความเขา้ ใจ 14. แอปพลเิ คชนั สามารถใชง้ านไดท้ กุ สถานที 15. แอปพลเิ คชนั สามารถตรวจสอบการรายงานได้ 3.2.3 การกาํ หนดระดบั คะแนนแบบประเมนิ คณุ ภาพแอปพลเิ คชนั ระบบการนิเทศ ออนไลน์ แบง่ ออกเปน 5 ระดบั โดยใชแ้ บบประเมนิ ทมี ลี กั ษณะเปนแบบมาตราสว่ นประมาณคา่ (Rating Scale) ตามแบบของลเิ คริ ์ท (Likert) แบง่ ออกเปน 5 ระดบั ใหเ้ ลอื กตอบและมเี กณฑก์ ารให้ คะแนน ดงั นี ระดบั 5 หมายถงึ มคี ณุ ภาพในระดบั ดมี าก ระดบั 4 หมายถงึ มคี ณุ ภาพในระดบั ดี ระดบั 3 หมายถงึ มคี ณุ ภาพในระดบั ปานกลาง ระดบั 2 หมายถงึ มคี ณุ ภาพในระดบั พอใช้ ระดบั 1 หมายถงึ มคี ณุ ภาพในระดบั ปรับปรุง โดยกาํ หนดเกณฑแ์ ปลความหมายไวด้ งั นี คา่ เฉลยี ระหวา่ ง 4.51 - 5.00 หมายถงึ มคี ณุ ภาพในระดบั ดมี าก คา่ เฉลยี ระหวา่ ง 3.51 - 4.50 หมายถงึ มคี ณุ ภาพในระดบั ดี คา่ เฉลยี ระหวา่ ง 2.51 - 3.50 หมายถงึ มคี ณุ ภาพในระดบั ปานกลาง คา่ เฉลยี ระหวา่ ง 1.51 - 2.50 หมายถงึ มคี ณุ ภาพในระดบั พอใช้ คา่ เฉลยี ระหวา่ ง 1.00 - 1.50 หมายถงึ มคี ณุ ภาพในระดบั ปรับปรุง

การพั ฒนาการนิเทศในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชือไวรัสโคโรนา 2019 โดยการใช้แอปพลิเคชัน ระบบการนิเทศออนไลน์ : BEST PRACTICE 39 3.2.4 นําแบบประเมนิ ทอี อกแบบและสร้างขนึ นําเสนอตอ่ ผทู้ รงคณุ วฒุ ิ (10 คนเดมิ ) เพอื ตรวจสอบความถกู ตอ้ ง ปรับปรุงแกไ้ ขตามคาํ แนะนํา 3.2.5 นําแบบประเมนิ คณุ ภาพแอปพลเิ คชนั ทปี รับปรุงแลว้ ใหก้ ลมุ่ ตวั อยา่ งประเมนิ คณุ ภาพแอปพลเิ คชนั ระบบการนิเทศออนไลน์ 3.3 แบบประเมนิ ความพงึ พอใจทมี ตี อ่ แอปพลเิ คชนั ระบบการนิเทศออนไลน์ มวี ธิ ีการ สร้างและหาคณุ ภาพของแบบสอบถามตามขนั ตอน ดงั นี (สาํ เริง บญุ เรืองรัตน์และคณะ (ม.ป.ป. : 71) 3.3.1 กาํ หนดวตั ถปุ ระสงค์ ขอบเขตเนือหาเรืองทตี อ้ งการขอ้ เทจ็ จริง และจัดทาํ ราย ละเอยี ดของเนือหานันๆ 3.3.2 กาํ หนดลกั ษณะคาํ ถามทจี ะใชใ้ นแบบสอบถาม ซึงอาจใชค้ าํ ถามแบบตวั เลอื ก คงทคี าํ ถามแบบปลายเปด และ/หรือคาํ ถามแบบมาตราสว่ นประมาณคา่ ร่วมกนั หรือใชค้ าํ ถาม เพยี งลกั ษณะเดยี วกไ็ ด้ 3.3.3 เขยี นชดุ คาํ ถามตามลกั ษณะการเขยี นคาํ ถามตามลกั ษณะทไี ดก้ าํ หนดไว้ เขยี น คาํ ถามใหช้ ดั เจนวา่ ถามอะไรเพยี งประเดน็ เดยี ว เขยี นเปนขอ้ ความสนั กะทดั รัด และหลกี เลยี งคาํ ถาม ทอี าจชนี ําคาํ ตอบ 3.3.4 เขยี นคาํ ชแี จง และตงั ชอื แบบสอบถาม 3.3.5 แบบประเมนิ มลี กั ษณะเปนมาตราสว่ นประมาณคา่ (Rating Scale) ซึง ประกอบดว้ ยขอ้ ความทเี กยี วขอ้ งความคดิ เหน็ เกยี วกบั ระบบประเมนิ ประสทิ ธิภาพ แอปพลเิ คชนั ระบบการนิเทศออนไลน์ ในการตรวจใหค้ ะแนนจากการวดั ไดก้ าํ หนดเกณฑก์ ารใหค้ ะแนนตาม เกณฑม์ าตรวดั (Likert Scale) Likert (1961. อา้ งถงึ ใน บรุ ินทร์ รุจจนพนั ธ์ุ, 2556) ซึงใชเ้ กณฑ์ ดงั ตอ่ ไปนี 5 หมายถงึ ความพงึ พอใจในระดบั มากทสี ดุ 4 หมายถงึ ความพงึ พอใจในระดบั มาก 3 หมายถงึ ความพงึ พอใจในระดบั ปานกลาง 2 หมายถงึ ความพงึ พอใจในระดบั น้อย 1 หมายถงึ ความพงึ พอใจในระดบั น้อยทสี ดุ เกณฑท์ ใี ชใ้ นการแปลความหมายของคา่ เฉลยี ดงั นี คา่ เฉลยี ระหวา่ ง 4.51 - 5.00 หมายถงึ มคี วามพงึ พอใจในระดบั ดมี าก คา่ เฉลยี ระหวา่ ง 3.51 - 4.50 หมายถงึ มคี วามพงึ พอใจในระดบั ดี คา่ เฉลยี ระหวา่ ง 2.51 - 3.50 หมายถงึ มคี วามพงึ พอใจในระดบั ปานกลาง คา่ เฉลยี ระหวา่ ง 1.51 - 2.50 หมายถงึ มคี วามพงึ พอใจในระดบั พอใช้ คา่ เฉลยี ระหวา่ ง 1.00 - 1.50 หมายถงึ มคี วามพงึ พอใจในระดบั ปรับปรุง 3.3.6 นําแบบประเมนิ ตรวจสอบความถกู ตอ้ งและความเหมาะสมโดยผทู้ รงคณุ วฒุ ิ จํานวน 10 คน 3.3.7 นําขอ้ ความทคี ดั เลอื กไวท้ งั หมดมาจัดเรียง 3.3.8 นําแบบสอบถาม ทผี า่ นการทดลองใชม้ าจัดเรียงแลว้ นําไปใชก้ บั กลมุ่ เปาหมาย ตอ่ ไป

การพั ฒนาการนิเทศในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชือไวรัสโคโรนา 2019 โดยการใช้แอปพลิเคชัน ระบบการนิเทศออนไลน์ : BEST PRACTICE 40 4. การเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู การเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู ไดด้ าํ เนินการ ดงั นี 1. จัดทาํ บนั ทกึ หนังสอื เพอื ขอดาํ เนินการโครงการพฒั นากระบวนการนิเทศออนไลน์ โดย ใชส้ อื แอปพลเิ คชนั โดยเสนอไปยงั ผอู้ าํ นวยการสาํ นักงานเขตพนื ทกี ารศึกษาประถมศึกษา หนองบวั ลาํ ภู เขต 2 2. ชแี จงแนวทางการใชแ้ อปพลเิ คชนั ระบบการนิเทศออนไลน์ ในทปี ระชมุ ผบู้ ริหารสถาน ศึกษา พร้อมทงั จัดทาํ คมู่ อื การใชง้ านแอปพลเิ คชนั ระบบการนิเทศออนไลน์ เพอื ใหผ้ บู้ ริหารสถาน ศึกษานําไปใชใ้ นการนิเทศภายใน 3. คณะผศู้ ึกษาไดน้ ัดวนั เวลาในการเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู กบั ผบู้ ริหารสถานศึกษา และครูที เปนกลมุ่ ตวั อยา่ ง โดยคณะผศู้ ึกษาเปนผเู้ กบ็ รวบรวมขอ้ มลู ดว้ ยตนเอง 4. จากนันนําแบบประเมนิ ความพงึ พอใจ และแบบประเมนิ คณุ ภาพแอปพลเิ คชนั ไปใชก้ บั ผบู้ ริหารสถานศึกษาและครูทเี ปนกลมุ่ ตวั อยา่ ง 5. เกบ็ รวบรวมขอ้ มลู ทงั หมดไปวเิ คราะหข์ อ้ มลู ทางสถติ ิ 5. การวเิ คราะหข์ อ้ มลู และสถติ ทิ ใี ช้ 5.1 การวเิ คราะหข์ อ้ มลู 5.1.1 ขอ้ มลู จากสรุปรายงานการนิเทศจากแอปพลเิ คชนั ระบบการนิเทศออนไลน์ ดงั นี 1.1) การนิเทศการจัดการเรียนการสอนในสถานการณ์แพร่ระบาดของโรคตดิ เชอื ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID 19) การนิเทศการจัดประสบการณ์เรียนรู้ระดบั ปฐมวยั 1.2) การนิเทศการจัดประสบการณ์เรียนรู้ระดบั ปฐมวยั 1.3) การนิเทศการจัดประสบการณ์เรียนรู้ตามแนวทางโครงการบา้ นนัก วทิ ยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย 1.4) การนิเทศการจัดประสบการณ์การเรียนรู้วทิ ยาการคาํ นวณ (CODING) ระดบั ปฐมวยั 1.5) การนิเทศการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ตามแนวทางสะเตม็ ในระดบั ปฐมวยั 1.6) การนิเทศการจัดการเรียนรู้วทิ ยาการคาํ นวณ (CODING) ระดบั ประถม ศึกษา 1.7) การนิเทศการจัดการเรียนการสอนเพศวถิ ี 1.8) การนิเทศ ตดิ ตามการจัดการเรียนการสอน เปดภาคเรียนที 1 ปการศึกษา 2564 5.1.2 ขอ้ มลู จากแบบประเมนิ คณุ ภาพแอปพลเิ คชนั ระบบการนิเทศออนไลน์ เปน ขอ้ มลู แบบมาตราสว่ นประมาณคา่ ใชค้ า่ เฉลยี (Mean) และสว่ นเบยี งเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) แลว้ นํามาเทยี บกบั เกณฑก์ ารแปลความหมายของคา่ เฉลยี ดงั นี คา่ เฉลยี ระหวา่ ง 4.51 - 5.00 หมายถงึ มคี ณุ ภาพในระดบั ดมี าก คา่ เฉลยี ระหวา่ ง 3.51 - 4.50 หมายถงึ มคี ณุ ภาพในระดบั ดี คา่ เฉลยี ระหวา่ ง 2.51 - 3.50 หมายถงึ มคี ณุ ภาพในระดบั ปานกลาง คา่ เฉลยี ระหวา่ ง 1.51 - 2.50 หมายถงึ มคี ณุ ภาพในระดบั พอใช้ คา่ เฉลยี ระหวา่ ง 1.00 - 1.50 หมายถงึ มคี ณุ ภาพในระดบั ปรับปรุง

การพั ฒนาการนิเทศในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชือไวรัสโคโรนา 2019 โดยการใช้แอปพลิเคชัน ระบบการนิเทศออนไลน์ : BEST PRACTICE 41 5.1.3 ขอ้ มลู จากแบบประเมนิ ความพงึ พอใจตอ่ แอปพลเิ คชนั ระบบการนิเทศออนไลน์ เปนขอ้ มลู แบบมาตราสว่ นประมาณคา่ ใชค้ า่ เฉลยี (Mean) และสว่ นเบยี งเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) แลว้ นํามาเทยี บกบั เกณฑก์ ารแปลความหมายของคา่ เฉลยี ดงั นี คา่ เฉลยี ระหวา่ ง 4.51 - 5.00 หมายถงึ มคี วามพงึ พอใจในระดบั ดมี าก คา่ เฉลยี ระหวา่ ง 3.51 - 4.50 หมายถงึ มคี วามพงึ พอใจในระดบั ดี คา่ เฉลยี ระหวา่ ง 2.51 - 3.50 หมายถงึ มคี วามพงึ พอใจในระดบั ปานกลาง คา่ เฉลยี ระหวา่ ง 1.51 - 2.50 หมายถงึ มคี วามพงึ พอใจในระดบั พอใช้ คา่ เฉลยี ระหวา่ ง 1.00 - 1.50 หมายถงึ มคี วามพงึ พอใจในระดบั ปรับปรุง 5.2 สถติ ทิ ใี ช้ 5.2.1 คา่ ร้อยละ (Percentage) (บญุ ชม ศรีสะอาด. 2549 : 105) เมอื P แทน ร้อยละ f แทน ความถหี รือจํานวนขอ้ มลู ทตี อ้ งการหาร้อยละ N แทน จํานวนขอ้ มลู ทงั หมด 5.2.2 คา่ เฉลยี (Mean) (บญุ ชม ศรีสะอาด. 2549 : 105) เมอื แทน คา่ คะแนนเฉลยี แทน ผลรวมของคะแนนทงั หมด N แทน จํานวนกลมุ่ เปาหมาย 5.2.3 คา่ เบยี งเบนมาตรฐาน (Standard deviation)โดยใชส้ ตู ร ดงั นี (บญุ ชม ศรีสะอาด, 2549 : 106) เมอื S.D. แทน ความเบยี งเบนมาตรฐานของคะแนน X แทน คะแนนในแตล่ ะขอ้ แทน ผลรวม N แทน จํานวนคะแนนในกลมุ่

การพั ฒนาการนิเทศในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชือไวรัสโคโรนา 2019 โดยการใช้แอปพลิเคชัน ระบบการนิเทศออนไลน์ : BEST PRACTICE 42 ส่ ว น ที 4 ผลการดาํ เนินการ การพฒั นาการนิเทศโดยการใชแ้ อปพลเิ คชนั ระบบการนิเทศออนไลน์ ในสถานการณ์การ แพร่ระบาดของโรคตดิ เชอื ไวรัสโคโรนา 2019 มวี ตั ถปุ ระสงค์ 1) เพอื พฒั นาแอปพลเิ คชนั ระบบการ นิเทศออนไลน์ ใหส้ อดคลอ้ งกบั บริบทเชงิ พนื ที 2) เพอื ทดลองใชแ้ อปพลเิ คชนั ระบบการนิเทศ ออนไลน์ 3) เพอื ศึกษาความพงึ พอใจในการใชแ้ อปพลเิ คชนั ระบบการนิเทศออนไลน์ ของโรงเรียน ในสงั กดั สาํ นักงานเขตพนื ทกี ารศึกษาประถมศึกษาหนองบวั ลาํ ภู เขต 2 ซึงจะนําเสนอผลการดาํ เนิน การ ดงั นี ผลการดาํ เนินการ ตอนที 1 ผลประเมนิ คณุ ภาพแอปพลเิ คชนั ระบบการนิเทศออนไลน์ ตอนที 2 ผลประเมนิ ความพงึ พอใจตอ่ แอปพลเิ คชนั ระบบการนิเทศออนไลน์ ตอนที 1 ผลประเมนิ คณุ ภาพแอปพลเิ คชนั ระบบการนิเทศออนไลน์ สงั กดั สาํ นักงานเขต พนื ทกี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาหนองบวั ลาํ ภู เขต 2 ตารางที 1 แสดงความถแี ละคา่ ร้อยละขอ้ มลู ทวั ไป ขอ้ มลู ทวั ไป N = 198 1. เพศ ความถี ร้อยละ ชาย หญงิ 121 61.11 77 38.89 2. ตาํ แหน่ง ศึกษานิเทศก์ 4 2.02 ผบู้ ริหารสถานศึกษา 92 46.46 ครูผสู้ อน 102 51.52 3. ประสบการณ์การทาํ งาน 57 28.79 น้อยกวา่ 10 ป 107 54.54 10 - 20 ป 34 17.17 20 ปขนึ ไป จากตารางที 1 จากผตู้ อบแบบประเมนิ จํานวนทงั สนิ 198 คน พบวา่ สว่ นใหญเ่ ปนเพศ ชาย คดิ เปนร้อยละ 61.11 เปนครูผสู้ อน คดิ เปนร้อยละ 51.52 ประสบการณ์การทาํ งาน 10 - 20 ป คดิ เปนร้อยละ 54.54

การพั ฒนาการนิเทศในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชือไวรัสโคโรนา 2019 โดยการใช้แอปพลิเคชัน ระบบการนิเทศออนไลน์ : BEST PRACTICE 43 ตารางที 2 แสดงค่าเฉลีย สว่ นเบียงเบนมาตรฐานของคุณภาพแอปพลิเคชนั ระบบการนิเทศออนไลน์ สงั กัดสาํ นักงานเขตพืนทีการศึกษาประถมศึกษาหนองบวั ลําภู เขต 2 โดยผู้ทรงคุณวฒุ ิ ภาพรวม ที รายการประเมนิ คณุ ภาพแอปพลเิ คชนั S.D. ระดับ อันดับ คุณภาพ ที 1 ดา้ นการตรงความตอ้ งการของผใู้ ชแ้ อปพลเิ คชนั 3.80 1.18 มาก 3 2 ดา้ นการใชง้ านแอปพลเิ คชนั 3.94 0.96 มาก 1 3 ดา้ นความงา่ ยตอ่ การใชง้ านแอปพลเิ คชนั 3.86 1.09 มาก 2 สรุ ปภาพรวม 3.87 1.07 มาก จากตารางที 2 พบวา่ ผลการประเมินคุณภาพแอปพลิเคชนั ระบบการนิเทศออนไลน์ โดยผู้ทรง คุณวฒุ ิ ภาพรวม อยู่ในระดับ มาก (ค่าเฉลีย 3.87) และเมือพจิ ารณาในรายด้าน พบวา่ ทกุ ด้านอยู่ใน ระดับมาก และด้านทีมีค่าเฉลียสงู ทีสดุ คือ ด้านการใชง้ านแอปพพลิเคชนั (คา่ เฉลีย 3.94) รองลงมา คือ ด้านความง่ายต่อการใชง้ านแอปพลิเคชนั (คา่ เฉลีย 3.86) และด้านการตรงความตอ้ งการของผใู้ ช้ แอปพลิเคชนั (ค่าเฉลีย 3.80) ตามลําดับ ตารางที 3 แสดงค่าเฉลีย สว่ นเบียงเบนมาตรฐานของคุณภาพแอปพลิเคชนั ระบบการนิเทศออนไลน์ สงั กัดสาํ นักงานเขตพืนทีการศึกษาประถมศึกษาหนองบวั ลําภู เขต 2 โดยผู้ทรงคุณวฒุ ิ ด้านการตรงความต้องการของผู้ใชแ้ อปพลิเคชนั ที รายการประเมนิ คณุ ภาพแอปพลเิ คชนั S.D. ระดับ อันดับ คุณภาพ ที 1 ขอ้ มลู ทไี ดจ้ ากแอปพลเิ คชนั ตรงตามวตั ถปุ ระสงคข์ องการ 3.90 1.29 มาก 2 1.16 มาก 1 นิเทศ 1.07 มาก 3 1.17 มาก 3 2 แอปพลเิ คชนั มคี วามเร็วในการตอบสนองตอ่ การใชง้ านได้ 4.30 1.26 มาก 3 1.18 มาก เปนอยา่ งดี 3 แอปพลเิ คชนั สามารถแสดงผลไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ งตามความ 3.60 เปนจริง 4 แอปพลเิ คชนั ออกแบบไดเ้ หมาะสมกบั การนําไปใชใ้ นการ 3.60 นิเทศ 5 สามารถออกแบบไดต้ รงตามความตอ้ งการ 3.60 สรุปดา้ นที 1 3.80 จากตารางที 3 พบวา่ ผลการประเมินคุณภาพแอปพลิเคชนั ระบบการนิเทศออนไลน์ โดยผู้ทรง คุณวฒุ ิ ด้านการตรงความต้องการของผู้ใชแ้ อปพลิเคชนั ภาพรวม อยู่ในระดับ มาก (คา่ เฉลีย 3.80) และเมือพิจารณาในรายข้อ พบวา่ ทุกข้ออยูใ่ นระดับมาก และข้อทีมคี า่ เฉลียสงู ทีสดุ คือ แอปพลิเคชนั มีความเร็วในการตอบสนองต่อการใชง้ านไดเ้ ปนอยา่ งดี (คา่ เฉลีย 4.30) รองลงมาคือ ข้อมูลทีได้จาก แอปพลิเคชนั ตรงตามวตั ถุประสงค์ของการนิเทศ (คา่ เฉลีย 3.90) และขอ้ ทีมคี ่าเฉลียน้อยทีสดุ คือ แอปพลิเคชนั สามารถแสดงผลได้อย่างถูกต้องตามความเปนจริง แอปพลิเคชนั ออกแบบไดเ้ หมาะสม กับการนําไปใชใ้ นการนิเทศ และสามารถออกแบบได้ตรงตามความต้องการ (ค่าเฉลีย 3.60)

การพั ฒนาการนิเทศในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชือไวรัสโคโรนา 2019 โดยการใช้แอปพลิเคชัน ระบบการนิเทศออนไลน์ : BEST PRACTICE 44 ตารางที 4 แสดงค่าเฉลีย สว่ นเบียงเบนมาตรฐานของคณุ ภาพแอปพลิเคชนั ระบบการนิเทศออนไลน์ สงั กัดสาํ นักงานเขตพืนทีการศึกษาประถมศึกษาหนองบวั ลําภู เขต 2 โดยผู้ทรงคุณวฒุ ิ ด้านที 2 ด้านการใชง้ านแอปพลิเคชนั ที รายการประเมนิ คณุ ภาพแอปพลเิ คชนั S.D. ระดับ อันดับ คุณภาพ ที 6 ความครอบคลมุ ของแอปพลเิ คชนั กบั การใชง้ าน 3.80 0.79 มาก 3 7 ความเร็วในการประมวลผลของแอปพลเิ คชนั 4.40 0.70 มาก 1 8 ความถกู ตอ้ งของผลลพั ธ์ทไี ดจ้ ากการประมวลผลใน 3.70 1.16 มาก 4 แอปพลเิ คชนั 3.60 1.17 มาก 5 9 ความน่าเชอื ถอื ไดข้ องโปรแกรม 4.20 1.79 มาก 2 10 สามารถจัดการแอปพลเิ คชนั ไดเ้ หมาะสมกบั งาน สรุป ดา้ นที 2 3.94 0.96 มาก จากตารางที 4 พบวา่ ผลการประเมินคุณภาพแอปพลิเคชนั ระบบการนิเทศออนไลน์ โดยผูท้ รง คุณวฒุ ิ ด้านการใชง้ านแอปพลิเคชนั ภาพรวม อยใู่ นระดับ มาก (คา่ เฉลีย 3.94) และเมอื พิจารณา ในรายข้อ พบวา่ ทุกข้ออยู่ในระดับมาก และข้อทีมคี า่ เฉลียสงู ทีสดุ คอื ความเร็วในการประมวลผล ของแอปพลิเคชนั (ค่าเฉลีย 4.40) รองลงมาคือ สามารถจัดการแอปพลิเคชนั ไดเ้ หมาะสมกับงาน (ค่าเฉลีย 4.20) และข้อทีมีค่าเฉลียน้อยทีสดุ คอื ความน่าเชอื ถอื ได้ของโปรแกรม (คา่ เฉลีย 3.60) ตารางที 5 แสดงค่าเฉลีย สว่ นเบียงเบนมาตรฐานของคณุ ภาพแอปพลิเคชนั ระบบการนิเทศออนไลน์ สงั กัดสาํ นักงานเขตพืนทีการศึกษาประถมศึกษาหนองบวั ลําภู เขต 2 โดยผู้ทรงคุณวฒุ ิ ด้านที 3 ด้านความง่ายต่อการใชง้ านแอปพลิเคชนั ที รายการประเมนิ คณุ ภาพแอปพลเิ คชนั S.D. ระดับ อันดับ คุณภาพ ที 11 กระบวนการในการตดิ ตงั แอปพลเิ คชนั งา่ ยและเหมาะสม 3.90 1.05 มาก 3 12 แอปพลเิ คชนั มกี ารจัดวางรูปแบบโครงร่างหน้าจอไดอ้ ยา่ ง 3.60 1.17 มาก 5 เหมาะสม 3.80 1.55 มาก 4 13 แอปพลเิ คชนั มรี ูปแบบการนําเสนอทดี งี า่ ยตอ่ การทาํ ความ 4.00 1.05 มาก 1 เขา้ ใจ 4.00 0.82 มาก 1 14 แอปพลเิ คชนั สามารถใชง้ านไดท้ กุ สถานที 15 แอปพลเิ คชนั สามารถตรวจสอบการรายงานได้ สรุป ดา้ นที 3 3.86 1.09 มาก จากตารางที 5 พบวา่ ผลการประเมินคุณภาพแอปพลิเคชนั ระบบการนิเทศออนไลน์ โดยผ้ทู รง คุณวฒุ ิ ด้านความง่ายต่อการใชง้ านแอปพลิเคชนั ภาพรวม อยู่ในระดับ มาก (ค่าเฉลยี 3.86) และเมอื พิจารณาในรายข้อ พบวา่ ทุกข้ออยู่ในระดับมาก และข้อทีมคี า่ เฉลียสงู ทีสดุ คอื แอปพลเิ คชนั สามารถ ใชง้ านได้ทุกสถานที และแอปพลิเคชนั สามารถตรวจสอบการรายงานได้ (ค่าเฉลีย 4.00) และข้อทีมี ค่าเฉลียน้อยทีสดุ คือ แอปพลิเคชนั มีการจัดวางรูปแบบโครงร่างหน้าจอได้อย่างเหมาะสม (ค่าเฉลีย 3.60)

การพั ฒนาการนิเทศในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชือไวรัสโคโรนา 2019 โดยการใช้แอปพลิเคชัน ระบบการนิเทศออนไลน์ : BEST PRACTICE 45 ตารางที 6 แสดงค่าเฉลีย สว่ นเบียงเบนมาตรฐานของคณุ ภาพแอปพลิเคชนั ระบบการนิเทศออนไลน์ สงั กัดสาํ นักงานเขตพืนทีการศึกษาประถมศึกษาหนองบัวลําภู เขต 2 ภาพรวม ที รายการประเมนิ คณุ ภาพแอปพลเิ คชนั S.D. ระดับ อันดับ คุณภาพ ที 1 ดา้ นการตรงความตอ้ งการของผใู้ ชแ้ อปพลเิ คชนั 3.49 1.11 ปานกลาง 3 2 ดา้ นการใชง้ านแอปพลเิ คชนั 3.77 1.00 มาก 2 3 ดา้ นความงา่ ยตอ่ การใชง้ านแอปพลเิ คชนั 3.99 0.82 มาก 1 สรุ ปภาพรวม 3.75 1.00 มาก จากตารางที 6 พบวา่ ผลการประเมินคุณภาพแอปพลิเคชนั ระบบการนิเทศออนไลน์ ภาพรวม อยู่ในระดับ มาก (ค่าเฉลีย 3.75) และเมือพิจารณาในรายด้าน พบวา่ ด้านทีมีค่าเฉลียสงู ทีสดุ คือ ด้าน ความง่ายการใชง้ านแอปพพลิเคชนั (ค่าเฉลีย 3.99) รองลงมาคือ ด้านการใชง้ านแอปพลิเคชนั (ค่าเฉลีย 3.77) และด้านการตรงความต้องการของผู้ใชแ้ อปพลิเคชนั (ค่าเฉลีย 3.49) ตามลําดับ ตารางที 7 แสดงค่าเฉลีย สว่ นเบียงเบนมาตรฐานของคณุ ภาพแอปพลิเคชนั ระบบการนิเทศออนไลน์ สงั กัดสาํ นักงานเขตพืนทีการศึกษาประถมศึกษาหนองบวั ลําภู เขต 2 ด้านที 1 ด้านการตรงความต้องการของผู้ใชแ้ อปพลิเคชนั ที รายการประเมนิ คณุ ภาพแอปพลเิ คชนั ระดับ อันดับ S.D. คุณภาพ ที 1 ขอ้ มลู ทไี ดจ้ ากแอปพลเิ คชนั ตรงตามวตั ถปุ ระสงคข์ องการ 3.43 1.079 ปานกลาง 4 1.11 มาก 3 นิเทศ 1.14 มาก 2 1.11 มาก 1 2 แอปพลเิ คชนั มคี วามเร็วในการตอบสนองตอ่ การใชง้ าน 3.53 1.08 ปานกลาง 5 ไดเ้ ปนอยา่ งดี 3 แอปพลเิ คชนั สามารถแสดงผลไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ งตามความ 3.59 เปนจริง 4 แอปพลเิ คชนั ออกแบบไดเ้ หมาะสมกบั การนําไปใชใ้ น 3.61 การนิเทศ 5 สามารถออกแบบไดต้ รงตามความตอ้ งการ 3.30 สรุปดา้ นที 1 3.49 1.11 ปานกลาง จากตารางที 7 พบวา่ ผลการประเมินคุณภาพแอปพลิเคชนั ระบบการนิเทศออนไลน์ ดา้ น การตรงความต้องการของผู้ใชแ้ อปพลิเคชนั ภาพรวม อยู่ในระดับ ปานกลาง (คา่ เฉลีย 3.49) และเมือ พิจารณาในรายข้อ พบวา่ ข้อทีมีค่าเฉลียสงู ทีสดุ คอื แอปพลิเคชนั ออกแบบไดเ้ หมาะสมกบั การนําไป ใชใ้ นการนิเทศ (ค่าเฉลีย 3.61) รองลงมาคือ แอปพลิเคชนั สามารถแสดงผลไดอ้ ยา่ งถกู ต้องตามความ เปนจริง (ค่าเฉลีย 3.59) และข้อทีมีค่าเฉลียน้อยทีสดุ คอื สามารถออกแบบได้ตรงตามความต้องการ อยู่ในระดับปานกลาง (ค่าเฉลีย 3.30)

การพั ฒนาการนิเทศในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชือไวรัสโคโรนา 2019 โดยการใช้แอปพลิเคชัน ระบบการนิเทศออนไลน์ : BEST PRACTICE 46 ตารางที 8 แสดงค่าเฉลีย สว่ นเบียงเบนมาตรฐานของคณุ ภาพแอปพลิเคชนั ระบบการนิเทศออนไลน์ สงั กัดสาํ นักงานเขตพืนทีการศึกษาประถมศึกษาหนองบวั ลําภู เขต 2 ด้านที 2 ด้านการใชง้ านแอปพลิเคชนั ที รายการประเมนิ คณุ ภาพแอปพลเิ คชนั S.D. ระดับ อันดับ คุณภาพ ที 6 ความครอบคลมุ ของแอปพลเิ คชนั กบั การใชง้ าน 3.40 1.11 ปานกลาง 5 7 ความเร็วในการประมวลผลของแอปพลเิ คชนั 3.45 1.11 ปานกลาง 4 8 ความถกู ตอ้ งของผลลพั ธ์ทไี ดจ้ ากการประมวลผลใน 3.97 0.85 3 มาก แอปพลเิ คชนั 9 ความน่าเชอื ถอื ไดข้ องโปรแกรม 4.02 0.84 มาก 1 10 สามารถจัดการแอปพลเิ คชนั ไดเ้ หมาะสมกบั งาน 4.01 0.82 มาก 2 สรุป ดา้ นที 2 3.77 1.00 มาก จากตารางที 8 พบวา่ ผลการประเมินคุณภาพแอปพลิเคชนั ระบบการนิเทศออนไลน์ ด้าน การใชง้ านแอปพลิเคชนั ภาพรวม อยู่ในระดับ มาก (คา่ เฉลีย 3.77) และเมือพิจารณาในรายขอ้ พบวา่ ข้อทีมีค่าเฉลียสงู ทีสดุ คือ ความน่าเชอื ถือไดข้ องโปรแกรม (คา่ เฉลีย 4.02) รองลงมาคือ สามารถ จัดการแอปพลิเคชนั ได้เหมาะสมกับงาน (คา่ เฉลีย 4.01) และข้อทีมีค่าเฉลียน้อยทีสดุ คือ ความ ครอบคลุมของแอปพลิเคชนั กับการใชง้ าน อยใู่ นระดับปานกลาง (ค่าเฉลีย 3.40) ตารางที 9 แสดงค่าเฉลีย สว่ นเบียงเบนมาตรฐานของคณุ ภาพแอปพลิเคชนั ระบบการนิเทศออนไลน์ สงั กัดสาํ นักงานเขตพืนทีการศึกษาประถมศึกษาหนองบวั ลําภู เขต 2 ด้านที 3 ด้านความง่ายต่อการใชง้ านแอปพลิเคชนั ที รายการประเมนิ คณุ ภาพแอปพลเิ คชนั S.D. ระดับ อันดับ คุณภาพ ที 11 กระบวนการในการตดิ ตงั แอปพลเิ คชนั งา่ ยและเหมาะสม 4.00 0.82 มาก 3 0.82 มาก 5 12 แอปพลเิ คชนั มกี ารจัดวางรูปแบบโครงร่างหน้าจอไดอ้ ยา่ ง 3.93 0.84 มาก 4 เหมาะสม 0.81 มาก 1 13 แอปพลเิ คชนั มรี ูปแบบการนําเสนอทดี งี า่ ยตอ่ การทาํ ความ 3.98 0.80 มาก 2 เขา้ ใจ 14 แอปพลเิ คชนั สามารถใชง้ านไดท้ กุ สถานที 4.04 15 แอปพลเิ คชนั สามารถตรวจสอบการรายงานได้ 4.01 สรุป ดา้ นที 3 3.99 0.82 มาก จากตารางที 9 พบวา่ ผลการประเมินคุณภาพแอปพลิเคชนั ระบบการนิเทศออนไลน์ ดา้ นความ ง่ายต่อการใชง้ านแอปพลิเคชนั ภาพรวม อย่ใู นระดับ มาก (ค่าเฉลีย 3.99) และเมือพิจารณาในรายขอ้ พบวา่ ทุกข้ออยู่ในระดับมาก และข้อทีมีคา่ เฉลียสงู ทีสดุ คือ แอปพลิเคชนั สามารถใชง้ านไดท้ ุกสถานที (ค่าเฉลีย 4.04) รองลงมาคือ แอปพลิเคชนั สามารถตรวจสอบการรายงานได้ (คา่ เฉลีย 4.01) และขอ้ ทีมีค่าเฉลียน้อยทีสดุ คือ แอปพลิเคชนั มีการจัดวางรูปแบบโครงร่างหน้าจอได้อย่างเหมาะสม (ค่าเฉลีย 3.93)


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook