Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore สรุปแบบประเมินความพึงพอใจต่อการพัฒนาการบริหารจัดการส่งเสริมการอ่าน

สรุปแบบประเมินความพึงพอใจต่อการพัฒนาการบริหารจัดการส่งเสริมการอ่าน

Description: สรุปแบบประเมินความพึงพอใจต่อการพัฒนาการบริหารจัดการส่งเสริมการอ่าน

Search

Read the Text Version

คานา ห้องสมุดประชาชน “เฉลิมราชกุมารี” จังหวัดอานาจเจริญ จัดทาสรุปแบบประเมินความพึงพอใจต่อ การพัฒนาการบริหารจัดการส่งเสริมการอ่านโดยใช้รูปแบบส่ือออนไลน์ของห้องสมุดประชาชนในสังกัด สานกั งาน กศน.จงั หวดั อานาจเจริญ โดยใช้สื่อออนไลน์นาพาความรู้ไปสู่นักศึกษา กศน. และประชาชนท่ัวไป เพ่ือให้ตระหนักถึงความสาคัญของการอ่านหนังสือ รู้จักใช้เวลาว่างในการอ่านหนังสือ ก่อให้เกิดนิสัยรักการ อา่ นตอ่ วถิ ีชวี ิตของครอบครวั และชมุ ชนต่อไป ดังนน้ั เพอื่ เป็นการพัฒนางานบรรณารักษ์ห้องสมุดประชาชน“เฉลิมราชกุมารี” จังหวัดอานาจเจริญ จดั ทาจดั ทาสรุปแบบประเมินความพึงพอใจต่อการพัฒนาการบริหารจัดการส่งเสริมการอ่านโดยใช้รูปแบบสื่อ ออนไลน์ของห้องสมุดประชาชนในสังกัดสานักงาน กศน.จังหวัดอานาจเจริญ พร้อมแบบประเมินผู้เข้าร่วม กจิ กรรม ซ่งึ ไดร้ วบรวมสรปุ ไวใ้ นเอกสารเลม่ น้ี เพอื่ ให้ทราบถึงปัญหาและความต้องการของผู้เข้าร่วมกิจกรรม สามารถนาบทสรุปไปพัฒนาและดาเนนิ งานในกิจกรรมครั้งต่อไป ห้องสมดุ ประชาชน“เฉลิมราชกุมารี” จงั หวัดอานาจเจรญิ

สารบัญ หนา้ เรื่อง ๑ ๕ บทที่ ๑ บทนำ ๒๑ บทท่ี ๒ เอกสำรทเี่ ก่ียวข้อง ๒๓ บทที่ ๓ วธิ ีดำเนนิ กำรภำพกิจกรรม ๒๙ บทท่ี ๔ ผลกำรวิเครำะหข์ ้อมลู บทที่ ๕ สรุปผล อภิปรำยผล และขอ้ เสนอแนะ

บทที่ 1 บทนา สรุปแบบประเมนิ ความพงึ พอใจตอ่ การพัฒนาการบริหารจดั การ ส่งเสรมิ การอ่านโดยใชร้ ูปแบบสอ่ื ออนไลน์ของห้องสมดุ ประชาชนในสงั กดั สานกั งาน กศน.จงั หวดั อานาจเจรญิ ในบทนี้จะกลา่ วถงึ ความเป็นมาและความสาคัญของปัญหา วตั ถุประสงค์ของการวิจัย สมมติฐานการ วิจัย กรอบแนวคิดการวิจัย ขอบเขตงานวิจัย นิยามศัพท์เฉพาะ และประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ จากการ พัฒนาการบริหารจัดการส่งเสริมการอ่านโดยใช้รูปแบบส่ือออนไลน์ของห้องสมุดประชาชนอาเภอในสังกัด สานกั งาน กศน.จงั หวัดอานาจเจรญิ 1.1 ความเปน็ มาและความสาคัญของปญั หา การศกึ ษาเป็นเครื่องมือสาคัญในการสร้างคน สรา้ งสังคม และสรา้ งชาติ เปน็ กลไกหลัก ในการพฒั นากาลงั คนใหม้ คี ุณภาพ สามารถดารงชีวติ อยู่รว่ มกบั บุคคลอืน่ ในสังคมได้อย่างเปน็ สขุ ในกระแสการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วของโลกศตวรรษที่ 21 เนื่องจากการศึกษามีบทบาทสาคัญ ในการ สรา้ งความไดเ้ ปรียบของประเทศเพอ่ื การแขง่ ขนั และยนื หยัดในเวทีโลก ภายใต้ระบบเศรษฐกิจและสังคมที่เป็น พลวัต ประเทศต่าง ๆ ทั่วโลกจึงให้ความสาคัญและทุ่มเทกับการพัฒนาการศึกษา เพื่อพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ ของตนให้สามารถก้าวทันการเปลี่ยนแปลงของระบบเศรษฐกิจ และสังคมของประเทศ ภูมิภาค และของโลก ควบคู่กับการธารงรักษาอัตลักษณ์ของประเทศ ในส่วนของประเทศไทยได้ให้ความสาคัญกับการจัดการศึกษา การพัฒนาศักยภาพและขีดความ สามารถของคนไทยให้มีทักษะ ความรู้ความสามารถและสมรรถนะท่ี สอดคล้องกับความต้องการ ของตลาดงานและการพัฒนาประเทศ ภายใต้แรงกดดันภายนอกจากกระแสโลกา ภวิ ตั น์และแรงกดดนั ภายในประเทศ ที่เป็นปัญหาวิกฤตท่ีประเทศ ต้องเผชิญ เพื่อให้คนไทยมีคุณภาพชีวิตท่ี ดีสังคมไทยเป็นสังคมคณุ ธรรม จริยธรรม และประเทศสามารถก้าวข้ามกับดักประเทศท่ีมีรายได้ปานกลางไปสู่ ประเทศท่ีพัฒนาแล้ว รองรับการเปล่ียนแปลงของโลก ท้ังในปัจจุบันและอนาคต โดยการเปล่ียนแปลงท่ี สาคัญและส่งผลกระทบต่อระบบการศึกษา ระบบเศรษฐกิจและสังคมของประเทศไทย (สานักงานเลขาธิการ สภาการศกึ ษา, 2560 หนา้ 1) การเปลี่ยนแปลงระบบเศรษฐกิจ สังคม ส่งผลให้ทุกประเทศท่ัวโลกกาหนดทิศทางการผลิตและ พฒั นากาลงั คนของประเทศตนให้มที ักษะและสมรรถนะระดับสงู มีความสามารถเฉพาะทางมากขึ้น ส่วนความ ต้องการกาลังแรงงานท่ีไร้ฝีมือและมีทักษะต่าจะถูกแทนท่ีด้วยหุ่นยนต์และเทคโนโลยีใหม่ ๆ มากขึ้น การ จัดการศึกษาในปัจจุบันจึงต้องปรับเปล่ียนให้ตอบสนองกับทิศทางการผลิตและการพัฒนากาลังคนดังกล่าว โดยมุ่งเน้นการจัดการเรียนการสอนเพ่ือให้ผู้เรียนมีทักษะในศตวรรษท่ี 21 เพ่ือให้ได้ท้ังความรู้และทักษะที่ จาเป็นต้องใช้ในการดารงชีวิต การประกอบอาชีพ และการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศท่ามกลาง กระแสแหง่ การเปลีย่ นแปลง ทักษะสาคญั จาเป็นในโลกศตวรรษท่ี 21 ประกอบด้วยทักษะที่เรียกตามคาย่อว่า 3Rs + 8Cs 3Rs ประกอบด้วย อ่านออก (Reading) เขียนได้ (Writing) และ คิดเลขเป็น (Arithmetic) 8Cs ประกอบด้วย ทักษะด้านการคิดอย่างมีวิจารณญาณ และทักษะในการแก้ปัญหา (Critical Thinking and Problem Solving) ทกั ษะด้านการสรา้ งสรรค์ และนวัตกรรม (Creativity and Innovation) ~1~

ทักษะด้านความเข้าใจต่างวัฒนธรรม ต่างกระบวนทัศน์ (Cross – cultural Understanding) ทักษะด้าน ความร่วมมือ การทางานเป็นทีม และภาวะผู้นา (Collaboration Teamwork and Leadership) ทักษะด้านการส่ือสาร สารสนเทศ และรู้เท่าทันส่ือ (Communications, Information and Media Literacy) ทักษะด้านคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (Computing and ICT Literacy) ทักษะอาชีพ และทักษะการเรียนรู้ (Career and Learning Skills) ความมีเมตตา กรุณา วินัย คณุ ธรรม จรยิ ธรรม (Compassion) (สานกั งานเลขาธิการสภาการศึกษา, 2560 หนา้ 15 -16) การอ่านนับว่าเป็นส่ิงสาคัญในการพัฒนาคุณภาพชีวิต ให้ดีขึ้นและสมบูรณ์มากย่ิงข้ึน เพราะการ อ่านเป็นปัจจัยในการพัฒนาบุคคล ช่วยให้เกิดความงอกงามของสติปัญญา ทาให้เรารู้จักคิด เปิดโลกทัศน์ให้ กวา้ ง ทาให้ได้รับความรู้และความบันเทิงทางใจ การอ่านยังสามารถนาความรู้ท่ีได้พัฒนาตนเอง พัฒนาชุมชน รวมถงึ นาไปพัฒนาประเทศได้อกี ดว้ ย การอ่านทาให้ผอู้ ่านมขี อ้ มูล เพราะได้รับสาระความรู้และรู้เท่าทันต่อการ เปล่ียนแปลงของโลกทนั เหตกุ ารณอ์ ยเู่ สมอ ซ่ึงจะเปน็ พื้นฐานแห่งความรู้ท่ีจะนาไปสู่การคิดได้คิดเป็นในโอกาส ต่อไป การอา่ นทาให้ได้พฒั นาความคิดเนื่องจากจะต้องใช้สมองขบคิด พิจารณาความหมายและทาความเข้าใจ เรือ่ งที่อ่าน ทาให้เกิดพัฒนาการทางความคิด ผู้ทอี่ า่ นหนังสือมากจึงมักเป็นปราชญ์หรือนักคิด การอ่านหนังสือ จึงทาให้ได้พัฒนาการใช้จินตนาการเพราะการอ่านทาให้ได้ใช้ความคิดอย่างอิสระ สามารถสร้างภาพในใจของ ตนเองโดยการตีความจากภาษาของผู้เขียน การอ่านนั้น มีความสาคัญอย่างยิ่งต่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต ตลอดจนทัศนคตทิ ่ีมีต่อการอา่ นหนงั สือจะเป็นหนทางนาไปสู่ความสาเร็จในชวี ิตสืบไป ในปีงบประมาณ 2563 สานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ได้ กาหนดนโยบายในการสง่ เสริมการอา่ น โดยมีนโยบายในการพัฒนาห้องสมุดประชาชนทุกแห่ง ให้มีการบริการ ทีท่ ันสมยั เพือ่ สง่ เสริมการอา่ น การสรา้ งเครือขา่ ยส่งเสริมการอ่าน จัดหน่วยบริการเคล่ือนท่ีพร้อมอุปกรณ์เพ่ือ จัดกิจกรรมส่งเสริมการอ่านและการเรียนรู้ที่หลากหลายให้บริการกับประชาชนในพ้ืนที่ต่าง ๆ อย่างท่ัวถึง สมา่ เสมอ รวมทั้งเสรมิ สรา้ งความพร้อมในด้านบุคลากร ส่ืออุปกรณ์เพื่อสนับสนุนการอ่านและการจัดกิจกรรม เพ่อื สง่ เสริมการอ่านอยา่ งหลากหลาย (สานกั งาน กศน, 2563 หนา้ 8) สานกั งานสง่ เสรมิ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวดั อานาจเจรญิ เป็นหน่วยงานในสังกัดสานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย และเป็นหน่วยงาน การศึกษา มีอานาจหน้าท่ีบริหารจัดการการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยภายในจังหวัด อานาจเจรญิ รวมทั้งมอี านาจหนา้ ทีด่ งั ต่อไปน้ี (สานกั งาน กศน. จงั หวัดอานาจเจริญ, 2563 หน้า 1-2 ) 1. จดั ทายุทธศาสตร์เปา้ หมาย และแผนพัฒนาการศกึ ษานอกระบบและการศึกษา ตามอัธยาศัยในจังหวัดให้สอดคล้องกับนโยบาย มาตรฐานการศึกษา แผนพัฒนาการศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอธั ยาศยั และความตอ้ งการของท้องถิน่ และชมุ ชน 2. ศึกษา วิเคราะห์ วจิ ยั และรวบรวมขอ้ มูลสารสนเทศ ด้านการศึกษานอกระบบและการศึกษา ตามอัธยาศัย 3. วิเคราะห์ จัดต้ัง จัดสรรเงินงบประมาณให้แก่สถานศึกษาและภาคีเครือข่ายท่ีจัดการศึกษา นอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั 4. ประสาน ส่งเสริม สนับสนุนการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยของ สถานศึกษาและภาคเี ครือข่าย 5. จัดระบบการประกนั คณุ ภาพการศึกษานอกระบบตามที่กฎหมายกาหนด 6. สง่ เสริม สนับสนุนการเทยี บโอนผลการเรยี น การเทียบโอนความรู้และประสบการณ์ และการ เทยี บระดับการศกึ ษา ~2~

7. ส่งเสริม และพัฒนาหลักสูตร ส่ือนวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษาร่วมกับสถานศึกษา และภาคเี ครอื ขา่ ย 8. ระดมทรพั ยากรดา้ นตา่ ง ๆ รวมทง้ั ทรัพยากรบุคคลเพ่อื การมีสว่ นร่วมในการสง่ เสริมสนับสนุน การจดั และพฒั นาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั 9. ส่งเสริม สนับสนนุ การวิจัย และพฒั นาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั 10. พัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย และภาคี เครือขา่ ย 11. ส่งเสริม สนับสนุนติดตามและรายงานผลการดาเนินงานตามโครงการอันเนื่องมาจาก พระราชดาริ งานนโยบายพเิ ศษของรฐั บาลและงานเสรมิ สรา้ งความมัน่ คงของชาติ 12. กากับ ดูแล นิเทศ ติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม อัธยาศยั ของสถานศกึ ษาและภาคเี ครือขา่ ย 13. ปฏิบตั งิ านอน่ื ๆ ทีไ่ ดร้ บั มอบหมาย ในปีงบประมาณ 2563 สานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและก ารศึกษา ตามอธั ยาศยั จงั หวัดอานาจเจริญ ได้กาหนดนโยบายการใหบ้ ริการห้องสมดุ ประชาชน“เฉลมิ ราชกุมารี” จังหวัด อานาจเจริญ จานวน 1 แหง่ และห้องสมดุ ประชาชนอาเภอ จานวน 6 แห่ง ให้บริการนักศึกษาและประชาชน ท่ัวไปที่เข้ามาใช้บริการการสืบค้นข้อมูลอ่านเพ่ิมความรู้และอ่านข่าวสารต่าง ๆ และมีมุมสาหรับเด็กเพ่ือ ให้บริการแก่เด็กเพ่ือให้มีนิสัยรักการอ่าน มีทักษะในการแสวงหาความรู้จากการอ่าน ใช้เวลาว่างให้เป็น ประโยชน์ และนาความรูไ้ ปใช้ใน การเรียน การดาเนินชีวติ การพฒั นาตนเอง และเกิดการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง ตลอดชีวิต โดยใช้รปู แบบส่ือออนไลน์ ผู้ศึกษาในฐานะผู้อานวยการสานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย จังหวัดอานาจเจริญ ได้ตระหนักถึงความสาคัญของจัดกิจกรรมส่งเสริมการอ่านให้กับประชาชน ในการ พัฒนาการบริหารจัดการส่งเสริมการอ่าน โดยใช้รูปแบบส่ือออนไลน์ของห้องสมุดประชาชน ในสังกัด สานกั งาน กศน.จงั หวัดอานาจเจรญิ วัตถปุ ระสงค์ 1. เพือ่ ศกึ ษาสภาพและปัญหาของการบรหิ ารจดั การสง่ เสรมิ การอ่านของห้องสมดุ ประชาชนอาเภอ ในสงั กัดสานักงาน กศน.จังหวัดอานาจเจริญ 2. เพอื่ พฒั นาของการบริหารจัดการส่งเสริมการอ่านโดยใช้รูปแบบส่ือออนไลนข์ องห้องสมดุ ประชาชนอาเภอในสงั กัดสานักงาน กศน.จงั หวดั อานาจเจริญ 3. เพ่ือศึกษาผลการพัฒนาการบริหารจัดการส่งเสรมิ การอ่านโดยใช้รูปแบบสือ่ ออนไลน์ของห้องสมดุ ประชาชนอาเภอในสงั กดั สานักงาน กศน.จังหวดั อานาจเจริญ ~3~

เปา้ หมาย เชิงปรมิ าณ - นกั ศึกษา กศน. ระดับประถมศกึ ษา จานวน ๕๙ คน - นักศกึ ษา กศน. ระดบั ประถมศึกษาเขา้ รว่ มสง่ เสรมิ การอ่านรปู แบบสอ่ื ออนไลนข์ อง หอ้ งสมุดประชาชนอาเภอในสงั กัดสานักงาน กศน.จังหวัดอานาจเจริญ เชิงคุณภาพ - ดา้ นอารมณ์ นกั ศึกษาได้ความสนกุ สนานเพลิดเพลินขณะอ่านสื่อออนไลน์ - ดา้ นสังคม นกั ศึกษาได้พดู คยุ เพ่ือแลกเปล่ียนความคิดเห็น และ การชว่ ยเหลือแบ่งปนั - ด้านสติปัญญา นกั ศกึ ษาไดพ้ ฒั นาการทางดา้ นทกั ษะการฟงั การพูด การอา่ น และการ เขยี นการบนั ทกึ การอา่ นโดยใช้รูปแบบส่ือออนไลน์ ผลลพั ธ์ นักศึกษา กศน. ระดับประถมศกึ ษา จานวน ๕๙ คน เข้ารว่ ม ผลการดาเนนิ งาน หอ้ งสมุดประชาชน “เฉลิมราชกุมารี” จงั หวดั อานาจเจริญ ไดส้ รุปแบบประเมนิ ความพึงพอใจต่อการ พฒั นาการบรหิ ารจัดการส่งเสรมิ การอ่านโดยใช้รปู แบบสื่อออนไลน์ ของห้องสมุดประชาชนอาเภอในสังกัด สานักงาน กศน.จงั หวัดอานาจเจริญ ซึ่งได้จาแนกออกเป็น จานวน ๓ ดา้ น ได้แก่ ๑. ด้านเวบ็ ไซตห์ อ้ งสมุด ๒. ด้านกิจกรรมสง่ เสริมการอ่าน ๓. ด้านประโยชนท์ ีผ่ ู้รบั บริการได้รบั ซง่ึ หอ้ งสมุดประชาชน “เฉลิมราชกมุ ารี” จงั หวดั อานาจเจรญิ ได้เกบ็ สถิติความพึงพอใจ และไดจ้ ัดทา แบบประเมนิ โดยสมุ่ แบบประเมนิ โดยบงั เอิญ ๕๙ คน ~4~

บทท่ี ๒ เอกสารทเี่ กีย่ วข้อง การประเมนิ โครงการผปู้ ระเมินไดศ้ ึกษาข้อมลู จากเอกสารดังรายละเอยี ดทีจ่ ะนาเสนอต่อไปนี้ ๑. การจดั กจิ กรรมส่งเสรมิ การเรียนรู้ ๒. หลกั การประเมินผลโครงการ การจัดกิจกรรมสง่ เสรมิ การเรียนรู้ การจดั กิจกรรมส่งเสรมิ การเรียนร้ทู ุกประเภท ควรนาหลักการจัดกจิ กรรมทางการ ศึกษาตลอดชวี ติ มาเป็นแนวทางในการจัดกจิ กรรม โดยมงุ่ เน้นให้กลุ้มเป้าหมายเกิดทกั ษะในการแสวงหา ความรู้ท่ีจาเป็นต่อการดารงชวี ติ ดว้ ยเน้อื หาและวิธีการทหี่ ลากหลายตามความต้องการ ความจาเปน็ แต่ล่ะ บุคคล มีความยดื หยุ่นเข้าถึงง่าย ปราศจากเกณฑแ์ ละระเบยี บต่างๆ ทจ่ี ะปิดกนั้ ความต้องการการเรยี นรู้ของ บคุ คล (สุมาลี สงั ข์ศรี ๒๕๔๔ : ๑๗๔-๑๗๖) แนวทางการจัดกจิ กรรมมีดงั น้ี ๑. ด้านกจิ กรรม ควรจดั กิจกรรมทม่ี เี นื้อหาทันสมัย ทันเหตุการณ์ หลากหลาย ตรงความต้องการของกลุ่มเป้าหมายทกุ เพศ ทุกวยั และผสมกลมกลืนกบั การดารงชีวิตประกอบดว้ ยเน้อื หาที่ เป็นพน้ื ฐานในการดารงชวี ิต เชน่ การอ่าน การเขียน การวิเคราะห์เนื้อหา และทักษะการประกอบอาชพี ตา่ งๆ และเนื้อหาการพฒั นาคณุ ภาพชวี ิต (สมุ าลี สังข์ศรี ๒๕๔๔ : ๑๗๙) ๒. ด้านการดาเนนิ การ ๑) ควรจดั กจิ กรรมในชว่ งระยะเวลาทีเ่ หมาะสม สอดคล้องกับวิถชี ีวิตของกลุ่มเป้าหมาย ๒) ควรจดั กิจกรรมอย่างต่อเน่ืองและสม่าเสมอ กลุ่มเปา้ หมายท่ีมีความพรอ้ มสามารถ เข้าร่วมกจิ กรรมได้ทันทีตลอดเวลา ๓) การจดั กจิ กรรมต้องเปิดกว้าง ยดื หยนุ่ เขา้ ถึงง่าย ปราศจากกฎระเบียบและเง่ือนไข ทย่ี ุ่งยากซับซ้อนในการเขา้ รว่ มกิจกรรม ๔) ควรใหก้ ลุม่ เปา้ หายมีส่วนรว่ มในกิจกรรม เพือ่ การพัฒนาตนเองในด้านร่างกาย คือ ได้ใชส้ ่วนต่างๆของร่างกาย ประสาทจะเกดิ การรบั รตู้ ่ืนตวั พร้อมทจี่ ะรบั ขอ้ มูล ด้านสตปิ ญั ญาคือ ไดใ้ ชส้ มอง จดจ่อในการคิดทากจิ กรรม สนุกท่จี ะคดิ ด้านสังคมคือ ได้ปฏิสมั พันธ์กบั บุคคลอ่นื และสง่ิ แวดลอ้ ม และด้าน อารมณ์ คือ มีความต้องการยินดที ี่เข้าร่วมทากจิ กรรมเพอ่ื แสวงหาความรู้ทีม่ ีความหมายต่อตวั เอง เปน็ กจิ กรรมทเ่ี ก่ียวข้องกับชวี ิต ประสบการณ์และความเปน็ จรงิ หรอื เป็นสง่ิ ทีเ่ กยี่ วข้องโดยตรงหรือใกลต้ ัวเอง (ทศิ นา แขมมณ,ี ๒๕๔๒ : ๖-๗) ๕) ควรมีการแสวงหาภาคเี ครือข่ายร่วมจดั กจิ กรรม เพื่อใหเ้ กิดความหลากหลาย แปลกใหม่ ถูกใจกลุ่มเป้าหมายตลอดเวลา ๖) ควรมกี ารประเมินผลความพงึ พอใจกลมุ่ เปา้ หมายทุกครงั้ ท่ีจดั กจิ กรรม เพื่อนาผลมา ปรบั ปรงุ แก้ไขพฒั นากจิ กรรมให้ถกู ใจกลุ่มเป้าหมายมากย่งิ ข้ึน ๗) ควรดาเนนิ การประชาสัมพันธ์หลายชอ่ งทาง ตอ่ เนื่อง สม่าเสมอ เพื่อให้เขา้ ถึง กลุม่ เป้าหมายมากที่สุด ~5~

หลกั การประเมินผลโครงการ สมหวัง พธิ ยิ านวุ ฒั น์ (๒๕๔๑) มองการประเมนิ ไปในแง่การตัดสนิ คุณค่า โดยให้ความหมายของการ ประเมิน หมายถงึ การตดั สินคุณคา่ นอกจากนี้ สมหวงั พิธยิ านุวัฒน์ ยังไดก้ ลา่ วเพิ่มเติมว่า จุดเนน้ การ ประเมนิ คือการเก็บรวบรวมข้อมลู และวิเคราะห์ข้อมลู อย่างเปน็ ระบบ เพ่ือให้สารสนเทศ เพื่อตดั สินคณุ ค่าส่งิ ใดสิง่ หนึง่ โดยเฉพาะผลการประเมนิ มีความเปน็ เฉพาะสูงมาก ซง่ึ แตกตา่ งจาก ผลการวจิ ยั ทมี่ คี วามเป็นสากลสงู นิศา ชโู ต (๒๕๒๗) คุณค่า โดยใหค้ วามหมายของการประเมนิ หมายถงึ กิจกรรมการรวบรวมขอ้ มลู การวเิ คราะห์ความหมาย ข้อเทจ็ จรงิ ที่เก่ียวกบั ความตอ้ งการ การหาแนวทางวิธกี ารปรบั ปรุง วธิ ีการจัด โครงการและหาสาเหตทุ ่ีแนใ่ จท่เี กิดจาดโครงการ เพอื่ เป็นการเพง่ิ คุณภาพและประสิทธิภาพของโครงการใหด้ ี ย่ิงขน้ึ สมชยั วงษ์นายะ และคณะ (๒๕๓๖) คณุ ค่า โดยใหค้ วามหมายของการประเมิน หมายถงึ การ ตดั สินคุณค่าของสงิ่ ใดสง่ิ หนง่ึ อกี นัยหนึง่ คอื การประเมนิ เปน็ กระบวนการใหไ้ ด้มาซ่งึ สารสนเทศสาหรบั ตัดสิน คุณค่าของโปรแกรมการศึกษาผลผลิต กระบวนการ จุดมุง่ หมายของโครงการหรือโปรแกรมหรือทางเลือกตา่ งๆ ทอ่ี อกแบบเพื่อไปปฏบิ ตั ิให้บรรลจุ ดุ มงุ่ หมาย ประเภทของการประเมินโครงการ ได้มีผแู้ บ่งประเภทของการประเมินโครงการเป็น ๔ แบบ คือ ๑. การประเมินประสิทธผิ ล คอื เป็นการประเมนิ ขีดความสาเร็จของโครงการเทียบกบั วัตถุประสงค์ของโครงการหรือเป้าหมายทกี่ าหนดไว้ก่อนการดาเนินโครงการการประเมินประสทิ ธิผลของ โครงการนน้ั เปน็ การประเมินโดยใชว้ ตั ถปุ ระสงคแ์ ละเปา้ หมายของโครงการเทา่ นั้นเป็นเกณฑ์การประเมนิ ขีด ความสาเรจ็ ดังนนั้ การพิจารณาขดี ความสาเรจ็ ของโครงการเพยี งลาพังโดยไม่พจิ ารณาร่วมไปกบั ระดับของ วตั ถปุ ระสงค์ และเป้าหมายท่กี าหนดไว้น้นั จึงมกั จะไม่มีความหมาย ดงั นั้นการเปรยี บเทียบประสิทธผิ ลของ โครงการ จงึ ตอ้ งทาดว้ ยความระมัดระวังมาก และต้องคานึงถงึ ปจั จยั ตา่ งๆ ประกอบดว้ ยอัตราประสทิ ธิผล ของวัตถุประสงค์ หรือเป้าหมายทก่ี าหนดไว้ ฐานของวัตถุประสงค์ เป้าหมาย ตลอดจนสภาพแวดล้อมอืน่ ๆ การประเมนิ ประสทิ ธผิ ลส่วนใหญม่ กี ารประเมนิ กันมกั จะเป็นประสิทธผิ ลของการดาเนินงาน คอื วตั ถุประสงค์ หรอื เปา้ หมายที่กาหนดไว้ ๒. การประเมินผลกระทบที่เกิดจากโครงการ เปน็ อีกระดับหนึ่งท่กี วา้ งไกลไปกวา่ การประเมินผล การดาเนนิ งาน การประเมินในลกั ษณะนีจ้ ะพยายามวัดสิง่ ที่เกิดข้ึนเน่ืองจากโครงการ เช่น การจดั ใหม้ ีการฉีด วัคซนี ในเด็กครบ ๓ ครง้ั ในขวบปแี รก ก็จะประเมนิ ไดว้ า่ สามารถลดโรคคอตบี และไอกรนในเดก็ ไดม้ ากน้อง เพยี งใด การประเมินผลท่ีเกิดจากโครงการนนั้ มรี ะดบั การประเมินผลท่ีเกดิ ข้นึ ได้หลายระดบั ยงิ่ ผลที่เกิดข้นึ เปน็ ระดับที่สงู หรือไกลมากเทา่ ใด ความเกีย่ วขอ้ งของโครงการต่อผลนั้นก็ยงิ่ นอ้ ยลง เพราะมปี จั จยั อ่ืนเขา้ มา เก่ยี วขอ้ งดว้ ยมากยิง่ ขน้ึ ดังนัน้ ผปู้ ระเมนิ ต้องชดั เจนตงั้ แต่กอ่ นการทาประเมิน ว่าประเมินเพ่ือวตั ถุประสงค์ อะไร และต้องการประทเี่ กดิ จากโครงการในระดับใด จึงเหมาะสมทส่ี ดุ มีความเชอื่ ม่นั ไดแ้ ละเป็นประโยชน์ ๓. การประเมินประสิทธภิ าพ คาวา่ ประสทิ ธิภาพ หมายถงึ สดั สว่ นระหว่างที่ได้ออกมากับส่งิ ทีใ่ ช้ ไป ซึง่ สว่ นใหญ่ทใ่ี ช้ไปมักจะหมายถงึ ทรัพยากรต่างๆ ท่ีใชไ้ ป การประเมนิ ประสิทธิภาพของโครงการน้นั จะ เนน้ การใชป้ ัจจัยและทรัพยากรตา่ งๆ ว่าไดใ้ ช้ให้เกดิ ประโยชน์สูงสุดหรอื ไม่ ~6~

๔. ด้านประเมนิ กระบวนการ เปน็ การประเมนิ ท่มี ุ่งความสนใจไปในส่งิ ที่ออกมาเทยี บกบั เป้าหมาย โดยไมใ่ หค้ วามสาคัญน้อยมากกับปญั หาท่วี า่ เป้าหมายบรรลไุ ดอ้ ยา่ งไร หรอื เป้าหมายถึงไมบ่ รรลตุ ามท่วี างแผน ไว้ การประเมนิ ประสิทธภิ าพจะเปน็ การประเมิน ซ่งึ มคี วามสาคญั กับกระบวนการบา้ ง ทาอย่างไรจงึ จะเกิด การใช้ทรพั ยากรทจ่ี ากัดนนั้ มากขนึ้ แต่เป็นการวิเคราะห์ประสิทธภิ าพของวิธีการที่ใชอ้ ยู่หรอื ใชไ้ ปแล้ว สว่ นการ ประเมนิ กระบวนการนนั้ นอกจากวธิ ที ่ใี ชอ้ ยู่หรือใชแ้ ล้วยังให้ความสนใจและใหค้ วามสาคญั กับวธิ ีบริหารจัดการ และสภาพแวดลอ้ ม ซง่ึ มผี ลต่อการดาเนนิ โครงการทาให้โครงการนนั้ บรรลุหรอื ไมบ่ รรลุเปา้ หมายได้ หลักการเกี่ยวกบั การบริหารจัดการ ในการปฏิบัติงานของบุคลากรในองค์กรน้ัน จาเป็นอย่างยิ่งที่ต้องมีการบริหารเพื่อบริหาร จัดการองค์กรเพื่อให้การดาเนินงานเกิดประสิทธิผลและมีคุณภาพ ปี ค.ศ.1916 (อ้างถึงในดารง วัฒนา, 2555, หน้า 9) ได้เขียนบทความเกี่ยวกับเร่ืองการจัดการและจัดพิมพ์เป็น หนังสือช่ือ Administration Industrielleet Generaleb เป็นภาษาฝรั่งเศส โดย ฟาโย เห็นว่า หลักเกี่ยวกับการบริหารการจัดการน้ันควร เปน็ กระบวนการทีม่ ีความเหมาะสมกบั สภาพพน้ื ท่ี และความพร้อมของแต่ละหน่วยงาน สามารถปรับเปล่ียนได้ ซึ่งประกอบดว้ ย 1. การแบ่งงานกันทา (Division of Work) เป็นสิ่งท่ีทุกคนต้องมีส่วนร่วมกันในการทางานตาม บทบาทหนา้ ท่ี และความสามารถของแตล่ ะบุคคลเพื่อให้งานบรรลเุ ปา้ หมาย 2. อานาจส่ังการ (Authority) เป็นอานาจสั่งการซ่ึงเป็นอานาจอันชอบธรรมของบรรดา ผู้ที่มีตาแหน่งเพ่ือสามารถท่ีจะออกคาส่ังในการทางานได้ โดยผู้ออกคาส่ังต้องมีความรับผิดชอบต่อคาสั่ง ในการทางานได้ 3. ระเบียบวินัย (Discipline) เป็นระเบียบวินัยท่ีคนในองค์การต้องเคารพและยอมรับ เพื่อสร้างสถานภาพงานท่ีเป็นระเบยี บและเรยี บร้อย 4. หลักการ “สั่งการโดยคน ๆ เดียว” (Unity of Command) เป็นหลักการซ่ึงคุ้นเคย ในช่ือของหลัก“เอกภาพในการบังคับบัญชา” ลูกน้องจะต้องฟังคาสั่งจากผู้บริหารส่ังการ จากน้ัน จะปฏิบัติงานตามคาสงั่ และการรายงานผลการปฏบิ ัตงิ านใหผ้ ้บู ริหารทราบ 5. การมีทิศทาง (Unity of Direction) คือ การกาหนดเป้าหมายในการทางานให้เป็นไป ในทิศทางเดยี วกนั 6. ประโยชน์ส่วนรวม (Subordination of Interests to the General Interests) การทางาน ทมี่ งุ่ หวังผลสมั ฤทธิ์ของส่วนรวมเป็นสว่ นใหญ่ 7. หลักการตอบแทน (Remuneration) คือ ผลตอบแทนท่ีผู้ปฏิบัติงานจะได้รับ ตามความรู้ ความสามารถ ตามตาแหนง่ การทางานอยา่ งเป็นธรรม 8. หลักการรวมอานาจ (Centralization) เปน็ หลักการรวมอานาจ หมายถึง ระดับมากน้อย ที่ ผู้ใต้บังคับบัญชาสามารถตัดสินใจในแต่ละสถานการณ์ซ่ึง ฟาโย (Fayol) เห็นว่าการใช้อานาจหน้าที่ในการ ตดั สนิ ใจควรกระทาทสี่ ายการบงั คบั บัญชาระดับสงู ที่สุด ทเ่ี ปน็ ไปได้ในสถานการณ์นัน้ ๆ 9. การมีสายการบังคับบัญชา (Scalar Chain) เป็นการมีสายการบังคับบัญชา ซ่ึงเป็นเสมือน ห่วงโซ่หรือเส้นทางของคาส่ังและติดต่อส่ือสารใด ๆ ระหว่างหัวหน้ากับลูกน้องในแต่ละสายงาน ภายใต้ โครงสรา้ งของแต่ละองคก์ าร 10. การจัดระเบียบ (Order) เป็นการจัดระเบียบหรือการจัดการให้บุคคลได้ปฏิบัติงานตาม ความร้คู วามสามารถ ตลอดจนจัดระบบงาน จดั สรรงบประมาณ วัสดอุ ุปกรณใ์ หม้ คี วามพร้อมในการปฏิบัติงาน อย่างเพยี งพอ 11. ความเท่ียงธรรม (Equity) คือ การบริหารท่ีผู้บริหารต้องมีความยุติธรรม เท่ียงตรง และมี ความเอ้ืออาทรกบั ผู้ใต้บงั คบั บญั ชาอยา่ งเสมอภาคกนั ~7~

12. หลักความม่ันคงในตาแหน่งงานของบุคคลกร (Stability of Tenure of Personnel Fayol) เป็นหลักในการสร้างความเชอื่ มนั่ และการสรา้ งขวัญและกาลงั ใจใหก้ ับบุคลากรในองคก์ ร 13. ความคดิ ริเริม่ (Initiative) คือ สิ่งทเ่ี กิดจากการความต้องการท่พี ัฒนางาน ให้มีความแปลก ใหม่ในทางที่ดีขนึ้ และนาไปสู่การปฏิบัตจิ นสาเรจ็ อยา่ งภาคภมู ใิ จ 14. สามัคคี (Esprit De Corps) คือ ความร่วมมือ ความร่วมแรงร่วมใจในการทางาน ด้วย ความสมานฉันท์ มีความรกั สามคั คีกันของคนในองคก์ ร พิมลจรรย์ นามวัฒน์. (2554, หน้า 122) ได้ศึกษาการจัดการตามหลักการบริหาร และได้ เสนอหลกั ท่ีเก่ยี วกับการบรหิ ารจัดการสาหรับผู้บริหารไว้ 7 ประการ คือ การวางแผนการ จัดองค์การ การจัด คนเข้าทางาน การสั่งการ การประสานงานการรายงานและการงบประมาณ หรือเรียกว่า “POSDCORB”ดังตอ่ ไปน้ี P = Planning หมายถึง การวางแผนงาน ซ่ึงจะต้องคานึงถึงนโยบาย (Policy) ท้ังนี้ เพื่อให้แผนงานที่กาหนดขึ้นไว้มีความสอดคล้องกันในการดาเนินงาน แผนจึงถือเป็นหัวใจสาคัญเป็นตัว กาหนดใหท้ ราบถึงทศิ ทางการดาเนินงาน การจัดทาแผนจงึ ต้องมีการวิเคราะห์ขอ้ มูลอย่างถูกต้อง O = Organizing หมายถึง การจัดองค์การเพื่อให้โครงสร้างของการทางานและ กลุ่มตาแหน่งงานต่าง ๆ รองรับกบั แผนงานที่กาหนดไว้และเป็นโครงสร้างท่ีจัดขึ้น เพื่อประสานให้ทุกภาคส่วน มีความพร้อมในการปฏิบัติงาน การจัดการองค์กรท่ีดีจะช่วยเอ้ือให้การดาเนินงาน การควบคุมและติดตามเกิด ประสทิ ธิภาพ โดยมกี ารมอบหมายงาน การมสี ่วนรว่ มในการสรา้ งสรรค์เป็นสัดสว่ น มีผู้นาหลักในการช้ีแนะ ให้ คาปรกึ ษาในการดาเนนิ การจนสามารถทาใหง้ านสาเรจ็ ลลุ ่วงอยา่ งมีคุณภาพ S = Staffing หมายถึง การพิจารณาบุคคลและเจ้าหน้าที่มาปฏิบัติงานให้สอดคล้องกับ การจดั แบง่ หนว่ ยงานทีแ่ บ่งไว้ หรอื กลา่ วอีกนัยหน่ึงหมายถึงการจัดเกี่ยวกับการบริหารงานบุคคล (Personnel Administration) เพ่ือให้ได้บุคคลท่ีมีความสามารถมาปฏิบัติงานให้เหมาะสม (Competent Man for Competent Job) หรือ Put the Right Man on the Right Job กับรวมถึงการท่ีจะเสริมสร้างและธารงไว้ ซึง่ สัมพันธภาพในการทางานของคนงานและพนกั งานดว้ ย D = Directing หมายถึง การศึกษาวธิ ีการอานวยการ รวมท้ังการควบคุมงานและนิเทศงาน ตลอดจนศิลปะในการบริหารงาน เช่น ภาวะผู้นา (Leadership) มนุษยสัมพันธ์ (Human Relations) และการจูงใจ (Motivation) เป็นต้น การอานวยการในท่ีน้ีรวมถึงการวินิจฉัยส่ังการ (Decision Making) ซ่ึงเป็นหลักอันสาคัญ ย่ิงอย่างหนึ่งของการบริหารงาน และขึ้นอยู่กับความสามารถของผู้บังคับบัญชา หรือหัวหน้างานมากกว่า เพราะว่าการท่ีจะอานวยการให้ภารกิจดาเนินไปด้วยดีได้ จาเป็นต้องมีการตัดสินใจท่ีดี และมีการสั่งการที่ ถูกตอ้ งเหมาะสมกบั แต่ละลกั ษณะของการตัดสินใจ Co = Coordinating หมายถึง ความร่วมมอื ประสานงาน เพื่อใหก้ ารดาเนนิ งานเป็นไปด้วย ความเรียบร้อยและราบรื่น ศึกษาหลักเกณฑ์และวิธีการที่จะช่วยให้การประสานงานดีขึ้น เพ่ือช่วยแก้ปัญหา ข้อขัดข้องในการปฏิบัติงาน การร่วมมือประสานงานเป็นเรื่องท่ีมีความสาคัญมาก ในการบริหาร เพราะเป็น กิจวัตรประจาวันท่ีจะต้องพึงกระทาในการปฏิบัติงาน และเป็นส่ิงที่มีอยู่ทุกระดับของงาน การร่วมมือ ประสานงานเป็นหนา้ ทข่ี องผู้บงั คับบญั ชาท่จี ะต้องจดั ใหม้ ขี ึน้ ในหน่วยงานของตน เพราะเป็นปัจจัยสาคัญในอัน ทจี่ ะช่วยให้เกดิ ความสาเร็จบรรลวุ ัตถปุ ระสงค์ขององคก์ าร R = Reporting หมายถึง การรายงานผลการปฏิบัติงาน ตลอดรวมถึง การ ประชาสมั พนั ธ์ขอ้ มูลขา่ วสารใหส้ งั คมได้รับทราบ รวมถึงข้อมูลสารสนเทศของหน่วยงาน ที่สามารถเผยแพร่ให้ ผ้รู ับบริการไดร้ บั ทราบข้อเทจ็ จรงิ ซง่ึ ต้องเปน็ ข้อมลู ท่ีอยบู่ นหลกั ของความถกู ต้องชดั เจน สามารถตรวจสอบได้ ~8~

B = Budgeting หมายถึง การบริหารงบประมาณท่ีได้รับการจัดสรรให้มีความถูกต้อง โปร่งใส เป็นไปตามระเบียบการเบิกจ่ายของงานการเงินและพัสดุ และการใช้วิธีการงบประมาณและแผนงาน เปน็ เครื่องมือในการควบคมุ งาน วิธกี ารบริหารงบประมาณโดยท่ัวไป มักมีวงจรที่คล้ายคลึงกัน อย่างที่ เรียกว่า “วงจรงบประมาณ” (Budget Cycle) ซึง่ ประกอบดว้ ยข้ันตอน ดงั นี้ 1. การเตรียมงบประมาณและการเสนอขออนุมัติ (Executive Preparation and Submission) 2. การพจิ ารณาให้ความเหน็ ชอบของฝ่ายนติ บิ ัญญตั ิ (Legislation Authority) 3. การดาเนินการ (Execution) 4. การตรวจสอบ (Audit) สรปุ ได้ว่า หลักการบริหารจัดการท่ีสาคัญนั้น ผู้บริหารจะต้องทามีหน้าที่สาคัญอยู่ 7 ประการ คือ การวางแผน การจัดองค์การ การจัดคนเข้าทางาน การสั่งการ การประสานงาน การรายงาน และการงบประมาณ โดยการบรหิ ารองคก์ รจะครอบคลุมเรอ่ื งการทางานเป็นทีมการมีส่วนร่วมใน การตัดสินใจร่วมกัน ความพึงพอใจต่อการทางาน และบทบาทของผู้บริหาร เพื่อให้องค์กรดาเนินไปโดยมี ประสทิ ธิภาพ 1.4 แนวคดิ ทฤษฎีเกี่ยวกับการบริหารจดั การ เมอ่ื กล่าวถงึ คาวา่ การบรหิ ารสว่ นใหญม่ ักจะนึกถึงการบริหารราชการ คาศัพท์ที่ใช้มี 2 คา คือ การบริหาร (Administration) นิยมใช้กับการบริหารราชการ หรือการจัดการเก่ียวกับนโยบายศัพท์ อีกคา หนงึ่ คอื การจัดการ (Management) นิยมใช้กับการบริหารธุรกิจเอกชน หรือการดาเนินการ ตามนโยบายท่ี กาหนดไว้ อยา่ งไรก็ตามคาว่า การบริหารกับคาวา่ การจัดการใช้แทนกันได้ มีความหมายเหมือนกันจะใช้สองคา น้ีปะปนกันตลอดไป ตามความเหมาะสม จึงจาเป็นที่จะต้องใช้ความรู้ทั้งที่ เป็นศาสตร์และศิลปะ เพ่ือเอาคน ทรัพยากรมารวมกันแล้วอานวยการให้บรรลุวัตถุประสงค์ตามท่ีต้องการ ปัจจัยในการบริหารมีองค์ประกอบที่ สาคญั ดงั ตอ่ ไปน้ี 1. คนหรือบุคคล (Man) เป็นปัจจัยสาคัญของการบริหารงาน หน่วยงานหรือองค์การต่าง ๆ จาเป็นต้องมีคนท่ีปฏิบัติงาน ผลงานท่ีดีจะออกมาได้ต้องประกอบด้วยบุคคลที่มีคุณภาพและ มีความ รับผิดชอบตอ่ องค์การหรอื หนว่ ยงานน้ัน ๆ 2. เงิน (Money) หน่วยงานจาเป็นที่จะต้องมีงบประมาณเพ่ือการบริหารงาน หากขาด งบประมาณ การบริหารงานของหน่วยงานกย็ ากท่ีจะบรรลเุ ปา้ หมาย 3. ทรัพยากรหรือวัตถุ (Material) การบริหารจาเป็นต้องมีวัสดุอุปกรณ์หรือทรัพยากร ในการบริหาร หากหน่วยงานขาดวัสดุอุปกรณ์หรือทรัพยากรในการบริหารแล้ว ก็ย่อมจะเป็นอุปสรรคหรือ กอ่ ใหเ้ กดิ ปญั หาในการบรหิ ารงาน 4. การบรหิ ารจดั การ (Management) เปน็ ภารกิจของผู้บรหิ ารหรือผู้บังคับบัญชาโดยตรง คือเป็นกลไกและตัวประสานที่สาคัญที่สุดในการประมวล ผลักดันและกากับปัจจัยต่าง ๆ ท้ัง 3 ประการให้ สามารถดาเนินไปไดโ้ ดยมีประสทิ ธภิ าพ จนบรรลเุ ป้าหมายของหน่วยงานตามท่ตี ้องการ ถนัด เดชทรัพย์ (2550, หน้า 21-25) กล่าวว่า ในอดีตการบริหารจัดการมีขั้นตอนและ กระบวนการทางานท่ีเรียบง่ายไม่ยุ่งยาก การดาเนินงานอาศัยความร่วมมือของคนในองค์กร การร่วมแรงร่วม ใจกันเป็นการบริหารงานอย่างไม่เป็นระบบมากนัก แตกต่างกับในปัจจุบันท่ีสังคมมีการเปลี่ยนแปลงสภาพ ทางการเมอื ง เศรษฐกจิ และการติดต่อสื่อสารที่ก้าวหน้าอย่างรวดเร็วน้ัน ทาให้แนวคิดรูปแบบแนวทางในการ บริหารจัดการ ต้องมีการพัฒนาและปรับเปล่ียนให้มีความทันสมัยมากยิ่งขึ้น จากการพัฒนาแนวคิดเกี่ยวกับ การบริหารจัดการ ได้มีนักวิชาการได้ให้ความหมายไว้ 2 แบบ คือ ~9~

1. แนวคิดก่อนยุคการจัดการแบบวิทยาศาสตร์ (Pre - Scientific Management) ยุคนี้เป็นการบริหารจัดการแบบมหาอานาจ โดยผู้บังคับบัญชาจะอาศัยอานาจในการส่ังการ ให้ ผใู้ ตบ้ ังคับบัญชาทางานด้วยการบังคบั ใหท้ างานหนัก ถูกกดขี่ ขม่ เหง มีการลงโทษดว้ ยอาวธุ การเฆย่ี นตี ทาร้าย ให้ตอ้ งทางานตามคาสัง่ 2. แนวคิดการจัดการแบบวิทยาศาสตร์ (Scientific Management) เป็นแนวคิดท่ีเร่ิมต้น ในช่วงยุคของการปฏวิ ัตอิ ุตสาหกรรม เป็นยุคท่ีนาหลักการทางวิทยาศาสตร์มาพัฒนารูปแบบระบบการ บริหารจัดการให้มีความก้าวหน้ามากยิ่งข้ึน ซึ่งมีนักบริหารในยุคนี้ 2 ท่าน คือ Frederich W. Taylor เป็นบิดาแห่งการจัดการแบบวิทยาศาสตร์ หรือบิดาของวิธีการจัดการท่ี มีหลักเกณฑ์ โดยได้พยายามศึกษาหาวิธีการเพิ่มคุณภาพในการทางานของคนงานในโรงงานอุตสาหกรรม โดย Taylor ได้เข้าทางานครั้งแรกในโรงงานแห่งหน่ึงท่ีเพนซิลวาเนีย เมื่อปี ค.ศ.1878 ซึ่งจากสภาพการของ ปัญหาทางเศรษฐกิจที่ย่าแย่ การบริหารงานไม่มีคุณภาพ ไม่มีมาตรฐานในการทางานการประเมินผลการ ทางานตา่ ขาดขอ้ มลู ข่าวสารท่ีชดั เจน Taylor ได้คัดค้านการบริหารงานแบบเก่าที่ใช้อำนาจ (Power) ว่าเป็นการบริหารที่ใช้ไม่ได้ และมีความเชื่อว่าการบริหารจัดการที่ดี ต้องมีระบบการทำงานไม่ได้เป็นไปตามยถากรรม Taylor พยายาม ศึกษาข้อมูลเพ่ือนามาประกอบในการตัดสินใจ ว่าการทำงานและการเคล่ือนไหวของคนงานในขณะทำงาน มาเป็นตัวกำหนดวิธีการทำงานท่ีดีที่สุด (One Best Way) ทาให้งานเกิดประสิทธิภาพมากกว่า การบริหาร จดั การท่ีดีจงึ ควรเนน้ ทีก่ ารปฏบิ ตั ิทผ่ี ูบ้ ริหารจะเปน็ ผู้ติดตามการทางาน ดงั น้ี 1. กำหนดวิธีการทำงานดว้ ยหลกั เกณฑท์ ี่ไดม้ กี ารทดลองแล้วว่าเป็นวิธีท่ีดีทสี่ ุด 2. การสรรหาบุคลากรเข้ามาทางาน รวมถึงการพัฒนาระบบการบริหารจัดการบุคลากร ต้องทำอย่างเป็นระบบเพ่ือให้ได้บุคลากรทเ่ี หมาะสม 3. มีระบบการติดต่อสื่อสาร และสร้างสมั พันธภาพท่ีดีระหว่างผู้บริหารและผูใ้ ตบ้ งั คับบญั ชา 4. ผู้บริหารที่ดตี อ้ งการวางแผน และมีการมอบหมายงานตามความถนัดด้วย สำหรับการศึกษาที่ใช้หลักวิทยาศาสตร์ (The Scientific Approach) มีส่วนประกอบสำคัญ 3 ลักษณะ คือ 1. มีแนวคิดท่ีชดั เจน (Clear Concept) แนวความคิดตอ้ งชัดเจนแนน่ อนในส่ิงที่จะวิเคราะห์ 2. วิธีทางวิทยาศาสตร์ (Scientific) สาขาพิจารณาข้อเท็จจริงได้ทางวิทยาศาสตร์ หรือ สังเกตได้ แล้วนาขอ้ มูลดังกล่าวมาทำการทดสอบความถูกตอ้ ง ถา้ เปน็ จริงกค็ อื หลักเกณฑ์ (Principles) 3. ทฤษฎี (Theory) หมายถึง การจัดระบบความคิดและหลักเกณฑ์มารวมกัน เพ่ือได้ ความรู้เร่อื งใดเร่อื งหนึ่ง Henri J. Fayol เป็นวิศวกรเหมืองแร่ชาวฝร่ังเศส ได้เสนอแนวความคิดเก่ียวกับการบริหาร ซ่ึงมุ่งท่ีผู้บริหารระดับสูง โดยศึกษากฎเกณฑ์ที่เป็นสากลและได้เขียนหนังสือ Industrial General Management ดงั นี้ 1. หน้าท่ีของนกั บริหาร (Management Functions) มีดังน้ี 1.1 การวางแผน (Planning) หมายถึง นักบริหารที่ดีต้องมีการวางแผนการทางาน รว่ มกบั คนในองคก์ ร 1.2 การจัดองค์การ (Organizing) หมายถึง การบริหารที่ผู้บริหารต้องมีการจัดทา โครงสรา้ งขององค์การตามความพรอ้ ม และความตอ้ งการท่เี หมาะสมในการบริหาร 1.3 การส่ังการ (Directing) หมายถึง การที่ผู้บริหารใช้อานาจตามบทบาทหน้าที่ ทีถ่ ูกตอ้ ง ในการสง่ั การใหผ้ ู้ใตบ้ งั คบั บัญชาทางานตามให้บรรลุเป้าหมาย ~ 10 ~

1.4 การประสานงาน (Coordinating) หมายถึง ความสามารถท่ีผู้บริหารประสาน ความสมั พันธ์ของคนในองค์กร ใหท้ างานรว่ มกันได้อย่างสันตแิ ละมปี ระสทิ ธิภาพ 1.5 การควบคุม (Controlling) หมายถึง ผู้บริหารมีบทบาทในการควบคุม ดูแล กากับ และติดตามการทางานของบุคคลในองค์กร เพ่ือให้การดาเนินงานเป็นไปด้วยความเรียบร้อย ราบร่ืน และสาเร็จตามวัตถุประสงคท์ ่ีวางไว้ 2. หลกั การบรหิ าร (Management Principle) Fayol ไดเ้ สนอแนวคิดเกี่ยวกบั การบริหาร ไว้ 14 ประการ ประกอบดว้ ย 2.1 การแบ่งงานกันทำ (Division of Work) เป็นการทางานร่วมกันของคนในองค์กร ตามบทบาทหน้าทีแ่ ละความรับผดิ ชอบตามความเหมาะสม เพ่อื ให้งานสาเรจ็ ลุลว่ งและเกิดประสิทธภิ าพ 2.2 อำนาจหน้าท่ี (Authority) เป็นส่ิงท่ีผู้บริหารสามารถใช้บริหารตามบทบาท หนา้ ท่ีตามความเหมาะสม เพอื่ ให้การดาเนนิ งานขบั เคลอื่ นไปไดอ้ ย่างราบร่ืน 2.3 ความมีระเบียบวินัย (Discipline) เป็นสิ่งที่ทุกคนในองค์กรต้องมี และยึดถือ ปฏิบัติอย่างเคร่งครัด โดยการกาหนดเป็นข้อตกลงร่วมกัน ซึ่งจะส่งผลต่อการทางานและการอยู่ร่วมกันอย่าง สงบสุข 2.4 เอกภาพในการบังคับบัญชา (Unity of Command) ผู้บริหารถือเป็นบุคคล มีอานาจสูงสุดในการส่ังการ ซึ่งทุกคนในองค์กรต้องเคารพ เช่ือฟังและปฏิบัติตาม เพื่อไม่ให้เกิดความวุ่นวาย และสับสนในการบริหารจดั การ 2.5 เอกภาพในการสั่งการ (Unity of Direction) เป็นการกากับติดตามส่วนงาน ต่างๆ ท่ีผู้บริหารสามารถมอบหมายให้หัวหน้างานกากับติดตามได้ตามความเหมาะสม 2.6 ผลประโยชน์ขององค์การมาก่อนผลประโยชน์ส่วนบุคคล (Subordination of Individual Interest to the General Interest) เป็นการปฏิบัติงานที่คานึงถึงผลประโยชน์ขององค์กร และ สว่ นรวมมากอ่ นผลประโยชนส์ ว่ นตน 2.7 ผลตอบแทนท่ีได้รับ (Remuneration of Personnel) เป็นส่ิงท่ีบุคคลในองค์กร จะได้รับอย่างเปน็ ธรรมและสม่าเสมอ 2.8 การรวมอำนาจ (Centralization) เป็นการบริหารจัดการที่มีศูนย์กลางในการ บรหิ ารจัดการ เพ่ือให้เกิดความคล่องตัว 2.9 สายการบังคบั บัญชา (Scalar Chain) เป็นการประสานความร่วมมือในการทางาน 2.10 ความมีระเบียบเรียบร้อย (Order) เป็นการวางแผนการทางานอย่างเป็นระบบ กาหนดเป้าหมายท่ชี ดั เจน เพ่อื ให้การปฏบิ ตั ิงานสาเร็จตามเป้าหมายทวี่ างไว้ 2.11 ความเสมอภาค (Equity) การบริหารจัดการที่มีความเสมอภาคเท่าเทียมกัน ไม่เลอื กปฏบิ ัติ 2.12 ความมัน่ คงในการทางาน (Stability of Texture of Personnel) การพัฒนาบุคลากร ใหม้ ีความรูค้ วามสามารถให้เหมาะสมกบั การปฏบิ ัติงาน และสร้างขวญั กาลังใจอย่างตอ่ เนื่อง 2.13 ความคดิ รเิ ริ่ม (Initiative) ความต้องการทีจ่ ะพัฒนางานให้ดขี ึน้ 2.14 ความสามัคคี (Unity) การทางานร่วมกันของบุคคลในองค์กร การทางานเป็น ทีม ซ่ึงมีความสัมพันธ์ซ่ึงกันและกันอย่างอัตโนมัติ ระบบจึงถือเป็น Grand Theory เป็นทฤษฎีขนาดใหญ่ เพราะมีระบบยอ่ ยหรอื สิ่งต่าง ๆ มากมาย เนอ่ื งจากปจั จยั ต่าง ๆ ขององค์การไม่ว่าภายในหรือภายนอกล้วน แต่มีความสัมพันธ์เกี่ยวเนื่องเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน ดังนั้น การบริหารการจัดการจึงต้องปรับตัวให้มีความ สมดุลอย่างเป็นระบบ เพ่ือให้เกิดความสัมพันธ์กับปัจจัยต่าง ๆ ที่กล่าวจึงจะทำให้องค์การเติบโตอยู่รอดและ สมั ฤทธิผ์ ลตามเป้าหมาย ~ 11 ~

สรปุ ไดว้ ่า การพัฒนาการบริหารจัดการ หมายถึง การปรับปรุงเปล่ียนแปลงกระบวนการ ดาเนินงานอย่างเป็นระบบ เพื่อส่งเสริมการอ่านในห้องสมุดให้ประสบผลสาเร็จ โดยต้องอาศัยบุคลากรท่ีทา หน้าที่ส่งเสริมการอ่านท่ีเหมาะสม การจัดระบบงานส่งเสริมการอ่านให้เป็นรูปธรรม กาหนดขอบเขต หน้าที่ และความรับผดิ ชอบใหช้ ัดเจนและจดั ให้มหี นงั สือหมุนเวียนใหม่อยา่ งสมา่ เสมอ หลักการส่งเสริมการอ่าน ความหมายการสง่ เสรมิ การอ่าน สานักงานราชบัณฑิตยสภา (ม.ป.ป) ให้ความหมายของการอ่าน ไว้ในพจนานุกรม ฉบับ ราชบณั ฑิตยสถาน พ.ศ. 2554 คือ วา่ ตามตวั หนังสือ ถ้าออกเสียง เรียกว่า การอ่านออกเสียง ถ้าไม่ออกเสียง เรียกว่าอ่านในใจ สังเกตหรือพิจารณาดูเพ่ือให้เข้าใจ เช่น อ่านสีหน้า ตีความ เช่น อ่านรหัส คิดนับ (ไทย เดมิ ) อ่านเล่น คอื อ่านเพ่อื ความเพลดิ เพลนิ การุณันทน์ รัตนแสงวงษ์ (2556, หน้า 3) ได้ให้ความหมายของการอ่านไว้ว่า ความสามารถ ของมนุษย์ในการรับรู้ความหมายจากสัญลักษณ์ที่ผู้เขียนสื่อความหมายไว้ ไม่ว่าจะเป็นตัวอักษร รูปภาพ เคร่ืองหมายตา่ ง ๆ แผนที่ แผนภูมิ ฯลฯ หรือแม้แตก่ ารแสดงทา่ ทาง ซึ่งผู้อา่ นจะเข้าใจความหมายและสามารถ สอื่ สารต่อไปได้อยา่ งถกู ตอ้ ง ม่ิงขวัญธรรม ฉ่าช่ืนเมือง (2555, หน้า 16) ให้ความหมายของการอ่านไว้ว่า การอ่าน หมายถึง ความสัมพันธ์ซึ่งกันและกัน ระหว่างผู้คนกับข้อมูลเชิงสัญลักษณ์ การอ่านมักเรียนรู้ด้วยตา ประกอบด้วย การจดจา การซมึ ซบั การบูรณาการภายในและการบรู ณาการภายนอก จริ าวรรณ อารยัน (2556) สรุปไวว้ า่ การอา่ น คือ การเข้าใจภาษาของผู้เขียนและของส่ิงพิมพ์ น้ัน ๆ โดยการจับแนวความคิดจากกลุ่มคาและความหมายต่าง ๆ จากกลุ่มคานั้น การอ่าน คือ ประสบการณ์ ของผู้อ่านท่ีจะช่วยทาให้เกิดทักษะกระบวนการ 4 ระดับ คือ 1) การรับรู้ 2) ความเข้าใจความคิดรวบยอด 3) การตัดสินใจ การคิดหาเหตุผล 4) การนาความคิดใหมท่ ีไ่ ด้รบั มาผสมกับความคิดท่มี ีอยู่ ไพพรรณ อินทนลิ (2546, หน้า 7-8) กล่าวว่า การอา่ นเป็นทักษะที่จาเป็นในการดารงชีวิตใน ปจั จบุ นั ในชวี ติ ประจาวนั เราตอ้ งอาศัยการอา่ น เพอื่ ดารงชีวติ แทบทกุ เรอ่ื งก็ว่าได้ การอ่านเป็นเคร่ืองมือสาคัญ ในการเรียนรู้ เป็นรากฐานสาคัญของการศึกษา เพราะทาให้นักเรียน นักศึกษาได้เรียนรู้ ส่ิงต่าง ๆ ได้อย่าง รวดเร็ว กว้างขวางย่ิงข้ึน เพราะว่าการเรียนวิชาต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นในห้องเรียนหรือ นอกห้องเรียน ล้วนแต่ ใช้การอ่านเป็นสื่อในการเรียนรู้ท้ังส้ิน และการอ่านเป็นส่ือที่สาคัญในการพัฒนาและแก้ปัญหาสังคม การอ่าน หนังสือทาให้เกิดการพัฒนาความคิด จริยธรรม ศีลธรรมและสติปัญญาได้อย่างดี ทาให้สามารถทาประโยชน์ ให้แก่สงั คม จากความหมายข้างต้น สรุปได้ว่า การอ่านเป็นกระบวนการทางสมองที่ต้องใช้สายตาสัมผัส ตัวอักษรหรือสิ่งพิมพ์สัญลักษณ์อ่ืน ๆ รับรู้และเข้าใจความหมายของคา หรือสัญลักษณ์และเคร่ืองหมาย สื่อ ความหมายต่าง ๆ ที่ปรากฏแก่สายตา ประมวลข้อมูลที่ได้จากการรับรู้เพ่ือให้ได้สาระมากที่สุด โดยแปล ออกเป็นความหมายใชส้ ื่อความคิด ความรู้และนาความคิดนั้นไปใช้ประโยชน์ การอ่านจึงเป็นกระบวนการทาง สมองทผี่ ู้อา่ นจะต้องฝึกให้เกิดทักษะ มีส่วนชว่ ยสร้างความสาเรจ็ ในการดาเนนิ ชวี ิต ชว่ ยให้เกิดการเรียนรู้ตลอด ชีวติ ใหไ้ ด้รับข้อมลู ข่าวสารเพ่ือประกอบการตัดสินใจในชีวิตประจาวันเป็นรากฐานสาคัญของการศึกษา ทาให้ เกิดการพัฒนาความคิด มีจริยธรรม ศีลธรรม และสติปัญญาได้อย่างดี ทาให้สามารถทาประโยชน์ให้แก่สังคม และสามารถดารงชีวิตในสังคมได้ ~ 12 ~

แนวคิดและทฤษฎีการส่งเสริมการอา่ น กัญญา โคตรวงศ์ (2557, หน้า 12-13) กล่าวว่า มีนักวิชาการด้านการอ่านได้คิดทฤษฎี กระบวนการอ่านไว้เป็นแนวทางในการฝึกฝนการอ่าน และเป็นที่รู้จัก 2 ทฤษฎี คือ ทฤษฎีของวิลเลี่ยม เอสเกรย์ (William S.Gray) มี 4 ข้นั ตอน 1) ข้นั การรจู้ กั คา เร่ิมต้ังแต่การจดจา 2) ขั้นเข้าใจความหมายของ คา วลี ประโยค 3) ข้ันปฏิกิริยาท่ีอ่านโดยมีสติปัญญา สามารถประเมินได้ว่า ผู้เขียนหมายถึงอะไร 4) ข้นั บูรณาการ เป็นข้ันที่ผู้อ่านสามารถนาความรู้ ความคิด และความหมายท่ีได้จากการอ่านไปใช้ประโยชน์ และทฤษฎี SQ3R แบ่งเป็น 5 ข้ันตอน 1) ข้ันสารวจ 2) ข้ันตั้งคาถาม 3) ขั้นอ่าน 4) ขั้นจดจา และ 5) ข้ัน ทบทวน หน่ึงนิรามิษ วรรณรมย์ (2548, หน้า 11-12) กล่าวว่าจุดมุ่งหมายของการส่งเสริมการอ่านมี 5 ประการ คือ 1) เพ่ือป้องกันการลืมหนังสือ เนื่องจากเมื่อจบการศึกษาแล้วหากไม่มีโอกาสได้อ่าน หนังสือเลยอาจทาให้เกิดปญั หาการลืมหนังสือและไม่สามารถอ่านไดอ้ ีก 2) เพ่ือสร้างความม่ันใจให้แก่ผู้อ่านหนังสือออก เพราะการได้อ่านบ่อย ๆ จะช่วยให้ผู้อ่าน มนั่ ใจและไมท่ ้อถอยที่จะฝกึ อ่าน 3) เพื่อกระตุ้นให้ประชาชนสนใจการอ่านมากข้ึน เนื่องจากในปัจจุบันมีสื่อหลากหลาย เชน่ วิทยุ โทรทัศน์ เป็นตน้ ไดแ้ ย่งเวลาจากการอ่านหนังสือไปทาใหป้ ระชาชนอา่ นน้อยลง 4) เพื่อสง่ เสรมิ การเรยี นท้ังในระบบและนอกระบบโรงเรียน โดยช่วยส่งเสริมการอ่านตารา เอกสารประกอบการเรียน แบบเรียน หนังสอื อ่านเพิม่ เตมิ ม่งุ ให้เปน็ ผู้ที่มนี สิ ัยรักการอ่านและการศึกษาค้นควา้ 5) เพอ่ื ปลูกฝงั นิสยั รักการอ่าน ซึ่งเป็นจุดมุ่งหมายสูงสุดของการส่งเสริมการอ่าน เพราะใน สงั คมปจั จุบันการอ่านเป็นเคร่ืองมือที่ใช้ในการแสวงหาความรู้ของผู้อ่าน จากแนวคิดและทฤษฎีข้างต้นสรุปได้ วา่ การสง่ เสริมการอ่าน คือ การกระทาต่าง ๆ ที่เป็นการสนับสนุนและกระตุ้น เร้าใจ จูงใจ สร้างบรรยากาศ ทากจิ กรรมการอ่านให้คนสนใจในการอา่ น เพอื่ พฒั นาความสามารถของตนเอง สามารถนาความรู้ที่ได้จากการ อ่านไปใช้ประโยชน์ ไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพและเกิดนิสยั รกั การอ่าน 2.3 แนวทางการดาเนนิ การส่งเสรมิ การอ่านในสถานศึกษา สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (2554, หน้า 39-51) ได้อธิบายแนวทางการพัฒนาตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 11 (พ.ศ. 2555-2559) ท่ีมุ่งสร้างวัฒนธรรมการเรียนรู้ให้ตระหนักถึงประโยชน์และความสาคัญของการเรียนรู้ตลอดชีวิตท่ีนาไป สู่ การยกระดับคณุ ภาพชีวติ และความสามารถในการดารงชีวิตอย่างรู้เท่าทัน การสร้างกระแสสังคมให้การเรียนรู้ เป็นหน้าที่ของคนไทยทุกคน การสร้างนิสัยใฝ่รู้ต้ังแต่เด็กควบคู่กับการส่งเสริมให้โรงเรียนและ สื่อทุกประเภท เป็นแหล่งเรียนรอู้ ยา่ งสรา้ งสรรค์รวมทั้งการสร้างปัจจัยสนับสนนุ การเรียนรูต้ ลอดชวี ิต กลุ่มงานวิจัยและบริการวิชาการ สานักหอสมุดมหาวิทยาลัยศรีปทุม (2558) ได้ให้แนวคิดใน การสง่ เสรมิ นิสัยรกั การอา่ น เปน็ สงิ่ จาเป็นในการพฒั นาคนและพัฒนาสังคม และใชเ้ วลาวา่ ง ให้เกิดประโยชน์ การอ่านหนังสือของคนไทยเป็นกิจกรรมท่ีไม่แพร่หลายแม้ในหมู่ผู้รู้หนังสือแล้ว ถ้าจะให้การอ่านหนังสือเป็น นิสยั จาเป็นการปลกู ฝังและชักชวนให้เกดิ ความสนใจการอ่านอย่างตอ่ เน่ืองและสม่าเสมอ ~ 13 ~

สุลีพร บันลือเขตร์ (2554) กล่าวในวารสารวิชาการ เร่ือง การพัฒนาสถานศึกษา สู่สถานศึกษาส่งเสริมนิสัยการอ่าน ด้วยกระบวนการ 5 ขั้น คือ การพัฒนาสถานศึกษาสู่สถานศึกษาส่งเสริม นิสัยการอ่าน ต้องใช้หลักการบริหารแบบมุ่งผลสัมฤทธ์ิ กระบวนการนิเทศ กิจกรรมการนิเทศ เทคนิคการ นิเทศ การจัดการความรู้ต่างๆ และแนวคิดเก่ียวกับการส่งเสริมการอ่านของนักการศึกษาต่าง ๆ นามาบูรณาการ เปน็ กระบวนการนเิ ทศเพอื่ พฒั นาสู่สถานศึกษาสู่สถานศึกษาส่งเสริมนิสัยรักการอ่าน 5 ข้ัน ได้แก่ 1) พัฒนา คน 2) คนพัฒนางาน 3) งานเห็นผลคนรับรางวัล 4) ประชันผลงาน นิทรรศการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ 5) ประเมินสู่สถานศึกษาสง่ เสริมการอ่าน ฉวีวรรณ คูหาภินันทน์ (2542, หน้า 93) กล่าวว่า กิจกรรมส่งเสริมการอ่านคือ การกระตุ้น ด้วยวิธีการต่าง ๆ เพื่อให้ผู้อ่านสนใจการอ่านจนกระท่ังมีนิสัยรักการอ่าน และได้พัฒนาการอ่านจนกระทั่งมี ความสามารถในการอ่าน นาประโยชน์จากการอ่านไปใช้ได้ตรงตามวัตถุประสงค์ของการอ่านทุกประเภท ดังนั้น สามารถกล่าวได้ว่า กิจกรรมส่งเสริมการอ่าน หมายถึงกิจกรรมต่าง ๆ ที่ห้องสมุดจัดข้ึนเพื่อส่งเสริมให้ เกิดการอ่านอย่างต่อเนื่องจนกระทั่งเป็นนิสัยรักการอ่าน เช่น การเล่านิทาน การเชิดหุ่น การแสดงละคร การ แนะนาหนงั สือที่นา่ สนใจ เป็นตน้ อจั ฉรา ประดิษฐ์ (2550,หน้า 52 – 53) กล่าวว่า การบริหารงานส่งเสริมการอ่านให้ประสบ ความสาเรจ็ เพ่อื ใหก้ ารบรหิ ารงานส่งเสริมการอ่านในห้องสมุดประสบผลสาเร็จ จาเป็นต้องได้รับความร่วมมือ จากผู้บริหารในเร่ืองต่อไปนี้ คือ คัดเลือกบุคลากรทาหน้าที่ส่งเสริมการอ่านที่เหมาะสม ท้ังคุณสมบัติด้าน ความสนใจในงาน และความพร้อมในการทางานส่งเสริมการอ่านจัดระบบงานส่งเสริมการอ่านให้เป็นรูปธรรม กาหนดขอบเขต หน้าทีแ่ ละความรับผดิ ชอบให้ชดั เจนและจัดใหม้ ีหนังสือหมุนเวยี นเปลย่ี นใหม่เสมอ จากข้อมูลข้างต้น จะเห็นได้ว่า แนวทางการส่งเสริมการอ่านในสถานศึกษานั้น ต้องเริ่มจาก กาหนดนโยบายกระทรวง เขตพ้ืนที่และสถานศึกษา มีการนานโยบายมากาหนดนโยบายตนเอง วางโครงสร้างการบริการจัดการ งบประมาณ ดาเนินงานตามท่ีกาหนด จัดให้มีการพัฒนาบุคลากร ด้านการ สง่ เสริมการอ่าน และพัฒนาจัดหาทรัพยากรสารสนเทศ อาคารสถานท่ี วัสดุอุปกรณ์ที่มาช่วยส่งเสริมการอ่าน มีการพฒั นารูปแบบสง่ เสริมการอา่ น จัดกิจกรรมส่งเสริมการอ่าน มีการกากับ นิเทศติดตาม จากนั้นนาผลการ ประเมินมาพัฒนาต่อไป และเพื่อให้การดาเนินงานด้านการส่งเสริมการอ่าน ตลอดจนมุ่งสร้างวัฒนธรรมการ เรียนรู้ให้ตระหนักถึงประโยชน์และความสาคัญของการเรียนรู้ตลอดชีวิต ท่ีนาไปสู่การยกระดับคุณภาพชีวิต และความสามารถในการดารงชีวิตอย่างรู้เท่าทันกระแสสังคมให้การเรียนรู้เป็นหน้าที่ของคนไทยทุกคน การ สร้างนิสัยการใฝ่รู้ตั้งแต่เด็กควบคู่กับการส่งเสริมให้สถานศึกษาและส่ือทุกประเภทเป็นแหล่งเรียนรู้อย่าง สรา้ งสรรค์ รวมท้ังเปน็ ปจั จัยสนับสนุนการเรียนรู้ตลอดชวี ิต รูปแบบสื่อออนไลน์ การพัฒนาการอ่านรูปแบบสื่อออนไลน์ให้กว้างขวาง จา กชั้นหนังสือผ่านส่ือออนไลน์ เพื่อส่งเสริมการอ่านอย่างมีความสุข สาหรับนักศึกษาและประชาชนเป็นการส่งเสริมให้ผู้เรียนอ่านอย่างมี ความสุข และนอกจากน้ียังมีการพัฒนาความสามารถในการอ่านเพื่อความเข้าใจ โดยการนาเทคโนโลยีมา ประยุกต์ใช้เป็นส่วนหน่ึงในการพัฒนาความสามารถในการอ่านของผู้เรียน เป็นแนวทางการศึกษาอย่างหนึ่งท่ี สอดคล้องกบั แนวคิดท่ีว่า การศึกษาควรมีการปฏิรูปกระบวนการเรียนรู้ เพื่อให้ การเรียนรู้พัฒนาคนได้เต็ม ศักยภาพของความเป็นมนุษย์ ให้รู้จักคิดเป็น ทาเป็น แก้ปัญหาเป็น อยู่ร่วมกันเป็นให้ทักษะการเรียนรู้สัมพันธ์ กบั วถิ ชี วี ติ จรงิ ~ 14 ~

การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 น้ันไม่ได้ส่งเสริมเพียงแต่การเรียนรู้ในสาขาวิชาเท่าน้ัน แต่เป็นการ ส่งเสริมการเรียนรู้ในทักษะ 3 กลุ่ม ได้แก่ ทักษะชีวิตและการทางาน ทักษะการเรียนรู้และนวัตกรรม และ ทักษะด้านสารสนเทศส่ือและเทคโนโลยี ผ่านการลงมือทาที่เรียกว่า Learning by doing and Thinking โดยเฉพาะทักษะทางด้านสารสนเทศสื่อและเทคโนโลยี เราต้องรู้ว่าส่ือในปัจจุบันที่ดีมีมากมาย เด็กจะต้องมี ทกั ษะความเขา้ ใจ ข้อจากดั ของสอื่ ได้ วจิ ารณ์ พาณชิ (2555) ศตวรรษที่ 21 ถอื เป็นช่วงเวลาที่ท้าทาย เพราะเป็นยุคที่โลกต้องเผชิญกับ ความเปล่ียนแปลงที่เกิดข้ึนอย่างรวดเร็ว และข้อมูลข่าวสารทุกอย่างก็ไม่ได้จากัดอยู่เพียงรอบตัวเรา อีกต่อไป คอมพิวเตอร์และสื่อต่าง ๆ เร่ิมเข้ามามีอิทธิพลอย่างมากกับการดาเนินชีวิตประจาวัน เราสามารถก้าวข้ามพรมแดนไปทุกซอกทุกมุมของโลก ซ่ึงแวดวงทางการศึกษาท่ัวโลกต่างก้าวพ้นรูปแบบการ เรียนการสอน ท่ีใช้ครูเป็นศูนย์กลางมาเป็นการเรียนรู้ในกระบวนทัศน์ใหม่ เรียกได้ว่าเป็นการจัดการศึกษายุค ฐานแห่งเทคโนโลยีโดยชั้นหนงั สือเสมือน ในปัจจบุ นั การอ่านออนไลน์เข้ามามอี ิทธพิ ลอยา่ งมาก ผู้เรียนมีความสุขในการอ่านออนไลน์ด้วยคอมพิวเตอร์ โทรศัพท์มือถือและแท็บเล็ต เนื่องจากง่าย ตอ่ การสบื ค้นและสามารถจัดเก็บไว้ในอุปกรณ์ สามารถพกพาและอ่านได้ทุกท่ีทุกเวลาแล้วด้วยพัฒนาการของ เทคโนโลยี จึงทาให้เกิดการเก็บข้อมูลดิจิทัล Library ซ่ึงใช้จัดเก็บหนังสือ หรือทบทวนบทอ่านในรูปแบบของ หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ การอ่านน้ันสามารถเกิดข้ึนบนหน้าจอคอมพิวเตอร์ โทรศัพท์มือถือ แท็บเล็ต โดยผ่าน รูปแบบต่าง ๆ Nick Bullard (2005) ได้กล่าวถึงการสร้างแหล่งรวบรวม เป็นแนวทางท่ีสาคัญในการสนับสนุน รูปแบบการอ่านอย่างกว้างขวาง เพื่อให้ผู้เรียนได้มีโอกาสเข้าถึงบทอ่านหรือหนังสือที่ตนเองสนใจได้อย่าง หลากหลาย เพอ่ื ให้ผ้เู รียนไดเ้ ลือกบทอ่านที่ตนเองสนใจและเหมาะสมกับความสามารถของตนเอง ซึ่งแบ่งเก็บ ข้อมูลนี้เรียกว่าชั้นหนังสือเสมือน จากความหมายของชั้นหนังสือเสมือนสามารถสรุปได้ว่าชั้นหนังสือเสมือน เป็นแหล่งข้อมูลบนเว็บไซต์ที่รวบรวมหนังสืออ่านนอกเวลาภาษาอังกฤษตามความสามารถของผู้เรียน และ กจิ กรรมการเรียนรูโ้ ดยอาศยั แนวคิดของการเรยี นร้ผู ่านเครอื ข่ายออนไลน์ (Learning Network) ฉววี รรณ คูหาภินันทน์ (2542, หน้า 93) ให้ความหมายวา่ กิจกรรมสง่ เสรมิ การอา่ น คอื การกระทาเพือ่ 1. เร้าใจบุคคลหรือบุคคลที่เป็นเป้าหมายให้เกิดความอยากรู้ อยากอ่านหนังสือ โดยเฉพาะ หนงั สือทีม่ คี ณุ ภาพ 2. เพ่ือแนะนาชักชวนให้เกิดความพยายามท่ีจะอ่านให้แตกฉาน สามารถนาความรู้ จากหนงั สือไปใช้ประโยชน์ เกิดความเข้าใจในเร่ืองตา่ ง ๆ ดีขึน้ 3. เพื่อกระตุ้น แนะนาให้อยากรู้อยากอ่านหนังสือหลายอย่าง เปิดความคิดให้กว้าง ให้มีการอ่านต่อเน่ืองจนเป็นนิสัย พัฒนาการอ่านจนถึงข้ันท่ีสามารถวิเคราะห์เรื่องที่อ่านได้ เพื่อสร้าง บรรยากาศที่จงู ใจใหอ้ ่าน 4. เพ่ือสรา้ งบรรยากาศทีจ่ ูงใจให้อา่ น การจดั กิจกรรมส่งเสริมการอ่านในสถานศึกษาสามารถกระทาได้หลายรูปแบบ แต่กิจกรรมส่งเสริม การอ่านท่ีสามารถพบเหน็ ได้โดยทัว่ ไป ได้แก่ 1. การเล่านิทาน เป็นกิจกรรมสาคัญ สาหรับเด็กที่ปูพื้นฐานความสนใจในการอ่าน และพัฒนาทักษะดา้ นต่าง ๆ นาไปสู่การเป็นนกั อา่ นทด่ี ีในอนาคต 2. การแสดงหุ่น (Puppet show) การแสดงหุ่นถือเป็นหนึ่งในกิจกรรมส่งเสริมการอ่าน ที่เด็กได้สนุกสนานเพลิดเพลินไปกับเนื้อหาและตัวละครตามท้องเรื่อง อีกทั้งยังแฝงข้อคิดคติเตือนใจ สอดแทรกศิลปวฒั นธรรม และยงั ชว่ ยสร้างความสนใจในการอ่านให้กับเดก็ มากยง่ิ ขึ้นอีกด้วย ~ 15 ~

อัญญาณี คล้ายสุบรรณ์ (2542, หน้า 206) กล่าวว่า การจัดกิจกรรมส่งเสริมการอ่านต้องมี ผู้รับผิดชอบ ได้แก่ 1. ผเู้ กย่ี วข้องในการสอนอา่ น สอนภาษา และสอนวชิ าตา่ ง ๆ ในสถานศึกษา 2. บรรณารกั ษ์และครบู รรณารักษ์ 3. หน่วยงานราชการซ่งึ เก่ยี วข้องกับการเรียนการสอนในสถานศึกษา และการศกึ ษานอกโรงเรยี น หรือ การศกึ ษาต่อเนอ่ื ง 4. สมาคมวิชาชีพที่เก่ียวข้องกับการอ่าน เช่น สมาคมนักเขียน สมาคมผู้จัดพิมพ์ และผู้จัด จาหน่ายหนงั สือ สมาคมการอ่าน สมาคมห้องสมุด สมาคมภาษาและหนังสือ สมาคมการพิมพ์ เป็นต้น ท้ังนี้ผู้ จดั กจิ กรรมตอ้ งได้รบั มอบหมายหน้าที่ และได้รบั การสนบั สนุนจากผ้บู ริหารในด้านการเงิน บุคลากร และความ สะดวกต่าง ๆ เท่าท่ีจาเป็นสาหรับกิจการแต่ละอย่างตลอดจนความร่วมมืจากเพ่ือนร่วมงาน เพื่อให้สามารถ ดาเนินการได้อย่างมีประสิทธิภาพ อย่างไรก็ตามเพื่อให้การจัดกิจกรรมส่งเสริมการอ่านในโรงเรียนประสบ ความสาเร็จและเป็นไปอย่างดีมีประสิทธิภาพ จาเป็นอย่างยิ่งจะได้ มีหน่วยงานต่าง ๆ ท่ีให้การช่วยเหลือ สนับสนุน สถาบันพัฒนาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จังหวัด อบุ ลราชธานี (2557) การจัดกิจกรรมส่งเสริมการอ่านในห้องสมุดประชาชน สามารถกระทาได้หลายรูปแบบ แต่กิจกรรมส่งเสริมการอ่าน ท่ีผู้เขียนได้รวบรวมมาจากกิจกรรมส่งเสริมการอ่าน ที่น่าสนใจของห้องสมุด ประชาชนทัว่ ประเทศ มีดงั นี้ 1. กิจกรรมสปั ดาห์หนังสือเพ่อื เกษตรกร เปน็ กจิ กรรมทเ่ี น้นกล่มุ เปา้ หมายเฉพาะ คือ เกษตรกร ท่ีสนใจและให้เข้ามาใช้ห้องสมุดประชาชนกระตุ้นให้เกษตรกรเกิดการอ่าน เน่ืองด้วยเกษตรกรหลังจากจบ การศึกษาภาคบังคับแล้วมักไม่เรียนต่อห่างเหินจากการอ่านหนังสือ ซึ่งนานไปก็อาจจะลืมหนังสือ นาไปสู่การ อ่านหนังสือไม่ออกรวมถึงไม่เข้าใช้ห้องสมุดประชาชนอีกด้วย ซึ่งการส่งเสริมการอ่านสาหรับเกษตรกรน้ัน จะ ให้ความสาคัญกับกลุ่มเป้าหมายโดยช่วยสร้างความสนใจในการอ่านให้เกิดขึ้น เช่น เทคโนโลยีใหม่ทางด้าน ก า ร เ ก ษ ต ร ก ร ร ม ที่ จ ะ ช่ ว ย ใ ห้ เ กิ ด ก า ร เ พิ่ ม ผ ล ผ ลิ ต ม า ก ข้ึ น ก า ร เ ค ลื่ อ น ไ ห ว ทางการตลาดของการเกษตร สาหรับการจัดกิจกรรมควรคานึงถึงเงื่อนไขในเรื่องของช่วงเวลาที่เหมาะสม ในชีวิตประจาวัน เพราะเกษตรกรจะสนใจในเรื่องการทามาหากินในแต่ละวัน เช่น จัดกิจกรรมหลังฤดูกาล เก็บเกี่ยว เพราะเป็นช่วงที่เกษตรกรชาวนามีเวลาว่างจากการทางาน ส่วนเกษตรกรท่ีทาไร่ ทาสวนอาจมีเวลาว่าง ไม่ตรงกับชาวนา ดงั น้นั ก่อนจดั กิจกรรมต้องศกึ ษาพฤตกิ รรมของผทู้ จ่ี ะมาร่วมกิจกรรมส่งเสริมการอ่านด้วย 2. กิจกรรมบรรณารักษ์สัญจร เป็นกิจกรรมที่กระตุ้นให้ประชาชนโดยท่ัวไป เกิดความสนใจใน การอ่าน และเป็นการประชาสัมพันธ์แนะนาตนเอง สร้างความคุ้นเคยให้กับชุมชนในพ้ืนท่ีห้องสมุดประชาชน อุปกรณท์ ใ่ี ชใ้ นกิจกรรมนี้ ได้แก่ ใบปลิวหรือแผ่นพับประชาสัมพันธ์ห้องสมุดประชาชน สามารถจัดกิจกรรมได้ โดยวิธกี ารแนะนาตนเอง และแจกเอกสารพร้อมได้พูดคุยกับชาวบ้านเพื่อสร้างความคุ้นเคย สถานที่แจก ได้แก่ แ ห ล่ ง ชุ ม ช น เ ช่ น ต า ม ต ล า ด นั ด ง า น ป ร ะ เ พ ณี ส า คั ญ ข อ ง ท้ อ ง ถิ่ น ห รื อ ฝากประชาสัมพันธ์ผ่านส่ือของท้องถิ่น เช่น วิทยุชุมชน โดยไปร่วมจัดรายการแนะนากิจกรรมใหม่ ๆ ของห้องสมุด ใหป้ ระชาชนไดร้ ู้จกั 3. กิจกรรมส่งเสริมการอ่านบ้านหนังสืออัจฉริยะ สานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอัธยาศัย (กศน.) ได้ส่งเสริมการอ่านเพ่ือก ารเรียนรู้ให้กับประชาชนในชุมชน โดยดาเนินการจัดต้ังท่ีอ่านหนังสือ ประจาหมู่บ้านและชุมชนขึ้น มีวัตถุประสงค์ในการดาเนินงานเพื่อใช้เป็น แหล่งการเรียนรู้ของประชาชน จากการอ่านรวมท้ังจัดกิจกรรมส่งเสริมการอ่านในพื้นท่ีอย่างท่ัวถึง ซ่ึงปัจจุบันได้ถ่ายโอนที่อ่านหนังสือประจาหมู่บ้านให้อยู่ในความรับผิดชอบขององค์การบริหารส่วนท้องถ่ิน และได้มีแหล่งเรียนรู้เพื่อส่งเสริมการอ่านที่ใกล้ชิดชุมชนมากท่ีสุด คือ บ้านหนังสือชุมชน ซ่ึงสอดคล้อง กับนโยบายรัฐบาลท่ีตอ้ งการใหค้ นไทยไดเ้ รียนรู้อย่างตอ่ เนื่องตลอดชีวติ ~ 16 ~

4. กิจกรรมหนังสือของฉันแบ่งปันกันอ่าน กิจกรรมน้ีมีวัตถุประสงค์เพ่ือให้ผู้ร่วมกิจกรรม ได้ฝึกนิสัยรักการอ่านและพัฒนาการอ่าน เป็นผู้นาในด้านการอ่านและเป็นนักประชาสัมพันธ์หนังสือที่ดี รู้จัก เสียสละ แบ่งปนั ความร้ใู ห้เพือ่ น คือผู้เขา้ รว่ มกิจกรรมได้นาหนังสือท่ีตนชอบ และคิดว่าเป็นประโยชน์ต่อเพ่ือน ๆ มาบรจิ าคให้ห้องสมดุ และมีกิจกรรมเชิญชวนเพ่ือนมาอ่าน 5. กิจกรรมส่งเสริมการอ่านเพ่ือพ่อบ้านแม่บ้าน กิจกรรมของห้องสมุดประชาชนท่ีส่งเสริมให้ ประชาชนได้พฒั นาตนเองให้มีความรู้ และทักษะในด้านอาชีพและเป็นการจัดกิจกรรม เพ่ือการสร้างงานสร้าง อาชีพน้ัน และงานอดิเรกให้กับประชาชนให้ได้ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ เป็นบริการส่งเสริมการอ่านของ ห้ อ ง ส มุ ด ป ร ะ ช า ช น ไ ด้ อี ก ด้ ว ย ส่ ง เ ส ริ ม แ ล ะ ท า นุ บ า รุ ง ศิ ล ป ะ แ ล ะ วั ฒ น ธ ร ร ม ข อ ง ช า ติ ให้ความสาคัญแก่วิทยากรในท้องถ่ินของตนเองในการดาเนินงานเร่ิมจากการประชุมวางแผน ร่วมกับ ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอและคณะกรรมการห้องสมุด ติดต่อประสานงานกับ หนว่ ยงานท่สี ามารถสนับสนนุ วทิ ยากรหรือบุคคลในท้องถ่นิ หรือโสตทศั นูปกรณใ์ นการสอน วางแผนกาหนดระยะเวลาจัดเตรียมเอกสารต่าง ๆ ท่ีเกี่ยวข้องกับการอบรม และจัดนิทรรศการ ควบคู่กับการอบรม ประชาสมั พันธ์ใหท้ ่ัวถงึ และรบั สมคั รไว้ล่วงหน้า ควรใหส้ ือ่ มวลชนในท้องถิ่นประชาสัมพันธ์ จัดหาและเตรียมอุปกรณ์ท่ีใช้ในการอบรมให้พร้อม มีการกาหนดตารางฝึกอบรม และวิทยากรท้องถิ่นจัดหา หนังสือเสริมอาชีพ เอกสารแนะนาการประกอบอาชีพ เอกสารวิชาชีพท่ีเปิดอบรมเป็นการสร้างอาชีพอิสระ ให้กบั ประชาชนในท้องถ่ินอีกด้วย 6. กิจกรรมเล่านิทานเพื่อส่งเสริมการอ่าน เพ่ือเป็นการปลูกฝังให้ประชาชนรักการอ่าน โดยใช้ นิทานเป็นส่ือ อีกท้ังมีการเผยแพร่ความรู้เก่ียวกับการใช้นิทาน เพ่ือส่งเสริมการอ่านให้บุคลากร ที่รับผิดชอบในหน่วยงานเผยแพร่ด้วยการเล่านิทานไปสู่ชุมชน และเป็นการส่งเสริมความสามารถในการเล่า นิทานอีกด้วย กิจกรรมน้ีมีการจัดอบรมแนะนาบุคลากรที่เกี่ยวข้องระดับต่าง ๆ จัดหน่วยเคล่ือนท่ี จัดประกวดเล่านิทาน จัดรายการเล่านิทานออกเสียงตามสายภายในหมู่บ้าน ส่ือและอุปกรณ์ที่ใช้ ได้แก่ หนงั สือ สอ่ื ประกอบการเลา่ หนังสือ การบรหิ ารจดั การสง่ เสรมิ การอา่ นโดยใชร้ ูปแบบสื่อออนไลน์ 4.1 ความสาคัญของการบริหารจดั การสง่ เสรมิ การอา่ นโดยใช้รปู แบบสือ่ ออนไลน์ การจัดการเรียนการสอนออนไลน์ เป็นอีกวิธีการหน่ึงที่ถูกนามาใช้ในการแก้ไขปัญหา และเพิ่ม ศักยภาพในการจัดการเรียนการสอนภาษาอังกฤษ โดยเฉพาะทักษะการอ่านเน่ืองจากอานวยความสะดวก ให้ ผสู้ อนสามารถจดั เตรยี มการสอนด้วยส่ือการเรียนรู้ท่ีหลากหลาย สามารถอ่านทบทวนเนื้อหาย้อนหลังได้ และ ยงั เปิดโอกาสใหผ้ ู้เรียนเข้าถึงแหลง่ เรียนร้ไู ด้ทกุ ที่ ทกุ เวลา เพอ่ื พัฒนาความรตู้ ามความสามารถของตนเอง มนตช์ ยั เทยี นทอง (2548) และ ถนอมพร เลาหจรัส (2545) กล่าวว่า กิจกรรมการเรียนการ สอน ในระบบอีเลิร์นนง่ิ (e-learning) เน้นผู้เรียนและกิจกรรมการเรียนการสอนเป็นศูนย์กลาง ผู้เรียนสามารถ ควบคุมกระบวนการเรียนรู้ด้วยตนเอง โดยเรียนผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตจากสถานท่ีใด ณ เวลาใดก็ได้ ตลอดเวลาท้ัง 7 วันและวันละ 24 ชว่ั โมง การบริหารจัดการการเรียนการสอน เช่น การสร้างเนื้อหา ส่ือการ เรียน การนาเสนอเนื้อหาและกิจกรรมการเรียนการสอนใช้ซอฟต์แวร์ประยุกต์เฉพาะด้าน (Application Software) เป็นเครื่องมือ ซ่ึงเรียกว่า ระบบบริหารจัดการรายวิชา (Course Management System: CMS) หรอื ระบบบรหิ ารจดั การการเรยี นรู้ (Learning Management System: LMS) ~ 17 ~

ขมณัฏฐ์ ม่ิงศิริธรรม (2556, หน้า 72-81) กล่าวว่า ปัจจุบัน Social Media เข้ามา มีบทบาทในชีวิตประจาวันมากขึ้น โดยท่ี Social Media หรือสื่อสังคมออนไลน์ เป็นสื่อดิจิทัลหรือซอฟแวร์ที่ ทางานอยู่บนพ้นื ฐานของระบบเวบ็ หรอื เว็บไซต์บนอินเทอร์เน็ต ท่ีเป็นเคร่ืองมือในการปฏิบัติการทางสังคม ท่ีมี ผู้สื่อสารจัดทาขึ้น โดยท่ีผู้เขียนจัดทาขึ้นเองหรือพบเจอส่ิงต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นเร่ืองราวต่าง ๆ เหตุการณ์ บทความ ประสบการณ์ รูปภาพ วิดีโอและเพลง แล้วนามาแบ่งปันเนื้อหาข้อมูลข่าวสาร ประสบการณ์และ พูดคุยใหผ้ ใู้ ช้ในโลกออนไลน์ในเครือข่ายของตนได้รับรู้ ท้ังข้อความ ภาพน่ิง ภาพเคลื่อนไหว เสียง กับคนท่ีอยู่ ในสังคมเดยี วกนั ได้อยา่ งรวดเร็ว มีประสิทธิภาพรวมถงึ การใชป้ ระโยชนร์ ว่ มกัน Williamson (2013) กล่าวว่า เครือข่ายสังคม (Social Networking) เป็นเว็บไซต์ที่บุคคล หรอื หนว่ ยงานสามารถสร้างข้อมูลและเปลี่ยนข้อมูล (สถานะของตน) เผยแพร่รูปภาพ ภาพเคลื่อนไหว โดยท่ี บุคคลอื่นสามารถเข้ามาแสดงความชอบ หรือส่งต่อ หรือเผยแพร่ หรือแสดงความเห็น โต้ตอบ การสนทนา หรือแสดงความคดิ เห็นเพม่ิ เตมิ ได้ Clank and Mayer (2003) กล่าวว่า การจัดการเรียนการสอนออนไลน์ มีการกาหนด วัตถุประสงค์การเรียนการสอนไว้อย่างชัดเจน ใช้ทฤษฎีด้านการเรียนการสอนเป็นแนวทางในการบริหาร จดั การ และมกี ารนาเสนอเนอ้ื หาในรปู แบบสอื่ ผสม (multimedia) เพื่อทาให้ผู้เรียนเกิดความรู้ (Knowledge) และเกิดทักษะใหม่ หรอื ปรบั ปรงุ ความรู้ความสามารถของผู้เรยี น การพัฒนาทักษะการอ่านภาษาอังกฤษของผู้เรียนให้ประสบความสาเร็จน้ัน อาจต้องใช้เทคนิค การจัดการเรียนการสอนที่หลากหลายผสมผสานกัน เทคนิค 5Ts (Teaching, Time, Text, Tongue, Test) เป็นอีกเทคนิคหน่ึงท่ีถูกนามาใช้ในการพัฒนาทักษะการอ่านของผู้เรียน ซึ่งหลังจากนาเทคนิค 5Ts ไปใช้กับ ผเู้ รยี น พบวา่ สามารถเพ่มิ ประสิทธภิ าพการอา่ นใหก้ บั ผู้เรยี นได้ Dakar & Senegal (2013) ที่ได้นาเสนอเทคนิค 6Ts (Time, Texts, Teach, Talk, Tasks, Test) ในการเพิ่มประสิทธิภาพและความเช่ียวชาญให้กับผู้สอน เพื่อนาไปใช้ในการจัดการเรียนการสอน ในชน้ั เรยี น พบวา่ ผู้เรยี นมคี วามรู้ ความเข้าใจ สามารถส่อื สารดว้ ยการพูด ฟัง อ่าน ได้ดขี ึน้ 4.2 แนวคดิ และทฤษฎที ี่ใชใ้ นการจัดกิจกรรมสง่ เสริมการอ่านให้ไดผ้ ลดี การจัดกจิ กรรมสง่ เสริมการอ่านให้ได้ผลดีนน้ั จาเป็นต้องคานึงถึงแนวคิด ทฤษฎีและหลักเกณฑ์ท่ีใช้ ในการจัดกจิ กรรมส่งเสริมการอา่ นดว้ ย แม้นมาส ชวลิต (2546, หน้า 83–84) อธิบายว่า การจัดกิจกรรมส่งเสริมการอ่านให้ได้ผลดี น้ัน ผู้จดั จาเปน็ ตอ้ งคานึงถงึ แนวคิด ทฤษฎแี ละหลกั เกณฑท์ ใ่ี ชใ้ นการจัดกิจกรรมส่งเสริมการอา่ น ไดแ้ ก่ 1. แนวความคิดและทฤษฎีท่ี เกยี่ วขอ้ งกับการเรียนรู้ของคนเรา เช่น ระบบประสาทสัมผัส ความพึงใจและไม่พึงใจ แนวคิดของคนรุ่นก่อนเร่ืองการเรียนท่ีจะต้อง ประกอบด้วย สุ จิ ปุ ลิ หรือ ฟัง คิด ถาม เขียน ให้ได้ยิน ได้ฟังรวมท้ังอ่าน ให้รู้จักคิดและรู้จักถาม รู้จักจดบันทึกและเขียน เห็นความสาคัญของการใช้หู ตา สมอง และมือ ดังน้ัน กิจกรรมส่งเสริมการอ่านท่ีจะจัดข้ึนต้องง่ายต่ออการดู การฟัง เร้าให้เกิดความคิด สร้างความประทับใจให้จดจา ก่อให้เกิดความสงสัยใคร่รู้ อยากถาม อยากรู้ต่อไป สิง่ ทไี่ ดย้ นิ ได้เหน็ นน้ั นา่ สนใจจงึ ตอ้ งจด และนาไปเขยี นเป็นเรอื่ งราวได้ เป็นต้น 2. แนวความคิดและทฤษฎีท่ีว่า ด้วยมนุษย์เป็นสัตว์สังคม กิจกรรมส่งเสริมการอ่านเป็น กิจกรรมที่มีผู้เกี่ยวข้องอย่างน้อยสองคน ได้แก่ ผู้จัดกิจกรรมและบุคคลเป้าหมาย เพื่อพัฒนาตนเอง ให้เป็นที่ยอมรับของสังคม ดังน้ัน จึงควรจัดกิจกรรมส่งเสริมการอ่านโดย มุ่งเน้นประโยชน์ท่ีได้รับ จากกจิ กรรมโดยมีแนวคดิ ดังกล่าวเพ่อื ทาใหก้ ิจกรรมสง่ เสรมิ การอ่านประสบความสาเร็จ 3. แนวความคิดและทฤษฎีเก่ียวกับการเคลื่อนไหวของมนุษย์ ท่ีมีวิวัฒนาการไปสู่ส่ิงที่ แปลกใหม่และดีกว่า ดังนั้นในการจัดกิจกรรมส่งเสริมการอ่านแต่ละครั้ง ผู้จัดจะต้องคานึงว่ามีความคิด สรา้ งสรรค์ นาเสนอสง่ิ ใหม่ที่แตกต่างจากคนทวั่ ไป คนในชมุ ชนหรอื สถานศกึ ษาไดเ้ คยจัดมาแลว้ ~ 18 ~

4. แนวความคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับสุนทรียภาพ การจัดกิจกรรมส่งเสริมการอ่าน เป็นท้ังศาสตรแ์ ละศลิ ปค์ ือ ต้องอาศยั ทั้งความร้แู ละความงามในดา้ นภาพ เสียงและความคิด เพื่อช่วยทาให้น่าดู นา่ ฟงั และดึงดูดให้เกดิ จินตนาการและความจรรโลงใจที่จะอา่ น 4.3 การบริหารงานสง่ เสรมิ การอ่านใหป้ ระสบความสาเรจ็ การบริหารงานส่งเสริมการอ่านในห้องสมุดให้ประสบผลสาเร็จ จาเป็นต้องได้รับความร่วมมือ จากผู้บริหารในเรอ่ื งตอ่ ไปนี้ อัจฉรา ประดิษฐ์ (2550, หนา้ 52 – 53) กล่าวว่า เพื่อให้การบริหารงานส่งเสริมการอ่าน ใน ห้องสมุดประสบผลสาเร็จจาเป็นต้องได้รับความร่วมมือจากผู้บริหารในเรื่องต่อไปน้ี 1) คัดเลือกบุคลากรทา หน้าท่ีส่งเสริมการอ่านที่เหมาะสม ท้ังคุณสมบัติด้านความสนใจในงานและความพร้อมในการทางานส่งเสริม การอ่าน เพ่ือให้โรงเรียนมีบุคลากรทางานส่งเสริมการอ่านเต็มตัว 2) จัดระบบงานส่งเสริมการอ่านให้เป็น รูปธรรม กาหนดขอบเขต หน้าท่ีและความรับผิดชอบให้ชัดเจน 3) กาหนดผู้ช่วยงานอื่นๆ แก่ผู้รับผิดชอบ โ ด ย ต ร ง เ พ่ื อ ส ร้ า ง “ ที ม ง า น ” ใ น ก า ร แ บ่ ง เ บ า ค ว า ม รั บ ผิ ด ช อ บ อั น จ ะ ท า ใ ห้ บุ ค ล า ก ร มีกาลังใจในการทางานมากข้ึน เพราะจะทาให้มีที่ปรึกษา เพื่อนร่วมคิดจะมีกาลังใจในการทางาน 4) อาจหาบุคลากรเพื่อส่งเสริมการอ่านในโรงเรียนโดยการคิดนอกกรอบ เช่น การสร้างเครือข่ายผู้ปกครอง หรอื คนในชมุ ชน ให้อาสาเป็นผจู้ ดั กจิ กรรมสง่ เสริมการอ่าน 5) จัดใหม้ ีหนงั สือหมุนเวียนเปลย่ี นใหมเ่ สมอ โดยประสานความร่วมมือกับโรงเรียนในพ้ืนที่ใกล้เคียงกัน จัดซื้อหนังสือโรงเรียนละชุดแล้ว กาหนดวันมาหมุนเวียนสับเปล่ียนปัญหาในการจัดกิจกรรมส่งเสริมการอ่าน และปัจจัยท่ีมีอิทธิพลต่อ ความสาเร็จในการจัดกิจกรรมส่งเสริมการอ่าน โรงเรียนส่วนมากมักมอบหมายให้ห้องสมุดเป็นผู้จัดกิจกรรม ส่งเสริมการอา่ นใหแ้ ก่นักเรยี น อัจฉรา ประดิษฐ์ (2550, หน้า 23) ได้รวบรวมปัจจัยท่ีส่งผลต่อความสาเร็จ ในการจัด กิจกรรมส่งเสริมการอ่านในโรงเรียนไว้ดังน้ี 1) ความพร้อมด้านผู้บริหาร กล่าวคือ โรงเรียนมีผู้บริหาร ที่สนใจการอ่าน มีนโยบายและวิสัยทัศน์ท่ีเอื้อต่องานส่งเสริมการอ่านของโรงเรียน 2) ความพร้อม ด้าน บุคลากรห้องสมุดหรือผู้รับผิดชอบงานส่งเสริมการอ่านอื่น ๆ โดยโรงเรียนควรมีบุคลากรผู้รับผิดชอบงาน ส่งเสริมการอ่านอย่างเต็มตัวอย่างน้อย 1 คน เช่น ครูหมวดภาษาไทย ครูบรรณารักษ์ ครูสอนวิชา “รักการอ่าน” ครูหมวดคณิตศาสตร์หรือครูอื่น ๆ ซ่ึงต้องทางานประสานความร่วมมือและร่วมแรงร่วมใจกัน ในการส่งเสริมการอ่านทั้งระบบของโรงเรียน มีความกระตือรือร้นในการทางานมีเวลาภาระงานและความ รับผิดชอบ สร้างขวัญและกาลังใจในการทางาน เป็นต้น 3) ความพร้อมด้านงบประมาณ หมายถึง โรงเรียนมี การจัดสรรงบประมาณเพ่ือการซื้อหนังสือหรือทากิจกรรมส่งเสริมการอ่าน ได้อย่างต่อเน่ืองตลอดทั้งปี 4) ความพร้อมด้านห้องสมุดหรือแหล่งเรียนรู้อ่ืน ๆ ในโรงเรียน กล่าวคือ โรงเรียนมีห้องสมุดที่เปิดให้บริการ สม่าเสมอทุกวันและมีหนังสือไม่ต่ากว่า 20,000–30,000 เล่ม และเป็นหนังสือท่ีตอบสนองความต้องการ ของนักเรียน แต่หากไม่มีห้องสมุดก็ควรจัดให้มีมุมหนังสือในห้องเรียน หรือมีทั้งสองอย่างควบคู่กัน ขณะเดยี วกนั สถานที่และสภาพแวดล้อมต่าง ๆ ควรมีบรรยากาศของการส่งเสริมการอ่าน 5) ความพร้อมด้าน กิจกรรมส่งเสริมการอ่าน โรงเรียนมีกิจกรรมส่งเสริมการอ่านอย่างหลากหลายและต่อเนื่อง รวมทั้งมีความ นา่ สนใจ ดึงดูดให้เด็กเข้ามามีส่วนร่วมได้ 6) ความพร้อมด้านนักเรียน นักเรียนสนใจกิจกรรมส่งเสริมการอ่าน มีอาสาสมัครนักเรียนช่วยงานบรรณารักษ์ เป็นบรรณารักษ์น้อยในห้องสมุด นักเรียนมีความกระตือรือร้น สนใจและมีทัศนคติที่ดีต่อการอ่าน 7) ความสามารถในการสร้างเครือข่ายความร่วมมือกับผู้ปกครอง ชุมชน หรือ หน่วยงานเอกชน เพื่อสนับสนุน และส่งเสริมกิจกรรมการอ่าน ทาให้การอ่านไม่ใช่ภาระหนัก ที่ จากดั ขอบเขต เพยี งใหโ้ รงเรยี นรบั ผิดชอบเท่าน้ัน แต่ถ่ายทอดความรับผิดชอบต่อเนื่องไปสู่เวลานอกโรงเรียน ของเดก็ ดว้ ย ~ 19 ~

สรุป รัฐบาลให้ความสาคัญกับการอ่านและการจัดกิจกรรมส่งเสริมการอ่าน ดังน้ัน ห้องสมุด โรงเรียนในฐานะที่เป็นแหล่งเรียนรู้ที่สาคัญสาหรับเด็กและเยาวชน จึงควรได้รับความร่วมมือจากหน่วยงาน และบุคลากรที่เกี่ยวข้อง ในการจัดกิจกรรมส่งเสริมการอ่าน ตลอดจนคัดเลือกกิจกรรมส่งเสริมการอ่านที่ เหมาะสมกับนกั เรียนของโรงเรยี น กง่ิ แก้ว อารีรักษ์ และละเอียด จุฑานันท์ (2548, หน้า 120) ได้กล่าวถึงแนวคิดสาคัญของ การเรียนรู้จากแหล่งเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลางว่า ในการเรียนรู้จากแหล่งเรียนรู้ นักเรียน จะบูรณาการทักษะท่ีสาคัญคือ การเรียนรู้จากแหล่งเรียนรู้ ทักษะพ้ืนฐานทางเทคโนโลยี และกระบวนการ เรียนเขา้ ด้วยกัน และกระบวนการเรยี นรู้จะเกดิ การย้อนกลบั ไปกลับมา กลา่ วคอื ในขณะที่กาลังรวบรวมข้อมูล อยู่ นักเรียนอาจจาเป็นต้องจัดข้อมูลเหล่านั้น และวิเคราะห์ข้อมูลจัดแล้วในสมุดบันทึก เมื่อรู้ว่าตนเองยังขาด ข้อมูลอยู่อีกต้องหาเพิ่มเติม เขาก็จะย้อนกลับไปท่ีช้ันการรวบรวมข้อมูลใหม่ ซ่ึงกา รเรียนรู้ ในลักษณะน้ี จะต่างจากการที่ครูเป็นผู้สอนโดยใช้แหล่งการเรียนรู้เป็นส่ือหรือเคร่ืองมือ โดยมีข้อแตกต่างของ การเรียนรู้จากแหล่งเรียนรู้ และการสอนจากแหล่งเรียนรู้ โดยรูปแบบในการจัดการเรียนรู้ มีหลายรูปแบบที่ ผบู้ ริหารสามารถเลอื กใช้ตามความเหมาะสม ดงั นี้ 1. การวางแผนการเรียนรู้จากแหล่งเรียนรู้(Planning Resource based Learning) การ วางแผนการจัดการเรียนรู้อย่างรอบคอบ จะเป็นพ้ืนฐานสาคัญที่นาไปสู่การเรียนรู้ จากแหล่งเรียนรู้ ท่ีประสบความสาเร็จสาหรับทั้งกิจกรรมระยะสั้นและประเด็นหลักท่ีเป็นหัวข้อบูรณาการ ในระยะยาวรูปแบบ EFFECTIVE เป็นรูปแบบหน่ึงท่ีมีประสิทธิภาพของการวางแผนการเรียนรู้จากแหล่งเรียนรู้อย่างเป็นระบบท่ี อาศัยรปู แบบการพฒั นาการเรียนการสอนในปัจจบุ ันหลายรปู แบบด้วยกัน 2. การเรียนรู้แบบอิสระ (Independent Learning) การวางแผนเพื่อการจัดการ แหล่ง เรียนรู้รูปแบบ SUCCEED เป็นเหมือนแผนการจัดทักษะการเรียนรู้ท่ีใช้โรงเรียนเป็นฐาน เป็นการระบุและให้ จากดั ความทางยทุ ธศาสตร์ทีจ่ าเปน็ ซงึ่ จะชว่ ยใหน้ ักเรียนกลายเปน็ ผ้เู รยี นท่อี สิ ระ และเม่ือนาไปใช้รูปแบบน้ีจะ เหมือนฐานสาหรับการจดั กระบวนการเรยี นรู้จากแหล่งการเรียนรู้ ~ 20 ~

บทท่ี ๓ วธิ ดี าเนินการ การพัฒนาการบริหารจัดการส่งเสริมการอ่าน โดยใช้รูปแบบส่ือออนไลน์ของห้องสมุดประชาชนใน สังกัดสานักงาน กศน.จังหวัดอานาจเจริญในคร้ังนี้มีวัตถุประสงค์ ดังนี้ คือ 1) เพ่ือศึกษาสภาพและปัญหาของ การบรหิ ารจัดการสง่ เสริมการอ่านของหอ้ งสมดุ ประชาชนในสงั กดั สานักงาน กศน.จังหวัดอานาจเจริญ 2) เพ่ือ พัฒนาการบริหารจดั การสง่ เสริมการอ่านโดยใช้รูปแบบส่ือออนไลน์ ของห้องสมุดประชาชนในสังกัดสานักงาน กศน.จงั หวดั อานาจเจริญ และ 3) เพ่ือศกึ ษาผลการพัฒนาการบริหารจัดการส่งเสริมการอ่านโดยใช้รูปแบบสื่อ ออนไลน์ของห้องสมุดประชาชนในสังกดั สานักงาน กศน.จังหวดั อานาจเจรญิ 1. ความพงึ พอใจของผู้รับบรกิ าร 2.1 ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง 2.1.1 ประชากรผู้รับบริการ ได้แก่ นักศึกษา กศน. ระดับประถมศึกษา หลักสูตรการศึกษา นอกระบบระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2562 จานวน 314 คน ทมี่ ารบั บริการหอ้ งสมุดประชาชนในสงั กัดสานกั งาน กศน.จังหวัดอานาจเจริญ 2.1.2 กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ นักศึกษา กศน. ระดับประถมศึกษา หลักสูตรการศึกษา นอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2562 ของ กศน. อาเภอเมืองอานาจเจริญ จานวน 59 คน การกาหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างโดยใช้ตารางสาเร็จรูปของเครซี่และ มอรแ์ กน (R.V. Krejcie & D.W.Morgan : 1970) การเลือกกลุ่มตัวอย่างใช้วิธีการเลือกโดยการสุ่มอย่างง่าย (Simple random sampling) และอาศยั ตารางเลขสุ่ม (Random number) (ล้วน สายยศ และอังคณา สาย ยศ, 2538, หนา้ 98) 2.2 การเก็บรวบรวมข้อมูลผลการศึกษาความพึงพอใจของผู้เรียน ท่ีมีต่อการพัฒนาการบริหาร จัดการส่งเสริมการอ่าน โดยใช้รูปแบบส่ือออนไลน์ของห้องสมุดประชาชนในสังกัดสานักงาน กศน.จังหวัด อานาจเจรญิ ดาเนนิ การ ดังนี้ 2.2.1 การเก็บรวบรวมขอ้ มูล โดยเก็บรวบรวมขอ้ มูลจากนักศึกษา กศน. ระดับประถมศึกษา หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551 ภาคเรียนท่ี 2 ปีการศึกษา 2562 ของ กศน.อาเภอเมืองอานาจเจริญ จานวน 59 คน เมื่อวันท่ี 30 เดือน กันยายน พ.ศ. 2563 2.2.2 เครื่องมือท่ีใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล คือ แบบสอบถามความพึงพอใจต่อการ พัฒนาการบริหารจัดการส่งเสริมการอ่าน โดยใช้รูปแบบสื่อออนไลน์ของห้องสมุดประชาชน ในสังกัด สานักงาน กศน.จงั หวัดอานาจเจรญิ แบบสอบถามความพึงพอใจ มี 3 ตอน ดังนี้ ตอนท่ี 1 ถามขอ้ มลู เก่ียวกับผตู้ อบแบบสอบถาม จานวน 2 ข้อ ~ 21 ~

ตอนที่ 2 ความพงึ พอใจการพัฒนาการบริหารจดั การสง่ เสริมการอ่าน โดยใชร้ ปู แบบ ส่ือออนไลน์ ของห้องสมุดประชาชนในสังกัดสานักงาน กศน.จังหวัดอานาจเจริญจานวน 21 ข้อ ลักษณะของ แบบสอบถามเป็นแบบมาตราส่วนประมาณค่า (Rating Scale) ซง่ึ มรี ะดบั ความพึงพอใจ 5 ระดับ ดังน้ี 5 มากทีส่ ดุ หมายถึง มคี วามพึงพอใจมากทส่ี ุด 4 มาก หมายถึง มคี วามพึงพอใจมาก 3 ปานกลาง หมายถึง มคี วามพึงพอใจปานกลาง 2 น้อย หมายถงึ มีความพึงพอใจน้อย 1 นอ้ ยท่ีสุด หมายถึง มีความพึงพอใจน้อยทีส่ ุด ตอนท่ี 3 ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะของนักศึกษา กศน. ท่ีมีต่อการพัฒนาการบริหาร จัดการ ส่งเสริมการอ่านโดยใช้รูปแบบส่ือออนไลน์ของห้องสมุดประชาชนในสังกัดสานักงาน กศน.จังหวัด อานาจเจรญิ 2.3 การวิเคราะห์ข้อมูล นาแบบสอบถามที่ได้รับคืนมาท้ังหมดตรวจสอบความสมบูรณ์ ของ แบบสอบถาม 2.๓.1 แบบสอบถามตอนที่ 1 ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม นามาวิเคราะห์ โดยหา ค่าความถแี่ ละค่าร้อยละ 2.๓.2 แบบสอบถามตอนที่ 2 ความพึงพอใจต่อการพัฒนาการบริหารจัดการส่งเสริมการอ่าน โดยใช้รูปแบบสอื่ ออนไลน์ของห้องสมุดประชาชนในสังกัดสานักงาน กศน.จังหวัดอานาจเจริญ นามาวิเคราะห์ โดยหา ค่าร้อยละและคา่ เฉล่ีย ( X ) การแปลความหมายค่าเฉล่ีย ไดก้ าหนดความหมายตามขอบเขตของค่าเฉล่ยี ดังนี้ (ประคอง กรรณสูตร, 2542) มากทีส่ ุด มคี า่ เฉลย่ี 4.50 – 5.00 มาก มคี า่ เฉล่ีย 3.50 – 4.49 ปานกลาง มคี ่าเฉลี่ย 2.50 – 3.49 น้อย มีค่าเฉลย่ี 1.50 – 2.49 นอ้ ยท่ีสุด มีคา่ เฉลย่ี 1.00 – 1.49 2.4.3 แบบสอบถามตอนที่ 3 ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะของนักศึกษา กศน. ท่ีมีต่อการ พัฒนาการบริหารจัดการสง่ เสรมิ การอ่าน โดยใช้รูปแบบสื่อออนไลน์ของห้องสมุดประชาชนในสังกัดสานักงาน กศน.จงั หวัดอานาจเจริญนามาวิเคราะหแ์ ละเขยี นสรปุ 2.4 สถิติท่ใี ชใ้ นการวิเคราะหข์ อ้ มูล 2.5.1 ค่าร้อยละ (Percentage) (บญุ ชม ศรสี ะอาด, 2556 : 123-124) โดยใช้สตู ร ร้อยละ (percentage) = f  100 n เมอื่ f แทน ความถ่ี n แทน จานวนผตู้ อบแบบสอบถามทง้ั หมด 2.5.2 คา่ เฉลยี่ (Mean : X ) (บุญชม ศรีสะอาด, 2556 : 123-124) โดยใชส้ ูตร X= X เม่อื X n X หมายถึง คะแนนเฉลย่ี หมายถงึ ผลรวมของคะแนนทั้งหมด n หมายถึง จานวนทง้ั หมด ~ 22 ~

บทท่ี ๔ ผลการวิเคราะห์ข้อมูล ได้สุ่มกล่มุ ตัวอยา่ งแบบบงั เอิญ นักศกึ ษา กศน. ระดับประถมศกึ ษา จานวน ๕๙ คน สรปุ ผลแบบ ประเมนิ ความพึงพอใจต่อการพัฒนาการบรหิ ารจดั การสง่ เสรมิ การอ่านโดยใชร้ ปู แบบสอ่ื ออนไลน์ ของหอ้ งสมดุ ประชาชนอาเภอในสังกดั สานักงาน กศน.จงั หวดั อานาจเจริญ โดยสมุ่ ตวั อยา่ งแบบบงั เอิญทั้งหมดจานวน ๕๙ คน คิดเป็นร้อยละ ๑๐๐ ผลการประเมนิ สรุปได้ดังนี้ ตอนท่ี ๑ ผลการวเิ คราะห์ข้อมลู ของผู้ตอบแบบสอบถาม ไดแ้ ก่ เพศ คิดเป็นร้อยละ ตารางที่ ๑ แสดงการจาแนกเพศผตู้ อบแบบประเมนิ ๕๖ ๔๔ เพศ จานวน ๑๐๐ ชาย ๓๓ หญิง ๒๖ รวม ๕๙ จากตารางท่ี ๑ ผูต้ อบแบบประเมนิ เพศชาย จานวนมากกวา่ ๓๓ คนคดิ เป็นร้อยละ ๕๖ ส่วนเพศหญิง ๒๖ คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ ๔๔ จาแนกตามเพศของผู้ตอบแบบประเมิน ๖๐ ๕๖.๐๐ ๔๔.๐๐ จำนวน ๒๖ รอ้ ยละ ๕๐ หญิง ๔๐ ๓๓ ๓๐ ๒๐ ๑๐ ๐ ชาย แผนภมู ทิ ี่ ๑ แสดงข้อมูลจาแนกตามเพศของผู้ตอบแบบประเมิน เพศชาย จานวนมากกวา่ ๓๓ คน คิดเปน็ ร้อยละ ๕๖ ส่วนเพศหญิง ๒๖ คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ ๔๔ ~ 23 ~

ตอนท่ี ๑ แสดงการจาแนกช่วงอายขุ องผตู้ อบแบบประเมิน อายุ จานวน คดิ เป็นรอ้ ยละ ๑๖ – ๒๖ ปี ๑๑ ๑๘.๖๔ ๒๖ – ๓๙ ปี ๒๗ ๔๕.๗๖ ๔๐ – ๕๙ ปี ๒๑ ๓๕.๖๐ ๖๐ ปีขึ้นไป -- ๕๙ ๑๐๐ รวม จากตาราง แสดงการจาแนกช่วงอายุของผตู้ อบแบบประเมนิ มีจานวนอายุมากสดุ คือ อายุ ๒๖ – ๓๙ ปี จานวน ๒๗ คนคดิ เป็นรอ้ ยละ ๔๕.๗๖ รองลงมา อายุ ๔๐ – ๕๙ ปี จานวน ๒๑ คน คดิ เปน็ ร้อยละ ๓๕.๖๐ อายุ ๑๖ – ๒๖ ปี จานวน ๑๑ คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ ๑๘.๖๔ และอายุ ๖๐ ปขี ึน้ ไป ๐ คนคดิ เป็นร้อยละ 0 ตามลาดบั จาแนกตามชว่ งอายผุ ้ตู อบแบบประเมนิ ๕๐ ๔๕.๗๖ ๔๕ ๓๕.๖๐ ๔๐ ๓๕ ๒๗ ๒๑ ๓๐ ๒๕ ๑๘.๖๔ ๒๐ ๑๑ จำนวน ๑๕ ร้อยละ ๑๐ ๐๐ ๕ ๐ แผนภมู ทิ ี่ ๒ แสดงขอ้ มูลจาแนกตามช่วงอายุ ผตู้ อบแบประเมินมจี านวนอายุมากสุด คือ อายุ ๒๖ – ๓๙ ปี จานวน ๒๗ คนคิดเป็นร้อยละ ๔๕.๗๖ รองลงมา อายุ ๔๐ – ๕๙ ปี จานวน ๒๑ คน คิดเป็นรอ้ ยละ ๓๕.๖๐ อายุ ๑๖ – ๒๖ ปี จานวน ๑๑ คน คดิ เป็นร้อยละ ๑๘.๖๔ และอายุ ๖๐ ปขี ้นึ ไป ๐ คนคิดเป็นรอ้ ยละ 0 ตามลาดบั ~ 24 ~

ตอนท่ี ๒ แบบประเมินความพึงพอใจต่อการพฒั นาการบริหารจัดการสง่ เสริมการอ่านโดยใชร้ ูปแบบส่อื ออนไลน์ ของหอ้ งสมุดประชาชนอาเภอในสงั กัดสานักงาน กศน.จังหวัดอานาจเจรญิ ข้อ รายการ 5 ระดบั ความคดิ เห็น ที่ 4 3 21 98 ดา้ นเวบ็ ไซตห์ ้องสมดุ 104 39 86 33 1 ความสวยงาม ความทนั สมยั ของหน้าเว็บไซต์ 120 42 9 74 17 2 การจดั เว็บไซด์งา่ ยตอ่ การอา่ นและการใชง้ าน 121 24 33 6 84 16 3 สีสันในการออกแบบเวบ็ ไซต์มีความเหมาะสม 133 25 18 6 4 96 4 4 สีพนื้ หลงั กบั ตวั อกั ษรมคี วามเหมาะสมกบั การอ่าน 916 24 17 74.29 224 77 12 4 5 ขนาดตวั อักษรและรูปแบบตวั อกั ษรอา่ นงา่ ยและสวยงาม 18.16 6.3 0.93 0.32 76 6 ความสะดวกรวดเร็วในการเข้าถึงเว็ปไซต์ 72 53 8 81 56 9 7 ความสะดวกเชอ่ื มโยงข้อมูลไปยงั เว็บไซตอ์ ืน่ 69 45 11 78 57 11 8 ความเหมาะสมของข้อมูลภายในเว็บไซต์ 84 51 8 460 53 9 ความทันสมยั ถูกตอ้ ง ครบถว้ นของขอ้ มูล 55.96 315 47 38.32 5.72 รวม คดิ เปน็ ร้อยละ ด้านกจิ กรรมสง่ เสรมิ การอา่ น 10 ตู้หนังสือออนไลน์ (e-book) 11 ระบบการศกึ ษาออนไลน์ (E-Learning) 12 อนิ โฟกราฟิก( Info graphic) 13 คลิป(Clip VDO) 14 หนังสอื อิเลก็ ทรอนกิ ส์ (e-book) โดยใช้คิวอาร์โค้ด (QR Code) 15 ส่อื อเิ ลก็ ทรอนิกส์อ่ืน ๆ บนเว็บไซต์ห้องสมุดประชาชน รวม คิดเป็นรอ้ ยละ ~ 25 ~

ข้อที่ รายการ ระดับความคิดเห็น 1 5 4 32 ด้านประโยชนท์ ผี่ รู้ ับบรกิ ารไดร้ ับ 16 ศกึ ษาค้นคว้าความรู้ตา่ ง ๆ ได้ดว้ ยตนเองอย่างกว้างขวาง 91 36 10 17 สรา้ งนิสยั รักการอ่าน 89 32 16 18 นาความรจู้ ากการอ่านไปใช้ในการเรยี น 90 34 13 19 นาความรจู้ ากการอา่ นไปใช้ในการทางานประกอบอาชีพและการพัฒนาคณุ ภาพชีวติ 83 44 10 20 นาความรจู้ ากการอ่านไปใช้ในการการพัฒนาคุณภาพชวี ิต 89 30 18 21 นาความร้ไู ปถ่ายทอดกับผู้อ่ืน 93 41 3 รวม 535 217 70 คิดเปน็ ร้อยละ 65.1 26.39 8.51 สตู รการหา = จานวนท่ีได้ X ๑๐๐ จานวนทั้งหมด ~ 26 ~

จากตาราง แสดงขอ้ มูลการจาแนกความคิดเห็นเกย่ี วกับการจดั แบบประเมินความพงึ พอใจต่อการพัฒนาการ บรหิ ารจดั การสง่ เสรมิ การอา่ นโดยใชร้ ปู แบบส่อื ออนไลน์ ของหอ้ งสมดุ ประชาชนอาเภอในสังกัดสานกั งาน กศน.จงั หวดั อานาจเจรญิ เป็น ๓ ดา้ นดงั ตอ่ ไปนี้ ๑. ด้านเว็บไซตห์ ้องสมดุ จานวน คดิ เปน็ ร้อยละ 916 74.29 ระดบั ความคิดเห็น 224 18.16 มากทส่ี ุด 77 6.3 มาก 12 0.93 ปานกลาง 4 0.32 นอ้ ย 1,233 ๑๐๐ นอ้ ยทสี่ ุด รวม ตารางด้านเว็บไซต์หอ้ งสมดุ แสดงข้อมูลการจาแนกผปู้ ระเมนิ ความคิดเหน็ เก่ยี วกับการจัดดา้ นเวบ็ ไซต์ หอ้ งสมดุ อยู่ในระดบั มากที่สุด 916 คะแนนคิดเป็นร้อยละ 74.29 ระดับมาก 224 คะแนนคดิ เป็นร้อยละ 18.16 ระดับปานกลาง 77 คะแนนคิดเปน็ ร้อยละ 6.3 ระดับนอ้ ย 12 คะแนนคิดเป็นร้อยละ 0.93 ระดบั น้อยทสี่ ดุ 4 คะแนนคดิ เป็นร้อยละ 0.32 ๒. ด้านกจิ กรรมสง่ เสริมการอ่าน จานวน คิดเปน็ ร้อยละ 460 55.96 ระดับความคดิ เห็น 315 38.32 มากท่ีสดุ 47 5.72 มาก - ปานกลาง - - น้อย - ๑๐๐ นอ้ ยทส่ี ดุ 822 รวม ตารางดา้ นกิจกรรมส่งเสริมการอ่าน แสดงขอ้ มูลการจาแนกผู้ประเมินความคิดเห็นเก่ยี วกบั การจัดดา้ น กิจกรรมส่งเสริมการอ่าน อยใู่ นระดบั มากที่สดุ 460 คะแนนคดิ เป็นร้อยละ 55.96 ระดับมาก 315 คะแนน คิดเป็นรอ้ ยละ 38.32 ระดับปานกลาง 47 คะแนนคิดเป็นรอ้ ยละ 5.72 ระดบั น้อย ๐ คะแนนคิดเป็นรอ้ ย ละ 0 ระดับนอ้ ยท่ีสุด ๐ คะแนนคดิ เปน็ ร้อยละ 0 ~ 27 ~

๓. ดา้ นประโยชนท์ ีผ่ รู้ บั บริการไดร้ บั จานวน คิดเป็นร้อยละ 535 65.1 ระดบั ความคดิ เห็น 217 26.39 มากทสี่ ุด 70 8.51 มาก - ปานกลาง - - น้อย - ๑๐๐ น้อยท่สี ดุ 822 รวม ตารางด้านประโยชนท์ ผี่ รู้ ับบริการไดร้ ับ แสดงข้อมลู การจาแนกผู้ประเมินความคิดเหน็ เกยี่ วกบั การจดั ด้าน ประโยชนท์ ผ่ี ู้รับบริการได้รบั อยใู่ นระดับมากท่สี ุด 535 คะแนนคิดเปน็ รอ้ ยละ 65.1 ระดบั มาก 217 คะแนนคดิ เป็นร้อยละ 26.39 ระดับปานกลาง 70 คะแนนคดิ เป็นรอ้ ยละ 8.51 ระดับน้อย ๐ คะแนนคดิ เป็นรอ้ ยละ 0 ระดับน้อยท่ีสดุ ๐ คะแนนคิดเป็นร้อยละ 0 ตอนท่ี ๓ สรปุ ความคิดเห็น / ขอ้ เสนอแนะ / กิจกรรมที่อยากให้จดั ความคดิ เห็น / ข้อเสนอแนะของผู้กรอกแบบประเมนิ ความพงึ พอใจต่อการพัฒนาการบริหาร จดั การสง่ เสริมการอา่ นโดยใช้รปู แบบสือ่ ออนไลน์ ของห้องสมดุ ประชาชนอาเภอในสงั กัดสานักงาน กศน. จงั หวัดอานาจเจรญิ ปัญหาและอปุ สรรค 1. ส่ืออเิ ลก็ ทรอนิกส์อ่นื ๆ บางชนิดบนเวบ็ ไซต์ห้องสมดุ ประชาชนเกิดการขัดคล่อง คิวอาร์โค้ด (QR Code) หมดอายใุ นการใช้งาน 2. การเชือ่ มต่ออินเตอรเ์ น็ตชา้ เขา้ อา่ นได้อยากลาบาก ขอ้ เสนอแนะ ๑. เจ้าหน้าท่หี อ้ งสมุดควรจัดหาขา่ วสารทที่ นั สมยั ให้เหมาะสมตอ่ เหตุการณป์ ัจจุบนั ~ 28 ~

บทท่ี ๕ สรุปผล อภปิ รายผล และข้อเสนอแนะ สรปุ การประเมนิ จากการสรปุ การประเมนิ ผลผู้กรอกแบบประเมนิ ความพึงพอใจตอ่ การพัฒนาการบรหิ ารจดั การสง่ เสรมิ การอา่ นโดยใช้รปู แบบสอ่ื ออนไลน์ ของห้องสมุดประชาชนอาเภอในสังกัดสานักงาน กศน.จังหวัด อานาจเจริญ ๓ ด้านดังต่อไปนี้ ๑. ด้านเว็บไซต์หอ้ งสมุด แสดงข้อมูลการจาแนกผู้ประเมนิ ความคิดเหน็ เกย่ี วกบั การจัดด้าน เวบ็ ไซต์ห้องสมดุ อยู่ในระดบั มากที่สุด 916 คะแนนคดิ เป็นร้อยละ 74.29 ระดบั มาก 224 คะแนนคดิ เปน็ ร้อยละ 18.16 ระดับปานกลาง 77 คะแนนคิดเป็นร้อยละ 6.3 ระดับนอ้ ย 12 คะแนนคิดเป็นร้อยละ 0.93 ระดบั น้อยท่ีสดุ 4 คะแนนคิดเปน็ ร้อยละ 0.32 ๒. ดา้ นกจิ กรรมสง่ เสริมการอา่ น แสดงขอ้ มูลการจาแนกผู้ประเมินความคดิ เหน็ เก่ียวกับการจัด ดา้ นกจิ กรรมส่งเสริมการอา่ น อยูใ่ นระดับมากทส่ี ดุ 460 คะแนนคดิ เป็นรอ้ ยละ 55.96 ระดับมาก 315 คะแนนคดิ เป็นร้อยละ 38.32 ระดบั ปานกลาง 47 คะแนนคดิ เป็นร้อยละ 5.72 ระดับน้อย ๐ คะแนนคดิ เป็นร้อยละ 0 ระดบั น้อยทส่ี ดุ ๐ คะแนนคดิ เป็นร้อยละ 0 ๓. ด้านประโยชน์ทผ่ี ้รู ับบรกิ ารไดร้ ับ แสดงข้อมลู การจาแนกผู้ประเมินความคดิ เหน็ เกีย่ วกับ การจัดดา้ นประโยชน์ทผี่ ้รู บั บริการไดร้ ับ อยู่ในระดบั มากท่ีสดุ 535 คะแนนคดิ เปน็ ร้อยละ 65.1 ระดบั มาก 217 คะแนนคิดเป็นร้อยละ 26.39 ระดบั ปานกลาง 70 คะแนนคิดเป็นร้อยละ 8.51 ระดับนอ้ ย ๐ คะแนนคิดเปน็ ร้อยละ 0 ระดับน้อยท่ีสดุ ๐ คะแนนคดิ เป็นรอ้ ยละ 0 อภิปรายผล จากการสรุปการประเมินผลผู้กรอกแบบประเมินความพึงพอใจต่อการพัฒนาการบริหาร จัดการ การสง่ เสริมการอา่ นโดยใช้รูปแบบส่ือออนไลน์ ของห้องสมุดประชาชนอาเภอในสังกัดสานักงาน กศน. จงั หวัดอานาจเจริญ ของหอ้ งสมดุ ประชาชน “เฉลมิ ราชกมุ ารี”จังหวัดอานาจเจริญ พบว่าผลการประเมินเฉลี่ย ผ้รู ่วมกจิ กรรมมคี วามพงึ พอใจในระดับมากท่ีสุด แต่เม่ือพิจารณาเป็นรายข้อท้ัง ๓ ด้าน พบว่า มีความพึงพอใจ ในระดับมากที่สุดคดิ เปน็ รอ้ ยละ ดงั นี้ ๑. ด้านเวบ็ ไซต์ห้องสมุด ระดับมากที่สดุ 916 คะแนนคดิ เป็นรอ้ ยละ 74.29 ๒. ดา้ นกิจกรรมส่งเสริมการอ่าน ระดับมากทีส่ ดุ 460 คะแนนคิดเปน็ รอ้ ยละ 55.96 ๓. ดา้ นประโยชนท์ ี่ผ้รู ับบรกิ ารได้รบั ระดับมากที่สุด 535 คะแนนคดิ เป็นร้อยละ 65.1 โดยนักศึกษา กศน. ระดับประถมศึกษา จานวน ๕๙ คน มีความพึงพอใจ ต่อการใช้ส่ือ ออนไลน์จัดโครงการเพราะเป็นโครงการที่ส่งเสริมให้นักศึกษา กศน.มีนิสัยรักการอ่าน ใฝ่เรียนรู้ มีความ สมบูรณ์ท้ังร่างกาย จิตใจ อารมณ์ และสติปัญญาเป็นผู้มีความรู้คู่คุณธรรม มีจริยธรรมและวัฒนธรรมในการ ดารงชีวิต สามารถอยู่ร่วมกับผู้อ่ืนได้อย่างมีความสุข มีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมต่างๆ จนสามารถที่จะ ปฏบิ ัตไิ ด้ และได้รับความสนุกสนานเพลิดเพลินและสามารถนาไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจาวันได้ อย่างไรก็ ตามยังพบปญั หาและอุปสรรคใ์ นการจัดครง้ั น้ี ~ 29 ~

ปัญหาและอปุ สรรค 1. สื่ออิเล็กทรอนิกส์อื่น ๆ บางชนิดบนเว็บไซต์หอ้ งสมุดประชาชนเกดิ การขัดคลอ่ ง ควิ อารโ์ คด้ (QR Code) หมดอายุในการใชง้ าน 2. การเชอ่ื มตอ่ อินเตอรเ์ นต็ ชา้ เขา้ อ่านไดอ้ ยากลาบาก ข้อเสนอแนะ เจ้าหน้าทีห่ ้องสมดุ ควรจัดหาข่าวสารทท่ี นั สมยั ให้เหมาะสมต่อเหตุการณป์ ัจจุบนั ~ 30 ~

คณะทางาน ที่ปรกึ ษา ผู้อานวยการศนู ยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตาม นางสาวถนอม ใจกล้า อธั ยาศัยอาเภอเมืองอานาจเจรญิ รวบรวม / เรยี บเรียง / วเิ คราะห์ข้อมูล นายชรชั วิช สรุ ะสาย บรรณารักษ์ นายนิติโชค ธรรมวรยี ์ บรรณารักษ์ ผ้จู ดั พมิ พ์ / จัดทารูปเล่ม บรรณารกั ษ์ บรรณารักษ์ นายชรัชวิช สรุ ะสาย นายนิตโิ ชค ธรรมวรยี ์ ~ 31 ~

~ 32 ~