Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หน่วยที่ 5

หน่วยที่ 5

Published by Thipkesorn Thongkhaek, 2018-08-26 23:38:23

Description: แบบฝึกหัดหน่วยที่ 5

Keywords: ีunit5

Search

Read the Text Version

1. ลักษณะการเชือ่ มต่อเครอื ขา่ ย1.1 การเชื่อมต่อแบบจดุ ต่อจดุ (Point to Point)แบบจุดตอ่ จุด (point-to-point) คอื วิธเี ช่ือมต่อสื่อสงข้อมลูระหวา่ งอุปกรณ์ 2 อุปกรณ์ โดยมีเสน้ ทางเพยี ง 1 เสน้ เทา่ นนั้ เช่นลักษณะการเชอ่ื มตอ่ ระหวา่ งเครอ่ื งคอมพวิ เตอร์พีซีแต่ละเครอ่ื งมีเพียงสายเพยี ง 1 สายต่อเช่ือมโยงกันในการทางาน หรือในเคร่อื งที่ทาหน้าทเ่ี ปน็ เครื่องปลายทาง 1 เครื่อง เชือ่ มต่อกับเครือ่ งเมนเฟรมโดยใช้สาย 1 เสน้ หรอื ในอีกกรณหี น่งึ เคร่ืองคอมพิวเตอร์ 2 เคร่อื งส่อื สารกันโดยใชก้ ารสง่ ขอ้ มูลผา่ นคลน่ื ไมโครเวฟ

ต่อขอ้ 1ขอ้ ดี สามารถใชค้ วามเรว็ ในการสอ่ื สารระหวา่ งกันได้อยา่ งเตม็ ท่ี ดังนนั้ จงึ เหมาะสมกบั การส่งขอ้ มูล ไดค้ ราวละมาก ๆ แบบตอ่ เน่อื งกันไป เน่ืองจากมกี ารตดิ ตอ่ สอ่ื สารกนั เพยี งสองโหนด ดงั นัน้ จึงมีความปลอดภยั ในขอ้ มลูขอ้ เสีย หากเครือขา่ ยมีจานวนโหนดมากขึน้ กจ็ ะตอ้ งใชส้ ายสอ่ื สารมากข้นึ จามลาดบั ไม่เหมาะกบั เครอื ข่ายขนาดใหญ่

ต่อขอ้ 11.2 การเชือ่ มตอ่ แบบหลายจดุ (Multipoint or Multidrop)แบบหลายจดุ หรอื มัลตดิ รอปไลน์ (multidrop lime) หมายถงึ ส่อื สง่ ขอ้ มลู 1 ส่ือ มอี ปุ กรณ์หลายๆ อุปกรณ์ ใชส้ อ่ื ส่งข้อมลู หรือสายร่วมกันดงั รปู ท่ี 2.3 นอกจากน้ถี า้ สื่อส่งขอ้ มูลเป็นคล่ืนวิทยุ แบบหลายจดุ ใช้คล่นื วิทยุในอากาศร่วมกันการใช้คลน่ื วิทยรุ ว่ มกนั ทาได้โดยแบ่งความถ่ีออกเป็นช่วงความถี่ของอปุ กรณแ์ ตล่ ะตวั ซ่ึงถือว่าเป็นการใชส้ อ่ื สงข้อมูลร่วมกันในแบบแบ่งส่วนท่ีเรียกวา่ การแบง่ ปนั สว่ น (spatially share) หรืออาจผลดั กันใช้สื่อส่งขอ้ มลู โดยกาหนดระยะเวลาการใช้ทเ่ี รยี กวา่ การแบ่งปันเวลา (time share)

ต่อขอ้ 1ข้อดีประหยดั สายส่งข้อมูลการเพ่มิ เตมิ โหนดสามารถเพิ่มได้ง่ายด้วยการเชอื่ มตอ่ เข้ากับสายสง่ ทีใ่ ชง้ านร่วมกนั ได้ทนั ทีขอ้ เสียหากสายส่งข้อมูลขาด จะส่งผลกระทบตอ่ ระบบเครอื ข่ายเนอื่ งจากใชส้ ายสง่ ขอ้ มลู รว่ มกัน ดงั นนั้ ตอ้ งมีกลไกเพือ่ ควบคุมการสง่ ขอ้ มลูไม่เหมาะสมกบั การสง่ ข้อมลู แบบต่อเนือ่ งทม่ี ีขอ้ มลู คราวละมาก ๆ

2. โครงสรา้ งของเครอื ขา่ ย (Network Topology) แบง่ เป็น 6 ชนดิ2.1 โครงสรา้ งแบบบัส (Bus Topology)เครอื ขา่ ยแบบบสั (Bus Network) เครอื ขา่ ยแบบนี้จะมีการเช่อื มต่อคอมพิวเตอรบ์ นสายเคเบิลซึง่ เรยี กว่าบัส คอมพวิ เตอรเ์ คร่ืองหนึ่งๆ สามารถส่งถา่ ยขอ้ มูลได้เป็นอิสระ โดยขอ้ มลู จะว่งิ ผา่ นอุปกรณ์ต่างๆ บนสายเคเบิลจนกวา่ จะถงึ จุดทรี่ ะบุไว้ (Address)

ต่อขอ้ 2ขอ้ ดีสามารถตดิ ตั้งไดง้ ่าย เนื่องจากเป็นโครงสร้างเครอื ขา่ ยท่ไี มซ่ บั ซ้อนการเดนิ สายเพือ่ ต่อใช้งาน สามารถทาได้ง่ายประหยดั คา่ ใชจ้ า่ ย กล่าวคือ ใชส้ ายสง่ ข้อมูลนอ้ ยกวา่ เนื่องจากสามารถเช่ือมตอ่ กบั สายหลักได้ทนั ทีงา่ ยต่อการเพิม่ สถานีใหม่เขา้ ไปในระบบ โดยสถานีนสี้ ามารถใชส้ ายส่งขอ้ มูลทมี่ อี ยแู่ ล้วได้ข้อเสยีถ้ามีสายเสน้ ใดเสน้ หนึง่ หลดุ ไปจากสถานีใดสถานหี นง่ึ ก็จะทาใหร้ ะบบเครอื ขา่ ยนี้หยดุ การทางานลงทนั ทีถ้าระบบเกิดข้อผิดพลาดจะหาข้อผดิ พกลาดไดย้ าก โดยเฉพาะถ้าเปน็ ระบบเครือขา่ ยขนาดใหญ่

ต่อขอ้ 2 2.2 โครงสร้างแบบดาว (Star Topology) เครือขา่ ยแบบดาว (Star Network) เครือขา่ ยแบบนจี้ ะมี คอมพวิ เตอร์คอมพวิ เตอร์หลกั ทีเ่ ปน็ โฮสต์ (Host) ตอ่ สาย ส่อื สารกับคอมพิวเตอร์ย่อยทีเ่ ป็นไคลเอนต์ (Client) คอมพวิ เตอรท์ เ่ี ปน็ ไคลเอนต์แต่ละเคร่อื งไม่สามารถติดต่อกันได้ โดยตรง การตอิ ตอ่ จะต้องผ่านคอมพวิ เตอร์โฮสตท์ ่ีเป็น ศูนยก์ ลาง

ต่อขอ้ 2ข้อดีง่ายต่อการใช้บรกิ าร เพราะมีศนู ยก์ ลางอยู่ท่คี อมพิวเตอร์แม่ข่ายอยเู่ ครือ่ งเดียวและเมือ่ เกิดความเสียหายท่คี อมพิวเตอรเ์ ครอื่ งใดเครอ่ื งหนึ่ง คอมพิวเตอร์เครือ่ งอนื่ กจ็ ะไมม่ ีผลกระทบอนั ใดเพราะใช้สายคนละเสน้ข้อเสยีตอ้ งใชส้ ายสญั ญาณจานวนมาก เพราะแต่ละสถานีมีสายสัญญาณของตนเองเชื่อมต่อกับศูนยก์ ลางจึงเหมาะสมกับเครือข่ายระยะใกล้มาก กวา่ การเชอ่ื มต่อเครือขา่ ยระยะไกล การขยายระบบก็ยุ่งยากเพราะตอ้ งเชอ่ื มตอ่ สายจากศนู ย์กลางออกมา ถ้าศูนยก์ ลางเสียหายระบบจะใชก้ ารไม่ได้

ต่อขอ้ 22.3 โครงสร้างแบบวงแหวน (Ring Topology)เครือขา่ ยแบบวงแหวน (Ring Network) เครือขา่ ยแบบนีจ้ ะมีการติดต่อสือ่ สารเปน็ แบบวงแหวนโดยที่ไม่มคี อมพวิ เตอรห์ ลักคอมพิวเตอร์แต่ละเครื่องในเครือขา่ ย สามารถติดตอ่ กันไดโ้ ดยตรง

ต่อขอ้ 2ขอ้ ดีใชส้ ายสญั ญาณน้อยกว่าแบบดาว เหมาะกับการเชอ่ื มตอ่ ดว้ ยสายสญั ญาณใยแก้วนาแสง เพราะส่งขอ้ มลู ทางเดยี วกนั ดว้ ยความเร็วสงูข้อเสยีถา้ สถานใี ดเสยี ระบบกจ็ ะไมส่ ามารถทางานต่อไปได้จนกวา่ จะแกไ้ ขจดุ เสยี นั้น และยากในการตรวจสอบว่ามีปญั หาท่ีจดุ ใดและถ้าต้องการเพิ่มสถานีเขา้ ไปจะพกหระทาไดย้ ากดว้ ย

ต่อขอ้ 22.4 โครงสร้างแบบต้นไม้ (Tree Topology)มลี ักษณะเชือ่ มโยงคลา้ ยกบั โครงสร้างแบบดาวแตจ่ ะมโี ครงสร้างแบบต้นไม้ โดยมสี ายนาสญั ญาณแยกออกไปเปน็ แบบกิ่งไม่เปน็ วงรอบโครงสรา้ งแบบนี้จะเหมาะกบั การประมวลผลแบบกลมุ่ จะประกอบด้วยเครอ่ื ง คอมพวิ เตอรร์ ะดับต่างๆกันอยหู่ ลายเคร่อื งแลว้ ตอ่ กนั เปน็ ชน้ั ๆ ดูราวกับแผนภาพองคก์ ร แต่ละกลุ่มจะมีโหนดแมล่ ะโหนดลูกในกลุ่มนน้ั ที่มกี ารสมั พันธก์ ัน การสื่อสารข้อมูลจะผา่ นตัวกลางไปยังสถานอี ่นื ๆได้ทั้งหมด เพราะทุกสถานจี ะอย่บู นทางเชื่อม และรับส่งขอ้ มลู เดียวกนัดงั นนั้ ในแต่ละกลุ่มจะส่งขอ้ มูลได้ทีละสถานีโดยไมส่ ง่ พร้อมกัน

ต่อขอ้ 2ข้อดีรองรบั การขยายเครือขา่ ยในแต่ละจดุรองรับอุปกรณ์จากผู้ผลิตท่ีแตกตา่ งกนัขอ้ เสยีความยาวของแตล่ ะเซ็กเมนต์อาจแตกต่างกนั ไปขนึ้ อยู่กบั สายสญั ญาณทีใ่ ช้หากสายสญั ญาณแบ๊กโบนเสียหาย เครอื ข่ายจะไม่สามารถส่อื สารกันได้การตดิ ตงั้ ทาไดย้ ากกวา่ โพโลยีแบบอื่น

ต่อขอ้ 2 2.5 โครงสรา้ งแบบผสม (Hybrid Topology) แบบผสม (Hybrid Network) เปน็ เครือขา่ ย คอมพวิ เตอรท์ ่ผี สมผสานระหวา่ งรปู แบบต่างๆ หลายๆแบบเข้าด้วยกนั คอื จะมเี ครอื ขา่ ย คอมพวิ เตอร์ยอ่ ย ๆ หลาย ๆ เครอื ข่ายเพ่ือให้ เกดิ ประสิทธิภาพสงู สุดในการทางาน

ต่อขอ้ 2ขอ้ ดีไมต่ ้องเสยี ค่าใช้จา่ ยในการวางสายเคเบลิ มากนกัสามารถขยายระบบไดง้ ่ายเสียค่าใชจ้ ่ายน้อยข้อเสยีอาจเกดิ ข้อผิดพลาดงา่ ย เนอ่ื งจากทกุ เคร่อื งคอมพวิ เตอร์ตอ่ ยูบ่ นสายสัญญาณเพียงเสน้ เดียว ดังนัน้ หากมีการขาดทีต่ าแหนง่ ใดตาแหน่งหนงึ่ ก็จะทาให้เครื่องอ่ืนสว่ นใหญ่หรอื ทง้ั หมดในระบบไมส่ ามารถใช้งานได้ตามไปดว้ ยการตรวจหาโหนดเสยี ทาได้ยากเนือ่ งจากขณะใดขณะหน่ึงจะมีคอมพิวเตอรเ์ พยี งเครอ่ื งเดยี วเทา่ น้ันท่ีสามารถส่งขอ้ ความออกมาบนสายสญั ญาณ ดงั นน้ั ถ้ามีเครอื่ งคอมพิวเตอรจ์ านวนมากๆ อาจทาให้เกิดการคบั ค่งัของเนตเวริ ์ก ซง่ึ จะทาให้ระบบช้าลงได้

ต่อขอ้ 22.6 โครงสร้างแบบเมซ (Mesh Topology)รูปแบบเครอื ขา่ ยแบบนี้ ปกติใช้ในระบบเครอื ขา่ ยบริเวณกวา้ ง (Wide Area Network) ลกั ษณะการส่อื สารจะมีการตอ่ สายหรอื การเดินของข้อมลู ระหวา่ งคอมพวิ เตอร์หรอื โหนดไปยงั โหนดอืน่ ๆ ทกุ ๆ ตวั ทาใหม้ ที างเดินขอ้ มูลหลายเส้นและปลอดภยั จากเหตกุ ารณ์ทจ่ี ะเกดิ จากการล้มเหลวของระบบ แต่ระบบน้จี ะมคี ่าใช้จา่ ยมากกว่าระบบอน่ื ๆ เพราะต้องใช้สายสอื่ สารเปน็ จานวนมาก

ต่อขอ้ 2ข้อดีในกรณสี ายเคเบิ้ลบางสายชารดุ เครือขา่ ยท้งั หมดยังสมารถใชไ้ ด้ทาให้ระบบมเี สถยี รภาพสูง นิยมใช้กบั เครอื ข่ายท่ีต้องการเสถียรภาพสงู และเครือข่ายท่มี ีความสาคญัขอ้ เสยีส้ินเปลืองค่าใช้จ่าย และสายเคเบ้ลิ มากกว่าการต่อแบบอนื่ ๆยากต่อการติดตั้ง เดินสาย เคลอื่ นยา้ ยปรบั เปล่ยี นและบารุงรกั ษาระบบเครือขา่ ย


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook