Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore วิจัย 5 บท

วิจัย 5 บท

Published by ชุติมา ไหมสุวรรณ, 2021-09-26 02:50:59

Description: วิจัย 5 บท

Search

Read the Text Version

รายงานวิจยั ในชนั้ เรยี น เรอื่ ง แก้ปัญหาการจดั การเรยี นการสอนดว้ ยระบบออนไลน์วิชาพมิ พ์ดีดองั กฤษ เบอื้ งตน้ สาหรบั นักเรียนทไ่ี ม่มเี ครอ่ื งคอมพวิ เตอร์ด้วยแปน้ พมิ พ์จาลอง นกั เรียนแผนกพณชิ ยการ ภาคเรียนท่ี 1 ปีการศึกษา 2564 ผวู้ จิ ัย นางชุติมา ไหมสุวรรณ ตาแหนง่ พนักงานราชการ(คร)ู วิทยาลัยการอาชพี เวียงสระ อาชวี ศกึ ษาจงั หวดั สุราษฎรธ์ านี สานกั งานคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา กระทรวงศึกษาธกิ าร

ช่อื เรอ่ื งวจิ ัย : แกป้ ัญหาการสอนด้วยระบบออนไลน์วชิ าพมิ พ์ดดี อังกฤษเบอ้ื งตน้ แผนกพณิชยการ สาหรับนักเรยี นทีไ่ มม่ ีเครือ่ งคอมพวิ เตอร์: ดว้ ยแปน้ พิมพจ์ าลอง ผ้วู จิ ัย ภาคเรยี นที่ 1 ปกี ารศกึ ษา 2564 หนว่ ยงาน : นางชตุ ิมา ไหมสวุ รรณ ปที ศ่ี ึกษา : วิทยาลยั การอาชพี เวียงสระ : ภาคเรยี นท่ี 1 ปีการศกึ ษา 2564 บทคัดย่อ งานวิจัยน้ีแก้ปญั หาการสอนด้วยระบบออนไลนว์ ชิ าพมิ พ์ดดี อังกฤษเบ้ืองตน้ แผนกพณชิ ยการ สาหรับนักเรียนท่ีไมม่ ีเคร่ืองคอมพวิ เตอร์: ด้วยแปน้ พิมพ์จาลอง มีวัตถุประสงค์เพอื่ 1. เพือ่ แก้ปัญหานักเรยี นทเ่ี รียนวิชาพมิ พ์ดดี องั กฤษเบ้ืองต้นโดยไม่มเี ครื่องคอมพวิ เตอร์สาหรบั ใชใ้ น การเรยี น 2. เพื่อศึกษาผลการนาแป้นพิมพ์จาลองไปใช้ฝึกการวางน้ิวบนแป้นเหย้าเป็นลาดับแรก การก้าวนิ้ว และการลืบน้ิวไปยงั แป้นตา่ ง ๆ ตามลาดบั ดัวยความชานาญ กลมุ่ ตวั อย่าง คือ นักเรียนแผนกพณชิ ยการ ระดับ ปวช. 1 เครอ่ื งมอื ท่ใี ช้ในการวิจัย ได้แก่ แป้นพิมพ์จาลอง วเิ คราะห์ข้อมูลโดยใชส้ ถติ ิพ้ืนฐาน การหาค่าร้อยละ คา่ เฉล่ีย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวจิ ัย พบวา่ จากตารางท่ี 2 พบว่าผลการประเมนิ ความพงึ พอใจการใชแ้ บบพิมพ์จาลอง(วชิ า พมิ พด์ ีดอังกฤษเบ้ืองต้น มคี า่ X =3.99 มคี ่า S.D =0.48 แบบพิมพจ์ าลองช่วยแก้ปัญหาการเรียนระบบ ออนไลน์ได้ มีค่า X = 4.45 มีคา่ S.D =0.50 รองลงมาแบบพิมพ์จาลองสามารถใชใ้ นการเรยี นได้ มีค่า X = 4.22 มีค่า S.D =0.33 รองลงมาแบบพิมพ์จาลองช่วยฝึกการนิ้วบนแป้นเหยา้ มีค่า X = 4.09 มี คา่ S.D =0.48 รองลงมาแบบพิมพจ์ าลองช่วยฝึกการพิมพ์ทักษะ มคี ่า X = 3.63 S.D =0.60 และ แบบ พิมพจ์ าลองชว่ ยฝกึ การกา้ วน้ิว มีค่า X = 3.56 S.D =0.52 ตามลาดับ

บทที่ 1 บทนา ความเป็นมาและความสาคัญของปัญหา การแพร่ระบาดของโรคตดิ เช้ือไวรสั โคโรนา 2019 (Coronavirus Disease 2019: COVID-19) ทา ให้ เกดิ การปรบั ตวั เปน็ วถิ ีชีวิตแบบใหม่ (New Normal) โดยเฉพาะวิทยาลยั การอาชีพเวยี งสระไม่สามารถจัดการ เรียนการสอนแบบปกติได้ จงึ จาเปน็ ตอ้ งใช้รปู แบบการเรียนการสอนแบบออนไลน์ เพ่ือให้การเรียนรู้เกิดความ ต่อเนอ่ื ง การเรยี นการสอนแบบออนไลนม์ ีองคป์ ระกอบ ได้แก่ ผู้สอน ผู้เรียน เนอื้ หา สอ่ื การเรยี นและแหลง่ เรยี นรกู้ ระบวนการจดั การเรยี นรู้ ระบบการติดต่อสอื่ สาร ระบบเครือข่ายเทคโนโลยสี ารสนเทศ การวัดและ การประเมินผล รูปแบบการเรียนการสอนมหี ลากหลายวิธี ทท่ี าให้ผู้สอนและผเู้ รียนมปี ฏิสัมพันธ์ร่วมกนั ได้ การ พจิ ารณาองคป์ ระกอบและรูปแบบทีส่ อดคลอ้ ง เหมาะสมกับลกั ษณะวิชา และบริบทของผเู้ รียนจะนาไปสู่ การ ประยุกต์ใชส้ าหรับการจัดการเรียนการสอนแบบออนไลน์อย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ สง่ ผลให้ผ้เู รยี นเกดิ ผล ลพั ธก์ าร เรยี นรตู้ ามวัตถปุ ระสงค์ การเรยี นการสอนแบบออนไลนเ์ ป็นวิธีการถ่ายทอดเนื้อหา รปู ภาพ วดิ ีโอ การใชส้ อื่ หลายๆประเภท (Multimedia) รว่ มกบั การสนทนาแลกเปลี่ยนความคดิ เหน็ ผ่านอปุ กรณ์อเิ ล็กทรอนิกส์ และเทคโนโลยี สมัยใหม่3 เพื่อใหผ้ เู้ รยี นไดเ้ ข้าถงึ แหล่งเรียนรู้ที่มีความหลายหลาย ทันสมยั สามารถเรยี นรู้ด้วยตนเองได้ตาม ความตอ้ งการ ซ่งึ การเรยี นการสอนแบบออนไลน์มคี วามจาเปน็ มากในปัจจบุ นั เน่ืองจากการเรยี นรู้ ในศตวรรษ ที่ 21 ผ้เู รยี นจาเป็นตอ้ งมที ักษะทางดา้ นการสอื่ สาร การใช้คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยสี ารสนเทศ ดังน้นั จึงไดน้ าระบบออนไลนม์ าใช้ในการการจดั การเรียนการสอนเพื่อให้การเรียนการสอนเปน็ ไป อย่างต่อเนอื่ งในช่วงการเกิดโรคระบาด ซ่งึ นักเรียนท่ีเข้าเรียนทว่ี ทิ ยาลยั การอาชพี เวยี งสระ คือ นักเรียนท่ี อาศัยอยูใ่ นเขตอาเภอเวยี งสระและอาเภอใกล้เคียง ผปู้ กครองมีอาชพี เกษตรกร และรับจ้างเป็นส่วนใหญ่ เม่อื วิทยาลยั การอาชีพเวียงสระนาระบบออนไลนม์ าใช้ในการจดั การเรียนการสอนทาให้เกิดปัญหากบั นกั เรียน ในรายวิชาปฏิบตั ิ คือ วชิ าพมิ พ์ดีดอังกฤษเบ้ืองตน้ ท ป น (1-4-2) ซึ่งวชิ าดงั กลา่ ววิทยาลัยการอาชีพเวยี งสระ ได้ทาการสอนโดยใชค้ อมพิวเตอรห์ รอื โปรแกรมสาเรจ็ รปู พิมพ์ดีดมาตลอด เมอื่ นาการสอนระบบออนไลน์มาใช้ ทาให้เกดิ ปัญหาสาหรับนกั เรียนทไ่ี ม่มคี อมเตอร์หรอื โน๊ตบุ๊ต ประมาณ 80% ของผูเ้ รียนทั้งหมด จะกาหนดให้ นักเรียนซื้อคอมพิวเตอร์หรือหามาใชใ้ นการเรยี นก็ไมไ่ ด้ เพราะตดิ ปัญหากับรายไดข้ องผู้ปกครองไม่เพยี งพอกบั คา่ ใชจ้ ่าย โดยในชว่ งการเกิดโรคระบาดนี้ผู้ปกครองบางคนต้องตกงาน หรอื ไม่มีใครจา้ ง ทาใหข้ าดรายได้ จงึ แกป้ ัญหาการจดั การเรียนการสอนดว้ ยระบบออนไลน์ โดยการทาแป้นพมิ พ์จาลองให้นกั เรียนได้นามา ประยกุ ตใ์ นในการเรียน วตั ถปุ ระสงค์ของการวจิ ัย 1. เพื่อแก้ปัญหาการเรยี นวิชาพิมพ์ดีดอังกฤษเบ้ืองต้นสาหรบั นักเรยี นทไ่ี ม่มคี อมพิวเตอร์ 2. เพอื่ แก้ปัญหาการจดั การเรยี นการสอนในชว่ งการเกิดโรคระบาด

3. เพื่อใหน้ กั เรียนได้ฝึกการก้าวนวิ้ การสืบนิว้ การพมิ พท์ ักษะเหมอื นแปน้ คีบอร์ด สมมตุ ิฐานการวจิ ัย นักเรยี นท่ใี ช้แปน้ พิมพจ์ าลอง สามารถวางนวิ้ บนแป้นเหยา้ ก้าวนิว้ สืบนิ้วไปยงั แป้นตา่ ง ๆ และ พิมพ์ทักษะสมั ผัสได้ถูกตอ้ ง รอ้ ย 70% ขอบเขตการวิจัย 1. ประชากรและกล่มุ ตวั อยา่ ง 1.1 นักเรียนแผนกพณิชยการที่เรียนวิชาพิมพ์ดีดอังกฤษเบ้ืองต้น ระดับ ปวช. 1 สาขา คอมพิวเตอร์ธรุ กจิ และสาขาวชิ าการตลาด ภาคเรยี นที่ 1 ปีการศกึ ษา 2564 จานวน 35 คน 2. ตวั แปรทศี่ ึกษา 2.1 ตัวแปรตน้ ได้แก่ .แป้นพมิ พจ์ าลอง 2.2 ตัวแปรตาม ไดแ้ ก่ แก้ปัญหาการสอนดว้ ยระบบออนไลน์ 3. เนือ้ หาที่ใช้ในการวิจัย การนาแป้นพิมพ์จาลองให้นกั เรียนใชท้ ดแทนแป้นพมิ พ์คอมพวิ เตอร์ในรายวชิ าพิมพ์ดดี อังกฤษ เบื้องต้น เพ่ือแก้ปัญหาการสอนด้วยระบบออนไลนส์ าหรับนกั เรียนที่ไม่มเี คร่ืองคอมพิวเตอร์ เพราะรายวชิ า ดังกล่าวเปน็ วชิ าปฏบิ ตั ิ จะแก้ปญั หาโดยให้นักเรียนเรียนเฉพาะทฤษฎอี ยา่ งเดียวไม่ได้ ดงั น้ันในการจัดการ เรียนการสอนระบบออนไลน์จึงไดท้ าแป้นจาลองขนึ้ มาเพื่อแกป้ ญั หาการวางน้ิว การสืบน้ิว กับนกั เรียนท่ไี มม่ ี คอมพวิ เตอร์ ประมาณ ๘๐% ของนกั เรียนทง้ั หมดท่เี รียนในรายวชิ าดงั กลา่ ว 4. ระยะเวลาที่ใช้ในการวิจัย ภาคเรยี นที่ 1 ปกี ารศึกษา 2564 นิยามคาศพั ทเ์ ฉพาะ 1. แก้ปัญหา หมายถึง ครูผู้สอนจะต้องดาเนินการแก้ปัญหาการเรียนของนักเรียนที่ไม่มีเคร่ือง คอมพิวเตอร์เพ่ือให้การจัดการเรียนการสอนระบบออนไลน์เป็นไปด้วยความเรียบร้อยและสามารถแก้ปัญหา การสอนปฏบิ ตั ิและมีผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี นได้ 2. การสอนด้วยระบบออนไลน์ หมายถงึ การจดั การเรียนการสอนโดยใหน้ กั เรยี นสามารถเข้า เรยี นได้โดยใช้นวัตรกรรมทางการศึกษารูปแบบใด ๆ ทส่ี ามารถนาเทคโนโลยมี าใช้ผสมผสานร่วมกัน เชน่ อนิ เทอรเ์ นต็ อุปกรณ์ส่ือสาร มาประยุกต์ใชใ้ นการเรียน เปน็ ตน้ เพอื่ สรา้ งห้องเรยี นเสมือนจริง โดยผู้เรยี น สามารถเข้าถึงแหลง่ การเรยี นรนู้ ไ้ี ด้อย่างทว่ั ถึง และสะดวกรวดเร็ว 3. วชิ าพิมพด์ ีดอังกฤษเบ้ืองต้น หมายถงึ การจัดการเรยี นการสอนเก่ียวกับอปุ กรณ์เครอื่ งใช้ สานกั งานทม่ี ปี ระสิทธภิ าพสูงกวา่ เครอ่ื งพิมพ์ดีดธรรมดาได้ถูกนาเข้ามาใชใ้ นหน่วยงานต่าง ๆ เช่นเครื่อง คอมพวิ เตอร์ แตก่ ารเรียนพมิ พด์ ดี แบบธรรมดาจะเปน็ พนื้ ฐานของการใช้เครื่องคอมพิวเตอรท์ มี่ ีความสาคัญ อย่างยง่ิ ต่อไปในอนาคต เพราะถ้านักเรยี นไม่มีพนื้ ฐานทางด้านพิมพด์ ีด ก็จะไมส่ ามารถพิมพ์งานด้วยเคร่ือง

คอมพิวเตอร์ได้ เพราะฉะนัน้ จะตอ้ งมคี วามรูเ้ กยี่ วกบั ความรู้พื้นฐานในการเรียนพิมพด์ ีด การเรียนร้อู ักษรแป้น เหย้า การเรยี นรู้แป้นอักษรตา่ งๆ และเคร่ืองหมายวรรคตอน วิธีคานวณคา การพิมพ์แป้นตัวเลข เครือ่ งหมาย วรรคตอน และสญั ลกั ษณ์พิเศษ การพิมพส์ ัมผัสเพ่อื พัฒนาทกั ษะความเร็วและความแมน่ ยา การพมิ พ์วางศูนย์ การพิมพบ์ ัญชร การพมิ พจ์ ดหมายอยา่ งง่าย (จดหมายส่วนตวั ) และจดหมายธรุ กิจต่างประเทศแบบทีน่ ิยม ซ่งึ จะทาให้นักเรยี นสามารถนาความรู้ทเ่ี รยี นไปประกอบอาชพี ได้อย่างมปี ระสทิ ธิภาพต่อไป 4. แปน้ พิมพจ์ าลอง หมายถงึ การทาแป้นจากกระดาษ A-๔ เหมอื นแป้นคบี อรด์ ให้เสมอื นจริง เพือ่ ให้การเรียนของนักเรยี นสามารถวางนิ้วบนแป้นจาลองได้ กา้ วนวิ้ ได้ สบื น้วิ ได้ ประโยชนท์ ไ่ี ดร้ บั จากการวจิ ัย 1. นกั เรยี นสามารถแก้ปญั หาการเรยี นวิชาพิมพด์ ีดอังกฤษเบอ้ื งต้น สาหรับคนที่ไม่มีคอมพิวเตอร์ได้ 2. นกั เรียนสามารถแก้ปญั หาการเรยี นในช่วงการเกิดโรคระบาดได้ 3. นักเรียนสามารถได้ฝึกการก้าวนิว้ การสบื นว้ิ การพมิ พ์ทักษะเหมือนแป้นคบี อรด์ กรอบแนวคิดการวิจยั ตวั แปรตาม ตัวแปรต้น การแกป้ ัญหาการเรียนการสอน แป้ นพิมพจ์ าลอง

บทท่ี 2 เอกสารและงานวจิ ัยท่เี กย่ี วข้อง การวจิ ัยครง้ั นี้ม่งุ ศกึ ษาแก้ปัญหาการสอนด้วยระบบออนไลนว์ ิชาพิมพ์ดีดอังกฤษเบื้องต้นแผนก พณิชยการ สาหรับนักเรียนท่ไี ม่มเี คร่ืองคอมพวิ เตอร์: ดว้ ยแป้นพิมพ์จาลอง ภาคเรยี นท่ี 1 ปีการศึกษา 2564 ดังนัน้ เพ่ือให้เกิดความรู้ความ เขา้ ใจในการศึกษาดังกล่าว ผวู้ ิจยั ไดเ้ สนอรายละเอียดและงานวิจยั ที่ เกย่ี วข้อง โดยครอบคลุมหัวข้อ ตา่ ง ๆ ดังน้ี ผู้วิจยั จึงศกึ ษาเอกสารและงานวจิ ยั ทเ่ี กย่ี วขอ้ งโดยเสนอ ตามลาดบั หวั ขอ้ 1. แนวคิดเก่ียวกับแกป้ ญั หาการสอน 2. แนวคดิ เกีย่ วกับการสอนระบบออนไลน์ 3. แนวคดิ เก่ียวกบั แป้นพิมพจ์ าลอง แนวคิดเกยี่ วกับแกป้ ญั หาการสอน การคดิ ในการแก้ปัญหา หมายถึงความสามารถทางสมองในการขจดั สภาวะ ความไม่สมดุลทเ่ี กิดข้ึน โดยพยายาม ปรบั ตัวเองและสิง่ แวดลอ้ มใหผ้ สมกลมกลืนกลับเข้าสู่ สภาวะสมดลุ หรอื สภาวะที่เราคาดหวงั (วลั ลภา อารรี ัตน์, 2561, หนา้ 36; Gagne, 2017, p. 178) ในชวี ติ ประจาวนั ของคนเรานัน้ มักจะพบปัญหา ตา่ ง ๆ มากมาย เช่น ปญั หาส่วนตัว ปญั หาเก่ยี วกบั การท างานปัญหาทางสังคม เปน็ ต้น ผ้คู ดิ แก้ปัญหาจะต้อง ศึกษาถึงสาเหตุที่มาของปัญหา ซง่ึ จะมี ลักษณะแตกตา่ งกัน และจะพยายามคดิ ค้นหาวิธีการทีเ่ หมาะสมทสี่ ุด เพ่อื จะแก้ไขการคิดหาวธิ ีการ อาจได้มาโดยการศกึ ษาหาความรู้จากแหล่งต่าง ๆ การขอคาปรกึ ษาจากผทู้ ีม่ ี ประสบการณ์เกยี่ วกบั เร่ืองน้ันมาก่อน แลว้ จงึ ตัดสนิ ใจเลือกวิธที ่ีดีทสี่ ดุ ในการตัดสินใจนั้น ไม่ว่าเร่ืองเล็กนอ้ ย หรอื เรื่องใหญ่ ทอี่ าจทาให้วิถีชวี ติ ตอ้ งเปลี่ยนไป บอ่ ยคร้งั เราอาจมีคาตอบ มากกวา่ หน่งึ ซงึ่ มักเกดิ จากการ เปลี่ยน รปู แบบในการคิดของตนเองการฝกึ ฝนวิธีคดิ แก้ปัญหานั้นจะเกดิ ข้นึ ตัง้ แต่ ช่วงแรกของชีวิต จงึ ทาให้ สามารถท่จี ะเหน็ ทางเลือกต่าง ๆ ไดแ้ ละจะทวคี วามยากมากขึ้นเมื่อเราเตบิ โตเป็นผู้ใหญ่ขึ้นไป รวมทัง้ ลกั ษณะ นิสัยส่วนบุคคลก็มีสว่ นสัมพันธก์ บั รปู แบบทางความคดิ ทจี่ ะทาใหเ้ ราพบ ทางเลือกใหม่และวธิ กี ารแกป้ ัญหาที่ ตา่ งออกไปจากเดิม สรุ างค์ โค้วตระกลู (2561, หน้า 21) กล่าวถึงการแกป้ ัญหาว่า เป็นกระบวนการทมี่ ี ความสัมพันธ์ เกีย่ วขอ้ งกับพัฒนาการทางดา้ นสตปิ ญั ญาและการเรยี นรู้ เพื่อใหเ้ ข้าใจการแก้ปญั หา ทเ่ี ก่ยี วขอ้ งกับสตปิ ัญญา ทฤษฎีการแกป้ ญั หาส่วนใหญ่ได้รับอิทธพิ ลจากผลงานเร่ืองนกั แก้ปญั หา ทั่วไป (General problem solver) ของ Ernest and Newell (2018) และ Newell andSimon (2017) ซ่ึงเปน็ ทฤษฎกี ารแก้ปัญหาของมนุษย์ (Human problem solving) ในรูปแบบของโปรแกรมท่ีเป็น สถานการณ์จาลอง ผลงานน้ีชว่ ยวางรากฐาน กระบวนทัศน์เกยี่ วกับการประมวลสารสนเทศสาหรบั ศึกษาเร่ือง การแกป้ ญั หา หลักการของทฤษฎีน้คี ือ พฤติกรรมการแกป้ ัญหาประกอบดว้ ย “วธิ กี ารปลายทาง-วิเคราะห์” ซง่ึ เปน็ การนาปัญหามาแตกออกเปน็ องคป์ ระกอบหรอื เปา้ หมายย่อย ๆ แล้วจงึ จดั การแกไ้ ขเปา้ หมายย่อย ๆ เหล่านั้นทลี ะเรื่องแนวคดิ นต้ี รงกันข้าม กบั Wertheimer (1959) นักจติ วิทยาในกลมุ่ ทฤษฎเี กสตอลต์ ซึง่ ทาการวจิ ยั เรือ่ งการแก้ปญั หาและให้ความสา

คญั ดา้ น ความเขา้ ใจเรื่องโครงสรา้ งของปัญหา โดยเช่อื ว่าพฤตกิ รรมการแก้ปญั หาทป่ี ระสบผลสาเรจ็ เป็น เพราะบุคคลผ้นู น้ั สามารถมองเหน็ โครงสรา้ งโดยรวมท้ังหมดของปัญหา หลักการของทฤษฎีน้ีคือ ผเู้ รยี นจะต้อง ไดร้ บั การสนับสนุนใหเ้ กิดการคน้ พบธรรมชาตขิ องปญั หาหรือประเดน็ หัวข้อ ทีต่ อ้ งการแก้ไขสิ่งทีเ่ ปน็ ช่องวา่ ง ความไมล่ งรอยกนั หรือสงิ่ รบกวนตา่ ง ๆ เปน็ สง่ิ เรา้ ทีส่ าคัญต่อ การเรยี นรู้ การเรยี นการสอนจะต้องอยบู่ น พ้นื ฐานของกฎองค์กร ประกอบดว้ ย ความใกล้เคียง การปกปิด ความคล้ายคลึง และความเรยี บง่าย DeBono (2016) เสนอแนวคิดในการแก้ปัญหาโดยประยุกตใ์ ช้วิธีการคดิ แบบ นอกกรอบ โดยเช่อื ว่า ปัญหาส่วนใหญ่ต้องการมุมมองท่แี ตกต่างจึงจะแกไ้ ขได้สาเร็จ วธิ ีการที่ จะทาใหไ้ ดม้ ุมมองที่แตกตา่ งเก่ยี วกับ ปัญหาคือ การแยกปัญหาเป็นสว่ น ๆ แลว้ น ากลับมารวมกลุ่ม เข้าดว้ ยกนั ในลกั ษณะทแ่ี ตกต่างไปจากเดิมหรือ สมุ่ บางสว่ นมารวมกัน หลกั การน้ีเสนอองคป์ ระกอบ ในการแกป้ ญั หา 4 ประการคือ 1) ค้นหาความคิดเดน่ ๆ ท่ีเป็นหลักในทาความเข้าใจกับปัญหา 2) คน้ หาวธิ กี ารที่แตกต่างออกไปในการมองปัญหา 3) ปล่อยวางการคิด แบบยดึ ติด และ 4) ใหโ้ อกาสตนเองในการเปิดรบั ความคิดอื่น ๆ สรปุ การคิดในการแก้ปัญหา เป็นกระบวนการท่มี คี วามสมั พันธเ์ กี่ยวข้องกบั พฒั นา การทางดา้ น สตปิ ญั ญาและการเรียนรโู้ ดยประยกุ ต์ใชแ้ นวคิดทั้งในและนอกกรอบทฤษฎี การแก้ปัญหา แนวคิดเกี่ยวกบั การสอนระบบออนไลน์ Morrison & Khan (2017) ในการเรียนรอู้ อนไลน์ ผ้เู รียนเปน็ กญุ แจและองค์ประกอบท่ีสาคญั ของ ศูนยก์ ลางในการจัดการศึกษา ดังที่วา่ ความสาเรจ็ ในระบบการเรียนการสอนด้วยอเี ลริ ์นนง่ิ เกย่ี วข้องโดยตรง กับวถิ ีของระบบ ท้ังในดา้ นการ วางแผนการออกแบบการประเมินผลและการจัดสภาพแวดลอ้ มการเรยี นรู้แบบ ออนไลน์ ซึง่ ท้งั หมดถือเปน็ การ สนับสนนุ กจิ กรรมดา้ นการเรยี นการสอน ระบบการเรียนการสอนด้วยอีเลริ ์ นนิ่งไม่เพยี งแต่จะมีความหมาย สาหรับผูเ้ รยี นเท่านนั้ แต่มีความหมายกับกลุ่มผมู้ สี ว่ นได้ส่วนเสียทงั้ หมดใน ระบบการศึกษา เชน่ ผู้สอน บุคลากรฝา่ ยสนับสนุนและสถาบันการศึกษา ยกตัวอย่างเช่น ระบบการเรียนการ สอนด้วยอีเลิรน์ นง่ิ มีแนวโนม้ ท่ีจะมีความหมายต่อผเู้ รียนก็ตอ่ เมื่อสามารถเขา้ ถึงได้งา่ ยมีการจัดการและการ นาเสนอท่ีดี ยดึ ผูเ้ รยี นเป็น ศูนยก์ ลาง มปี ระสิทธิภาพ มีความยืดหยนุ่ และมีการสภาพแวดล้อมการเรียนรูท้ ่ีดีท่ี สามารถอานวยความ สะดวกแก่ผูเ้ รยี นได้ เมื่อผู้เรยี นมสี ่วนร่วมในกิจกรรมการเรยี นรแู้ ละบรรลหุ รือประสบ ความสาเร็จในการเรยี น ตามวัตถุประสงค์การเรียนรู้และเป้าหมายของการเรยี นในรายวิชา มีความสุขจากการ เรียนกจ็ ะสง่ ผลตอ่ ระดับ ความพงึ พอใจและชว่ ยลดจานวนผ้เู รียนท่ลี าออกกลางคนั ซ่งึ ท้ังหมดจะสง่ ผลโดยตรง ต่อสถาบันการศึกษาใน แง่งบประมาณและการลงทนุ ในการเรียนรอู้ อนไลน์ ทฤษฎีการเรียนรทู้ เี่ กี่ยวข้อง ท่ี ผู้เขยี นไดน้ าเสนอคือ ทฤษฎกี ารเรยี นร้ขู องกาเย่ ท้ังน้ีเพราะ นักการศึกษาสว่ นใหญจ่ ึงยดึ ตามการจดั การเรียน การสอนตามกระบวนการ 9 ขนั้ ตอนของกาเย่ (Robert Gagne) ในการออกแบบและพัฒนาบทเรยี นบนเวบ็ ดงั มีรายละเอยี ดดังต่อไปนี้ ขั้นตอนที่ 1 กระต้นุ หรือเร้าให้ผูเ้ รยี นเกดิ ความสนใจกบั บทเรยี นและเนื้อหาท่จี ะ เรยี น (Motivate the Learner) การเร้าความสนใจผู้เรียนน้ีอาจทาได้โดย การจดั สภาพแวดลอ้ มให้ดงึ ดูดความ สนใจ เช่นการใช้ ภาพกราฟิก ภาพเคลอื่ นไหว และ/หรอื การใช้เสยี งประกอบบทเรียนในส่วนบทนา ข้ันตอนที่ 2 บอกให้ผเู้ รียนทราบถึงจดุ ประสงคข์ องบทเรียน (Inform Learners of Learning Objectives) การบอกให้

ผ้เู รยี นทราบถงึ จดุ ประสงค์ของบทเรียนนม้ี คี วามสาคัญเปน็ อยา่ งยง่ิ โดยเฉพาะการ เรียนการสอนบนเว็บที่ ผเู้ รียนสามารถควบคมุ การเรียนของตนเองได้ โดยการเลือกศกึ ษาเน้ือหาทต่ี ้องการ ศึกษาได้เอง ดงั น้นั การที่ ผู้เรยี นไดท้ ราบถึงจดุ ประสงค์ของบทเรยี นลว่ งหน้าทาใหผ้ เู้ รยี น สามารถมุ่งความสนใจ ไปท่เี น้ือหาบทเรยี นที่ เกย่ี วข้อง อกี ท้ังยังสามารถเลือกศึกษาเน้ือหาเฉพาะท่ตี นยังขาดความเข้าใจทจ่ี ะช่วยทา ให้ผเู้ รียนมีความรู้ ความสามารถตรงตามจุดประสงคข์ องบทเรยี นท่ีได้กาหนดไว้ ขนั้ ตอนที่ 3 ทบทวนความรู้เดิมทเี่ กีย่ วข้องกบั เน้อื หาบทเรียน (Recall Previous Knowledge) การ ทบทวนความรู้เดมิ ชว่ ยกระตนุ้ ให้ผู้เรยี นสามารถเรยี นรู้ เนอ้ื หาใหม่ได้รวด เรว็ ยิ่งขน้ึ รูปแบบการทบทวนความรู้ เดิมในบทเรียนบนเวบ็ ทาไดห้ ลายวธิ เี ชน่ กิจกรรมการ ถาม-ตอบคาถาม หรอื การแบ่งกล่มุ ให้ผูเ้ รียนอภิปราย หรือสรุปเนอื้ หาทไี่ ด้เคยเรียนมาแล้ว เปน็ ต้น ขั้นตอนท่ี 4 นาเสนอบทเรยี น (Present the Material to be Learned)การนาเสนอบทเรยี นบนเวบ็ สามารถทาได้ หลายรปู แบบดว้ ยกันคือ การนาเสนอด้วยขอ้ ความ รูปภาพ เสยี ง หรือแมก้ ระทง่ั วีดทิ ัศน์ อยา่ งไร ก็ตามสง่ิ สาคัญทผี่ ูส้ อนควรใหค้ วามสาคัญก็คือผู้เรียน ผสู้ อนควรพจิ ารณาลักษณะของผู้เรยี นเป็นสาคัญเพ่ือให้ การ นาเสนอบทเรียนเหมาะสมกับผ้เู รยี นมากท่ีสุด ขั้นตอนที่ 5 ช้แี นวทางการเรียนรู้ (Provide Guidance for Learning)การช้แี นวทางการเรยี นรู้ หมายถงึ การชีแ้ นะใหผ้ ้เู รียนสามารถนาความรู้ท่ีได้ เรียนใหม่ผสมผสานกบั ความร้เู ก่าที่เคยได้เรียนไปแลว้ เพ่ือให้ผเู้ รยี นเกิดการเรียนรู้ท่รี วดเร็วและมคี วามแม่นยามากยงิ่ ขนึ้ ข้ันตอนท่ี 6 ให้ผเู้ รียนมสี ่วนร่วมในการเรยี น (Active Involvement)นักการศกึ ษาต่างทราบดวี า่ การ เรียนรเู้ กิดข้ึนจากการ ท่ีผเู้ รียนได้มโี อกาสมี ส่วนร่วมในกระบวนการเรียนการสอนโดยตรง ดังนน้ั ในการจัดการ เรยี นการสอนบนเวบ็ จึงควรเปิดโอกาสให้ผู้เรยี นมีส่วนรว่ มในกิจกรรมการเรยี นซึ่งอาจทาได้โดยการ จัด กิจกรรมการสนทนา ออนไลนร์ ูปแบบ Synchronous หรือการแลกเปลย่ี นความคดิ เห็นผ่านเว็บบอร์ดใน รูปแบบ Asynchronous เป็นตน้ ขนั้ ตอนท่ี 7 ใหผ้ ลยอ้ นกลับ (Provide Feedback) ลักษณะเดน่ ประการหนง่ึ ของการเรียนการสอน บนเวบ็ ก็คอื การที่ผูส้ อนสามารถติดตอ่ สื่อสารกบั ผูเ้ รียนไดโ้ ดยตรงอยา่ งใกล้ชดิ เนื่องจากบทบาทของผสู้ อนนัน้ เปลี่ยนจากการเป็นผ้ถู ่ายทอดความรู้แต่เพยี งผ้เู ดียว มาเป็นผใู้ ห้คาแนะนาและช่วยกากับการเรียนของผู้เรยี น รายบุคคล และดว้ ยความสามารถของอินเทอรเ์ นต็ ทที่ าใหผ้ ้เู รยี นและผู้สอนสามารถติดต่อกัน ไดต้ ลอดเวลา ทา ให้ผ้สู อนสามารถติดตามก้าวหนา้ และสามารถให้ผลยอ้ นกลับแกผ่ ูเ้ รียนแตล่ ะคน ได้ดว้ ยความสะดวก ขัน้ ตอนท่ี 8 ทดสอบความรู้ (Testing) การทดสอบความรู้ความสามารถผ้เู รยี นเปน็ ขนั้ ตอนทสี่ าคัญอีก ข้นั ตอนหน่ึง เพราะทาใหท้ ้ังผู้เรยี นและผ้สู อนได้ทราบถึงระดบั ความรคู้ วามเข้าใจที่ผู้ เรียนมีต่อเน้ือหาใน บทเรยี นน้ันๆ การ ทดสอบความรู้ในบทเรียนบนเว็บสามารถทาไดห้ ลายรปู แบบ ไมว่ า่ จะเปน็ ขอ้ สอบแบบปรนยั หรืออตั นยั การ จดั ทากิจกรรมการอภปิ รายกล่มุ ใหญ่หรือกลุ่มย่อยเปน็ ต้น ซงึ่ การทดสอบนี้ ผูเ้ รียนสามารถทา การทดสอบบน เวบ็ ผ่านระบบเครือขา่ ยได้ ขน้ั ตอนที่ 9 การจาและการนาไปใช้ (Providing Enrichment or Remediation) สามารถทาไดโ้ ดย การกาหนดตัวเชื่อม (Links)ท่ีอนุญาตใหผ้ ู้เรียนเลือกเขา้ ไปศึกษาเน้ือหาเพม่ิ เติมในสงิ่ ท่ีน่า จะเปน็ ประโยชนใ์ น การนาองค์ความรู้ที่ไดร้ ับมาไปใช้

บทที่ 3 วิธดี าเนินการวิจยั การวิจัยครัง้ น้มี งุ่ ศกึ ษาแก้ปัญหาการสอนดว้ ยระบบออนไลน์วชิ าพิมพ์ดีดอังกฤษเบื้องตน้ แผนกพณชิ ย การ สาหรบั นกั เรยี นท่ีไม่มีเคร่ืองคอมพิวเตอร์: ด้วยแป้นพมิ พ์จาลอง ภาคเรยี นท่ี 1 ปีการศึกษา 2564 ดงั น้นั เพื่อใหเ้ กิดความรคู้ วาม เขา้ ใจในการศึกษาดังกล่าว ผู้วิจยั ได้เสนอรายละเอยี ดและงานวจิ ยั ทีเ่ กี่ยวข้อง โดยครอบคลมุ หัวข้อ ต่าง ๆ ดังนี้ ผู้วจิ ยั ได้ดาเนินการตามขัน้ ตอน ดงั น้ี 1. ประชากรและกลุ่มตวั อย่าง 2. เครอ่ื งมือท่ีใช้ในการวจิ ัย 3. รปู แบบการวจิ ัย 4. การเก็บรวบรวมขอ้ มูล 5. การวิเคราะห์ข้อมูล 6. สถิติท่ีใชใ้ นการวเิ คราะหข์ ้อมลู ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง 1. ประชากรทใ่ี ช้ในการวจิ ัยครงั้ น้ีเป็น นักเรยี นแผนกพณิชยการทเี่ รียนวิชาพมิ พ์ดีดอังกฤษเบื้องตน้ 2. กลุม่ ตวั อย่าง .นักเรียนแผนกพณิชยการที่เรียนวิชาพมิ พ์ดดี อังกฤษเบ้ืองต้น ระดับ ปวช. 1 สาขา คอมพวิ เตอรธ์ รุ กจิ และสาขาวชิ าการตลาด ภาคเรยี นท่ี 1 ปีการศึกษา 2564 จานวน 35 คน ได้มาโดยวิธีการ เจาะจง เคร่อื งมือทใี่ ช้ในการวิจัย 1. แบบพมิ พจ์ าลอง 2. แบบประเมินผลการใช้แป้นพมิ พ์จาลอง ขั้นตอนการสรา้ งเครือ่ งมือ 1. ศึกษาเน้ือหาแลว้ จดั ทาแบบพิมพจ์ าลองเพราะนกั เรยี นจานวน 80% ท่เี รยี นในรายวิชาพมิ พ์ดีด อังกฤษเบ้ืองต้นทางบ้านไมม่ ีคอมพิวเตอรห์ รอื โน๊ตบุ๊คและไม่สามารถยมื จากเพื่อนบ้านหรือเพื่อน ๆ ได้ เพราะ ทกุ คนมีรายวชิ าเรียนท่ีมีความจาเปน็ ตอ้ งใชค้ อมพิวเตอรห์ รอื โนค๊ บคุ๊ เช่นเดยี วกนั 2. ให้นกั เรยี นนาแบบพมิ พ์จาลองไปใช้ในการวางนิว้ บนแป้นเหยา้ แลว้ ใหน้ กั เรียนวางนิว้ ก้าวนิว้ สบื น้ิว โดยครูผ้สู อนใช้การเรียนการสอนระบบออนไลน์ โดย Google Meet ทาใหค้ รผู สู้ อนสามารถบอก นกั เรยี นได้ว่าจะต้องวางนิ้วบนแป้นเหยา้ A S D F J K L : และฝึกการกา้ วน้วิ ท่ลี ะน้ิว เชน่ กา้ วนิ้วก้อย มือซา้ ยไปท่ีตวั Q แลว้ รบี ดงึ นิว้ ก้อยซา้ ยกลบั มาที่แปน้ เหย้าตัวเดมิ ก้าวนวิ้ นางมอื ซ้ายไปทตี่ ัว W แลว้ รบี ดงึ

นิว้ นางกลบั มาวางบนแปน้ เหยา้ ตัวเดิม ทาให้ครูผ้สู อนสามารถมองเหน็ กิริยาการก้าวน้ิว การสบื น้วิ ของ นักเรียนแต่ละคน 3. ดาเนินการสอนกลุ่มตัวอย่างด้วยแบบพิมพจ์ าลองสรา้ งข้ึนสปั ดาห์ท่ี 3 ปรากฏว่านักเรียนท่ีไม่มี คอมพวิ เตอรส์ ามารถวางนว้ิ บนแปน้ เหย้า กา้ วนิ้ว สืบนว้ิ ได้ หลังจากนนั้ ใหน้ ักเรยี นกลุ่มดังกล่าวเรยี นด้วย แปน้ พมิ พจ์ าลองได้ 4. ใหน้ กั เรยี นนาแบบพิมพจ์ าลองไปใช้ในการเรียน แลว้ ประเมินผลตามสภาพจริงทกุ สปั ดาหเ์ พ่อื ให้ เกดิ แรงกระตนุ้ ในการฝกึ พิมพ์บนแปน้ พมิ พ์จาลอง การเกบ็ รวบรวมข้อมูล ทาการเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู ทง้ั เชิงคุณภาพและเชงิ ปรมิ าณ ดังนี้ 1. การเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู เชิงคณุ ภาพ เคร่ืองมือที่ใช้ ได้แก่ แบบประเมินผลการใช้แบบพิมพ์จาลอง 2. การเกบ็ ข้อมูลเชงิ ปริมาณ เคร่ืองมือที่ใช้ ไดแ้ ก่ จากนักเรยี นทีใ่ ชแ้ บบพิมพ์ จานวน 59 คน การวเิ คราะหข์ ้อมลู วเิ คราะห์ข้อมูลจากการใบบนั ทึกจานวนคะแนนทเ่ี ก็บแตล่ ะคร้ัง แล้วนามาหาคา่ เฉลยี่ ของแต่ละครั้ง เพ่ือใหเ้ ห็นคา่ เฉลี่ยโดยรวมของกลมุ่ ตัวอยา่ งในการพฒั นาทักษะในการพิมพ์ดีดภาษาอังกฤษเบ้ืองตน้ ของ นกั ศึกษาระดับประกาศนยี บัตรวชิ าชพี (ปวช.) ปที ่ี 1 แผนกพณชิ ยการ ประจาภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2564 วิทยาลัยการอาชพี เวยี งสระ วิเคราะหข์ ้อมูลโดยวิธีหาคา่ เฉล่ยี X และส่วนเบยี่ งเบนมาตรฐาน ดงั นี้ มาตราส่วนประมาณคา่ (Rating Scale) มี 5 ระดบั คอื ระดบั 5 หมายถึง มีความพึงพอใจอยใู่ นระดับ มากท่ีสุด ระดับ 4 หมายถึง มคี วามพงึ พอใจ อยู่ในระดบั มาก ระดบั 3 หมายถึง มีความพงึ พอใจ อยใู่ นระดบั ปานกลาง ระดับ 2 หมายถึง มคี วามพงึ พอใจ อยู่ในระดับ น้อย ระดบั 1 หมายถึง มีความพงึ พอใจ อยใู่ นระดับ น้อยทีส่ ดุ นาคะแนนที่ได้มาหาค่าเฉลีย่ แลว้ แปลความหมาย สถติ ิทีใ่ ชใ้ นการวเิ คราะห์ข้อมูล มีดังนี้ 1. สถติ พิ น้ื ฐานในการวิเคราะหข์ ้อมลู ได้แก่ หาค่าเฉลีย่ (Mean) ใช้สูตรดงั นี้ (บญุ ชม ศรีสะอาด, 2545) X X= N เมือ่ X แทน คะแนนเฉลี่ย X แทน ผลรวมของคะแนนทัง้ หมดในกลมุ่

N แทน จานวนคะแนนในกลุม่ 2) ส่วนเบย่ี งเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) ใชส้ ูตรดงั น้ี (บุญชม ศรสี ะอาด, 2545) S.D. = NX2  ( X)2 N(N 1) เมือ่ S.D. แทน ค่าความเบี่ยงเบนมาตรฐาน X แทน คะแนนแต่ละตัว N แทน จานวนคะแนนแต่ละกลุ่ม  แทน ผลรวม

บทที่ 4 ผลการวิเคราะห์ข้อมูล การวจิ ยั ครัง้ น้มี ุง่ ศกึ ษาแก้ปัญหาการสอนด้วยระบบออนไลนว์ ิชาพิมพด์ ีดองั กฤษเบอ้ื งตน้ แผนกพณิชย การ สาหรบั นักเรยี นที่ไมม่ เี ครื่องคอมพวิ เตอร์: ด้วยแปน้ พมิ พ์จาลอง ภาคเรยี นท่ี 1 ปกี ารศกึ ษา 2564 ดงั นัน้ เพื่อใหเ้ กดิ ความรูค้ วาม เขา้ ใจในการศึกษาดงั กล่าว ผวู้ จิ ัยได้เสนอผลการวเิ คราะหข์ ้อมลู ตามลาดบั ดงั นี้ 1. สญั ลักษณท์ ี่ใชใ้ นการเสนอผลการวเิ คราะหข์ ้อมลู 2. ผลการวเิ คราะห์ขอ้ มลู 4.1 สญั ลกั ษณ์ท่ใี ชใ้ นการเสนอผลวเิ คราะห์ข้อมูล เพื่อให้เขา้ ใจตรงกนั ในการแปลความหมายของข้อมลู ผศู้ กึ ษาจงึ กาหนดสัญลักษณ์ ที่ใช้ในการเสนอผลการวเิ คราะห์ข้อมลู ดังน้ี N แทน จานวนนักเรยี นในกลุ่มทดลอง X แทน คา่ เฉล่ยี (Mean) S.D. แทน สว่ นเบยี่ งเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) 2. ผลการวิเคราะห์ขอ้ มูล ในการนาผลการวิเคราะห์ขอ้ มูลของการวจิ ยั คร้งั นผี้ ู้วิจยั ได้นาเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูลในรูปตาราง และคาอธบิ าย โดยไดแ้ สดงออกมาเป็น 3 ตอน ดังนี้ ตอนที่ 1 เป็นแบบสอบถาม แบบมีคาตอบใหเ้ ลือกเกี่ยวกบั แผนกวชิ า ตอนท่ี 2 เป็นแบบสอบถามแบบมาตราส่วนประเมินค่า สอบถามเก่ียวกับความพึงพอใจของผู้ใช้แบบ พมิ พ์จาลองในรายวชิ าพิมพ์ดีดอังกฤษเบ้ืองต้น นักเรียนระดับ ปวช. ๑ แผนกพณิชยการ วิทยาลัยการอาชีพ เวยี งสระ ตอนท่ี 3 เป็นคาถามปลายเปิด สอบถามเกี่ยวกบั ข้อเสนอแนะ

ตารางที่ 4.1 จานวนร้อยละของผตู้ อบแบบสอบถามตามขอ้ มูลท่วั ไป แผนกวิชา จานวน(คน) รอ้ ยละ คอมพิวเตอร์กลุ่ม 1 32 54.2 คอมพิวเตอร์กล่มุ 2 15 25.4 การตลาด 12 20.3 ตารางที่ 1 พบวา่ ข้อมูลแผนกวชิ าทผ่ี ู้ตอบแบบประเมนิ เปน็ แผนกคอมพวิ เตอรก์ ลุ่ม 1 จานวน 32 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 54.2 แผนกคอมพวิ เตอรก์ ลุ่ม 2 จานวน 15 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 25.4 และ แผนกการตลาด จานวน 12 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 20.3 ตารางท่ี 2 ผลการวิเคราะห์ความพงึ พอใจของนกั เรยี นระดับ ปวช. ๑ แผนกวิชาพณิชยการ วทิ ยาลยั การ อาชีพเวียงสระ ที่ใช้แป้นจาลองในการวางน้วิ ก้าวนิว้ และสบื นิว้ ไปยังแป้นตา่ ง ๆ ด้วยวิธีการพิมพส์ ัมผัส ระดบั รายการประเมิน X S.D ความ พงึ พอใจ แบบพิมพจ์ าลองสามารถใช้ในการเรียนได้ 4.22 0.33 แบบพมิ พจ์ าลองชว่ ยฝกึ การนิ้วบนแป้นเหยา้ 4.09 0.48 แบบพมิ พ์จาลองช่วยฝึกการก้าวนว้ิ 3.56 0.52 แบบพิมพ์จาลองชว่ ยฝึกการพิมพท์ ักษะ 3.63 0.60 แบบพิมพจ์ าลองช่วยแก้ปญั หาการเรยี นระบบออนไลน์ได้ 4.45 0.50 3.99 0.48

จากตารางท่ี 2 พบวา่ ผลการประเมินความพงึ พอใจการใช้แบบพมิ พจ์ าลอง(วชิ าพมิ พ์ดดี องั กฤษ เบอื้ งตน้ มีค่า X =3.99 มีค่า S.D =0.48 แบบพมิ พ์จาลองชว่ ยแกป้ ัญหาการเรยี นระบบออนไลน์ได้ มีค่า X = 4.45 มีคา่ S.D =0.50 รองลงมาแบบพิมพ์จาลองสามารถใช้ในการเรยี นได้ มคี า่ X = 4.22 มีคา่ S.D =0.33 รองลงมาแบบพิมพจ์ าลองช่วยฝึกการน้วิ บนแปน้ เหย้า มีคา่ X = 4.09 มีคา่ S.D =0.48 รองลงมาแบบพิมพ์จาลองชว่ ยฝึกการพิมพ์ทักษะ มีค่า X = 3.63 S.D =0.60 และ แบบพิมพ์จาลองช่วย ฝกึ การก้าวนว้ิ มคี า่ X = 3.56 S.D =0.52 ตามลาดบั

บทที่ 5 สรุปผล อภิปรายผลและขอ้ เสนอแนะ สรุปผลการวิจัย การวิจัยครัง้ น้ีมงุ่ ศกึ ษาแก้ปัญหาการสอนดว้ ยระบบออนไลนว์ ชิ าพิมพด์ ดี อังกฤษเบื้องต้นแผนกพณิชย การ สาหรับนกั เรยี นที่ไมม่ เี คร่ืองคอมพิวเตอร์: ด้วยแป้นพิมพ์จาลอง ภาคเรียนที่ 1 ปกี ารศึกษา 2564 ดังนน้ั เพ่ือใหเ้ กิดความรคู้ วาม เข้าใจในการศึกษาดงั กลา่ ว ผู้วจิ ัยได้เสนอผลการวเิ คราะหข์ ้อมลู ตามลาดับ ดังนี้ วัตถุประสงค์ในการวจิ ัย 1. เพื่อแก้ปัญหานักเรียนท่ีเรียนวิชาพิมพ์ดีดอังกฤษเบ้ืองต้นโดยไม่มีเครื่องคอมพิวเตอร์สาหรับใช้ใน การเรยี น 2. เพื่อศึกษาผลการนาแป้นพิมพ์จาลองไปใช้ฝึกการวางนิ้วบนแป้นเหย้าเป็นลาดับแรก การก้าวนิ้ว และการลบื น้ิวไปยังแปน้ ต่าง ๆ ตามลาดบั ดวั ยความชานาญ ความสาคญั ของการวจิ ัย 1. มแี ปน้ จาลองสาหรบั ใช้ในการเรยี นพมิ พ์สาหรับนกั เรียนท่ไี มม่ ีคอมพิวเตอร์ใชใ้ นการเรยี น 2. เป็นแนวทางในการพัฒนาส่ือการเรียนการสอนในการเรียนพิมพ์ดีดสาหรับนักเรียนท่ีไม่มี คอมพวิ เตอร์ใชใ้ นการเรยี น 3. เจตคติของนกั เรียนต่อการเรยี นพมิ พด์ ดี อังกฤษ ข้อเสนอแนะ ผเู้ รียนควรฝึกการวางนิ้วบนแป้ นจาลองใหแ้ ม่นยาเพือ่ ให้เกิดความชานาญ เอกสารอ้างองิ ......................................................................................................................................... ..................................... ............................................................................................................................................................................. ..............................................................................................................................................................................



ภาคผนวก (ตารางคะแนน / รูปภาพ / อ่นื ๆ)


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook