Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore กระบวนทัศน์การโค้ชเพื่อเสริมสร้างทักษะการสร้างสรรค์และนวัตกรรม_1544715155

กระบวนทัศน์การโค้ชเพื่อเสริมสร้างทักษะการสร้างสรรค์และนวัตกรรม_1544715155

Published by ปาริชาติ ปิติพัฒน์, 2019-09-16 11:13:15

Description: กระบวนทัศน์การโค้ชเพื่อเสริมสร้างทักษะการสร้างสรรค์และนวัตกรรม_1544715155

Search

Read the Text Version

กระบวนทศั นก์ ารโคช้ เพ่ือเสรมิ สรา้ งทักษะ การสรา้ งสรรค์ และนวตั กรรม รองศาสตราจารย์ ดร.วิชัย วงษ์ใหญ่ ผ้ชู ่วยศาสตราจารย์ ดร.มารุต พัฒผล

กระบวนทศั นก์ ารโค้ช เพ่อื เสริมสรา้ งทักษะการสรา้ งสรรคแ์ ละนวตั กรรม รองศาสตราจารย์ ดร.วิชยั วงษ์ใหญ่ ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.มารุต พฒั ผล

กระบวนทัศน์การโค้ชเพ่ือเสริมสร้างทักษะการสร้างสรรค์ และนวตั กรรม รองศาสตราจารย์ ดร.วิชยั วงษ์ใหญ่ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.มารุต พฒั ผล พิมพค์ รง้ั ท่ี 2 มนี าคม 2560 จานวน 500 เลม่ ขอ้ มลู ทางบรรณานุกรมของสานกั หอสมดุ แหง่ ชาติ National Library of Thailand Cataloging in Publication Data รองศาสตราจารย์ ดร.วชิ ัย วงษใ์ หญ,่ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.มารตุ พฒั ผล. กระบวนทศั น์การโคช้ เพื่อเสรมิ สร้างทักษะการสรา้ งสรรค์และนวัตกรรม. – กรงุ เทพฯ : จรัลสนิทวงศ์การพิมพ์, 2560. 47 หน้า. 1. การเรียนรู้. I. ชอื่ เรอื่ ง ISBN 978-616-382-091-4 ราคา 100 บาท สงวนลิขสิทธเ์ิ นือ้ หาและภาพประกอบ ตามพระราชบญั ญัติลิขสทิ ธิ์ พมิ พ์ท่ี บริษัท จรัลสนทิ วงศก์ ารพิมพ์ จากดั 233 ซอยเพชรเกษม 102/2 แขวงบางแคเหนอื เขตบางแค กรงุ เทพมหานคร 10160 โทรศพั ท์ 02-809-2281-3 แฟกซ์ 02-809-2284 www.fast-book.com e-mail: [email protected]

คานา หนังสือ “กระบวนทัศน์การโค้ชเพื่อเสริมสร้างทักษะการ สรา้ งสรรค์และนวตั กรรม” เลม่ นี้ เรียบเรยี งขน้ึ จากเอกสารทางวิชาการ ท้ังในและต่างประเทศ รวมท้ังป ระสบการณ์ การพัฒ นาครูใน สถานศึกษาระดับการศึกษาข้ันพื้นฐาน ทั้งในสังกัดสานักงาน คณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน (สพฐ.), สานักงานคณะกรรมการ การศึกษาเอกชน (สช.), กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น, และ สถานศึกษาในสงั กัดกองบญั ชาการตารวจตระเวนชายแดน (ตชด.) มีความมุ่งหมายเพื่อสง่ เสริมความรู้ความเขา้ ใจเก่ียวกับการโค้ช เพ่ือเสริมสร้างทักษะการสร้างสรรค์และนวัตกรรม ซ่ึงเป็นทักษะ ทส่ี าคญั อย่างยงิ่ ในการดารงชวี ิตในอนาคต โดย มุ่ งห วังให้ ผู้ ส อน ใช้ วิธีการโค้ชให้ผู้เรียนได้ใช้ศักยภาพของตนเองอย่างเต็มความสามารถ ผา่ น การสร้างแรงบนั ดาลใจ การตั้งคาถามกระตนุ้ การคิด การเสริมแรง ทางบวก การสร้างแรงจูงใจภายใน ตลอดจนการให้คาชี้แนะต่างๆ ท่ีเป็นประโยชน์ เพื่อส่งเสริมให้ผู้เรียนมีทักษะการสร้างสรรค์ และนวัตกรรม หวังเป็นอย่างยิ่งว่าหนังสือเล่มจะให้ประโยชน์ต่อผู้อ่านได้มาก พอสมควร และขอขอบคุณคณะครูและนักเรียนทุกคนท่ีได้ร่วม แลกเปล่ยี นเรยี นรู้ในการเขียนหนงั สือเลม่ นดี้ ว้ ยดตี ลอดมา รองศาสตราจารย์ ดร.วชิ ัย วงษ์ใหญ่ ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร.มารุต พฒั ผล

สารบญั เรือ่ ง หน้า ถอดบทเรยี น Generation Alpha และ Transform Education............................................................... 1 ทักษะการสรา้ งสรรคแ์ ละนวตั กรรม............................................... 6 การคดิ สร้างสรรค์ (creative thinking) เปน็ พ้ืนฐานของ ทักษะการสร้างสรรค์และนวัตกรรม............................................... 9 นวตั กรรมเปน็ ผลผลติ ของการคดิ สร้างสรรค.์ ................................. 12 องคป์ ระกอบของทกั ษะการสรา้ งสรรค์และนวัตกรรม.................... 14 การโคช้ ท่เี สรมิ สร้างทักษะการสร้างสรรคแ์ ละนวตั กรรม................. 16 การจดั การเรียนร้แู บบบูรณาการทเ่ี สรมิ สร้าง ทกั ษะการสร้างสรรคแ์ ละนวตั กรรม............................................... 23 การโค้ชตามแนวทฤษฎคี อนสตรัคติวิสต์ซมึ (Constructivism) เพ่ือเสรมิ สร้างทักษะการสร้างสรรคแ์ ละนวัตกรรม........................ 27 การประเมนิ ผลการเรยี นรทู้ ่เี สรมิ สรา้ งทกั ษะการสรา้ งสรรค์ และนวตั กรรม................................................................................ 31 บรรณานกุ รม.................................................................................. 41

บญั ชีแผนภาพ แผนภาพ หน้า 1 กระบวนทัศนก์ ารเรยี นร้ใู นศตวรรษที่ 21.................................. 4 2 Creative pedagogy ท่ีเสรมิ สรา้ งทกั ษะการสรา้ งสรรค์ และนวตั กรรม........................................................................... 21 3 แนวคดิ ของการออกแบบการจัดการเรยี นรู้แบบบรู ณาการ ที่เสรมิ สร้างทกั ษะการสรา้ งสรรค์และนวตั กรรม....................... 25

ถอดบทเรียน Generation Alpha Transform Education ลักษณะ Gen Alpha เป็นเด็กรุ่นใหม่เก่ง เรียนรู้ได้เร็ว คุ้นเคยกับเทคโนโลยีมาก ใช้ Social media ในการ update ข้อมูล ต่างๆ นาเทคโนโลยีมาใช้ในการเรียนรู้และการทางาน แต่มักไม่อดทน ไม่ตรงเวลา รักอิสระ ขาดทักษะทางสังคม ลืมรากเหง้า มีสังคมอากาศ ของตนเอง ผู้สอนยุคใหม่จาเป็นต้องเรียนรู้และทาความเข้าใจธรรมชาติ ของผู้เรียนยุค Gen Alpha เพ่ือให้สามารถพัฒนาผู้เรียนได้เต็มตาม ศักยภาพ และมีความสุขกับการใช้ชีวิตอยู่กับเด็กรุ่นใหม่ท่ีมีความ แตกตา่ งจากเดมิ

2 การแบ่ง Generation ตามสถานการณ์ของโลก ได้แก่ Gen Baby Boomer, Gen X, Gen Y, Gen Z และ Gen Alpha แตล่ ะ Generation มีลกั ษณะเฉพาะดงั นี้ Gen Baby boomer เกดิ หลังสงครามโลกครง้ั ที่ 2 กาลังเกษียณอายุ รุ่นบกุ เบิก ตอ่ สดู้ ิ้นรน Gen X อยู่ในวัยทางานอายุ 30 – 49 ปี ต่อสูด้ ิน้ รน ไม่ชอบการผกู มัด เปลี่ยนอาชีพบ่อย ไมช่ อบเป็นผนู้ าการเปลี่ยนแปลง Gen Y ก้าวสู่วยั ผใู้ หญ่ เป็นหนีส้ นิ ไดง้ ่าย นยิ มเครดิต ชอบความสะดวกสบาย Gen Z วัยรุ่น มโี ลกเทคโนโลยี มองโลกเป็นการแข่งขัน Gen Alpha วยั อนบุ าล พอ่ แมม่ ฐี านะทางเศรษฐกิจดี เรียนกนั มากในสงั คมทุนนิยม มสี ังคมอากาศ

3 การศึกษาเพอื่ การเปล่ยี นแปลง (Transform Education) การเรียนรู้ยุคใหม่ เน้นการเปิดโอกาสใหผ้ ูเ้ รยี นเปน็ นกั คิด นักปฏิบัติ การวิจยั นวตั กรรมสรา้ งสรรค์จึงจะเกิด พัฒนาผู้เรียนให้มี ทักษะการรู้คิดและจิตสานึกท่ีดี (Cognition and Mindfulness) โดยใช้ Cognitive coaching, Power Questions ด้วยวธิ ีการดังต่อไปนี้ - ไม่ควรหา้ ม คอยสงั เกตพฤตกิ รรม เอาใจใส่ดูแลอยใู่ กล้ๆ - รบั ฟัง เป็นผ้ฟู ังทด่ี ี รบั ฟงั ปัญหา และเร่อื งราวทเ่ี กดิ ขึ้น - แลกเปลี่ยนเรียนร้ปู ระสบการณ์ - ยอมรบั ความสามารถ ให้ความไวว้ างใจพร้อมสนับสนุน เพือ่ ให้ผู้เรียนใช้ชวี ติ ท่ีถูกต้อง

4 กระบวนทศั นก์ ารเรยี นรใู้ นศตวรรษท่ี 21 สาหรับผเู้ รยี นที่เป็น Gen X, Y, Alpha มุ่งเน้นการพัฒนาสง่ เสรมิ และกระต้นุ ตน้ ทนุ ชวี ิตของผ้เู รียน โดยใชว้ ธิ กี ารโค้ชทาใหเ้ กิดการใชท้ กั ษะชีวติ ดงั แผนภาพต่อไปนี้ ต้นทุนชวี ิต การใช้ทกั ษะชวี ติ พลงั ครอบครวั จิตสานกึ ท่ดี ี พลงั ปัญญา ทกั ษะการรู้คิด พลังเพ่ือน ทกั ษะทางสงั คม พลังชุมชน, ภมู ิปญั ญา Coaching Power questions Creative based – learning Research based – learning Problem – based learning Technology – based learning Scaffolding แผนภาพ 1 กระบวนทศั น์การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21

5 การเปล่ียนแปลงของการเรียนรู้ในโลกยุคใหม่ที่สอดคล้อง กับธรรมชาติของผู้เรียนจาก Gen X, Y มาเป็น Gen Y, Alpha มีหลาย ประการที่น่าสนใจซึ่งผู้สอนควรเรียนรู้และเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม การจัดการเรียนรู้ เพือ่ ให้สามารถตอบโจทย์ธรรมชาติของผู้เรียนได้ดังน้ี Gen X, Y Gen Z, Alpha หนังสือเรยี น ส่อื เคล่อื นไหว, ส่อื ออนไลน์ การสอน การโคช้ เนื้อหาสาระ กระบวนการเรยี นรู้ หลักสตู รเป็นสาคญั ผูเ้ รียนเปน็ สาคัญ ปดิ หนังสอื สอบ เปดิ หนังสอื ตอบ เรยี นรายบุคคล เรยี นรรู้ ่วมกัน

6 ทกั ษะการสร้างสรรค์และนวัตกรรม (Creative and Innovation Skills) ทั ก ษ ะ ก า ร ส ร้ า ง ส ร ร ค์ แ ล ะ น วั ต ก ร ร ม เ ป็ น ทั ก ษ ะ ห นึ่ ง ในทักษะของผู้เรียนในศตวรรษท่ี 21 (21st Century Skills) ที่ผู้เรียน จาเปน็ ต้องไดร้ ับการพัฒนาเพ่อื ให้สามารถประกอบอาชีพและดารงชีวิต ไดอ้ ยา่ งมีคณุ ภาพ จดั เปน็ ทกั ษะเชิงประยกุ ต์ (apply skills) ทักษะการสรา้ งสรรค์และนวตั กรรม เป็นความชานาญหรือ ความสามารถในการใช้กระบวนการทางความคิดสร้างสรรค์ โดยใช้ จินตนาการและการถ่ายทอด ใช้ทักษะในการสร้างสิ่งท่ีมีเอกลักษณ์ ของตน จนทาให้เกิดส่ิงใหม่หรือนวัตกรรมท่ีทาขึ้นใหม่หรือพัฒนาขึ้น ซึ่งอาจอยู่ในรูปแบบของความคิด วิธีการ การกระทาหรือส่ิงประดิษฐ์

7 ต่างๆ โดยอาจเป็นส่ิงใหม่ท้ังหมดหรือใหม่เพียงบางส่วน และอาจใหม่ ในบริบทใดบริบทหน่งึ หรือในช่วงเวลาใดเวลาหนึ่ง ทั ก ษ ะ ก า ร ส ร้ า ง ส ร ร ค์ แ ล ะ น วั ต ก ร ร ม มี อ ง ค์ ป ร ะ ก อ บ 3 ประการ ได้แก่ 1. การคดิ สรา้ งสรรค์ (think creatively) 2. การทางานร่วมกบั บคุ คลอืน่ อย่างสรา้ งสรรค์ (work creatively with others) 3. การสร้างนวตั กรรมใหเ้ กดิ ผลสาเรจ็ (implement innovation) การจัดการศึกษาในปัจจุบันควรพัฒนาผู้เรียนให้มีทักษะ การสร้างสรรค์และนวัตกรรม เตรยี มผเู้ รยี นไปสสู่ งั คมในอนาคตอย่างมี คุณภาพ การประกอบอาชีพต่างๆ อย่างสร้างสรรค์และเกิดนวัตกรรม ขน้ึ อย่างตอ่ เนื่อง คุ ณ ภ า พ ข อ ง ผู้ เ รี ย น เ ป็ น ผ ล ม า จ า ก คุ ณ ภ า พ ข อ ง ค รู การพัฒนาผู้เรียนให้มีทักษะการสร้างสรรค์และนวัตกรรมจาเป็นต้อง มีการพัฒนาครูในด้านการจัดการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ การจัดการ เรียนรู้ที่เสริมสร้างทักษะการสร้างสรรค์และนวัตกรรมใช้แนวทางการ จัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ (student – centered approach) และการจัดการเรียนรู้ท่ีเปิดโอกาสให้ผู้เรียนมีส่วนร่วม อยา่ งท่ัวถึง (inclusive approaches)

8 ผูส้ อนควรจดั บรรยากาศของการเรียนรู้ให้มีความท้าทาย มีอิสระ มีทรัพยากรสนับสนุน และผู้สอนให้การส่งเสริมผู้เรียนอย่าง ต่อเนื่อง ส่งเสริมให้ผู้เรียนใช้ทักษะการสร้างสรรค์และนวัตกรรม ใช้กระบวนการจัดการเรียนการสอนจะต้องมีความสร้างสรรค์ เรียกว่า Creative Pedagogy ซ่ึงประกอบด้วย 1.การสอนอย่างสรา้ งสรรค์ (creative teaching) 2.การเรยี นรูอ้ ยา่ งสร้างสรรค์ (creative learning) 3.การสอนทส่ี ่งเสริมการสร้างสรรค์ (teaching for creativity)

9 การคิดสร้างสรรค์ (creative thinking) เป็นพื้นฐานของทกั ษะการสร้างสรรค์ และนวตั กรรม ทักษะการสร้างสรรค์และนวัตกรรมมีความคิดสร้างสรรค์ (creative thinking) เป็นพื้นฐานท่ีสาคัญ ซ่ึงความคิดสร้างสรรค์ คือ ความสามารถในการคิดริเริ่มเพ่ือการแก้ปัญหาหรือพัฒนาส่ิงใหม่ขึ้น โดยใช้วิธีการคิดที่หลากหลาย เช่น การคิดคล่อง (fluency) การคิด ยืดหยุ่น (flexibility) การคิดริเร่ิม (originality) และการคิดอย่าง ละเอยี ดลออ (elaboration)

10 มีทฤษฎีที่เก่ียวกับความคิดสร้างสรรค์หลายทฤษฎี เช่น ทฤษฎีโครงสร้างทางสติปัญญาของ Guilford ท่ีระบุว่าความคิด สร้างสรรค์มอี งค์ประกอบ 3 มติ ิ คือ 1. มติ ดิ า้ นกระบวนการคดิ (operations) เป็นกระบวนการที่สมองจัดกระทากับข้อมูลต่างๆ เพ่ือสร้างความรู้ความเข้าใจ ความจา การคิดในมุมมองที่หลากหลาย การคดิ ลงสรปุ และการคดิ เชงิ ประเมนิ 2. มิติด้านเน้ือหา (content) เป็นสิ่งเร้าท่ีก่อให้เกิดกระบวนการคิด ได้แก่ ภาพ สญั ลักษณ์ ภาษา พฤติกรรม 3. มติ ิดา้ นผลผลติ ของการคดิ (product) เป็นผลท่ีเกิดจากการใช้กระบวนการคิดที่อยู่บน พื้นฐานของเน้ือหาหรือส่งิ เรา้ ซ่ึงแบ่งเป็น 6 ลักษณะ คือ หน่วย (unit) กลุ่ม (classes) ความสัมพันธ์ (relations) ระบบ (system) การแปลง รูป (transformation) และการประยกุ ต์ (implication)

11 ทฤษฎีองค์ประกอบของความคิดสร้างสรรค์ของ Frank Williams ไดร้ ะบุวา่ การจดั การเรยี นรทู้ เ่ี สริมสรา้ งความคิดสรา้ งสรรค์ ประกอบด้วย มิติด้านเน้ือหา มิติด้านการจัดการเรียนรู้ และมิติด้าน พฤตกิ รรมผเู้ รยี น มิติด้านเนื้อหา (content) เป็นการสอดแทรกการคิด สร้างสรรค์ไวใ้ นทุกเน้ือหาสาระการเรยี นรู้ หรือเรียกวา่ infuse มิติด้านการจัดการเรียนรู้ เป็นแนวทางการจัดการเรียนรู้ ที่เสริมสร้างการคิดสร้างสรรค์ โดยเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้ใช้ศักยภาพ ด้านการคิดของแต่ละคนให้ได้มากที่สุด ซ่ึงเป็นการคิดท่ีนาไปสู่การ สรา้ งสรรคส์ ่งิ ใหม่ มิ ติ ด้ า น พ ฤ ติ ก ร ร ม ผู้ เ รี ย น เ รี ย ก ว่ า Williams’ Taxonomy แบง่ เปน็ 2 ลกั ษณะ คือ 1. ลักษณะการรู้คิดของผู้เรียน ได้แก่ การคิดคล่อง การคิดยืดหยุน่ การคดิ รเิ ร่มิ การคิดละเอยี ดลออ 2. คุณลักษณะส่วนบุคคล ได้แก่ ความอยากรู้ อยากเห็น ความกล้าเสี่ยง ความอยากทาสิ่งที่มีความซับซ้อน และการ ชอบใช้ความคดิ และจินตนาการ

12 นวัตกรรม เปน็ ผลผลิตของการคิดสรา้ งสรรค์ นวัตกรรม คือ ส่ิงที่ทาขึ้นใหม่หรือพัฒนาข้ึนซึ่งอาจอยู่ใน รูปแบบของความคิด วิธีการ การกระทา หรือส่ิงประดิษฐ์ต่างๆ โดยส่ิงนนั้ อาจเปน็ สิง่ ใหม่ท้ังหมดหรือใหม่เพียงบางส่วนและอาจใหม่ ในบรบิ ทใดบริบทหนงึ่ หรือในช่วงเวลาใดเวลาหน่งึ นวัตกรรมเกิดขึ้นได้จากการใช้ความคิดสร้างสรรค์ ซ่ึงมี กระบวนการคดิ 6 ขนั้ ตอน ได้แก่ 1. การคิดวิเคราะห์ความตอ้ งการนวตั กรรม 2. การสังเคราะห์ความคดิ ทน่ี าไปสู่นวตั กรรม 3. การแสวงหาความรว่ มมือในการพฒั นานวตั กรรม

13 4 การสะทอ้ นความคิดรว่ มกัน 5. การลงสรปุ ความคดิ 6. การประเมินความคดิ แนวความคิดหรือ idea จะเป็นจุดเริ่มต้นของการใช้ กระบวนการคิดทีน่ าไปสกู่ ารสรา้ งสรรค์นวตั กรรม ผู้เรียนที่มีจิตใจนวัตกรรม (innovative mind) จะมี คุณลักษณะท่สี าคัญคอื 1. มองกิจกรรมตา่ งๆ ว่าเปน็ โอกาสของการเรียนรู้ 2. มองปญั หาว่าเปน็ สิ่งทตี่ อ้ งไดร้ บั การแกไ้ ข ดว้ ยนวตั กรรม 3. เชอ่ื มโยงความคดิ และความรู้ตา่ งๆ ได้ดี 4. กาหนดเป้าหมายทที่ ้าทายความสามารถ ของตนเองได้ 5. มวี นิ ัยในตนเองในการดาเนินการต่างๆ เพ่ือใหไ้ ดม้ าซ่งึ นวัตกรรม

14 องค์ประกอบของ ทักษะการสรา้ งสรรค์และนวตั กรรม ทักษะการสร้างสรรค์และนวัตกรรมมีองค์ประกอบหลัก 3 ประการ ได้แก่ 1) การคิดอย่างสร้างสรรค์ 2) การทางานร่วมกับ บุคคลอื่นอย่างสร้างสรรค์ และ 3) การสร้างนวัตกรรมให้เกิดผลสาเร็จ โดยแตล่ ะองคป์ ระกอบมีพฤติกรรมบง่ ช้ดี งั ต่อไปนี้ 1. การคดิ อย่างสร้างสรรค์ 1.1 คดิ รเิ ร่มิ ในส่งิ ที่เปน็ ประโยชน์ 1.2 ใช้เทคนคิ วธิ ีการคดิ อยา่ งหลากหลาย 1.3 ใช้ความคิดที่อยู่บนพืน้ ฐานของข้อมลู และความรู้ 1.4 แสดงความคดิ ของตนเองต่อผอู้ ื่น ได้อย่างมปี ระสิทธิภาพ 1.5 ประเมินและปรับปรงุ ความคดิ ของตนเอง เพื่อนาไปสูก่ ารสรา้ งสรรค์

15 2. การทางานรว่ มกับบคุ คลอ่ืนอยา่ งสรา้ งสรรค์ 2.1 สอ่ื สารความคดิ ของตนเองกบั ผ้อู ่ืน ไดอ้ ยา่ งมปี ระสิทธิภาพ 2.2 เปิดรบั และตอบสนองความคิดเหน็ ใหม่ๆ ของบุคคลอืน่ 2.3 แสดงความคิดริเรมิ่ ในการปฏบิ ตั งิ าน และปรบั ให้สอดคลอ้ งกบั บรบิ ท 2.4 ทางานรว่ มกบั บคุ คลอน่ื ด้วยความร่วมมือร่วมใจ 2.5 แลกเปล่ยี นเรียนรู้กบั บุคคลอ่ืนเพ่อื ความสาเรจ็ ของงาน 2.6 เคารพความคดิ ของคนอืน่ ทงั้ ทส่ี อดคล้อง และไม่สอดคลอ้ งกบั ความคิดของตน 3. การสร้างสรรค์นวตั กรรมใหส้ าเร็จ 3.1 วางแผนดาเนินการพฒั นานวัตกรรม ท่ีสบื เน่อื งมาจากคิดคดิ สรา้ งสรรค์ 3.2 ดาเนินการพัฒนานวตั กรรมตามแผนที่กาหนดไว้ อยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ 3.3 ประเมินคณุ ภาพของนวตั กรรมทพี่ ฒั นาขึ้น โดยใชข้ ้อมูลเชงิ ประจกั ษ์ 3.4 ปรับปรงุ แกไ้ ขจดุ บกพรอ่ งของนวตั กรรมให้ดขี ึ้น อย่างตอ่ เน่ือง

16 การโค้ชที่เสริมสร้าง ทกั ษะการสร้างสรรค์และนวตั กรรม การจัดการเรียนรู้ที่เสริมสร้างทักษะการสร้างสรรค์และ น วั ต ก ร ร ม ใ ช้ แ น ว ท า ง ก า ร จั ด ก า ร เ รี ย น รู้ ท่ี เ น้ น ผู้ เ รี ย น เ ป็ น ส า คั ญ (student – centered approach) และการจดั การเรียนรู้ท่ีเปิดโอกาส ให้ผ้เู รยี นมสี ่วนรว่ มอย่างท่ัวถึง (inclusive approaches) โ ด ย ใ ช้ วิ ธี ก า ร จั ด ก า ร เ รี ย น รู้ แ บ บ ใ ช้ ปั ญ ห า เ ป็ น ฐ า น (problem – based learning) การจัดการเรียนรู้โดยใช้โครงงาน เป็นฐาน (project – based learning) ผู้สอนเปิดโอกาสใหผ้ เู้ รยี นได้เรียนรูร้ ว่ มกัน การนาประเด็น ปัญหาท่ีเกิดข้ึนจริงในสังคมและชุมชนมาเป็นจุดเร่ิมต้นของการ

17 เรียนรู้ ผู้สอนจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ให้ผู้เรียนร่วมกันใช้ความคิด และจินตนาการบนพื้นฐานของความรู้ที่นาไปสู่การสร้างสรรค์ นวัตกรรม ตลอดจนการใช้การเรียนรู้โดยการลงมือปฏิบัติ (active learning) ผู้สอนจะต้องมีความรู้และความสามารถท่ีเอ้ือต่อการ พัฒนาทกั ษะการสร้างสรรคแ์ ละนวตั กรรม ได้แก่ 1. มคี วามรเู้ กย่ี วกบั ปัจจัยที่ทาใหผ้ เู้ รียน เกดิ การเรียนรู้ 2. การสะท้อนผลการปฏบิ ตั ิ (reflective practice) 3. การปรบั วธิ กี ารจัดการเรยี นรู้ใหส้ อดคลอ้ งกับ บริบทต่างๆ เช่น ระดับความสามารถของผู้เรยี น 4. การสร้างสมั พันธภาพทด่ี ีกับผูเ้ รยี น ซ่งึ จะสง่ เสริมการเรียนรู้ไดเ้ ปน็ อย่างมาก 5. การจัดกจิ กรรมการเรยี นรแู้ ละการประเมนิ ผล ทห่ี ลากหลาย

18 นอกจากนี้ การจัดการเรียน รู้ท่ีเสริมสร้างทักษะ การสรา้ งสรรคแ์ ละนวตั กรรม มหี ลกั การสาคัญ 9 ประการท่ีผู้สอนควร ดาเนนิ การอยา่ งตอ่ เนื่อง ดงั น้ี 1. สอดคล้องกบั วถิ ีชีวิตของผู้เรยี น 2. กระตุ้นให้ผเู้ รียนใชก้ ระบวนการคิด 3. พัฒนาทกั ษะการคิดข้ันพนื้ ฐานและการคดิ ข้ันสูง 4. สง่ เสรมิ ใหผ้ เู้ รียนถ่ายโยงการเรียนรู้ 5. พัฒนากระบวนการเรยี นรู้ 6. แก้ไขความเข้าใจท่ีคลาดเคล่อื นของผู้เรียน 7. ใช้การเรยี นร้รู ่วมกนั ขับเคล่อื นกจิ กรรมการเรียนรู้ 8. ใช้เทคโนโลยีสนบั สนุนการเรยี นรู้ 9. กระตุ้นความคดิ รเิ รม่ิ สรา้ งสรรค์ของผเู้ รยี น

19 นอกจากนี้ผู้สอนควรจัดบรรยากาศของการเรียนรู้ให้มี ความท้าทาย มีอิสระ มีทรัพยากรสนับสนุน และผู้สอนให้การส่งเสริม ผู้เรียนอย่างต่อเน่ือง อีกทั้งยังต้องยึดหลักการจัดบรรยากาศการเรียนรู้ ที่เอือ้ ต่อการพฒั นาทักษะการสร้างสรรค์และนวตั กรรม ดงั ตอ่ ไปน้ี 1. การเรยี นรใู้ นลกั ษณะชมุ ชนแห่งการเรยี นรู้ ระหว่างผู้สอนกับผู้เรียนและผเู้ รยี นกบั ผู้เรยี น 2. สง่ เสรมิ วนิ ยั ในตนเองของผู้เรียน 3. เสริมสร้างปฏิสัมพันธ์ทีด่ ีระหวา่ งกัน 4. ผูเ้ รียนมีอิสระในการเลือกใชว้ ิธีการเรยี นรู้ และกระบวนการเรียนรู้ของตนเอง 5. ผู้สอนใชก้ ารสะท้อนผลการปฏบิ ตั ิ เพ่อื การปรบั ปรงุ และพัฒนาแกผ่ ูเ้ รยี น 6. การใหผ้ ลยอ้ นกลับอยา่ งสร้างสรรค์

20 ผู้สอนควรวิเคราะห์ธรรมชาติของผู้เรียนและใช้รูปแบบ การจัดการเรียนการสอน (instructional style) ให้สอดคล้องกับ ธรรมชาติของผู้เรียนแต่ละคน ซ่ึงจะส่งผลทาให้ผู้เรียนเกิดการพัฒนา ทักษะการสรา้ งสรรคแ์ ละนวตั กรรมไดอ้ ย่างมปี ระสิทธภิ าพ ตลอดจนการจัดบริบทของการเรียนรู้และกาหนดโจทย์ ของการเรียนรู้ท่ีส่งเสริมทักษะการสร้างสรรค์และนวัตกรรมเป็นส่ิง สาคญั ท่ชี ่วยพัฒนาทกั ษะของผู้เรียนได้เชน่ เดียวกนั การส่งเสริมให้ผู้เรียนมีทักษะการสร้างสรรค์และนวัตกรรม จาเป็นท่ีกระบวนการจัดการเรียนการสอนจะต้องมีความสร้างสรรค์ เรียกว่า Creative Pedagogy ซง่ึ ประกอบด้วย 1. การโค้ชอย่างสรา้ งสรรค์ (creative coaching) 2. การเรยี นรอู้ ยา่ งสร้างสรรค์ (creative learning) 3. การโคช้ ที่ส่งเสรมิ การสรา้ งสรรค์ (coaching for creativity)

21 Creative Coaching Creative Pedagogy Coaching Creative for Creativity Learning แผนภาพ 2 Creative pedagogy ทเ่ี สรมิ สร้างทักษะการสรา้ งสรรค์ และนวัตกรรม

22 นอกจากนี้แล้วการจัดการเรียนรู้ยังต้องบูรณาการทักษะการ สร้างสรรคแ์ ละนวตั กรรมร่วมกับเน้อื หาสาระตา่ งๆ ใหผ้ ้เู รียนได้เรียนรู้ และพัฒนาทักษะการสร้างสรรค์และนวัตกรรมอย่างต่อเน่ือง โดยยึด หลักการบรู ณาการ 3 ประการ ได้แก่ 1. การเช่ือมโยงเน้ือหาสาระกับสถานการณ์ ที่เกิดขึ้นจริงรอบตัวผู้เรียน เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในสังคมและชุมชน ช่วยทาใหผ้ เู้ รียนมมี มุ มองแบบองค์รวม การคิดเช่ือมโยง ซ่ึงเป็นพ้ืนฐาน ของการคิดสรา้ งสรรค์ 2. การเชื่อมโยงสาระสาคัญ (main concepts) ต่างๆ ให้ผู้เรียนได้นาไปใช้ในการสร้างสรรค์นวัตกรรมต่างๆ ร่วมกับ เพ่อื นในชั้นเรยี นตลอดจนบุคคลอ่ืนๆ 3. การ ส่งเ สริ มสนั บส นุน แ ละก ากั บติด ตา ม กระบวนการเรียนรู้และกระบวนการคิดของผู้เรียนในระหว่างการ จัดการเรียนรู้บูรณาการ ผู้สอนทาหน้าท่ีเป็นโค้ชการรู้คิด (cognitive coaching) การสร้างแรงบันดาลใจ (inspiration) และการสร้าง แรงจูงใจ (motivation) ใหก้ ับผ้เู รียนอยา่ งต่อเนื่อง เพ่ือให้มีความมุ่งม่ัน ท่ีจะใช้ความคิดและการสร้างสรรค์นวัตกรรมต่างๆ จนประสบ ความสาเรจ็

23 การจัดการเรียนรแู้ บบบูรณาการ ทเ่ี สริมสร้างทกั ษะการสร้างสรรค์ และนวตั กรรม การจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการ หมายถึง การนาความรู้ ท่ีครบวงจรในเร่ืองใดเร่ืองหน่ึงท่ีมาจากการนาความคิดรวบยอดหลัก ต่างๆ สมรรถนะ และคุณลักษณะมาเช่อื มโยงกันอยา่ งเปน็ ระบบ จัดกิจกรรมการเรียนรู้อย่างสอดคล้องกับจุดประสงค์ การเรียนรู้สอดคล้องกับความสนใจ และความต้องการของผู้เรียน โดยมี ผู้สอนเป็นผู้โค้ชการเรียนรู้ เพื่อให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ตามผลการ เรียนรู้ (learning outcomes) ที่กาหนด

24 การออกแบบหน่วยการเรียนรู้เป็นการนาคาอธิบายสาระ การเรียนรู้มาวิเคราะห์ความคิดรวบยอดหลัก (main concept) รว่ มกบั กระบวนการเรยี นรู้ ส่ือ และแหล่งเรียนรู้ เวลาเรียน และการวัด ประเมนิ ผล ก า ร จั ด ก า ร เ รี ย น รู้ แ บ บ บู ร ณ า ก า ร ท่ี มี ป ร ะ สิ ท ธิ ภ า พ มีตัวช้ีวัดดังตอ่ ไปน้ี 1. ส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้ (learning process) ทเ่ี ชื่อมโยงกบั วิถชี วี ิตของผเู้ รียน 2. เช่ือมโยงสาระสาคัญของการเรียนรู้(main concept) ที่สอดคล้องกับมาตรฐานการเรียนรู้ควบคู่กับการพัฒนา สมรรถนะและคุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ 3. นาสาระสาคัญที่เรียนรู้มาประยุกต์ใช้ในการ แก้ปญั หาและการดารงชวี ติ 4. ส่งเสริมการพัฒนากระบวนการคิดขั้นสูง เช่น คิด วิเคราะห์ คิดสังเคราะห์ คิดอย่างมีวิจารณญาณ คิดสรา้ งสรรค์ 5. ส่งเสริมการพัฒนาทักษะการเรียนรู้ การศึกษา ค้นคว้า การแลกเปลี่ยนเรยี นรู้ 6. ส่งเสริมการเรียนรู้ด้วยตนเอง (self - learning) ของผเู้ รียน

25 โดยการออกแบบการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการท่ีดี ควรมีความสอดคล้องกับความต้องการ ความสนใจ และความถนัดของ ผู้เรียน มีปัจจัยกาหนดท่ีต้องพิจารณาในการออกแบบหน่วยการเรียนรู้ 3 ประการ ได้แก่ 1) ธรรมชาติของผู้เรียน 2) สาระสาคัญ (main concept) 3) สมรรถนะและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ดังแผนภาพ ต่อไปน้ี บรู ณาการ ธรรมชาตผิ ู้เรียน สาระสาคญั สมรรถนะ (main และคณุ ลักษณะ concept) อนั พงึ ประสงค์ ทกั ษะการสร้างสรรคแ์ ละนวตั กรรม แผนภาพ 3 แนวคิดของการออกแบบการจดั การเรยี นรู้แบบบรู ณาการ ทเ่ี สริมสร้างทักษะการสร้างสรรค์และนวัตกรรม

26 การบูรณาการเป็นการเชื่อมโยงความคิดรวบยอดต่างๆ โดยท่ัวไปมี 4 รูปแบบ ดงั น้ี 1. การบูรณาการโดยผูส้ อนคนเดยี ว ผู้สอนดาเนินการจัดการเรียนรู้โดยเช่ือมโยง สาระสาคญั ตา่ งๆ โดยจดั กระบวนการเรียนรู้ด้วยตนเองเพยี งคนเดียว 2. การบรู ณาการแบบค่ขู นาน ผู้ ส อน ตั้ งแ ต่ส อ งค นขึ้ น ไป ร่ ว ม กัน จั ดก าร เ รีย น รู้ โดยการวิเคราะห์สาระสาคัญใหส้ อดคลอ้ งเชือ่ มโยงซ่ึงกนั และกัน 3. การบรู ณาการแบบสหวทิ ยาการ การบูรณาการในลักษณะนี้เป็นการนาสาระสาคัญ จากหลายกลุ่มสาระมาเช่ือมโยง เพ่ือจัดการเรียนรู้ซึ่งโดยทั่วไปผู้สอน มกั จัดการเรียนการสอนแยกตามรายวิชาหรอื กลุ่มวชิ า 4. การบูรณาการแบบโครงการ ผู้สอนบูรณาการสาระสาคัญต่างๆ เป็นโครงการ โดยผู้เรียนและผู้สอนร่วมกันสร้างสรรค์โครงการอย่างสอดคล้องกับ สาระสาคัญที่กาหนดไว้และใช้เวลาเรียนอย่างต่อเนื่องกันจนครบ ทุกสาระสาคัญ

27 การโคช้ ตามแนวทฤษฎคี อนสตรคั ติวสิ ต์ซมึ (Constructivism) เพือ่ เสริมสร้าง ทกั ษะการสรา้ งสรรคแ์ ละนวตั กรรม Constructivism เป็นทฤษฎีการเรียนรู้ที่อธิบายว่าผู้เรียน สามารถสร้างความรู้ความเข้าใจของตนเองต่อส่ิงต่างๆ จากการ มีปฏิสัมพันธ์กันระหว่างประสบการณ์ท่ีได้รับกับกระบวนการคิด ของตนเอง นาเสนอโดย Jean Piaget ประมาณปี ค.ศ. 1929 การจัดการเรียนรู้ตามแนวทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์ซึม มุ่งเน้นให้ ผู้เรียนมีประสบการณ์การเรียนรู้อย่างหลากหลายจนสามารถสร้าง ความรู้ความเข้าใจในเนื้อหาสาระต่างๆ (concepts & contents) ได้ ด้วยตนเอง

28 การเรียนรู้ตามแนวทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์ซึมมีหลักการ ทส่ี าคัญดังต่อไปน้ี 1. ผู้เรียนทุกคนสามารถสร้างความรู้ความเข้าใจ ของตนเองได้ จากการมีปฏิสมั พันธ์กับสง่ิ แวดล้อม 2. การเรียนรู้ใหม่เกิดมาจากความรู้เดิมท่ีมีอยู่ โดยกระบวนการซึมซับ (assimilation) และกระบวนการปรับแต่ง (accommodation) ท่ี Piaget ได้อธบิ ายไว้ 3. การมีปฏิสัมพันธ์กับสังคมจะเป็นปัจจัยช่วย ส่งเสริมการเรียนรู้ให้มีความหมายมากย่ิงข้ึน เกิดเป็นการเรียนรู้ที่มี ความคงทน 4. การปฏิบัติกิจกรรมการเรียนรู้ตามสภาพจริง จะทาให้เกิดการเรียนรู้อย่างมีความเข้าใจ และเช่ือมโยงสาระสาคัญ ที่เรยี นไดด้ ีขึน้

29 ก า ร จั ด ก า ร เ รี ย น รู้ ต า ม แ น ว ท ฤ ษ ฎี ค อ น ส ต รั ค ติ วิ ส ต์ ซึ ม เป็นการเรยี นร้ทู ผี่ ู้เรียนได้ลงมือปฏบิ ัติกจิ กรรมการเรียนรู้ต่างๆ โดยใช้ กระบวนการสืบเสาะแสวงหาความรู้ การทดลอง การสร้างสรรค์ การแกป้ ัญหา ตลอดจนการแลกเปลย่ี นเรียนรู้กับบุคคลอ่นื โดยผู้สอนมีบทบาทเป็นผู้วางแผนการเรียนรู้ การจัดเตรียม ทรัพยากรการเรียนรู้ และการจัดบรรยากาศการเรียนรู้ นอกจากนี้ ยังเป็นโค้ชการรู้คิด (cognitive coaching) ให้กับผู้เรียน โดยใช้การ ต้ังคาถามให้ผู้เรียนคิดมากกว่า การบอกความรู้และการตอบคาถาม ของผ้เู รียน บทบาทของผ้สู อนในการจัดการเรียนรู้ตามแนวทฤษฎีคอน สตรคั ติวสิ ต์ซึม มดี งั น้ี 1. ออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ให้สอดคล้องกับ ธรรมชาติของผ้เู รยี น 2. ส่ ง เ ส ริ ม แ ล ะ ส นั บ ส นุ น ใ ห้ ผู้ เ รี ย น ป ร ะ ส บ ความสาเร็จในการเรียนรู้ 3. กระตุ้นให้ผู้เรียนใช้การเรียนรู้จากการลงมือ ปฏิบัติจรงิ ด้วยตนเอง (hands – on)

30 4. จั ด บ ร ร ย า ก า ศ ก า ร เ รี ย น รู้ ทั้ ง บ ร ร ย า ก า ศ ทางกายภาพ บรรยากาศทางสังคม และบรรยากาศทางจิตวิทยา ให้เอ้ือตอ่ การเรียนรู้ 5. จดั ใหผ้ ู้เรยี นใช้วิธกี ารเรียนรู้ทห่ี ลากหลาย 6. โค้ชการเรยี นร้ใู ห้กับผู้เรยี น 7. สะทอ้ นผลการเรียนรู้เพ่ือการปรับปรงุ และพฒั นา แนวทางการประเมินผลการเรียนรู้ในการจัดการเรียนรู้ ตามแนวทฤษฎคี อนสตรคั ติวิสต์ซึม มุ่งเน้นการประเมินตามสภาพจริง (authentic assessment) ลักษณะของการประเมินเป็นแบบบูรณาการการประเมิน ท้ังด้านความรู้ ความคิด สมรรถนะ และคุณลักษณะของผู้เรียน ใช้กจิ กรรมการประเมินท่ีสอดคล้องกับกิจกรรมการเรียนรู้ ผู้สอนนาผล การประเมินมาให้ข้อมูลย้อนกลับแก่ผู้เรียนทั้งการให้ผลย้อนกลับ เพื่อกระตุ้นการเรียนรู้ (feed - up) การให้ผลย้อนกลับ (feedback) และการให้ผลย้อนกลับเพ่ือการเรียนรู้ต่อยอด (feed - forward) อยา่ งสร้างสรรค์

31 การประเมนิ ผลการเรียนรู้ทเ่ี สริมสรา้ ง ทักษะการสรา้ งสรรคแ์ ละนวตั กรรม การะประเมินผลการเรียนรู้ที่เสริมสร้าง ทักษะการ สร้างสรรค์และนวัตกรรม มีลักษณะ 3 ประการ ได้แก่ Assessment for learning, Assessment as learning, และ Assessment of learning มสี าระสาคัญดงั น้ี Assessment for learning การประเมินเพื่อการเรียนรู้ เป็นการประเมินเพ่ือ พฒั นาการเรยี นรู้ ผสู้ อนและผูเ้ รยี นใช้ข้อมลู สารสนเทศทางการประเมิน เป็นข้อมูลป้อนกลับ เพื่อการวินิจฉัยปัญหาการเรียนรู้ของผู้เรียน

32 การปรับปรุงวิธีการเรียนรู้หรือวิธีการทางานของผู้เรียน และพัฒนา ผูเ้ รียนเปน็ รายบุคคล ผู้สอนทาหน้าท่ีให้ข้อมูลท่ีมีคุณค่าต่อการเรียนรู้แก่ผู้เรียน ประกอบดว้ ย - การใหข้ อ้ มูลกระตุน้ การเรยี นรู้ (feed - up) - การให้ข้อมูลยอ้ นกลบั (feed back) - การใหข้ อ้ มูลเพอ่ื การเรยี นรตู้ อ่ ยอด (feed - forward) การให้ข้อมูลกระตุ้นการเรียนรู้ (feed - up) เป็นการให้ ข้อมูลพ้ืนฐานของการเรยี นรู้ ไดแ้ ก่ จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ วิธีการเรียนรู้ กระบวนการเรียนรู้ สื่อการเรียนรู้ แหล่งการเรียนรู้ ภาระงาน (job and task) ตลอดจนวิธีการวัดและเกณฑก์ ารประเมินผล นอกจากน้ผี ้สู อนยังต้องสร้างแรงจูงใจในการเรียนรู้ ที่เน้น แรงจูงใจภายใน (inner motivation) ช้ีแจงให้ผู้เรียนเห็นคุณค่า ในส่งิ ทจ่ี ะเรยี นรู้

33 ก า ร ใ ห้ ข้ อ มู ล ก ร ะ ตุ้ น ก า ร เ รี ย น รู้ เ ป็ น ส่ิ ง ส า คั ญ ม า ก ของกระบวนการจัดการเรียนการสอน เพราะผู้เรียนได้ทราบข้อมูล ท่ีสาคัญก่อนท่ีจะเร่ิมเรียน มีแรงจูงใจและอยากเรียนรู้ เห็นเป้าหมาย การเรยี นรู้ และภาระงานที่ตอ้ งปฏบิ ัติ การให้ข้อมูลย้อนกลับ (feed back) เป็นการให้ข้อมูล ในระหว่างและภายหลังท่ีผู้เรียนได้ปฏิบัติกิจกรรมการเรียนรู้ หรือการ ทางานต่างๆ เก่ียวกับการใช้กระบวนการเรียนรู้ ผลการเรียนรู้ คุณภาพของผลงาน พฤติกรรมคุณธรรมจริยธรรม และค่านิยมอันพึง ประสงค์ มจี ุดมุ่งหมายเพือ่ ให้ผู้เรียนทราบจุดแข็งและจุดท่ีต้องปรับปรุง แก้ไขของตนเอง การให้ข้อมูลย้อนกลับที่ดี ผู้สอนควรใช้การส่ือสารเชิง บวก (positive communication) ท่ีทาให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ ปรบั ปรงุ แก้ไขและพัฒนาตนเอง การให้ข้อมูลเพ่ือการเรียนรู้ต่อยอด (feed - forward) เป็นการให้ข้อมูลเพื่อให้ผู้เรียนเรียนรู้ด้วยตนเอง (self - learning) เพ่ิมเติม ภายหลังการจัดการเรียนการสอน มุ่งเน้นการชี้แนะแนวทาง และวิธีการเรียนรู้ท่ีเหมาะสมกับผู้เรียนรายบุคคล เพิ่มแรงบันดาลใจ ในการเรียนรู้ ให้กาลังใจผู้เรียน และเสริมพลังของการเรียนรู้ให้กับ ผู้เรียน ผเู้ รยี นไดท้ บทวนตนเองและนาไปพฒั นาการเรียนรูต้ ่อไป

34 Assessment as learning การประเมินขณะเรียนรู้ เป็นการประเมินลักษณะนี้ มีจุดเน้นคือการให้ผู้เรียนได้ใช้การประเมินตนเองและการประเมิน เพ่ือน เปน็ กระบวนการเรียนรู้ชนิดหนง่ึ การประเมินที่เกิดขึ้นเป็นระยะๆ ในระหว่างการทา กิจกรรมการเรียนรู้ ผู้เรียนจะได้ประเมินตนเองและแสวงหาแนวทาง พฒั นาตนเองอย่างตอ่ เนอื่ ง อีกทง้ั ยังมีโอกาสประเมินเพ่ือนร่วมชั้นเรียน และให้ขอ้ เสนอแนะเพอ่ื พฒั นาการเรยี นรู้ การประเมินขณะเรียนรู้เป็นการประเมินที่มีประโยชน์ ต่อผูเ้ รียนหลายประการ ดงั นี้ 1. กระตุน้ คณุ ลักษณะความรบั ผดิ ชอบในการเรียนรู้ ของตนเอง 2. ไดเ้ รยี นรู้วธิ ีการประเมนิ ตนเอง การประเมินเพื่อน การรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น และการให้ข้อเสนอแนะเก่ียวกับ การเรียนรู้ 3. เปดิ โอกาสให้ผู้เรียนตั้งคาถามเก่ียวกับการเรียนรู้ ของตนเอง และพยายามตอบคาถามน้นั ดว้ ยตนเอง

35 4. ผูเ้ รียนไดใ้ ชผ้ ลการประเมนิ ตนเองทั้งที่เป็นทางการ และไมเ่ ป็นทางการในการกาหนดเป้าหมายการเรยี นร้สู าหรับตนเอง 5. กระตุ้นผู้เรียนให้สะท้อนผลการเรียนรู้ให้กับ ตนเอง (self - reflection) สาหรับการประเมินตนเองโดยผู้เรียนน้ัน ผู้เรียนควร ตั้งคาถามตรวจสอบการเรยี นรู้ของตนเอง ดงั ต่อไปนี้ 1. จดุ มงุ่ หมายของการเรยี นรขู้ องเราคืออะไร 2. เราได้ความรอู้ ะไรบ้างจากการเรยี นรู้ในครง้ั น้ี 3. มีวิธกี ารเรยี นรใู้ นเรื่องนอ้ี ยา่ งไร 4. มคี วามเข้าใจสาระสาคัญที่เรียนนว้ี ่าอย่างไร 5. มเี กณฑก์ ารประเมนิ ผลการเรียนรู้ของเราอยา่ งไร และประสบความสาเร็จตามเกณฑ์นน้ั หรอื ไม่ 6. จะมวี ิธกี ารยกระดับผลการเรยี นร้ขู องเรา ในการเรยี นคร้ังต่อไปอยา่ งไร

36 การพัฒนาผู้เรียนให้มีความสามารถในการประเมินตนเอง และการประเมินเพ่อื นขณะเรียนรู้ ผู้สอนควรเปิดโอกาสให้ผู้เรียนร่วม อภิปรายแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับผลการเรียนรู้ (learning outcomes) ท่ผี สู้ อนกาหนดไว้ ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการกาหนดเกณฑ์การประเมิน ผลการเรยี นรู้ การให้ขอ้ มูลย้อนกลับตอ่ ผเู้ รยี นอย่างต่อเน่ือง ตลอดจน การต้ังคาถามช้ีแนะทางปัญญา (cognitive guided questions) เพ่ือให้ผู้เรียนใช้กระบวนการคิดต่างๆ ในการประเมินตนเองและ แสวงหาแนวทางการพัฒนาตนเอง ซึ่งเป็นการส่งเสริมคุณลักษณะ การเรยี นรดู้ ้วยตนเองตลอดชีวิตของผู้เรียนอีกดว้ ย Assessment of learning การประเมินผลการเรียนรู้ เป็นกระบวนการรวบรวม หลักฐานข้อมูลเชิงประจักษ์ต่างๆ เม่ือสิ้นสุดกระบวนการเรียนรู้ เพื่อตัดสินคณุ ค่าในการบรรลวุ ัตถปุ ระสงค์หรอื ผลลพั ธก์ ารเรยี นรู้ การประเมินผลการเรียนรู้ให้ความสาคัญกับการประเมิน ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน (achievement) ซึ่งแสดงถึงมาตรฐาน

37 ทางวิชาการในเชิงสมรรถนะและคุณลักษณะท่ีพึงประสงค์ สารสนเทศ จากการประเมินนาไปใช้ในการกาหนดระดับคะแนนให้กับผู้เรียน รว มทั้งใช้ในการ ปรับปรุงหลักสูตรและการเรียน การสอน การประเมนิ ผลการเรียนรู้ การประเมินผลการเรียนรู้ มีวัตถุประสงค์สาคัญเพ่ือตัดสิน ผลการเรียนรู้ของผู้เรียน โดยผู้สอนเป็นผู้ท่ีมีบทบาทหลักในการ ประเมิน โดยการประเมินจะมีลักษณะเป็นการประเมินรวบยอด (summative assessment) ที่ใช้วัตถุประสงค์หรือผลลัพธ์การเรียนรู้ เป็นมาตรฐานการประเมิน ตลอดจนใช้วิธีการและเครื่องมือประเมิน ท่ีมคี ุณภาพเชือ่ ถอื ได้ มีความเป็นทางการมากกว่าการประเมินเพ่ือการ เรียนรู้ (assessment for learning) และการประเมินขณะเรียนรู้ (assessment as learning)

38 บ ท บ า ท ข อ ง ผู้ ส อ น ใ น ก า ร ป ร ะ เ มิ น ผ ล ก า ร เ รี ย น รู้ ทีเ่ สรมิ สร้างทักษะการสรา้ งสรรค์และนวัตกรรม มดี ังน้ี 1. เป็นพี่เล้ียงโดยให้ข้อมูลย้อนกลับเชิงสร้างสรรค์ ตอ่ ผู้เรยี นเพือ่ พฒั นาผลการเรียนรู้ 2. เป็นผู้ช้ีแนะโดยการวินิจฉัยจุดบกพร่องในการ เรยี นรูข้ องผู้เรียนและนามาสู่การดแู ลช่วยเหลอื ให้เกดิ การเรียนรู้ 3. บันทึกผลการประเมินที่สะท้อนความก้าวหน้า ทางการเรยี นรู้ของผู้เรยี นอยา่ งเป็นระบบ 4. สื่อสารผลการประเมินไปยังผู้เก่ียวข้องทุกฝ่าย เช่น ผเู้ รยี น ผู้บรหิ าร ผู้ปกครอง เปน็ ต้น 5. เป็นผู้จัดการคุณภาพ โดยนาผลการประเมิน มาปรบั ปรุงและพัฒนาประสทิ ธภิ าพของการจัดการเรยี นการสอน ผู้สอนควรใช้การประเมินผลการเรียนรู้ ควบคู่กับ การประเมินเพ่อื การเรียนรู้ และการประเมินขณะการเรียนรู้ เพื่อให้มี ผลการประเมินที่หลากหลาย สามารถใชพ้ ัฒนาผู้เรยี นได้อย่างตอ่ เนื่อง

39 การประเมนิ ผลการเรยี นรู้ที่เสริมสร้างทักษะการสร้างสรรค์ และนวัตกรรมใช้หลกั การประเมนิ ตามสภาพจรงิ 4 ประการ ได้แก่ 1. ใช้ผู้ประเมินหลายๆ ฝ่าย เช่น ผู้สอน ผู้เรียน เพ่ือน และผ้เู กี่ยวขอ้ ง 2. ใช้วิธีการประเมินอย่างหลากหลาย เช่น การสงั เกต การสอบถาม การตรวจผลงาน 3. ประเมินหลายๆ คร้ัง ตลอดช่วงเวลาการเรียนรู้ ไดแ้ ก่ ก่อนเรยี น ระหวา่ งเรียน หลังเรียน และตดิ ตามผล 4. สะท้อนผลการประเมินไปสู่การปรับปรุง และพฒั นาผูเ้ รยี นและการจัดการเรยี นรู้

40 บทสรปุ 1. การโค้ชเพ่ือเสริมสร้างทักษะการสร้างสรรค์และนวัตกรรม เปน็ บทบาทที่สาคญั มากในการพฒั นาผเู้ รียนไปสู่สังคมในอนาคต 2. ความคิดสร้างสรรค์สามารถพัฒนาได้ในทุกช่วงวัยซ่ึงเป็น พ้นื ฐานทสี่ าคญั ของการสรา้ งสรรคน์ วัตกรรม 3. บทบาทการโค้ชมุ่งให้ความสาคัญกับการตั้งคาถามกระตุ้น ความคิด การช้ีแนะทางปัญญา การเสริมแรง การสร้างแรงบันดาลใจ และการสะทอ้ นผลกลับอยา่ งสรา้ งสรรค์เพือ่ การพฒั นา ************************************************* “รว่ มสร้างสรรคอ์ นาคตของเรา ดว้ ยการพัฒนาเด็กๆ ในวนั น้ี”

41 บรรณานกุ รม ราชบัณฑติ ยสถาน. (2555). พจนานุกรมศพั ท์ศึกษาศาสตร์ ฉบับราชบัณฑติ ยสถาน. กรงุ เทพฯ: อรณุ การพมิ พ์ วิชัย วงษใ์ หญ่ และมารุต พฒั ผล. (2556). จากหลกั สูตรแกนกลาง สหู่ ลักสูตรสถานศกึ ษา: กระบวนทศั นใ์ หม่การพัฒนา. (พมิ พ์ครั้งท่ี 6). กรงุ เทพฯ: จรลั สนทิ วงศก์ ารพิมพ์ จากัด. . (2557). การโคช้ เพอ่ื การรคู้ ิด. กรงุ เทพฯ: จรัลสนิทวงศ์ การพมิ พ์ Adams, Karlyn. (2005). The Sources of Innovation and Creativity. XXX: National Center on Education and Economy. Anderson, L. W. and Krathwohl, D. R., et al (Eds..) (2001). A Taxonomy for Learning, Teaching, and Assessing: A Revision of Bloom’s Taxonomy of Educational Objectives. Allyn & Bacon. Boston, MA (Pearson Education Group) Baker, E.; McGraw, B. and Peterson, P. (Eds). (2009). “Constructivism and learning”. International Encyclopedia of Education. 3rd. Oxford: Elsevier.

42 Battista, Michael T. (2012). Cognition – based assessment & teaching of geometric measurement: Building on student’s reasoning. Portsmouth: Heinemann. Bell, Stephanie. (2010). “Project – based Learning for the 21st Century: Skills for the Future”. The Clearing House. 83: 39 – 43. DOI: 10.1080/00098650903505415 Beers, Sue Z. (2013). “21st Century Skills: Preparing Students for THEIR Future”. Chell, Elizabeth. and Athayde, Rosemary. (2009). The identification and measurement if innovation characteristics of young people: Development of the Youth Innovation Skills Measurement Tool. United of Kingdom: National Endowment for Science, Technology and the Arts. Clarke, D J , & Hollingsworth, H (2002). Elaborating a model of teacher professional growth Teaching and Teacher Education. 18(8), 947-967 Cooperstien, Susan. and Weidinger, Elizabeth Kocevar. (2004). “Beyond active learning: a constructivist approach to learning”. Reference Services Review. Volume 32. Number 2. pp.141 – 148.

43 Costa, Arthur L. and Garmston, Robert j. (2002). Cognitive Coaching A Foundation For Renaissance Schools. 2nd ed. Massachusetts: Christopher – Gordon Publishers, Inc. Department of Education, Employment and Workplace Relations. (2009). Developing Innovation Skills: A guide for trainers and assessors to foster the innovation skills of learners through professional practice. Wellington: Innovation & Business Skills Australia. Fadel, Charles. (2008). How can you prepare students for the new Global Economy. Global Lead, Education Cisco Systems, Inc./ OECD/CERI Paris. Giesen, Janet. (2004). Constructivism: A Holistic Approach to Teaching and Learning. Faculty Development and Instruction Design Center Northern Illinois University. Good T.L. and Brophy, J.E. (1994). Looking in Classrooms. New York: HarperCollins College Publisher. Griffith University. (2011). Creative and Innovation Toolkit. 2nd. International Society for Technology in education. (online) www.iste.org/standards.

44 Guilford. 1988). “Some changes in the structure of intellect model”. Educational and Psychological Measurement. 48, pp.1 - 4. Halligan, Una. (2009). Skills in Creativity, Design and Innovation. Dublin: Expert Group on Future Skills Needs Secretariat. Hodges, John R. (2007). Cognitive assessment for clinicians. 2nd ed. New York: Cambridge University. Hondzel, C. Dishke. (2013). Fostering Creativity: Ontario Teacher’s Perceptions,Strategies,and Experiences. London: Graduate Program in Education Studies. The University if Western Ontario. Ingils, Scott. (1994). Making the Most of Action learning. London: Gower. Knight, Jim. (2009). Coaching Approaches & Perspectives. California: Corwin Press. Leighton, Jacqueline., and Gierl, Mark J. (2011).The learning science in educational assessment: The role of cognitive models. New York: Cambridge University Press.