Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รายงานร้านมะพร้าวน้ำหอม

รายงานร้านมะพร้าวน้ำหอม

Published by 26-อริสรา บัวแดง, 2022-03-19 02:39:59

Description: รายงานร้านมะพร้าวน้ำหอม

Search

Read the Text Version

ระบบการจดั การร้านมะพรา้ วนำ้ หอม จัดทำโดย นางสาวอรสิ รา บัวแดง เลขท่ี 26 นางสาวชลนชิ า มาคะวงค์ เลขท่ี 32 นายธนภทั ร์ บญุ ยงั เลขท่ี 37 เสนอ ครูจริ วรรณ มะลาไสย รายงานเลม่ นเ้ี ป็นส่วนหน่ึงของรายวชิ าการวเิ คราะหแ์ ละออกแบบระบบเชิงวตั ถุ รหสั วิชา 3204–2006 สาขาวิชาเทคโนโลยีธุรกิจดจิ ทิ ลั ระดับชัน้ ประกาศนยี บตั รวิชาชีพชั้นสงู (ปวส.) วิทยาลัยเทคนิคจนั ทบรุ ี ประจำภาคเรียนที่ 2 ปกี ารศกึ ษา 2564

ระบบการจัดการรา้ นมะพร้าวน้ำหอม จดั ทำโดย เลขท่ี 26 เลขที่ 32 นางสาวอรสิ รา บัวแดง เลขท่ี 33 นางสาวชลนชิ า มาคะวงค์ นายธนภัทร์ บญุ ยัง เสนอ ครจู ริ วรรณ มะลาไสย รายงานเล่มนเี้ ปน็ สว่ นหนงึ่ ของรายวิชาการวเิ คราะหแ์ ละออกแบบระบบเชิงวตั ถุ รหัสวิชา 3204–2006 สาขาวิชาเทคโนโลยธี รุ กจิ ดิจิทลั ระดับช้นั ประกาศนียบตั รวชิ าชีพชน้ั สงู (ปวส.) วทิ ยาลัยเทคนคิ จนั ทบรุ ี ประจำภาคเรยี นท่ี 2 ปกี ารศึกษา 2564

คานา รายงานเล่มน้ีจัดทาข้นึ เพือ่ เป็นสว่ นหน่งึ ของวชิ าการวเิ คราะห์ และ ออกแบบระบบ เชงิ วตั ถุ รหัสวชิ า 3204 – 2006 ชนั้ ปวส. 1/1 เพ่อื ให้ไดศ้ ึกษาหาความรู้ในเรอื่ ง ร้านมะพรา้ วน้าหอม และ ไดศ้ ึกษาอยา่ งเขา้ ใจเพ่ือเป็นประโยชน์กับการเรียน คณะผจู้ ดั ทาหวังวา่ รายงานเลม่ น้ีจะเป็นประโยชน์กับผอู้ า่ น หรอื นักเรยี นนักศึกษา ท่กี าลงั หาขอ้ มลู เรอ่ื งนี้อยูห่ ากมีขอ้ เสนอแนะนาหรือขอ้ ผดิ พลาดประการใดคณะผจู้ ดั ทาขอน้อมรับไว้ และขออภัยมา ณ ท่นี ี้ดว้ ย คณะผจู้ ัดทา ก

สารบัญ หน้า คานา ก สารบญั ข สารบัญตาราง ง สารบญั ภาพ จ บทท่ี 1 บทนา 1 1 1.1 ความเป็นมาและความสาคญั 1 2 1.2 วัตถุประสงคข์ องการวิจยั 2 1.3 ขอบเขตการวิจยั 3 1.4 คาจากดั ความที่ใช้ในงานวจิ ยั 1.5 ประโยชน์ท่ีคาดวา่ จะได้รับ 4 1.6 ระยะเวลาทใ่ี ชใ้ นการจดั ทาโครงงาน 5 9 บทที่ 2 แนวคดิ ทฤษฎี เอกสารและงานวิจยั ทเ่ี กี่ยวข้อง 11 12 2.1 การวเิ คราะห์และออกแบบระบบ 19 2.2 หลกั การเขยี นผงั งานระบบ 19 20 2.3 ความหมายของ Data Flow Diagram และ Entity Relationship Diagram 22 22 2.4 วธิ ีสรา้ ง DFD (Data Flow Diagram) 24 2.5 ความรเู้ บือ้ งตน้ เกยี่ วกับระบบฐานข้อมลู 27 2.6 โปรแกรม Notepad++ 2.7 ภาษา PHP 2.8 ภาษา SQL 2.9 กรอบแนวคิดในการวิจยั 2.10 งานวิจัยทีเ่ ก่ยี วขอ้ ง บทที่ 3 วิธีดาเนนิ การวจิ ยั 3.1 การออกแบบระบบฐานขอ้ มูล 3.2 การออกแบบประเมินความพงึ พอใจ ข

สารบญั (ต่อ) หน้า บทท่ี 4 ผลการดาเนนิ งาน 29 30 4.1 การจัดเกบ็ Data Base 4.2 การออกแบบหน้าจอ 33 33 บทที่ 5 สรุป อภปิ รายผล และขอ้ เสนอแนะ 33 33 5.1 วัตถปุ ระสงคข์ องการวจิ ยั 33 5.2 สมมตฐิ านการวิจยั 33 5.3 เครื่องมอื ในการวิจัย 34 5.4 การเกบ็ รวบรวมขอ้ มูล 35 5.5 การวเิ คราะหข์ ้อมูล 36 5.6 สรปุ ผลการวจิ ัย 5.7 ข้อเสนอแนะ 38 บรรณานกุ รม 41 ภาคผนวก ก 43 Context Diagram หรือ DFD ระดับ 0 ของ รา้ นนา้ มะพร้าว 45 ภาคผนวก ข 46 48 Context Diagram หรอื DFD ระดับ 1 ของ รา้ นนา้ มะพร้าว ภาคผนวก ค ER-Model แบบ Chen Model and Crow'sFoot Model ร้านนา้ มะพร้าว ภาคผนวก ง Entity Relationship Diagram ร้านน้ามะพรา้ ว ภาคผนวก จ คาถาม 15 ข้อ สรุปบทสัมภาษณ์ ค

สารบัญตาราง หนา้ ตารางท่ี 3 7 1.1 ระยะเวลาการจัดทาโครงงาน 10 2.1 ตารางสัญลักษณม์ าตรฐานทใี่ ช้เขยี นผังงานระบบ 29 2.2 ตารางสญั ลักษณ์ท่ีใช้ใน Data Flow Diagram (DFD) 29 4.1.1 แสดงข้อมูลลูกคา้ 29 4.2.2 แสดงขอ้ มลู สนิ คา้ 29 4.2.3 แสดงข้อมลู รายการขายสินค้า 29 4.2.4 แสดงข้อมลู การขายสนิ ค้า 30 4.2.5 แสดงขอ้ มลู ประเภทสินค้า 30 4.2.6 แสดงข้อมลู ใบเสร็จ 4.2.7 แสดงข้อมลู พนกั งาน ง

สารบญั ภาพ ภาพที่ หนา้ 2.1 สัญลกั ษณ์ทใี่ ชใ้ นการเขียน ER Diagram 11 2.2 ภาพแสดงกรอบแนวคดิ ในการวิจัย 22 3.1 แผนภาพกระแสขอ้ มูล Data Flow Diagram Level Context Diagram ของ level 0 24 3.2 แผนภาพกระแสขอ้ มูล Data Flow Diagram Level 1 25 3.3 แสดงถงึ Entity Relationship Diagram ของระบบการขายน้ามะพรา้ ว 25 3.4 การออกแบบตารางข้อมูลร้านขายนา้ มะพร้าว 26 3.5 การออกแบบตารางขอ้ มลู Product 26 3.6 การออกแบบตารางข้อมูล Order_detail 26 3.7 การออกแบบตารางข้อมูล Order 26 3.8 การออกแบบตารางข้อมลู Employee 27 3.9 การออกแบบตารางข้อมลู Category 27 4.1 หนา้ จอระบบลกู ค้า 30 4.2 หน้าจอใบสงั่ ซอื้ สนิ ค้า 31 4.3 ออกแบบหน้าจอรายการสนิ ค้า 31 4.4 ออกแบบหน้าจอระบบขายนา้ มะพร้าวน้าหอม 32 จ

บทท่ี 1 บทนา 1.1 ความเป็นมาและความสาคัญ กกกกกกกกงานขายสินคา้ เป็นงานที่สาคัญงานหน่ึงของร้านขายผกั ตลาดโบว์ลิง่ ต้องทาควบค่กู บั งาน การเงิน พนกั งานขายสินค้าไดบ้ รหิ ารอย่างเป็นระบบระเบียบ โดยการจดบนั ทึกลงสมดุ และนา เทคโนโลยที ่ที นั สมัยมาใช้ เนอ่ื งจากการใชง้ านทง่ี ่ายและสามารถเขา้ ถึงได้ทกุ เพศทกุ วยั อยา่ งเช่น เคร่ืองคอมพิวเตอร์ ซ่ึงนอกจากจะมคี วามสามารถในการพิมพ์เอกสาร ออกแบบและพฒั นางานต่าง ๆ ไดแ้ ล้ว ท้ังความจุ ความเร็ว ความสวยของภาพ และความทนั สมยั ทาใหส้ ามารถนาระบบปฏิบัตกิ าร ลงไปใส่ในเครื่องคอมพวิ เตอรไ์ ดอ้ ย่างมีประสิทธิภาพมากข้ึน กกกกกกกกเนอื่ งจากระบบการขายสนิ คา้ แบบเดมิ ยังมกี ารจดบนั ทกึ ใส่สมดุ แล้วแตล่ ะสปั ดาห์ก็จะนา ข้อมูลการเบิกพสั ดนุ ้นั มาพิมพ์ลงใน Microsoft Excel ซงึ่ การทาพสั ดุแบบเดิมนั้นยังไม่ตอบสนองตอ่ ความตอ้ งการของผใู้ ชง้ านไดต้ รงตอ่ ความต้องการ เพราะยงั ไมม่ ีโปรแกรมสาเรจ็ รูปในการบนั ทกึ การ การขายสนิ คา้ ซึ่งในการเบกิ แตล่ ะครง้ั ต้องเขียนใสส่ มดุ หากลืมเขยี นกจ็ ะไมไ่ ด้บันทกึ ลงใน Microsoft Excel จาทาใหก้ ารเชค็ พสั ดตุ อนส้ินเดือนมปี ญั หา คือ สนิ ค้าที่เหลอื ตามจริ งกบั สินคา้ ใ นระบบ ไม่ตรงกนั กกกกกกกกจากปัญหาข้างต้น คณะผจู้ ัดทาจงึ ไดม้ แี นวคิดที่จะนาเทคโนโลยสี ารสนเทศมาประยกุ ต์ใช้ ในการดาเนินงานดงั กล่าว จงึ ได้มีการจดั ทาระบบการเบิกจ่ายพัสดุ เพ่ืออานวยความสะดวกแก่ผู้ เบกิ จา่ ยพัสดใุ ห้สามารถดาเนินงานต่าง ๆ ได้อย่างสะดวกและรวดเร็ว 1.2 วัตถุประสงค์ของการวจิ ยั 1.2.1 เพอ่ื สรา้ งระบบการขายสินคา้ (กรณศี กึ ษาร้านขายผักตลาดโบวล์ ง่ิ ) 1.2.2 เพือ่ หาความพงึ พอใจของผใู้ ชท้ มี่ ีตอ่ ระบบการเบิกจา่ ยพัสดุ 1.3 ขอบเขตการวิจัย 1.3.1 ประชากรและกล่มุ ตัวอยา่ ง 1.3.1.1 ประชากร คือ นกั ศึกษาหลกั สตู รประกาศนยี บตั รวชิ าชพี ชั้นสูง (ปวส.) ระดบั ชั้นปีที่ 1 สาขาวิชาเทคโนโลยธี รุ กจิ ดจิ ทิ ลั วิทยาลัยเทคนิคจนั ทบุรี ภาคเรยี นท่ี 2 ปีการศึกษา 2564 จานวน 45 คน

2 1.3.1.2 กลมุ่ ตัวอย่าง คอื นกั ศึกษาหลักสูตรประกาศนยี บตั รวชิ าชีพชน้ั สูง (ปวส.) ระดบั ชน้ั ปีที่ 1 หอ้ ง 1 วิทยาลัยเทคนิคจนั ทบรุ ี ภาคเรียนท่ี 2 ปีการศกึ ษา 2564 จานวน 33 คน 1.3.2 ตวั แปรท่ศี กึ ษา 1.3.2.1 ตัวแปรต้น คอื ระบบการขายสนิ คา้ 1.3.2.2 ตัวแปรตาม คอื ความพงึ พอใจของผ้ใู ชร้ ะบบการเบกิ จ่ายพสั ดุ 1.3.3 เครื่องมอื ทีใ่ ช้ในงานวิจัย 1.3.3.1 โปรแกรม Notepad++ 1.3.3.2 โปรแกรม PHP My Admin 1.3.3.3 คอมพิวเตอร์ใชส้ าหรับแสดงผลระบบ 1.3.4 วิธกี ารเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู 1.3.4.1 ศกึ ษาและรวบรวมขอ้ มลู 1.3.4.2 จัดทาโปรแกรม เรอ่ื ง ระบบสารสนเทศเกี่ยวกบั การขายสนิ คา้ (กรณศี กึ ษาร้านขายมะพร้าวนา้ หอม) 1.3.4.3 ให้พนักงานขายสนิ ค้า ทดลองใช้ 1.3.4.4 เกบ็ รวบรวมแบบสอบถามทงั้ หมดและนามาประมวลผลให้สมบรู ณต์ อ่ ไป 1.3.5 สถิตทิ ใี่ ชใ้ นการวเิ คราะหข์ ้อมูล ใช้สถิติพรรณนา (Descriptive Statistics) ในการวัดคา่ กลางของขอ้ มูลโดยใช้ค่าเฉลีย่ เลข คณติ (Arithmetic Mean) หรือค่าเฉล่ยี (Mean) x และวัดค่าการกระจายของข้อมูลโดยใช้คา่ สว่ น เบ่ียงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) S.D. 1.4 คาจากดั ความทใ่ี ช้ในงานวจิ ัย 1.4.1 การขาย หมายถงึ การแก้ปญั หาในการท่พี นกั งานขายได้มีการเข้าพบลูกคา้ และ มีการนาเสนอสนิ คา้ ให้ลูกค้าน้นั บางคร้ังลกู คา้ อาจจะมีข้อสงสัย หรือปญั หาในเรื่อง ต่าง ๆ เชน่ นโยบายคุณภาพราคาเงอ่ื นไข การส่งมอบ ฯลฯ ดงั น้นั พนักงานจะต้องเปน็ ผ้เู ขา้ ไปช่วยเหลือ ขจัดปญั หาต่าง ๆ จนทาให้ลูกค้ามีความเชื่อม่นั และยอมรบั สินคา้ นน้ั ๆ 1.5 ประโยชน์ทีค่ าดวา่ จะได้รบั 1.5.1 ไดร้ ะบบสารสนเทศเกย่ี วกบั การขายสินคา้ (กรณศี กึ ษาร้านขายมะพร้าวนา้ หอม) 1.5.2 สามารถนาความรทู้ ไ่ี ดร้ ับไปปรับใช้ในชีวติ ประจาวัน

3 1.6 ระยะเวลาที่ใช้ในการจดั ทาโครงงาน กกกกกกกกตารางการดาเนนิ โครงงานครง้ั นี้ใช้ระยะเวลา ตงั้ แต่เดือนพฤศจิกายน พ.ศ.2564 ถงึ เดือน มีนาคม พ.ศ. 2565 ดังตารางที่ 1.1 ขน้ั ตอน สปั ดาหท์ ี่ การดาเนินงาน 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 1. กาหนดโครงงาน 2. เสนอโครงงาน 3. ศกึ ษารายละเอยี ดขอ้ มูล 4. ออกแบบระบบ 5. ดาเนนิ การทาระบบ 6. นาเสนอระบบ 7. ประเมนิ ผลและสรุปผล 8. จดั ทาเอกสารโครงงาน ตารางท่ี 1.1 ระยะเวลาการจดั ทาโครงงาน

บทท่ี 2 แนวคดิ ทฤษฎี เอกสารและงานวิจยั ท่ีเก่ยี วข้อง กกกกกกกก ในการดาเนนิ โครงงานระบบการ ขายสินค้า ของร้านขายมะพรา้ วนา้ หอม จะต้องศกึ ษา หลกั การและทฤษฎีของการเขยี นโปรแกรมทน่ี ามาช่วยในการสร้างโปรแกรม ระบบการ การขายสินคา้ โดยใชโ้ ปรแกรม PHP มาสรา้ ง เพื่อใหส้ ามารถจัดทาโปรแกรมจัดเกบ็ ขอ้ มลู สนิ ค้าต่าง ๆ อย่างมี ประสิทธภิ าพเพิม่ ยิ่งมากขนึ้ โดยศกึ ษาหลักการและทฤษฎี ดังหวั ข้อต่อไปน้ี 2.1 การวิเคราะหแ์ ละออกแบบระบบ 2.2 หลกั การเขยี นผงั งานระบบ 2.3 ความหมายของ DFD และ ER Diagram 2.4 วธิ ีสร้าง DFD 2.5 ความรูเ้ บื้องตน้ เก่ียวกบั ระบบฐานขอ้ มลู 2.6 โปรแกรม Notepad++ 2.7 ภาษา PHP 2.8 ภาษา SQL 2.1 การวเิ คราะห์และออกแบบระบบ กกกกกกกกการวเิ คราะห์ระบบและการออกแบบ (System Analysis and Design) การวิเคราะห์ และออกแบบระบบคอื วิธกี ารทใี่ ชใ้ นการสร้างระบบสารสนเทศข้ึนมาใหม่ นอกจากการสร้างระบบ สารสนเทศใหมแ่ ล้ว การวเิ คราะหร์ ะบบช่วยในการแก้ไขระบบสารสนเทศเดมิ ท่มี อี ยู่แล้วให้ดีขน้ึ ด้วย การวิเคราะห์ระบบกค็ ือ การหาความตอ้ งการ (Requirements) ของระบบสารสนเทศวา่ คอื อะไร หรอื ตอ้ งการเพ่ิมเตมิ อะไรเขา้ มาในระบบ และการออกแบบกค็ อื การนาเอาความต้องการของระบบมา เปน็ แบบแผน หรอื เรียกว่าพมิ พเ์ ขยี วในการสร้างระบบสารสนเทศน้ันให้ใชง้ านไดจ้ รงิ ตวั อย่าง ระบบ สารสนเทศ เชน่ ระบบการขาย ความต้องการของระบบกค็ อื สามารถติดตามยอดขายได้ เปน็ ระยะๆ เพอ่ื ฝ่ายบริหารสามารถปรบั ป รงุ การขายไดท้ ันทว่ งที ตัวอย่างรายงานการขายท่ีกล่าว มาแลว้ จะ ชี้ใหเ้ ห็นวา่ เราสามารถติดตามการขายไดอ้ ยา่ งไรนกั วเิ คราะห์ระบบ (System Analyst หรอื SA) คอื บคุ คลทีม่ ีหนา้ ท่ีวิเคราะห์และออกแบบระบบ การท่ีมีนักวเิ คราะหร์ ะบบในองค์กรนัน้ เป็นการ ได้เปรยี บเพราะจะทาใหร้ ู้ โดยละเอียดว่า การทางานในระบบนั้นๆ เป็นอย่างไร และอะไรคือความ ต้องการของระบบ ในกรณที ี่นกั วิเคราะห์ระบบไมไ่ ดอ้ ยใู่ นองค์ กรน้ัน กส็ ามารถวิเคราะห์ระบบได้ เชน่ กันโดยการศกึ ษาสอบถามผูใ้ ช้ และวิธกี ารอ่นื ๆ ซงึ่ จะกลา่ วในภายหลงั ผ้ใู ช้ในท่นี ก้ี ็คอื เจ้าของ และ ผู้ที่เกี่ยวขอ้ ง ในระบบสารสนเทศนัน้ เอง ผ้ใู ชอ้ าจจะเปน็ คนเดียว หรือหลายคนก็ได้ เพ่ือให้

5 นักวเิ คราะหร์ ะบบทางานไดอ้ ยา่ งคลอ่ งตวั มลี าดบั ขน้ั และเป้าหมายที่แนน่ อน นกั วิเคราะหร์ ะบบควร ทราบถึงวา่ ระบบสารสนเทศนน้ั พัฒนาขึน้ มาอย่างไร มีขัน้ ตอนอย่างไรบา้ ง 2.2 หลกั การเขียนผังงานระบบ 2.2.1 ผงั งานระบบ คอื รูปภาพหรือสญั ลกั ษณท์ ่ีใช้แทนลาดบั หรือขน้ั ตอนในโปรแกรมรูปภาพ หรอื สัญลกั ษณ์ท่ใี ชเ้ ปน็ เอกลักษณ์ และแทนความหมายอย่างใดอยา่ งหน่ึง ประเภทของผังงาน โดยท่ัวไปผงั งานคอมพวิ เตอรแ์ บ่งเปน็ 2 ประเภทใหญ่ 2.2.1.1 ผงั งานระบบ (System Flowchat) เปน็ ผงั งานทแ่ี สดงถึงข้ันตอนการทางาน ภายในระบบหนงึ่ โดยจะแสดงถงึ ความเก่ียวขอ้ งของสว่ นท่สี าคญั ตา่ งๆในระบบนนั้ เชน่ เอกสาร เบ้ืองตน้ หรือส่ือบันทกึ ข้อมูลทใี่ ชอ้ ยู่เปน็ อะไรและผ่านไปยงั หนว่ ยงานใด มกี จิ กรรมอะไรในหน่วยงาน น้นั แล้วจะสง่ ต่อไปหนว่ ยงานโต เปน็ ต้น ดงั น้นั ผังงานระบบอาจเก่ียวขอ้ งกับคน วัสดุ และเครื่องจักร ซ่งึ แตล่ ะจุดจะประกอบไปดว้ ย การนาข้อมลู เขา้ วธิ ีการประมวลผลและการแสดงผลลัพธ์ (Input Process Output) ว่ามาจากทีใ่ ดอย่างกว้าง ๆ จงึ สามารถเขยี นโปรแกรมจากผังงานระบบได้ 2.2.1.2 ผังงานโปรแกรม (Program Flowchat) หรือเรียกสัน้ ๆ วา่ \"ผังงาน\" ผังงาน ประเภทนแ้ี สดงถึงขน้ั ตอนของคาสงั่ ท่ใี ช้ในโปรแกรม ผงั งานนี้อาจสร้างจากผงั งานระบบโดยผูเ้ ขียนผัง งานจะดึงเอาแต่ละจุดท่เี กี่ ยวขอ้ งการทางานของเครื่องคอมพวิ เตอรท์ ป่ี รากฏในผังงานระบบมา เขยี น เพ่ือใหท้ ราบว่าถ้าจะใชค้ อมพวิ เตอรท์ างานในจดุ นน้ั เพอื่ ใหไ้ ด้ผลลพั ธ์ทต่ี ามตอ้ งการ ควรท่จี ะมี ขั้นตอนคาส่งั อย่างไร และจะได้นามาเขียนโปรแกรมคอมพวิ เตอรท์ างานตอ่ ไป 2.2.2 การใช้งานผังงานระบบ เพ่ื อให้ทราบถงึ ความเก่ียวพนั ของระบบตังแตเ่ ริ่มต้น วา่ มี การ ปฏิบัตแิ ตล่ ะขน้ั ตอนอย่างไร ใช้วธิ กี ารอะไรบา้ ง เหมาะสาหรบั ผ้บู รหิ าร ผู้วิเคราะห์ระบบ และ ผเู้ ขยี นโปรแกรม จะได้ทราบถงึ ความสัมพนั ธ์ของแผนกตา่ ง ๆ 2.2.3 ประโยชนแ์ ละขอ้ จากดั ของผงั งานระบบ ผังงานระบบเปน็ เอ กสารประกอบ โปรแกรมซงึ่ จะ ช่วยใหก้ ารศึกษาลาดบั ขนั้ ตอนของโปรแกรมง่ายข้ัน จึงนยิ มเขียนผังงานระบบ ประกอบ การเขียน โปรแกรม ด้วยเหตผุ ลดงั นี้ 2.2.3.1 คนสว่ นใหญ่สามารถเรยี นรู้และเข้าใจผังงานระบบไดง้ ่าย เพราะผงั งาน ระบบไม่ ขึ้นอยู่กบั ภาษาคอมพวิ เตอรภ์ าษาใดภาษาหนง่ึ โดยเฉพาะ 2.2.3.2 ผังงานระบบเป็นการสือ่ ความหมายด้วยภาพ ทาให้ง่ายและสะดวกต่อ การ พจิ ารณาถึงลาดับขัน้ ตอนในการทางาน ซง่ึ นา่ จะดีกวา่ บรรยายเปน็ ตัวอักษร การใชข้ อ้ ความ หรอื คาพดู อาจจะสอ่ื ความหมายผดิ ไปได้ 2.2.3.3 ในงานโปรแกรมที่ไมส่ ลบั ซับซ้อน สามารถใชผ้ ังงานระบบตรวจสอบ ความ ถูกตอ้ งของลาดับข้นั ตอนได้ง่าย โปรแกรมจะแก้ไขได้ สะดวกและรวดเรว็ ข้ึน

6 2.2.3.4 การเขยี นโปรแกรมโดยพิจารณาจากผังงานระบบ สามารถทาใหร้ วดเรว็ และง่ายขึ้น 2.2.3.5 การบารุงรกั ษาโปรแกรมหรอื การเปล่ยี นแปลงแกไ้ ขโปรแกรมให้มี ประสทิ ธภิ าพ ถา้ ดูจากผังงานระบบจะชว่ ยให้สามารถ ทบทวนงานในโปรแกรมก่อนปรบั ปรงุ ไดง้ ่ายข้นึ 2.2.4 ขอ้ จากดั ของผงั งานระบบผู้เขยี นโปรแกรมบางคนไม่นิยมการเขียนผังงานระบบ กอ่ นท่ีจะ เขียนโปรแกรมเพราะเสียเวลาในการเขยี นเป็นรูปภาพหรือสญั ลักษณ์ต่าง ๆ นอกจากนยี้ งั มี เหตผุ ล อน่ื ๆ ไดแ้ ก่ 2.2.4.1 ผงั งานระบบเปน็ การสือ่ ความหมาระหว่างบุคคลต่อบุคคลมากกว่าทีจ่ ะส่อื ความหมายระหวา่ งบคุ คลกบั เครอ่ื ง เพราะผังงานระบบไมข่ น้ึ อยู่กบั ภาษาคอมพวิ เตอร์ ภาษาได้ ภาษา หนึง่ ทาให้เคร่ืองไม่สามารถรบั และเข้าใจวา่ ในมง่ั งานระบบนน้ั ตอ้ งการใหท้ าอะไร 2.2.4.2 เมื่อไดพ้ จิ ารณาจากผงั งานระบบจะไมส่ ามารถทราบไต้วา่ ชนั้ ตอน การ ทางานใดสาคัญกวา่ กนั เพราะทุก ๆ ชน้ั ตอนใช้รปู ภาพหรือสัญลกั ษณ์ในลักษณะเดียวกนั 2.2.4.3 การเขยี นผังงานระบบเป็นการสน้ิ เปลอื ง เพราะจะตอ้ งใช้กระดาษและ อปุ กรณ์ อื่น ๆ ประกอบการเขียนภาพ บางครั้งการเขยี นผงั งานระบบอาจจะต้องใชก้ ระดาษมากกวา่ 1 แผน่ ทัง้ ๆ ทีก่ ารอธิบายงานเดยี วกนั จะใช้เน้ือท่ีเพียง 3.4 บรรทดั เทา่ นน้ั 2.2.4.4 ผงั งานระบบจะมขี นาดใหญ่ ถ้าโปรแกรมทีพ่ ฒั นาเปน็ งานใหญ่ ทาให้ผังงาน ระบบแลดเู ทอะทะไมค่ ล่องตวั และถ้ามีการปรบั เปลยี่ นผงั งานระบบจะทาไดย้ าก นางครัง้ อาจจะต้อง เขยี นผังงานขัน้ ใหม่ 2.2.4.5 ในผงั งานระบบจะบอกช้ันตอนการปฏบิ ตั ิงานว่าเป็นลาดบั อยา่ งไร ปฏบิ ตั งิ าน อะไรแตจ่ ะไมร่ ะบใุ ห้ทราบวา่ ทาไมจงึ ต้องเปน็ ลาดบั และตอ้ งปฏบิ ัตงิ านอยา่ งนัน้ 2.2.4.6 ในภาษาคอมพวิ เตอรท์ ่ีใชก้ นั ในปัจจบุ ัน เช่น ภาษาซี ผังงานระบบ ไม่ สามารถ แทนลกั ษณะคาสั่งในภาษาไดช้ ดั เจน ตรงไปตรงมา 2.2.5 สญั ลักษณ์ท่ีใชใ้ นการเขียนผงั งานระบบตอ้ งใชส้ ัญลักษณต์ ่าง ๆ นามาเรยี งกันเพอ่ื แสดง สาดับการทางาน โดยมลิ ูกศรเชื่อมระหว่างภาพตา่ งๆ สัญลกั ษณท์ ี่ใชใ้ นการเขียนผงั งานระบบที่ นยิ มใช้ กนั นนั้ เปน็ สญั ลกั ษณ์ของหนว่ ยงานสถาบนั มาตรฐานแหง่ ชาตสิ หรัฐอเมรกิ า (American National Standard Instituite : ANSI) และองค์การมาตรฐานนานาชาติ (Interiaticnal Standard Organization: ISO) หน่วยงานดังกล่าว ทาหนา้ ทรี่ วบรวมและกาหนดสัญลักษณม์ าตรฐานท่จี ะใช้ เขยี นผังงานระบบดังน้ี

7 ตารางท่ี 2.1 ตารางสญั ลักษณม์ าตรฐานทใ่ี ช้เขียนผงั งานระบบ สญั ลักษณ์ ความหมาย ตวั อย่างการใช้ คาอธิบาย แสดงการเริม่ ต้น หรอื การ START 1.เรม่ิ ผงั งานระบบ ส้ินสดุ ของการเขยี นผังงาน STOP 2.จบผังงานระบบ ระบบ (Terminal Interrupt) การรบั ขอ้ มลู หรือแสดง 1. รับ(อา่ น) ค่า A โดยไม่ ขอ้ มูล (Input Output ระบุสื่อที่บนั ทึกค่า A Media) 2. แสดงคา่ B โดยไม่ ระบสุ ่ือ การรบั ขอ้ มูลหรือแสดง ข้อมลู โดยใชบ้ ัตรเจาะรู รบั ค่า (อา่ น) ค่า A ที่ เปน็ สอ่ื (Punch Tape) บันทกึ บนบตั ร 1 ใบ การรบั ขอ้ มูลหรอื แสดง ขอ้ มูลโดยใชเ้ ทปกระดาษ อา่ นคา่ ID ทบ่ี นั ทึกบน เทปกระดาษ (Punch Tape)

การแสดงขอ้ มูลหรือ 8 ผลลพั ธ์พมิ พ์ทาง เคร่ืองพิมพล์ งบนกระดาษ ใหพ้ มิ พ์คา่ A ทาง ต่อเนอ่ื ง (Continuous กระดาษตอ่ เนอื่ ง Paper) แสดงค่า A ทางจอภาพ การแสดงผลลพั ธท์ าง จอภาพ (Display) ตารางที่ 2.1 ตารางสัญลักษณม์ าตรฐานท่ใี ช้เขยี นผังงานระบบ (ตอ่ ) หลังจากกาหนดคา่ A=3 แล้วให้ไปทาตามจุด แสดงจุดตอ่ เน่อื งทอี่ ยู่คน ละหนา้ ต่อเนื่องชือ่ B ซ่ึงไมไ่ ดอ้ ยู่ หนา้ เดยี วกัน (Off-Page Connector) 2.2.6 หลักเกณฑใ์ นการวเิ คราะห์งาน การวิเคราะหง์ านหรอื การวิเคราะห์ปัญหา นบั ว่าเปน็ หัวใจสาคัญของการเขียนโปรแกรมหรอื ชดุ คาสงั่ ต่าง ๆ เพอื่ ส่งั ให้คอมพวิ เตอรท์ างาน การวิเคราะห์ งานเปน็ การศึกษาถึงรายละเอยี ดของปญั หาเกี่ยวกบั งานที่ต้องการเขยี นโปรแกรมเขา้ เคร่อื ง คอมพิวเตอร์นามาศกึ ษา วเิ คราะห์และตคี วามเพื่อช่วยให้เข้าใจง่ายเชน่ ตอ้ งการใหเ้ ครื่องทางาน อะไร ลักษณะผลลัพธ์ท่ีต้องการแสดงวธิ ี การประมวลผลทต่ี ้องใชแ้ ละข้อมลู ที่จะตอ้ งปอ้ นเขา้ ไปกล่าว โดย สรปุ การวิเคราะห์งานจะเปน็ การศึกษาผลลัพธ์ (Output) ข้อมูลทนี่ าเข้า (Input) และวธิ ีการ ประมวลผล (Process) รวมท้งั การกาหนดช่ือตัวแปร (Variable) ท่จี ะใชใ้ นโปรแกรมนน่ั เองวธิ กี าร วิเคราะห์งานให้ไดผ้ ลดีน้ันมี หลายแบบแต่หลกั เกณฑใ์ หญ่ ๆ ทน่ี ิยมใช้กนั อย่างทวั่ ไปสามารถแยก เป็น ข้อ ๆ ตามลาดบั ดงั ต่อไปน้ี

9 2.2.6.1 สง่ิ ทโ่ี จทย์ต้องการ หมายถึง สง่ิ ที่ต้องการใหเ้ ครอื่ งคอมพวิ เตอรท์ าให้ เช่น ตอ้ งการใหค้ านวณคะแนนเฉลยี่ ของนกั ศกึ ษา ต้องการใหค้ านวณเงนิ เดอื นและคา่ แรง เปน็ ต้นงานแต่ ละชนิ้ อายตอ้ งกานใชเ้ คร่ืองทางานใหม้ ากวา่ หนงึ่ อยา่ ง ซึ่งควรจะเขียนไว้เปน็ ข้อ ๆ ใหช้ ดั เจนการ พิจารณาถงึ สิง่ ที่โจทยต์ อ้ งการเปน็ ส่วนทีส่ าคัญมาก เพราะถา้ ไม่ทราบก็ไมส่ ามารถจะทาข้ันตอนต่อไป ได้เลยหรอื ถ้าเขา้ ใจส่วนน้ี ผิดกจ็ ะทาใหง้ านผดิ ทั้งหมด 2.2.6.2 ผลลพั ธ์ทีต่ อ้ งแสดง (Output) หมายถงึ การวิเคราะห์ลักษณะของงาน หรอื รูปแบบผลลพั ธ์ท่ตี อ้ งการให้คอมพวิ เตอรแ์ สดงออกมาว่าควรจะมลี กั ษณะอยา่ งไร มีรายละเอยี ดที่ ต้องการให้แสดงในรายงานมากน้อยเพยี งใดหรอื รายละเอียดชนดิ ใดท่ีไม่ต้องการใหแ้ สดงออกมาใน รายงาน ในกรณี นเ้ี ปน็ หนา้ ท่ีของผเู้ ขยี นโปรแกรมเองวา่ จะตอ้ งการรปู แบบรายงานออกมาโดยมี รายละเอียดที่จาเป็นและสวยงามเพยี งใด เนอ่ื งจากรายงานหรอื ผลลัพธน์ ม้ี ีความสาคัญตอ่ ผ้บู รหิ าร เนอ่ื งจากผู้บรหิ ารจะใช้รายงานหรือผลลัพธ์ไปช่วยในการตดั สนิ ใจหรือการวิเคราะหแ์ ละแก้ไข ปญั หา ต่าง ๆ ได้ 2.2.6.3 ขอ้ มลู ทีต่ อ้ งนาเขา้ (Input) หมายถึง ขอ้ มูลทตี่ อ้ งปอ้ นเขา้ มาเพ่อื ใช้ใน การ ประมวลผล ซ่ึงเปน็ ขัน้ ตอนทต่ี ่อเน่ืองจากการวเิ คราะห์ลกั ษณะของผลลพั ธ์คือ เมอื่ พิจารณาถึง ลักษณะของ Output ทีแ่ น่นอนแล้วข้อมลู ทีต่ ้องนาเขา้ ไปกค็ วรจะพจิ ารณาใหเ้ หมาะสมกบั ผลลพั ธท์ ี่ ตอ้ งการแสดงด้วย ทง้ั นอี้ าจจะตอ้ งพิจารณาถึงขนั้ ตอนในการประมวลผลควบคูไ่ ปด้วย 2.2.6.4 ตวั แปรทีใ่ ช้ (Variable) หมายถงึ การกาหนดชื่อแทนความหมายของข้อมูล ต่าง ๆ เพือ่ ความสะดวกในการอ้างถงึ ขอ้ มลู นนั้ และการเขยี นโปรแกรมด้วยการตง้ั ชื่อตัวแปรทีใ่ ชค้ วร คานึงถึงความหมายท่ีเกี่ยวขอ้ งกบั ขอ้ มูลการต้ังชือ่ ตวั แปรนี้ จะขน้ึ อยูก่ บั กฎเกณฑข์ อง ภาษาคอมพวิ เตอร์ทใ่ี ชใ้ นการเขียนโปร แกรมเพราะภาษาคอมพิวเตอรแ์ ต่ละภาษามกี ฎเกณฑ์และ ความสามารถในการตง้ั ตัวแปรแตกตา่ งกันไปแต่โดยทัว่ ๆ ไปการตงั้ ชื่อตวั แปรจะพจิ ารณาความหมาย ของข้อมูลวา่ ตรงกับคาใดในภาษาองั กฤษ แลว้ นามาตัดแปลงหรอื ยอ่ ใหเ้ ขา้ กบั หลักเกณฑ์ของ ภาษาคอมพิวเตอรท์ ใ่ี ช้ 2.2.6.5 วิธกี ารประมวลผล (Processing) หมายถงึ วิธีการประมวลผลโดยแสดงขนั้ ตอน ต่าง ๆ ทตี่ อ้ งทาตามาลาดับ เรม่ิ จาการรบั ข้อมูลนาไปประมวลผลจนไดผ้ ลลพั ธ์ ข้ันตอนนี้จะตอ้ งแสดง การทางานทต่ี อ่ เนอื่ งตามลาดบั จงึ ต้องจดั ลาดบั ก่อนหลงั ใหถ้ กู ตอ้ ง ในข้นั ตอนของวิ ธกี ารนีถ้ า้ ยง่ิ กระ ทาให้ละเอยี ดก็จะช่วยในการเขียนโปรแกรมยิ่งงา่ ยข้ึน 2.3 ความหมายของ Data Flow Diagram และ Entity Relationship Diagram 2.3.1 Data Flow Diagram หรอื (DFD) คือ แผนภาพการวเิ คราะห์ระบบของนกั วิเคราะหร์ ะบบ ที่ชว่ ยให้สามารถเขา้ ใจในกระบวนการทางานของแตล่ ะหนว่ ยงาน ซึ่งทราบถึงการรับ /ส่งข้อมูล การ

10 ประสานงานระหว่างกิจกรรมตา่ ง ๆ ในการดาเนินงาน ซ่ึงเป็นแบบจาลองของระบบ แสดงถึงการไหล ของข้อมูลทง้ั INPUT และ OUTPUT ระหวา่ งระบบกบั แหล่งกาเนิดรวมทั้งปลายทางของการส่งขอ้ มูล ซงึ่ อาจเปน็ แผนก บคุ คล หรอื ระบบอ่ืน โดยขึน้ อยู่กับระบบงานและการทางานประสานงานภายใน ระบบน้นั นอกจากนี้ยงั ช่วยใหร้ ถู้ งึ ความตอ้ งการของขอ้ มลู และข้อบกพรอ่ ง (ปญั หา) ในระบบงานเดิม เพื่อใชใ้ นการออกแบบการปฏบิ ตั ิงานในระบบใหม่ 2.3.2 Entity Relationship Diagram หรือ (ER Diagram) คอื แผนผังแสดงความสัมพันธ์ ระหวา่ ง Entity หรือกลุม่ ขอ้ มูล ซึง่ จะแสดงชนดิ ของความสมั พนั ธ์ว่าเป็นชนดิ หน่งึ ตอ่ หนึ่ง (One to One) หนง่ึ ตอ่ หลายสงิ่ (One to Many) หรอื หลายส่งิ ต่อหลายส่ิง (Many to Many) ตารางที่ 2.2 ตารางสญั ลักษณท์ ี่ใชใ้ น Data Flow Diagram (DFD) DeMarco & Gane & Sarson ความหมาย Yourdon Process - ขน้ั ตอนการทางานภายใน ระบบ Data Store - แหล่งขอ้ มูลสามารถเปน็ ได้ ทัง้ ไฟลข์ อ้ มูลและฐานข้อมูล External Entity – ปจั จัยหรอื ส่ิงแวดล้อมทมี่ ีผลกระทบต่อระบบ Data Flows – เสน้ ทางการไหลของ ขอ้ มลู แสดงทิศทางของข้อมลู จาก ขัน้ ตอนการทางานหนง่ึ ไปยงั อีกข้ันตอน หนง่ึ

11 ภาพที่ 2.1 สญั ลักษณ์ทใ่ี ช้ในการเขยี น ER Diagram 2.4 วิธสี ร้าง DFD (Data Flow Diagram) 2.4.1 กาหนดสิ่งท่ีอยู่นอกเหนือระบบท้ังหมด และหาว่าข้อมูลอะไรบ้างทเี่ ขา้ สรู่ ะบบหรือออก จากระบบท่เี ราสนใจเขา้ สู่ระบบที่อยู่ภายนอก ขัน้ ตอนนส้ี าคญั มาก เพราะจะทาใหท้ ราบวา่ ขอบเขต ของระบบน้นั มีอะไรบ้าง 2.4.2 ใชข้ อ้ มลู ทไี่ ด้จากขัน้ ตอนที่ 1 นามาสร้าง DFD ตา่ งระดับ 2.4.3 ขน้ั ตอนต่อมามีอีก 4 ข้ันตอน โดยให้ทาทงั้ 4 ข้นั ตอนนซี้ า้ หลาย ๆ ครงั้ จนกระท่งั ได้ DFD ระดับตา่ สดุ 2.4.3.1 เขียน DFD ฉบับแรก กาหนดโพรเซสและขอ้ มลู ที่ไหลเขา้ ออกจากโพรเซส 2.4.3.2 เขยี น DFD อน่ื ๆ ที่เปน็ ไปไดจ้ นกระทง่ั DFD ทถี่ กู ทส่ี ดุ ถา้ มสี ่วนหน่งึ ส่วนใดที่ รสู้ ึกไมง่ า่ ยนกั กพ็ ยายามเขยี นใหม่ อกี ครง้ั หนง่ึ แตไ่ มค่ วรเสียเวลาเขยี นจนกระทงั่ ได้ DFD ทส่ี มบูรณ์ แบบ เลือก DFD ท่ีเหน็ ว่าดที ส่ี ดุ ในสายตาของเรา 2.4.3.3 พยายามหาวา่ มขี อ้ ผดิ พลาดอะไรบา้ ง หรอื ไมซ่ ึง่ มีรายละเอียดในหัวข้อผิดพลาด ใน DFD 2.4.3.4 เขยี นแผนภาพแต่ละภาพอยา่ งดีซึง่ DFD ฉบับนีจ้ ะใช้ตอ่ ไปในการออกแบบและ ใช้ด้วยกนั กับบคุ คลอ่นื ๆ ทเี่ กยี่ วข้องในโครงการดว้ ย

12 2.4.4 นาแผนภาพท้ังหมดที่เขียนมาแลว้ เรยี งลาดับและ ทาสาเนาแล้วพรอ้ มทีจ่ ะนาไปตรวจสอบ ขอ้ ผิดพลาดกับผรู้ ว่ มทมี งาน ถ้า มแี ผนภาพใดทม่ี จี ดุ ออ่ นใหก้ ลับไปเรมิ่ ต้นใหม่ทข่ี ัน้ ตอนที่ 3 อีกครัง้ หนง่ึ 2.4.5 นา DFD ท่ีไดไ้ ปตรวจสอบขอ้ ผิดพลาดกับผ้ใู ช้ระบบเพือ่ หาว่ามีแผนภาพใดไมถ่ ูกตอ้ ง หรอื ไม่ 2.4.6 ผลติ แผนภาพฉบับสดุ ท้ายทั้งหมด 2.5 ความร้เู บอ้ื งต้นเกยี่ วกับระบบฐานขอ้ มูล 2.5.1 ฐานข้อมูล (database) หมายถงึ การจัดรวบรวมข้อนเิ ทศหรอื ข้อมูลของเร่อื งตา่ ง ๆ ไว้ใน รปู แบบที่จะเรียกมาใชไ้ ด้ทนั เมอ่ื ตอ้ งการ ในการเรียกนัน้ อา จเรยี กเพยี งส่วนใดสว่ นหนง่ึ มาใช้ ประโยชน์เป็นครั้งเป็นคราวกไ็ ด้ ฐานขอ้ มูลท่ดี ีควรจะไดร้ ับการปรบั ใหท้ ันสมัยอยเู่ สมอ กลุม่ ของ แฟ้มข้อมูลทมี่ คี วามสมั พันธ์กันและถกู นามารวมกัน เชน่ ฐานข้อมลู ในบริษทั แห่ง หนึง่ อาจประกอบไป ด้วยแฟม้ ขอ้ มูลหลายแฟ้มข้อมลู ซง่ึ แต่ละแฟม้ ต่างกม็ ีความสัมพั นธก์ ัน ไดแ้ ก่ แฟม้ ข้อมลู พนักงาน แฟ้มขอ้ มลู แผนกในบริษทั แฟม้ ข้อมลู ขายสนิ คา้ และแฟ้มขอ้ มูลสินค้า เปน็ ต้น สรุ ปไดว้ า่ ฐานขอ้ มูล คอื การรวบรวมข้อมูลท่ีเราต้องการจะจดั เกบ็ ซง่ึ ต้องมคี วามสมั พั นธก์ ันหรอื เป็นเรือ่ งเดียวกันไว้ ดว้ ยกนั เพอื่ สะดวกในการใชง้ าน 2.5.2 ระบบการจัดการฐานขอ้ มูล (Data Base Management System : DBMS) หมายถึง ซอฟตแ์ วร์ท่สี รา้ งขึ้นเพื่อรวบรวมขอ้ มลู ใ ห้เปน็ ระบบ เพ่อื จะได้นาไปเก็บรักษา เรยี กใชห้ รือนามา ปรบั ปรุงใหท้ ันสมัยได้ง่าย ทง้ั นจ้ี าเปน็ ต้องคานึงถงึ การรกั ษาความปลอดภัยของข้อมูลเปน็ เร่ืองสาคัญ ด้วย โปรแกรมทใ่ี ช้เป็นเคร่อื งมอื ในการจัดการฐานขอ้ มูล ซง่ึ ประกอบดว้ ยหนา้ ที่ ต่าง ๆ ในการจัดการ กับขอ้ มูล รวมท้ังภาษาท่ีใช้ทางานกบั ขอ้ มูล โดยมักจะใช้ ภาษา SQL ในการโต้ตอบระหวา่ งกนั กับผูใ้ ช้ เพ่ือใหส้ ามารถกาหนดการสรา้ งการเรยี กดู การบารุงรกั ษาฐานข้อมลู รวมท้ังการจัดการควบคมุ การ เขา้ ถึงฐานขอ้ มลู ซง่ึ ถอื เป็น การปอ้ งกันความปลอดภัยในฐาน ขอ้ มูล เพื่อปอ้ งกันมิใหผ้ ู้ที่ไม่มี สทิ ธกิ าร ใช้งานเขา้ มาละเมดิ ขอ้ มลู ในฐานขอ้ มูลทเี่ ปน็ ศูนยก์ ลางได้ นอกจากน้ี DBMS ยังมีหน้าท่ีในการรักษา ความมั่นคงและปลอดภยั ของเปน็ ศนู ย์กลางได้ นอกจากนี้ DBMS ยงั มีหนา้ ทใ่ี นการรักษาความม่ันคง และความปลอดภยั ของข้อมลู การสารองขอ้ มลู และการเรียกคืนข้อมูลในกรณีท่ี ขอ้ มลู เกิดความ เสียหาย สรุปไดว้ ่า \"การพฒั นาระบบการจดั การฐานขอ้ มลู ” คือ โปรแกรมทาหนา้ ทใี่ นการกาหนด ลกั ษณะข้อมูลทจ่ี ะเก็บไวใ้ นฐานขอ้ มลู อานวยความสะดวกในการบนั ทึกขอ้ มูลลงในฐานข้อมลู กาหนด ผู้ที่ได้รบั อนุญาตใหใ้ ชฐ้ านขอ้ มูลได้พรอ้ มกับกาหนดดว้ ยวา่ ใหใ้ ชไ้ ด้แบบ ใด เชน่ ใหอ้ า่ นข้อมูล ได้ อย่าง เดียวหรอื ใหแ้ กไ้ ขขอ้ มูลได้ด้วย นอกจากน้นั ยงั อานวยความสะดวกในการคน้ หาขอ้ มลู และ

13 การแกไ้ ข ปรับปรุงข้อมูล ทาใหผ้ ูใ้ ช้สามารถเขา้ ถึงขอ้ มูลได้งา่ ย สะดวกและมีประสทิ ธภิ าพ เสมอื นเป็น ตวั กลาง ระหวา่ งผใู้ ช้กับฐานขอ้ มลู ให้สามารถติดตอ่ กนั ได้ 2.5.3 ประวตั คิ วามเป็นมาของระบบจัดการฐานขอ้ มลู การจดั การฐานข้อมูลเรม่ิ ตน้ จากการที่ องคก์ ารบรหิ ารการบนิ และ อวกาศสหรัฐอเมริกา หรอื นาซา่ ได้ว่าจ้างบรษิ ัทไอบเี อ็ม (IBM) ประเทศ สหรัฐอเมรกิ าให้ออกแบบระบบเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู ท่ไี ด้จากการสารวจดวงจนั ทรใ์ นโครงการอะพอ ลโล โครงการอะพอลโลเปน็ โครงการสารวจอวกาศอยา่ งจริงจัง และมีการส่งมนุษยข์ นึ้ บนดวงจนั ทรไ์ ด้ สาเรจ็ ดว้ ยยานอะพอลโล 11 ไดพ้ ัฒนาระบบการดแู ลข้อมลู เรยี กว่า ระบบ GUAM (Generalized Upgrade Access Method) ซ่งึ ถอื เปน็ ต้นกาเนดิ ของระบบการจัดการฐานข้อมลู ต่อมาบรษิ ัท ไอบเี อ็ม ได้พฒั นาระบบการจดั การฐานขอ้ มลู ขน้ึ มาใหม่เพ่ือให้ใช้งานกับธรุ กิจทั่ว ๆ ไปไดเ้ รยี กว่า DLA (Data Language/) จนในทส่ี ุดก็ได้กลายมาเป็นระบบ IMS (Information Management System) ในช่วงปี พ.ศ.2525 มีการนาระบบฐานข้อมลู เขา้ มาใชก้ ับคอมพวิ เตอรอ์ ย่างเต็มท่ไี ดม้ กี าร คิดคน้ และ ผลิตซอฟต์แวรเ์ กยี่ วกบั ฐานขอ้ มูลออกมามากมาย การเจริญเตบิ โตของการจัดการ ฐานขอ้ มลู ชุดหน้า ไปอย่างรวดเร็ว พร้อมกบั ระบบคอมพิวเตอรแ์ ละมกี ารพฒั นามาจนถึงทกุ วันน้ี ปัจจุบนั ได้มีการนา คอมพวิ เตอร์มาใช้ในการเกบ็ ขอ้ มูล โดยใช้โปรแกรมสาเร็จรูปท่วั ไปโดยทผ่ี ูใ้ ชไ้ ม่ ตอ้ ง เขียนโปรแกรม เองเพยี งแต่เรยี นรู้คาสั่งการเรียกใชข้ ้อมูลหรอื การจัดการข้อมูล เชน่ การปอ้ นขอ้ มูล การบันทึกข้อมูล การแก้ไขและเปลย่ี นแปลงขอ้ มูล เป็นต้น ในอดตี ยุคท่ีมีไมโครคอมพิวเตอร์เกิดข้นึ แรก ๆ โปรแกรม สาเรจ็ รูปทางดา้ นการจดั การฐานข้อมลู ท่ีนิยมใชก้ นั อย่าง แพรห่ ลาย คือ Personal Filing System ตอ่ มาได้มีโปรแกรมฐานข้อมลู เพมิ่ ข้ึนหลายโปรแกรม เช่น Data star DB Master และ dBase II ได้รับความนยิ มมาก จนกระท่งั ในปี พ .ศ.2528 ผ้ผู ลติ ได้สรา้ ง dBase Ill Plus ออกมา ซึ่งสามารถ จัดการฐานขอ้ มลู แบบสมั พันธ์ (relational) เชอ่ื มโยงแฟ้มขอ้ มลู ต่าง ๆ เขา้ ดว้ ยกัน ค้นหา และนามา สรา้ งเปน็ รายงานตามความตอ้ งการไดส้ ะดวก รวดเรว็ ตอ่ มาได้มีการสรา้ ง โปรแกรมสาเร็จรปู เก่ยี วกบั ฐานข้อมลู ออกมา เช่น FoxBASE, FoxPro, Microsoft Access และ Oracle 2.5.4 องคป์ ระกอบของระบบการจดั การฐานข้อมูล ระบบการจัดการ ฐานขอ้ มูลประกอบดว้ ย สว่ นสาคญั หลกั ๆ 5 สว่ น คือ ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ ขอ้ มูล กระบวนการทางาน และ บคุ ลากร ดัง รายละเอียดต่อไปนี้ 2.5.4.1 ฮารด์ แวร์ (hardware) หมายถึง คอมพวิ เตอรแ์ ละอุปกรณ์ตา่ ง ๆ เพอ่ื เก็บข้อมลู และประมวลผลข้อมูล ซ่งึ อาจประกอบดว้ ยเคร่อื งคอมพวิ เตอรต์ ง้ั แตห่ นงึ่ เครอื่ งขน้ึ ไปหน่วยเก็บข้อมูล สารอง หนว่ ยนาเขา้ ขอ้ มลู และ หนว่ ยแสดงผลขอ้ มูล นอกจ ากนย้ี ังต้องมีอปุ กรณ์ การส่ือสารเพ่ือ เชื่อมโยงอุปกรณ์ทางคอมพิวเตอร์หลาย ๆ เครือ่ งใหส้ ามารถแลก เปลี่ยนขอ้ มลู กนั ได้ เป็นตน้ โดย เครอื่ งคอมพวิ เตอรท์ ีจ่ ะใชเ้ ป็นอปุ กรณส์ าหรบั ประมวลผลขอ้ มูลในฐานข้อมูลน้นั สามารถเป็นได้ต้งั แต่ เครื่องเมนเฟรมคอมพวิ เตอร์ มนิ ิคอมพิวเต อร์ หรอื ไมโ ครคอมพวิ เตอรซ์ ึง่ ถา้ เปน็ เคร่อื ง

14 เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ หรือ มนิ คิ อมพวิ เตอรจ์ ะสามารถใชต้ ่อกับเทอร์มินัลหลายเครอ่ื ง เพอ่ื ให้ผใู้ ช้งาน ฐานขอ้ มลู หลายคน สามารถดึงข้อมลู หรอื ปรบั ปรงุ ขอ้ มูลภายในฐานข้อมูลเดียวกันพรอ้ มกนั ได้ ซึง่ เป็น ลกั ษณะของการทางานแบบมลั ตยิ ู สเซอร์ (multi user) การประมวลผลฐานขอ้ มูลในเครอ่ื งระดับ ไมโครคอมพวิ เตอร์ สามารถทาการประมวลผลได้ 2 แบบ แบบแรกเปน็ การประมวลผลฐานขอ้ มูลใน เคร่ืองไมโครคอมพวิ เตอร์เคร่อื งเดยี ว โดยมผี ใู้ ชง้ านได้เพยี งคนเดยี วเทา่ น้นั (single user) ที่สามารถ ดึงข้อมลู หรอื ปรบั ปรุงขอ้ มลู ภายในฐานขอ้ มูลได้ สาหรบั แบบที่สองจะเปน็ การนาไมโครคอมพิวเตอร์ หลายตวั มาเชื่อมต่อกัน ในลกั ษณะของเครอื ขา่ ยระยะใกล้ (Local Area Network : LAN) ซง่ึ เปน็ รปู แบบของระบบเครอื ข่ายแบบลูกข่าย / แมข่ ่าย (client /server network) โดยจะมีการเกบ็ ฐานขอ้ มลู อยทู่ ่ีเคร่ืองแม่ข่าย (server) การประมวลผลต่าง ๆ จะกระทาทเี่ ครือ่ งแมข่ า่ ยสาหรับเครื่อง ลกู ขา่ ย (client) จะมีหนา้ ทีด่ งึ ขอ้ มูลหรือส่งขอ้ มลู เขา้ มาปรับปรงุ ในเคร่อื งแม่ขา่ ย หรอื คอยรับผลลัพธ์ จากการประมวลผลของแม่ข่าย ดงั นน้ั การประมวลผลแบบน้จี ึงเปน็ การเปิดโอกาสให้ผูใ้ ชง้ านหลา ยคน สามารถใชง้ านหลายคนสามารถใชง้ านฐานข้อมลู รว่ มกันได้ระบบฐานข้อมูลทม่ี ีประสทิ ธิภาพดีต้อง อาศัยเครอื่ งคอมพิวเตอร์ ท่มี ปี ระสิทธภิ าพสูง คื อสามารถเกบ็ ข้อมลู ได้จานวนมากและ ประมวลผลได้ อย่างรวดเรว็ เพอ่ื รองรับการทางานจากผู้ใช้หลายคนทีอ่ าจมกี ารอา่ นข้อมลู หรือปรับปรุงขอ้ มูลพรอ้ ม กันในเวลาเดียวกัน 2.5.4.2 ซอฟต์แวร์ (software) หมายถึง โปรแกรมท่ีใชใ้ นระบบการจดั การฐานขอ้ มลู ซึง่ มีการพัฒนาเพ่อื ใช้งานได้กับเคร่ืองไมโครคอมพวิ เตอรจ์ นถึงเครอื่ งเมนเฟรม ซึง่ โปรแกรมแต่ละตวั จะมี คณุ สมบตั ิการทางานทีแ่ ตกตา่ งกัน ดังนั้นในการพจิ ารณา เลอื กใช้โปรแกรมจะต้องพิจารณาจาก คุณสมบัติของโปรแกรมแต่ละตัววา่ มคี วามสามารถทางานในสง่ิ ทเ่ี รา ตอ้ งการไดห้ รือไม่ อกี ทง้ั เรอ่ื ง ราคาก็เปน็ เร่ืองสาคญั เน่ืองจากราคาของโปรแกรมแต่ละตวั จะไม่เท่ากนั โปรแกรมทีม่ คี วามสามารถสงู กจ็ ะมีราคาแพงมากขึ้น นอกจากน้ยี ังตอ้ งพิจารณาวา่ สามารถ ใชร้ ่วมกบั ฮาร์ดแวรแ์ ละซอฟตแ์ วร์ ระบบปฏิบตั กิ ารท่เี รามีอย่ไู ดห้ รือไม่ ซึ่งโปรแก รมท่ใี ชใ้ นการจดั การฐานขอ้ มลู ได้แก่ Microsoft Access, Oracle, Informix, dBase, FoxPro, และ Paradox เปน็ ตน้ โดยโปรแกรมท่ีเหมาะสาหรับผู้ เร่ิมตน้ ฝกึ หดั สร้างฐานขอ้ มลู คอื Microsoft Access เนือ่ งจากเปน็ โปรแกรมใน Microsoft Office ตัวหนึ่ง ซ่งึ จะมอี ยู่ในเคร่ืองคอมพวิ เตอร์อย่แู ล้ว และการใชง้ านก็ไม่ยากจนเกินไปแต่ผู้ใช้งานตอ้ งมี พื้นฐานในการออกแบบฐานขอ้ มูลมากอ่ น 2.5.5 ข้อมลู (data) ระบบการจัดการฐานข้อมลู ทด่ี ีและมปี ระสทิ ธภิ าพ ควรประกอบดว้ ยขอ้ มลู ท่ี มคี ุณสมบัตขิ ้ันพืน้ ฐานดงั น้ี 2.5.5.1 มคี วามถูกต้อง หากมกี ารเก็บรวบรวมข้อมูลแลว้ ขอ้ มูลเหลา่ น้ันเชอ่ื ถือไมไ่ ด้ จะ ทาให้เกดิ ผลเสียอย่างมาก ผู้ใชจ้ ะไม่กลา้ อ้างองิ หรอื นาไปใชป้ ระโยชน์ ซึง่ เปน็ สาเหตใุ ห้ การตัดสนิ ใจ ของผ้บู ริหารขาดความแมน่ ยา และอาจมโี อกาสผดิ พลาดได้ โครงสรา้ งฐานขอ้ มลู ทอ่ี อกแบบตอ้ ง

15 คานึงถึงกรรมวธิ ีการดาเนินงานเพอื่ ใหไ้ ดค้ วามถกู ต้องแม่นยามากที่สุด โดยปกตคิ วามผิดพลาดของ สารสนเทศส่วนใหญ่มาจากข้อมูลท่ีไมม่ ีความถกู ต้องซ่งึ อาจมีสาเหตมุ าจากคน หรอื เคร่อื งจกั รการ ออกแบบระบบการจัดการฐานข้อมลู จึงตอ้ งคานงึ ถึงในเร่ืองนดี้ ้วย 2.5.5.2 มีความรวดเร็วและเปน็ ปจั จุบัน การได้มาของขอ้ มลู จาเปน็ ตอ้ งใหท้ ันต่อความ ต้องอากรของผใู้ ช้มกี ารตอบสนองตอ่ ผ้ใู ช้ไดอ้ ย่างรวดเรว็ ตีความหมายสารสนเทศไดท้ ันตอ่ เหตุการณ์ หรอื ความต้องการ มกี ารออกแบบระบบการเรยี กค้น และแสดงผล ได้ตรงตามความตอ้ งการของผู้ใช้ 2.5.5.3 มีความสมบูรณ์ของข้อมูล ซึ่งข้นึ อยู่กับการรวบรวมและวิธกี ารปฏิบัตดิ ้วย ในการ ดาเนินการจัดทาข้อมลู ต้องสารวจและสอบถามความต้องการข้อมูล เพื่อใหไ้ ดข้ อ้ มูลท่ีมคี วามสมบูรณ์ และเหมาะสม 2.5.5.4 มีความชดั เจนและกะทัดรดั การจดั เกบ็ ขอ้ มลู จานวนมากจะตอ้ งใชพ้ ้ืนทใ่ี นการ จัดเก็บข้อมลู มาก จึงจาเป็นตอ้ งออกแบบโครงสรา้ งขอ้ มูลใหก้ ะทัดรัดสื่อความหมายได้มี การใช้รหสั หรอื ย่อข้อมูลให้เหมาะสมเพอ่ื ทจ่ี ะจดั เกบ็ ไวใ้ นระบบคอมพิวเตอร์ 2.5.5.5 มคี วามสอดคล้องกับความตอ้ งการ ซึ่งเปน็ เร่ืองทส่ี าคัญ ตงั นนั้ จึงตอ้ งมีการ สารวจเพอื่ หาความต้องการของหน่วยงานและองค์กร ดแู ลสุขภาพการใชข้ อ้ มลู ความลกึ หรือ ความ กว้างของขอบเขตของข้อมลู ทสี่ อดคล้องกับความต้องการ 2.5.6 กระบวนการทางาน (procedures) หมายถงึ ขั้นตอนการทางานเพอื่ ใหไ้ ดผ้ ลลัพธต์ ามท่ี ต้องการ เช่น คมู่ ือการใช้งานระบบจดั การ ฐานขอ้ มลู ตง้ั แตก่ ารเปิดโปรแกรมข้ึนมาใช้งาน การนาเข้า ข้อมูล การแก้ไขปรับปรุงข้อมูล การค้นหา ขอ้ มลู และการแสดงผลการคน้ หา เป็นต้น 2.5.6.1 บุคลากร (people) จาเป็นตอ้ งเกยี่ วข้องกับระบบอยู่ตลอดเวลา ซ่งึ บคุ ลากร ที่ ทา หน้าทใ่ี นการจดั การฐานข้อมูล มีดังตอ่ ไปนี้ 2.5.6.1.1 ผบู้ ริหารข้อมูล (data administrators) ทาหน้าทใ่ี นการกาหนดความ ตอ้ งการในการใช้ข้อมูลขา่ วสารขององค์กร การประมาณขนาดและอัตราการขยายตัวของข้อมลู ใน ตลอดจนทาการจดั การดูแลพจนานกุ รมขอ้ มลู เปน็ ต้น องค์กร 2.5.6.1.2 ผบู้ ริหารฐานขอ้ มลู (database administrators) ทาหนา้ ทใ่ี นการ บรหิ ารจดั การ ควบคุม กาหนดนโยบายมาตรการ และ มาตรฐานของระบบฐานขอ้ มลู ทง้ั หมดภายใน องคก์ ร ตัวอย่างเช่น กาหนดรายละเอยี ดและวธิ กี ารจดั เกบ็ ข้อมูล กาหนดควบคุมการใช้งานฐานขอ้ มูล กาหนดระบบรักษาความปลอดภัยของขอ้ มูล กาหนดระบบสารองข้อมูล และกาหนดระบบการกู้คืน ข้อมูล เป็นต้น ตลอดจนทาหน้าท่ปี ระสานงานกบั ผ้ใู ช้ นกั วิเคราะหร์ ะบบ และนกั เขยี นโปรแกรม เพ่ือใหก้ ารบริหารระบบฐานขอ้ มลู สามารถดาเนนิ ไปไดอ้ ยา่ งมปี ระสิทธิภาพ 2.5.6.1.3 นักวิเคราะห์ระบบ (system analysts) มหี น้าที่ศกึ ษาและทาความ เข้าใจในระบบงานขององค์กร ศึกษาปัญหาทีเ่ กิดขึ้นจากระบบงานเดิม และความต้องการของระบบ

16 ใหม่ท่ีจะทาการพฒั นาขึ้นมา รวมทง้ั ตอ้ งเป็นผู้ทีม่ คี วามรู้ ความเข้าใจในกร ะบวนการทางานโดยรวม ของท้งั ฮารด์ แวรแ์ ละซอฟต์แวร์อกี ด้วย 2.5.6.1.4 นักออกแบบฐานขอ้ มลู (database designers) ทาหน้าท่นี าผลการ วเิ คราะห์ ซึง่ ไดแ้ ก่ปญั หาท่ีเกดิ ขึ้นจากการทางานในปัจจบุ นั และความต้องการทอี่ ยากจะใหม้ ใี นระบบ ใหม่ มาออกแบบฐานขอ้ มูลเพือ่ แกป้ ัญหาทเ่ี กิดขนึ้ และให้ตรงกับความต้องการของผใู้ ช้งาน 2.5.6.1.5 นักเขยี นโปรแกรม (programmers) มหี น้าทรี่ บั ผดิ ชอบในการเขียน โปรแกรมประยกุ ตเ์ พอ่ื การใชง้ านในลกั ษณะตา่ ง ๆ ตามความต้องการของผูใ้ ช้ ตัวอยา่ งเชน่ การเก็บ บันทกึ ข้อมลู และการเรยี กใชข้ ้อมลู จากฐานข้อมลู เป็นตน้ 2.5.6.1.6 ผใู้ ช้ (end-users) เปน็ บุคคลทใี่ ชข้ ้อมลู จากระบบฐานขอ้ มลู ซงึ่ วัตถปุ ระสงค์หลักของระบบฐานข้อมลู คอื การตอบสนองความต้องการในการใชง้ านของผใู้ ช้ ดงั นัน้ ใน การออกแบบระบบฐานขอ้ มูลจงึ จาเป็นตอ้ งมผี ู้ใชง้ านเ ข้ารว่ มอยใู่ นกล่มุ บุคลากรท่ีทาหน้าท่ีออกแบบ ฐานข้อมลู ดว้ ย . 2.5.7 หนา้ ทขี่ องระบบจัดการฐานข้อมูล ระบบการจัดการฐานขอ้ มูลมีหนา้ ทสี่ าคญั ๆ หลาย อย่าง เพ่อื ใหเ้ กิดความถกู ต้องและสอดคลอ้ งกนั ของขอ้ มูลภายในฐานขอ้ มลู ได้แก่ 2.5.7.1 การจดั การพจนานุกรมขอ้ มลู ระบบการจดั การฐานขอ้ มลู จะทาการจดั เก็บนิยาม ของข้อมลู และความสมั พนั ธ์ระหว่างข้อมลู ไวใ้ นพจนานกุ รมขอ้ มูล เปน็ สารนิเทศทบ่ี อกเกย่ี วกบั โครงสร้างของฐานข้อมูล โปรแกรมประยกุ ต์ทงั้ หมดทีต่ ้องการเขา้ ถงึ ข้ อมูลในฐานข้อมลู จะต้องทางาน ผา่ นระบบการจัดการฐานข้อมูล โดยท่ีระบบจัดการฐานขอ้ มูลจะใชพ้ จนานุกรมขอ้ มูลเพ่อื คน้ หา โครงสรา้ งตลอดจนสว่ นประกอบของข้อมูลและความสมั พนั ธท์ ี่ต้องการ นอกจากนัน้ แล้วการ เปลยี่ นแปลงใด ๆ ที่มีต่อโรงสร้างฐานข้อมูลจะถกู บนั ทึกไว้โดยอัตโนมตั ิในพจนานุกรมขอ้ มูล ทาให้เรา ไมต่ ้องเปล่ยี นแปลงแกไ้ ขโปรแกรมเมือ่ โครงสรา้ งขอ้ มูลมีการเปลี่ยนแปลง 2.5.7.2 การจดั เก็บข้อมูล ระบบการจัดการฐานขอ้ มลู จะสรา้ งโครงสร้างท่จี าเปน็ ตอ่ การ จัดเก็บข้อมลู ช่วยลดความย่งุ ยากในการนยิ ามและการเขี ยนโปรแกรมทีเ่ กย่ี วขอ้ งกับคณุ สมบัติทาง กายภาพ ระบบการจดั การฐานข้อมลู ในปัจจบุ นั ไม่เพยี งแตจ่ ะชว่ ยในการจัดเกบ็ ข้อมลู เท่านน้ั แต่ยงั รวมถึงการจัดเกบ็ กฎเกณฑต์ ่าง ๆ ทใ่ี ช้ในการตรวจสอบบรู ณภาพของข้อมูลอกี ดว้ ย 2.5.7.3 การแปลงและนาเสนอขอ้ มูล ระบบการจดั การฐานขอ้ มูลจะทาหนา้ ทใี่ นการแปลง ข้อมูลท่ีไดร้ ับเขา้ มา เพ่อื ให้สอดคล้องกบั โครงสรา้ งในการจัดเกบ็ ข้อมูล ทาให้เราไมต่ อ้ งไปยุง่ เกี่ยวกบั ความแตกต่างระหว่างรปู แบบของข้อมลู ทางตรรกะและทางกายภาพ กลา่ วคือทาใหม้ ีความเปน็ อสิ ระ ของข้อมลู ระบบการจั ดการฐานขอ้ มูลจะแปลงความตอ้ งการเชิงตรรกะของผู้ใช้ ใหเ้ ป็นคาส่ังท่ี สามารถดึงข้อมูลทางกายภาพที่ตอ้ งการ

17 2.5.7.4 การจัดการระบบความปลอดภยั ของข้อมูล ระบบการจัดการฐานขอ้ มูลจะสรา้ ง ระบบรกั ษาความปลอดภัยของข้อมูล โดยการกาหนดรายชอ่ื ผู้มสี ทิ ธิเ์ ขา้ ใชร้ ะบบ และ ความ สามารถ ในการใชร้ ะบบ เชน่ การอา่ น เพ่ิม ลบ หรอื แกไ้ ขเปล่ียนแปลงข้อมูล การจัดการระบบ ความปลอดภัย ของขอ้ มลู มคี วามสาคัญมากในระบบฐานข้อมูลแบบท่ีมผี ใู้ ชห้ ลายคน 2.5.7.5 การควบคุมการเข้าถงึ ขอ้ มูลของผ้ใู ชห้ ลายคน ระบบการจดั การฐานข้อมูลจะใช้ หลักการออกแบบโปรแกรมท่เี หมาะสม เพือ่ ให้แนใ่ จวา่ ผูใ้ ช้หลายคนสามารถเขา้ ใชฐ้ านข้อมลู พรอ้ มกนั ไดแ้ ละขอ้ มูลมีความถูกต้อง 2.5.7.6 การเก็บสารองและกู้คนื ขอ้ มูล ระบบการจัดการฐานข้อมลู จะมโี ปรแกรมเพื่อ สนับสนนุ การสารองและกูค้ นื ข้อมลู เพ่ือให้แนใ่ จด้านความปลอดภัยและความมน่ั คงของข้อมลู ใน ระบบ ระบบการจดั การฐานข้อมลู จะกู้ขอ้ มูลในฐานขอ้ มลู คนื มาหลงั จากระบบเกิดความลม้ เหลว เช่น เมือ่ เกิดกระแสไฟฟา้ ขัดข้อง เป็นต้น 2.5.7.7 การควบคมุ ความถูกต้องของขอ้ มลู ระบบการจดั การฐานขอ้ มูล จะสนับสนนุ และ ควบคุมความถูกตอ้ งของข้อมูล ตัง้ แต่ลดความซ้าซอ้ นของขอ้ มูล ไปจนถึงความไมส่ อดคลอ้ งกนั ของ ข้อมูล ความสัมพันธข์ องขอ้ มูลที่ เกบ็ ไว้ในพจนานกุ รมขอ้ มลู จะถูกนามาใช้ในการควบคุมความถูกต้อง ของขอ้ มูลดว้ ย 2.5.7.8 ภาษาท่ใี ช้ในการเข้าถึง ฐานขอ้ มูล และ การเชือ่ มต่อกบั โปรแกรมประยุกต์ระบบ การจัดการฐานขอ้ มูลสนบั สนุนการเขา้ ถึงขอ้ มลู โดยผ่านภาษาควิ รี (query language) ซ่ึงเปน็ คาส่ังที่ ใชก้ ารคน้ คืนจากฐานข้อมูล โดยผู้ใชเ้ พียงบอกว่าตอ้ งการอะไร และ ไม่จาเปน็ ตอ้ งรวู้ า่ มขี น้ั ตอน อย่างไรในการนาข้อมูลออกมา เพราะระบบการจัดการฐานขอ้ มลู จะเปน็ ผู้กาหนดวธิ กี ารในการเขา้ ถงึ ข้อมูลอย่างมีประสทิ ธภิ าพเอง 2.5.7.9 การติดต่อส่อื สารกบั ฐานขอ้ มลู ระบบการจดั การฐานขอ้ มูลทีท่ ันสมยั จะตอ้ ง สนบั สนุนการใชง้ านฐานขอ้ มูลผา่ นทางเครือขา่ ยอนิ เทอรเ์ นต็ ได้ 2.5.8 ขอ้ ดขี องการใชฐ้ านข้อมลู เม่ือมกี ารนาระบบการจัดการฐานข้อมูลมาใช้ เพ่ืออานวยความ สะดวกในการบันทกึ ข้อมลู แกไ้ ขปรบั ปรงุ ขอ้ มูล คน้ หาขอ้ มูล รวมท้งั กาหนดผทู้ ่ไี ดร้ ับอนุญาตให้ใช้ ฐานข้อมูล เปน็ ตน้ ทาใหฐ้ านขอ้ มลู มขี ้อดีมากมาย ไดแ้ ก่ 2.5.8.1 ลดความจาเจของงานดูแลเอกสาร ซ่ึงเปน็ งานประจาทที่ าใหผ้ ู้ดแู ลร้สู กึ เบ่อื หน่าย และขาดแรงจงู ใจ แต่เราสามารถใชค้ อมพิวเตอรใ์ นการปฏิบัตงิ านนี้แทนมนุษย์ได้ โดยผ่านโปรแกรม สาหรับการจดั การฐานขอ้ มูล 2.5.8.2 ขอ้ มูลทีจ่ ดั เกบ็ มคี วามทนั สมยั เมอื่ ข้อมลู ในระบบฐานขอ้ มลู ได้รบั การดแู ล ปรับปรุงอยา่ งต่อเนอื่ ง ทาให้ขอ้ มูลที่จดั เกบ็ เปน็ ขอ้ มลู ทีม่ คี วามทันสมยั ตรงกับเหตกุ ารณใ์ นปจั จบุ นั และตรงกับความตอ้ งการอย่เู สมอ

18 2.5.8.3 ลดความซ้าซอ้ นในการจดั เก็บข้อมลู เนือ่ งจากการจดั ทาฐานขอ้ มลู จะมี การ รวบรวมข้อมลู ประเภทต่าง ๆ เข้ามาจดั เกบ็ ไว้ในระบบและเก็บข้อมูลเพยี งชดุ เดียว ซึง่ ทุกฝ่ายที่ เกี่ยวขอ้ งจะสามารถเรียกใช้ขอ้ มูลทีต่ ้องการได้ เป็นการประหยัดเ นื้อที่ในการจัดเก็บ และทาใหเ้ กดิ ความรวดเรว็ ในการคน้ หาและจดั เก็บข้อมูลด้วย 2.5.8.4 หลีกเลย่ี งความขดั แย้งของขอ้ มูลได้ เม่อื ข้อมลู ถูกจดั เก็บระบบฐานข้อมลู จะทาให้ ข้อมูลลดความซ้าซ้อนลง คอื มขี อ้ มลู แต่ละประเภทเพียงหนง่ึ ชดุ ในร ะบบ ทาให้ขอ้ มลู ทีเ่ ก็บได้ไม่ ขดั แยง้ กันเอง ในกรณีที่จาเป็นต้องเกบ็ ขอ้ มูลท่ซี ้าซ้อนกนั เพื่อสาเหตบุ างประการ เช่น เพ่อื ความ รวดเรว็ ในการประมวลผลข้อมูล ระบบจดั การฐานข้อมูลจะเป็นผู้ดแู ลข้อมูลทซ่ี ้ากันใหม้ คี วามถกู ต้อง ตรงกัน 2.5.8.5 ใช้ข้อมลู รว่ มกันได้ เนอ่ื งจากระบบการจัดการฐานข้อมูลสามารถจดั ให้ผใู้ ชแ้ ต่ละ คนเขา้ ใชข้ อ้ มูลในแฟ้มท่มี ีขอ้ มูลเดยี วกันได้ในเวลาเดยี วกนั เชน่ ฝ่ายบคุ คลและฝ่ายการเงนิ สามารถท่ี จะใช้ข้อมลู จากแฟ้มประวัตพิ นกั งานในระบบฐานขอ้ มลู ไดพ้ ร้อมกัน 2.5.8.6 ควบคุมมาตรฐานของข้อมูลได้ เมอ่ื ขอ้ มูลต่าง ๆ ในหน่วยงานถูกรวบรวมเขา้ มา ผบู้ รหิ ารระบบฐานขอ้ มลู สามารถท่ีจะวางมาตรฐานในการรับขอ้ มลู แสดงผลข้อมลู ตลอดจนการ จดั เก็บขอ้ มลู ได้ เชน่ การกาหนดรูปแบบของตวั เลขให้มีทศนิยม 2 ตาแหนง่ สาหรบั คา่ ท่ี เปน็ ตวั เงิน การกาหนดรปู แบบของการรับ และแสดงผลสาหรบั ข้อมูลท่เี ป็นวันทน่ี อกจากน้ีการทีข่ อ้ มูลมีมาตรฐาน เดยี วกนั ทาใหส้ ามารถแลกเปลย่ี นข้อมูลระหว่างระบบไดอ้ ย่างสะดวก 2.5.8.7 จดั ทาระบบการรักษาความปลอดภยั ของขอ้ มลู ได้ ผู้บริหารร ะบบฐานขอ้ มูล สามารถกาหนดรหัสผ่านเขา้ ใช้งานขอ้ มลู ของผใู้ ช้แต่ละราย โดยระบบการจดั การฐานขอ้ มูลจะทาการ ตรวจสิทธใ์ิ นการทางานกับข้อมูลทกุ คร้งั เช่น การตรวจสอบสิทธใิ์ นการเรยี กดขู ้อมูล การลบข้อมลู การปรับปรงุ ขอ้ มูล และการเพม่ิ ขอ้ มลู ในแต่ละแฟม้ ขอ้ มูล 2.5.8.8 ควบคมุ ถกู ต้องของขอ้ มลู ได้ ปัญหาเร่ืองคว ามขดั แยง้ กันของขอ้ มูล ท่ีมคี วาม ซบั ซอ้ น เปน็ ปัญหาในเรือ่ งความถูกตอ้ งของขอ้ มูล ซง่ึ เมื่อไดม้ ีการจากดั ความซบั ซ้อนของขอ้ มูลออก ปัญหาเรอื่ งความถูกต้องของขอ้ มูลที่อาจเกดิ ขึ้นได้ เชน่ อ ายุโดยปกติของคนงาน ควรอย่รู ะหวา่ ง 18- 60 ปี ถ้าหากในระบบฐานข้อมูล ปรากฏมีพนกั งานท่มี อี ายุ 150 ปี ซง่ึ เปน็ ไปไม่ไดใ้ นทางปฏบิ ตั ิที่ หนว่ ยงานจะมีการว่าจ้างคนงานทมี่ อี ายเุ กนิ 60 ปี และอายขุ องคนในปัจจุบนั ไมค่ วรเกนิ 100 ปี ผู้บริหารระบบฐานขอ้ มูลสามารถกาหนดกฎเกณฑใ์ น การนาเข้าขอ้ มูล และระบบจัดการฐานข้อมลู จะ คอยควบคมุ ให้มีการนาเข้าข้อมลู เปน็ ไปตามกฎเกณฑ์ใหม้ ีความถกู ตอ้ ง 2.5.9 ขอ้ เสียของการใชฐ้ านข้อมูลแม้วา่ การประมวลผลข้อมูลดว้ ยระบบจัดการฐานขอ้ มูล จะมี ขอ้ ดีหลายประการ แตก่ จ็ ะมีขอ้ เสยี อยู่บ้างดงั ตอ่ ไปนี้

19 2.5.9.1 เสียค่าใช้จ่ายสงู เนือ่ งจากราคาของโปรแกรมทีใ่ ชใ้ นระบบการจัดการฐานขอ้ มลู จะมีราคาคอ่ นข้างแพง รวมทั้งเครอ่ื งคอมพิวเตอร์ทมี่ ปี ระสทิ ธภิ าพสูง คือ ต้องมีความเรว็ สงู มขี นาด หน่วยความจาและหน่วยเกบ็ ขอ้ มลู สารองที่มคี วามจมุ าก ทาให้ตอ้ งเสี ยคา่ วา่ ยสูง ทาระบบ การ จัดการฐานขอ้ มูล 2.5.9.2 เกดิ การสูญเสียข้อมลู ได้ เน่ืองจากขอ้ มูลต่าง ๆ ภายในฐานข้อมูลจะถูกจัดเกบ็ อยู่ ในทีเ่ ดยี วกนั ดังนั้นถา้ ท่ีเกบ็ ขอ้ มลู เกิดมีปญั หา อาจทาให้ต้องสญู เสยี ขอ้ มูลท้ังหมดในฐานขอ้ มูลได้ ดงั นน้ั การจดั ทาฐานข้อมูลทด่ี ีจงึ ต้องมกี ารสารองขอ้ มลู ไวเ้ สมอ 2.6 โปรแกรม Notepad++ กกกกกกกกNotepad++ (โปรแกรม Notepad โปรแกรม Text-Editor ขั้นเทพ) : สาหรับ โปรแกรมน้ีเปน็ โปรแกรม Notepad ที่มชี อื่ วา่ Notepad++ น้ี ซ่ึงถูกพฒั นาขน้ึ มาครง้ั แรก ตงั้ แต่ปี ค.ศ. 2003 (เกิน 10 ปแี ล้ว) โดยกลมุ่ พฒั นาโปรแกรมโอเพ่นซอร์ส ทีแ่ จกฟรี และแถมซอรส์ โค้ดไป ดว้ ย มันเกิดมาเพอื่ สาหรบั โปรแกรมเมอร์ (Programmer) เป็น อีกหนึ่ง โปรแกรม Notepad หรือที่ เรยี กว่า โปรแกรม Text Editor หรอื โปรแกรมแกไ้ ขขอ้ ความ ทค่ี วามสามารถนัน้ เอาชนะ Notepad อย่างขาดลอย และปัจจุบันนม้ี ีคนดาวนโ์ หลด โปรแกรม Notepad++ นไ้ี ปใชแ้ ลว้ มากกว่า 30 ลา้ น คร้งั จากท่ัวโลก ซง่ึ ถอื เป็นโปรแกรมเขียนโคด้ ท่โี ปรแกรมเมอร์ท่ัวโลกนิยมใชม้ ากท่สี ุดในโลก กกกกกกกกสาหรับ โปรแกรม Notepad++ ตัวนี้ โดยง่ายๆ เลยคือ มีความสามารถในการ รองรับ หลากหลาย ภาษาการเขยี นโปรแกรม (Programming Languages) มีปลัก๊ อินเฉพาะทางให้เลื อก ดาวน์โหลดมากมาย แล้วช่วยใหเ้ หลา่ บรรดา โปรแกรมเมอรไ์ ด้พัฒนาโปรแกรมของตนได้อยา่ งสบาย มฟี งั ก์ช่ันในการชว่ ยอานวยความสะดวก ในการเขียนโปรแกรม (พฒั นาโปรแกรม) กันอยา่ ครบครัน ไม่ วา่ จะ C, C++, HTML, ASP, Java, Pascal, CSS กส็ ามารถใชไ้ ด้ 2.7 ภาษา PHP กกกกกกกกPHP ย่อมาจาก PHP Hypertext Preprocessor แตเ่ ดมิ ย่อมาจาก Personal Home Page Tools คือภาษาคอมพวิ เตอรจ์ าพวก Scripting language ภาษาจาพวกน้ีคาสัง่ ตา่ งๆจะเก็บอยู่ ในไฟล์ ทีเ่ รียกว่า Script และเวลาใชง้ านต้องอาศัยตัวแปรชุดคาส่ัง ตัวอย่างของภาษาสครปิ ต์กเ็ ช่น JavaScript , Perl เปน็ ต้น ลกั ษณะของ PHP ท่ีแตกตา่ งจากภาษาสคริปตแ์ บบอืน่ ๆ คอื PHP ไดร้ บั การพัฒนาและออกแบบมา เพอ่ื ใชง้ านในการสร้างเอกสารแบบ HTML โดยสามารถสอดแทรกหรือ แก้ไขเนอื้ หาได้โดยอตั โนมัติ ดังนัน้ จงึ กล่าววา่ PHP เปน็ ภาษาที่เรียกว่า server-side หรอื HTML- embedded scripting language นัน้ คอื ในทกุ ๆ คร้ังกอ่ นทเี่ คร่ืองคอมพวิ เตอรซ์ ่ึงใหบ้ รกิ าร เปน็ Web server จะส่งหน้าเว็บเพจที่เขยี นด้วย PHP ใหเ้ รา มนั จะทาการประมวลผลตามคาสงั่ ทม่ี ีอยู่ ใ ห้ เสร็จเสยี ก่อน แลว้ จึงค่อยส่งผลลัพธท์ ี่ไดใ้ หเ้ รา ผลลพั ธท์ ไี่ ด้นน้ั ก็คือเวบ็ เพจทเ่ี ราเหน็ นนั่ เอง ถือได้ว่า

20 PHP เป็นเครอื่ งมอื ทส่ี าคัญชนิดหน่งึ ทชี่ ่วยใหเ้ ราสามารถสร้าง Dynamic Web pages (เวบ็ เพจท่ี มี การโต้ตอบกบั ผู้ใช้) ได้อยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพและมลี ูกเล่นมากขึ้ น PHP เปน็ ผลงานท่ีเตบิ โตมาจากกลมุ่ ของนักพัฒนาในเชงิ เปดิ เผยรหสั ตน้ ฉบับ หรือ Open Source ดงั นัน้ PHP จึงมกี ารพฒั นาไปอยา่ ง รวดเร็ว และแพร่หลายโดยเฉพาะอยา่ งยิง่ เมอ่ื ใช้ร่วมกับ Apache Web server ระบบปฏบิ ตั อิ ย่างเช่น Linuxหรอื FreeBSD เป็นตน้ ในปัจจุบนั PHP สามารถ ใช้ร่วมกบั Web Server หลายๆตัวบน ระบบปฏิบตั กิ ารอยา่ งเช่น Windows 95/98/NT เป็นต้น 2.7.1 ลักษณะเดน่ ของ PHP 2.7.1.1 ใช้ไดฟ้ รี 2.7.1.2 PHP เปน็ โปรแกรมวง่ิ ข้าง Sever ดังนัน้ ขีดความสามารถไม่จากดั 2.7.1.3 Conlatfun นั่นคอื PHP ว่ิงบนเครอ่ื ง Unix , Linux ,Windows ได้หมด 2.7.1.4 เรียนรู้งา่ ย เนื่องจาก PHP ฝงั่ เขา้ ไปใน HTML และใชโ้ ครงสรา้ งและไวยากรณ์ 2.7.1.5 เรว็ และมีประสทิ ธภิ าพ โดยเฉพาะเม่อื ใช้กบั Apach Xerve เพราะไมต่ ้องใช้ ภาษางา่ ยๆ โปรแกรมจากภายนอก 2.7.1.6 ใช้รว่ มกับ XML ไดท้ นั ที 2.7.1.7 ใช้กบั ระบบแฟม้ ข้อมลู ได้ 2.7.1.8 ใช้กบั ข้อมูลตวั อกั ษรได้อย่างมปี ระสทิ ธิภาพ 2.7.1.9 ใช้กบั โครงสร้างขอ้ มูล แบบ Scalar ,Array ,Associative array 2.7.1.10 ใช้กบั การประมวลผลภาพได้ 2.8 ภาษา SQL กกกกกกกกSQL ยอ่ มาจาก Structured Query Language เปน็ ภาษาท่ใี ช้ในการจัดการขอ ง ฐานข้อมูล เชงิ สัมพนั ธ์ ผู้คิดคน้ SQL เป็นรายแรกคือ บรษิ ัทไอบีเอม็ หลงั จากน้ันมาผู้ผลิตซอฟท์แวร์ ด้านระบบ จัดการฐานข้อมูลเชงิ สัมพันธ์ไดพ้ ัฒนาระบบท่ีสนับสนุน SQL มากข้นึ จนเป็นท่นี ยิ มใชก้ ัน อย่าง แพรห่ ลายในปัจจบุ นั โดยผผู้ ลิตแต่ละรายก็พยายามพั ฒนาระบบจดั การฐานข้อมลู ของตนให้มี ลกั ษณะ เดน่ เฉพาะขน้ึ มา ทาให้รปู แบบการใชค้ าส่ัง SQL มีรูปแบบแตกต่างกันไปบา้ ง ในขณะท่ี American National Standards Institute (ANSI) ได้กาหนดรปู แบบมาตรฐานของ SQL ข้นึ ซง่ึ เป็น มาตรฐาน ของคาสั่ง SQL ตาม ANSI-86 กกกกกกกกต่อมาในปี 1992 ANSI ไดป้ รบั ปรงุ มาตรฐานของ SQL/2 และเป็นทยี่ อมรบั ของ ISO (International Organization for Standardization) SQL/2 มรี ายละเอียดเพิ่มข้ึน เช่น เพิม่ ประเภทของข้อมูลท่ีมีจากเดิม สนับสนนุ การใชก้ ลุม่ ตัวอักษร มีความสามารถในการใหส้ ิทธิเ์ พ่ิมขึ้น

21 (Privilege) สนบั สนุนการใช้ SQL แบบ Dynamic เพมิ่ มาตรฐานในการใช้ Embedded SQLและมี โอเปอเรเตอรเ์ ชิงสัมพนั ธ์เพิม่ ขึ้น กกกกกกกกนอกจากน้ี ANSI ไดท้ บทวนและปรับปรงุ SQL อกี คร้ัง SQL/3 จุดประสงค์ของกา ร กาหนดมาตรฐาน เพอื่ ประโยชน์ในการใชค้ าส่ังน้ี รว่ มกนั ในระบบท่ีแตกตา่ งกันได้ (Application Portability) นอกจากน้ี การเรียนรกู้ ารใชค้ าสัง่ SQL ตามมาตรฐานที่กาหนดข้นึ เปน็ การงา่ ยทจ่ี ะ นาไปประยกุ ตใ์ ชห้ รือเรียนรู้ เพมิ่ เติมจากคาส่ัง SQL ของผผู้ ลิตแตล่ ะรายได้ 2.8.1 การทางานของ SQL 2.8.1.1 Select query ใชส้ าหรับดงึ ขอ้ มลู ทตี่ อ้ งการ 2.8.1.2 Update query ใช้สาหรับแก้ไขขอ้ มูล 2.8.1.3 Insert query ใชส้ าหรับการเพ่มิ ข้อมลู 2.8.1.4 Delete query ใชส้ าหรับลบข้อมูลออกไป 2.8.2 ประโยชน์ของภาษา SQL 2.8.2.1 สร้างฐานข้อมูลและ ตาราง 2.8.2.2 สนับสนุนการจดั การฐานข้อมูล ซง่ึ ประกอบดว้ ย การเพิม่ การปรับปรุง และการ ลบข้อมลู 2.8.2.3 สนับสนนุ การเรียกใชห้ รอื ค้นหาขอ้ มูล 2.8.3 ประเภทคาสั่งของ SQL 2.8.3.1 คาสั่งกาหนดประเภทข้อมลู (Data Definition Language Command: DDL) เปน็ กลมุ่ คาสง่ั ใช้สาหรบั การปรับเปลี่ยนโครงสร้างของฐานขอ้ มลู ประกอบด้วยคาสั่ง Create, 2.8.3.2 คาสัง่ ในการควบคุมโครงสรา้ งข้อมูล (Data Control Language Commandะ DCL) ประกอบดว้ ยคาสงั่ ที่ใช้ในการควบคมุ การเกดิ ภาวะพรอ้ มกนั หรือการป้องกนั การเกดิ เหตุการณ์ Replace, Alter, Truncate, Rename, Drop ที่ผู้ใช้หลายคนเรียกใช้ขอ้ มูลพร้อมกัน และคาสง่ั ท่ี เกย่ี วขอ้ งกับการควบคุมความปลอดภยั ของข้อมลู ด้วยการกาหนดสทิ ธขิ องผใู้ ช้ทีแ่ ตกตา่ งกัน เช่น คาส่งั Grant และ Revoke 2.8.3.3 คาส่ังในการปรบั ปรงุ ขอ้ มูล (Data Manipulation Language Command: DML) ประกอบด้วยคาสง่ั ท่ใี ช้ในการเรียกใช้ ขอ้ มลู การเปลย่ี นแปลงข้อมลู การเพม่ิ หรอื ลบข้อมูล ซ่งึ ไดแ้ กค่ าส่งั Insert, Delete และ Update 2.8.3.4 คาส่งั ท่ีใชใ้ นการคน้ หาขอ้ มลู (Data Retrieval Command) มีหนา้ ท่ใี นการ คน้ หาขอ้ มลู เพ่อื แสดงรายการข้อมูล หรอื คานวณ โดยมีคาสั่งเพยี งคาสง่ั เดยี วนัน้ คือ คาสั่ง Select

22 2.8.3.5 คาส่ังในการควบคมุ การทารายการข้อมลู (Transaction Control Command) เป็นคาสัง่ ที่ใช้ในการยนื ยันรายการต่างๆ ที่ผู้ใช้งานได้กระทากบั ฐานข้อมลู โดยคาสัง่ ในกลมุ่ นจี้ ะ ประกอบด้วย \"Commit และ \"Rollback\" 2.8.4 รูปแบบการใชค้ าสั่ง SQL 2.8.4.1 คาส่ัง SQL ท่ใี ช้เรียกดูข้อมูลแบบโต้ตอบ (Interactive SQL) เป็นการใชค้ าสัง่ SQL สั่งงานบนจอภาพ เพื่อเรียกดขู ้อมลู จากฐานข้อมูลได้โดยตรงในขณะท่ีทางาน 2.8.4.2 คาสง่ั SQL ท่ีใชเ้ ขียนร่วมกับโปรแกรมอ่นื ๆ (Embedded SQL) เปน็ การนา คาส่งั SQL ไปใช้รว่ มกับชดุ คาสัง่ งานทเี่ ขยี นโดยภาษาตา่ ง ๆ เช่น COBOL, Pascal, PL เปน็ ต้น 2.9 กรอบแนวคิดในการวิจยั ตวั แปรต้น ตวั แปรตาม รหัสสนิ คา้ ระดับความพึงพอใจ ด้านการออกแบบ ช่อื สินค้า ด้านการใชง้ าน จานวน ด้านประโยชน์ หมายเหตุ ภาพท่ี 2.2 ภาพแสดงกรอบแนวคดิ ในการวิจัย 2.10 งานวิจยั ท่เี ก่ียวข้อง กกกกกกกกปรงุ ศกั ด์ิ อัตพฒุ (2560) งานพสั ดุ โรงเรยี นสตรภี เู ก็ต มีโปรแกรมพฒั นางานระบบพัสดุ และมเี ครื่องคอมพวิ เตอร์ท่มี ปี ระสทิ ธิภาพทีส่ ามารถรองรบั การทางานในระบบ e-GP ทาใหป้ ฏิบัติงาน พสั ดไุ ด้ตามพระราชบัญญตั ิ การจัดซอ้ื จัดจา้ งและการบริ หารพัสดภุ าครฐั พ .ศ.๒๕๖๐ ระเบยี บ กระทรวงการคลงั วา่ ด้วยการจดั ซ้ือ จัดจ้าง และการบรหิ ารพสั ดุภาครัฐ พ .ศ.๒๕๖๐ และกฎกระทรวง ต่าง ๆ และสามารถเบกิ จ่ายเงินงบประมาณไดต้ ามแผนการปฏบิ ตั งิ านที่วางไวไ้ ด้อยา่ งถกู ต้องและเป็น ระบบไดอ้ ยา่ งคุม้ คา่ มปี ระสิทธิภาพ โปรง่ ใส สามารถตรวจสอบไดแ้ ละทาใหท้ กุ หนว่ ยงานในโรงเรียน สตรีภเู ก็ตไดพ้ ัสดตุ ามกาหนดระยะเวลาในการใชง้ าน กกกกกกกกวิภาวี สรุ โิ ย (2547) งานพัสดุมีความสาคญั ต่อการดาเนนิ งานขององคก์ รทกุ ๆ องคก์ ร เนอื่ งจากพัสดเุ ปน็ เครอ่ื งมือทชี่ ว่ ยใหก้ าร บรหิ ารงานมปี ระสทิ ธิภาพมากย่ิงขึ้น สามารถจะก่อให้เกดิ ความสะดวกรวดเร็ว ประหยัดเวลาและงบประมาณ ทนั ตอ่ เหตกุ ารณ์ทีเ่ กดิ ขน้ึ การมคี วามพร้อมดา้ น

23 พัสดุครุภณั ฑ์สามารถทาให้องค์กรประสบผลสาเรจ็ ตามเปา้ หมายที่วางไวไ้ ด้เพราะถ้าองคก์ รใดขาด หลักการจดั การงานพสั ดทุ ดี่ ีแลว้ การทางานยอ่ มจะเกิดความซ้าซ้อนและสิน้ เปลอื งอนั เป็นเหตุทาให้ องคก์ รนัน้ ด้อยประสทิ ธภิ าพ เนื่องจากงาน พสั ดุเปน็ งานท่ีสนบั สนนุ แผนงานของโครงการต่างๆ ซ่ึงได้ วางแผนไว้ให้มพี ัสดุพอใชต้ ลอดเวลาทาให้ งานและโครงการดาเนนิ ไปไดแ้ ละแม้ แตส่ ว่ นงานด้านอนื่ ๆ นนั้ จะ ประสบผลสาเร็จไม่ไดห้ ากไมไ่ ด้รบั ความรว่ มมอื จากฝ่ายพสั ดุ

บทที่ 3 วิธดี าเนินการวจิ ยั กกกกกกกก การวิเคราะหร์ ะบบงานสิง่ จาเป็น คือ นกั วเิ คราะห์ตอ้ งทราบรายละเอียดของระบบว่ามี ความสัมพันธก์ ับอะไร บุคคลกลุ่มโดยท่ีจะสามารถเข้าใช้โปรแกรมได้ โปรแกรมทีจ่ ะได้จัดทาขึน้ น้นั สามารถเข้าใชไ้ ดท้ กุ คน โปรแกรมได้สรา้ งขน้ึ มาเพอื่ สร้างความสะดวกใหก้ ับกลุม่ บุคคลที่ต้องการ จัดเก็บข้อมลู พสั ดุ มดี งั นี้ 3.1 การออกแบบระบบฐานข้อมูล 3.1.1 แผนภาพกระแสขอ้ มูล 3.1.2 Data Flow Diagram level 1 3.1.3 ER-Diagram 3.2 การออกแบบประเมินความพงึ พอใจ 3.2.1 ประชาชนและการส่มุ กลมุ่ ตัวอย่าง 3.1 การออกแบบระบบฐานขอ้ มูล ในการจัดทาโครงการระบบเบกิ จ่ายพัสดุ ได้มกี ารกาหนดกระแสข้อมูลไว้ดังนี้ 3.1.1 แผนภาพกระแสข้อมูล (Context Diagram) ภาพท่ี 3.1 แผนภาพกระแสข้อมูล Data Flow Diagram Level Context Diagram ของ level 0

25 3.1.2 Data Flow Diagram level 1 ภาพท่ี 3.2 แผนภาพกระแสข้อมูล Data Flow Diagram Level 1 กก กก3.1.3 จากการทไ่ี ด้ศึกษาระบบ ผ้จู ดั ทาไดท้ าการออกแบบ Entity Relationship Diagram ของ ระบบฐานข้อมลู การขายสนิ ค้า ดงั ภาพที่ 3.3 ภาพที่ 3.3 แสดงถงึ Entity Relationship Diagram ของระบบการขายนา้ มะพร้าว

26 3.1.4 การออกแบบตารางข้อมูล ภาพท่ี 3.4 การออกแบบตารางข้อมูลร้านขายนา้ มะพรา้ ว ตารางขอ้ มลู ที่มีการจดั เกบ็ ข้อมลู รายการสนิ คา้ รายละเอียดสินค้า รายละเอยี ดการสั่งสินค้า และชนดิ สนิ ค้า ภาพท่ี 3.5 การออกแบบตารางข้อมูล Product ตารางขอ้ มลู Product การจดั เก็บขอ้ มูลของสินคา้ โดยมี Prd_ID เป็นคยี ์หลกั (Primary Key) ภาพท่ี 3.6 การออกแบบตารางขอ้ มลู Order_detail ตารางข้อมลู Order_detail การจัดเก็บขอ้ มูลของ รายละเอียดสินค้า โดยมี Ord_ID และ Prd_IDเปน็ คยี น์ อก (Foreign Key) ภาพท่ี 3.7 การออกแบบตารางขอ้ มลู Order

27 ตารางขอ้ มลู Order การจดั เก็บขอ้ มูล ของผู้ส่งั ซ้ือสนิ คา้ โดยมี Ord_ID เปน็ คีย์หลกั (Primary Key) ภาพท่ี 3.8 การออกแบบตารางข้อมูล Employee ตารางขอ้ มลู Employee แสดงขอ้ มูลพนกั งาน โดยมี Emp_ID เปน็ คีย์หลัก (Primary Key) ภาพท่ี 3.9 การออกแบบตารางขอ้ มูล Category ตารางขอ้ มูล Category แสดงขอ้ มูลประเภทสินคา้ โดยมี Cat_ID เป็นคยี ์หลัก (Primary Key) 3.2 การออกแบบประเมินความพึงพอใจ กกกกกกกกการวิเคราะห์ขอ้ มูลปริมาณ (Quantitative data) คณะผ้จู ัดทาดาเนินการวิเคราะห์ ขอ้ มูลท่ีไดร้ บั จากแบบประเมนิ คุณภาพ และแบบสอบถามความคิดเห็นในการใชบ้ ริการระบบ แบบ มาตราสว่ นประมาณคา่ ด้วยสถิติเชิงพรรณนา (Descriptive statistics) เพื่อหาค่าสถิติพื้นฐาน ได้แก่ 3.2.1 ประชากรและการสุ่มกลมุ่ ตัวอย่าง กกกกกกกกกลุม่ ตัวอยา่ งสอบถามความคิดเหน็ ของพนักงานเทศบาลตาบลเขาวัว-พลอยแหวน จานวน 3 ฉบับ 3.2.1.1 เกณฑ์การใหค้ ะแนนและเกณฑ์การแปลความหมายลา้ หรบั ข้อมูลแบบมาตราส่วน ประมาณค่า (Rating Scale) กาหนดเกณฑก์ ารใหค้ ะแนนของเลเิ คอร์ท (Lkert. 1932) ไวด้ ังน้ี

28 1) แบบประเมนิ ความพงึ พอใจในการใช้งานระบบ เกณฑก์ ารใหค้ ะแนนการประเมนิ คุณภาพระบบ 5 หมายถึง ดีมาก 4 หมายถึง ดี 3 หมายถึง ปานกลาง 2 หมายถึง นอ้ ย 1 หมายถงึ ปรบั ปรุง เกณฑ์การให้คา่ ระดบั คะแนนคุณภาพของระบบ 4.50-5.00 หมายถึง ดีมาก 3.50-4.49 หมายถงึ ดี 2.50-3-49 หมายถงึ ปานกลาง 1.50-2.49 หมายถึง น้อย 1.00-1.49 หมายถึง ปรบั ปรุง 2) สถติ ทิ ใ่ี ช้วเิ คราะหข์ อ้ มลู - ค่าเฉลยี่ (x) X= ������ ������ ������=1 ������ - ค่าความเบย่ี งเบนมาตรฐาน (s) S. D. = ������������=1(������������ − ������)2 ������ − 1 เมื่อ x แทน คะแนนเฉลย่ี S. D. แทน คา่ เบ่ยี งเบนมาตรฐาน xi แทน คะแนนความพงึ พอใจของนกั ศกึ ษาคนท่ี i n แทน จานวนลูกค้าในกลุ่มตวั อย่าง

บทที่ 4 ผลการดาเนินงาน 4.1 การจดั เกบ็ Data Base ตารางท่ี 4.1.1 แสดงขอ้ มลู ลูกค้า ตารางท่ี 4.2.2 แสดงขอ้ มลู สนิ คา้ ตารางท่ี 4.2.3 แสดงข้อมลู รายการขายสินคา้ ตารางที่ 4.2.4 แสดงขอ้ มลู การขายสินค้า ตารางท่ี 4.2.5 แสดงขอ้ มลู ประเภทสินค้า

30 ตารางท่ี 4.2.6 แสดงข้อมลู ใบเสรจ็ ตารางที่ 4.2.7 แสดงข้อมลู พนกั งาน 4.2 การออกแบบหนา้ จอ 4.2.1 ออกแบบหนา้ จอลกู คา้ ภาพที่ 4.1 หนา้ จอระบบลกู คา้

31 4.2.2 ออกแบบหนา้ จอใบสัง่ ซ้อื สนิ ค้า ภาพที่ 4.2 หนา้ จอใบสง่ั ซือ้ สินค้า 4.2.3 ออกแบบหนา้ จอรายการสินค้า ภาพที่ 4.3 ออกแบบหนา้ จอรายการสนิ ค้า

32 4.2.4 ออกแบบหน้าจอระบบขายน้ามะพร้าวนา้ หอม ภาพที่ 4.4 ออกแบบหน้าจอระบบขายน้ามะพร้าวนา้ หอม

บทท่ี 5 สรปุ อภปิ รายผล และข้อเสนอแนะ 5.1 วัตถุประสงคข์ องการวิจยั 1. เพ่อื สร้างระบบขายสินค้ารา้ นขายมะพร้าวน้าหอม 2. เพือ่ สร้างความน่าเช่ือถอื ทางธรุ กิจใหร้ ้านขายมะพรา้ วน้าหอม 5.2 สมมติฐานการวิจยั ระบบขายสนิ คา้ รา้ นขายมะพรา้ วน้าหอม มีประสทิ ธิภาพมาก 5.3 เคร่อื งมือในการวิจัย 1. ระบบขายสนิ คา้ รา้ นขายผกั ตลาดโบวล์ ่งิ มีประสิทธิภาพในการทางานและตรวจสอบคณุ ภาพ โดยครูที่ปรึกษา 5.4 การเก็บรวบรวมขอ้ มลู 1. รวบรวมและศกึ ษาขอ้ มูลทฤษฎีทเ่ี กีย่ วขอ้ งในโครงงาน 2. รวบรวมและศึกษาขอ้ มลู สิ่งประดษิ ฐ์และโครงงานที่เก่ยี วขอ้ ง 3. รวบรวมและศึกษาขอ้ มูลการสร้างระบบร้านคา้ 4. รวบรวมและศกึ ษาข้อมลู โปรแกรมท่ใี ชใ้ นการระบบรา้ นค้า 5. รวบรวมและศกึ ษาขอ้ มลู การออกแบบระบบร้านคา้ 6. รวบรวมและศกึ ษาขอ้ มลู อนิ เตอรเ์ น็ต 7. รวบรวมและศึกษาข้อมูลร้านขายมะพร้าวน้าหอม 8. จัดทาคมู่ อื การใช้งาน 9. ประเมนิ ผลระบบร้านขายมะพร้าวน้าหอม 10. สรุปผลการวิจยั 5.5 การวิเคราะหข์ ้อมูล ประเมินผลโครงงานระบบขายสินคา้ รา้ นขายมะพรา้ วน้าหอม ตามวิธขี องลิเคิร์ท (Likert) ใช้ มาตรอันดับเชิงคุณภาพ 5 ระดับ 5.6 สรปุ ผลการวิจยั ผลการประเมนิ ประสิทธภิ าพ ระบบขายสินคา้ รา้ นขาย มะพร้าวน้าหอม มปี ระสิทธภิ าพ อยูใ่ น ระดบั มาก

34 5.7 ข้อเสนอแนะ 5.2.1 ข้อเสนอแนะสาหรบั การนาไปใช้ 5.2.1.1 ควรจัดทาวดี ีโอมาใส่เพ่ิมเตมิ 5.2.1.2 ควรจดั ทาป่มุ ข้นึ ไปด้านบน 5.2.1.3 ควรปรับเปลีย่ นสฟี อนต์ ให้มองและอ่านง่ายขึ้น 5.2.2 ขอ้ เสนอแนะในการวิจัยคร้งั ตอ่ ไป 5.2.2.1 จดั ทาวีดีโอมาใสเ่ พิ่มเติม 5.2.2.2 จดั ทาปุ่มขึ้นไปด้านบน 5.2.2.3 ปรับเปล่ียนสฟี อนต์ ให้มองและอา่ นงา่ ยข้ึน

35 บรรณานกุ รม ธรี วฒั น์ ประกอบผล การวเิ คราะหแ์ ละออกแบบเชิงวตั ถุ กรุงเทพฯ : ซคั เซส มเี ดยี , 2558

36 ภาคผนวก ก เอกสารประกอบการดาเนนิ งาน

37 DFD Level 0

38 ภาคผนวก ข เอกสารประกอบการดาเนนิ งาน

39 DFD Level 1

40 Chain

41 ภาคผนวก ค เอกสารประกอบการดาเนนิ งาน

42 ER Diagram

43 ภาคผนวก ง เอกสารประกอบการดาเนนิ งาน


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook