การใช้โปรแกรมสถติ ิ วิเคราะห์ข้อมูลเบอื งต้น
การวเิ คราะห์ข้อมูลทางสถติ ิ การวิเคราะห์ข้อมลู ทางสถิติ เป็ นการประมวลผลข้อมลู ทีมีปริมาณมาก ดงั นนั การนําคอมพวิ เตอร์มาชว่ ยในการวเิ คราะห์ข้อมลู จะชว่ ยประหยดั เวลาและค่าใช้จ่าย มีความสะดวกมากกว่าทีจะคํานวณด้วยเครืองคิดเลขทัว ๆ ไป และในการใช้ คอมพิวเตอร์ส่วนใหญ่นิยมทีจะใช้โปรแกรมสําเร็จรูป มากกว่าทีจะเขียนโปรแกรม ขนึ มาเอง ปัจจบุ นั มีโปรแกรมสําเร็จรูปทีทํางานด้านอืน ๆ สามารถนํามาวิเคราะห์ข้อมลู ทางสถิติได้ เชน่ โปรแกรม Excel ซงึ เป็ นโปรแกรมประเภทกระดาษทด (Spread Sheet) แต่เนืองจากโปรแกรมประเภทนีถกู สร้างขนึ มาสําหรับงานบางอย่างทีไม่ใช่ สถิติโดยตรง ดังนันการวิเคราะห์ข้อมูลด้วยวิธีการทางสถิติบางอย่าง โปรแกรม ประเภทนีอาจทําไมไ่ ด้ หรือทําได้แต่อาจจะให้รายละเอียดน้อยกวา่ ดงั นนั ผ้วู จิ ยั สว่ น ใหญ่จึงนิยมใช้โปรแกรมสําเร็จรูปทางสถิติมากกว่า แต่อย่างไรก็ตาม โปรแกรม Excel จะมีความสามารถในด้านการนําเสนอข้อมลู ด้วยกราฟหรือแผนภมู ิ
ประเภทของสถติ ิ สถิตแิ บ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ 1. สถิติพรรณนา (Descriptive Statistics) เป็ นสถิตทิ ีใช้อธิบายคณุ ลกั ษณะของสงิ ที ต้องการศึกษากลุ่มใดกลุ่มหนึง ไม่สามารถอ้างอิงไปยงั กล่มุ อืน ๆ ได้ สถิติทีอยู่ในประเภทนี เช่น ค่าเฉลีย คา่ มธั ยฐาน ค่าฐานนิยม สว่ นเบยี งเบนมาตรฐาน ค่าพิสยั ฯลฯ 2. สถิติอ้างอิง (Inferential Statistics) เป็ นสถิติทีใช้อธิบายคณุ ลักษณะของสิงที ต้องการศกึ ษากล่มุ ใดกล่มุ หนึง หรือหลายกล่มุ แล้วสามารถอ้างอิงไปยงั กลุ่มประชากรได้ โดยกลุ่มทีนํามา ศกึ ษาจะต้องเป็นตวั แทนทีดีของประชากร ตวั แทนทีดขี องประชากรได้มาโดยวิธีการส่มุ ตวั อย่าง และตวั แทนที ดขี องประชากรเรียกวา่ กล่มุ ตวั อยา่ ง สถิติอ้างองิ สามารถแบง่ ออกได้เป็น 2 ประเภท คอื
2.1 สถิตแิ บบใช้พารามิเตอร์ (Parametric Statistics) เป็นวธิ ีการทางสถิติที จะต้องเป็นไปตามข้อตกลงเบืองต้น 3 ประการ ดงั นี - ข้อมลู ทีเกบ็ รวบรวมได้ต้องเป็นข้อมลู ทอี ย่ใู นระดบั ช่วง (Interval Scale) - ข้อมลู ทีเกบ็ รวบรวมได้จากกลมุ่ ตวั อยา่ งจะต้องมีการแจกแจงแบบปกติ (Interval Scale) - กล่มุ ประชากรแตล่ ะกลมุ่ ทีนาํ มาศกึ ษาจะต้องมีความแปรปรวนเทา่ กนั สถิติมพี ารามิเตอร์ เช่น t-test, ANOVA, Regression Analysis เป็ นต้น 2.2 สถิติแบบไม่ใช้พารามิเตอร์ คอื สถิติทไี ม่อย่ใู นข้อตกลงเบืองต้นทงั 3 ประการ สถติ ิ ประเภทนี ได้แก่ Chi-Square การวเิ คราะห์ความสมั พนั ธ์
ระดบั ของการวดั การวดั เป็นการกําหนดตวั เลขให้กบั สิงทีต้องการศกึ ษา แบง่ ออกเป็น 4 ระดบั คอื 1. ระดบั นามบญั ญตั ิ (Nominal Scale) เป็นระดบั ทีใช้จําแนกความแตกต่างของสิงที ต้องการวดั ออกเป็นกลมุ่ เช่น เพศ การศกึ ษา อาชพี ภมู ิลําเนา โดยในแตล่ ะกลมุ่ จะแทนด้วยตวั เลข เชน่ เพศชาย แทนด้วยเลข 1 เพศหญิง แทนด้วยเลข 2 2. ระดบั อนั ดบั ทีหรือเรียงลําดบั (Ordinal Scales) เป็นระดบั ทีใช้สําหรับจดั อนั ดบั ที หรือตาํ แหน่งของสงิ ทตี ้องการวดั เช่น ระดบั ความพงึ พอใจ พงึ พอใจมากทสี ดุ = 5 พงึ พอใจมาก = 4 พึงพอใจปานกลาง = 3 พงึ พอใจน้อย = 2 พึงพอใจน้อยทสี ดุ = 1
3. ระดบั ช่วง (Interval Scale) เป็ นระดบั ทีสามารถกําหนดค่าตวั เลขโดยมชี ่วงห่างระหว่าง ตวั เลขเทา่ ๆ กนั แต่ไมม่ ี 0 (ศนู ย์) แท้ มีแต่ 0 (ศนู ย์) สมมติ เช่น สอบได้ 0 คะแนน มิได้หมายความว่าเขาไม่ มีความรู้ เพียงแต่เขาไม่สามารถทําข้อสอบซงึ เป็ นตวั แทนของความรู้ทงั หมดได้ หรือ อุณหภมู ิ 0 องศา มิได้ หมายความว่าจะไมม่ คี วามร้อน เพียงแต่มีความร้อนเป็ น 0 องศาเท่านนั จดุ ทีไมม่ คี วามร้อนอย่เู ลยก็คือที - 273 องศา ดังนันอณุ หภูมิ 40 องศาจึงไม่สามารถบอกได้ว่ามีความร้อนเป็ น 2 เท่าของอณุ หภูมิ 20 องศา เป็นต้น ตวั เลขในระดบั นีสามารถนํามาบวก ลบ คณู หรือหารกนั ได้ 4. ระดบั อตั ราสว่ น (Ratio Scale) เป็ นระดบั ทีสามารถกําหนดค่าตวั เลขให้กับสิงทีต้องการวดั มี 0 (ศนู ย์) แท้ เช่น นําหนกั ความสงู อายุ เป็ นต้น ระดับนีสามารถนําตัวเลขมาบวก ลบ คูณ หาร หรือหา อตั ราสว่ นกนั ได้ คอื สามารถบอกได้วา่ ถนนสายหนงึ ยาว 50 กิโลเมตร ยาวเป็ น 2 เท่าของถนนอีกสายหนึงที ยาวเพียง 25 กิโลเมตร สรุปได้ว่า 1. Nominal scale ข้อมลู เชิงคณุ ภาพ 2. Ordinal scale ข้อมลู เชิงปริมาณ 3. Interval scale 4. Ratio scale
ประชากรและกลุ่มตวั อย่าง ในงานวิจยั โดยมาก คา่ ของการวดั จะได้มาจากกลมุ่ ตวั อย่าง ซงึ มาจากประชากรทีมี ขนาดใหญ่ ประชากร คอื กลมุ่ ของการวดั ทงั หมดทีสนใจศกึ ษา ตัวอย่าง คอื สบั เซตของการวดั ทีมาจากประชากรทีสนใจศกึ ษา หลกั การสุ่มกลุ่มตัวอย่าง • สมาชกิ เป็นตวั แทนทีดีของประชากร • มคี ณุ ลกั ษณะสําคญั เหมือนประชากร • สมาชกิ ทกุ หนว่ ยมโี อกาสได้เป็นกล่มุ ตวั อย่างเท่ากนั • กลมุ่ ตวั อยา่ งต้องมีขนาดใหญ่เพียงพอ
ขนั ตอนพนื ฐานในการใช้ SPSS 1. สร้างแฟ้ มข้อมลู ทจี ะนํามาวเิ คราะห์ หรือเปิดจากแฟ้ มข้อมลู ทีได้สร้างไว้แล้ว รวมทงั การจดั การข้อมลู ให้พร้อมทําการวเิ คราะห์ 2. เลือกสถติ วิ เิ คราะห์ทีมคี วามเหมาะสม สามารถตอบปัญหาการวิจยั ได้ 3. เลอื กตวั แปรทตี ้องการนํามาวเิ คราะห์ข้อมลู ตามวตั ถปุ ระสงค์ของการวจิ ยั
ลักษณะแบบสอบถาม แบบสอบถามทใี ช้ในการวิจยั เชิงปริมาณนนั มกั จะมีรูปแบบดงั นี ตอนที 1 สอบถามเกียวกบั สถานภาพทวั ไปของผ้ตู อบแบบสอบถาม มกั เป็น คาํ ถามแบบตรวจสอบรายการ (Check-List) ตอนที 2 สอบถามเกียวกบั ลกั ษณะโดยทวั ไปของเรืองทกี ําลงั ทาํ วจิ ยั มกั เป็น คําถามแบบตรวจสอบรายการ (Check-List) ตอนที 3 สอบถามเกียวกบั ความพงึ พอใจ หรือทศั นคตใิ นประเดน็ ตา่ งๆ ของ เรืองทีทําวจิ ยั ลกั ษณะคําถามเป็นแบบมาตราสว่ นประมาณคา่ (Rating Scale) ตอนที 4 สอบถามข้อเสนอแนะเพือการปรับปรุงและพฒั นาในเรืองทีกําลงั ทํา วิจยั ลกั ษณะคําถามเป็นคําถามปลายเปิด (Open End)
การเตรียมเครืองมอื ก่อนการประมวลผล และวเิ คราะห์ข้อมูล ตวั อย่างแบบสอบถาม ความพงึ พอใจของผู้ใช้บริการทมี ีต่อระบบสารสนเทศมหาวทิ ยาลยั แม่โจ้ ตอนที 1 ข้อมลู ทวั ไปของผู้ตอบแบบสอบถาม คาํ ชแี จง โปรดทาํ เครืองหมาย ลงใน ( ) หรือเตมิ ข้อความลงในช่องว่างตรงตามความเป็ นจริง 1. เพศ ( ) ชาย ( ) หญิง 2. อายุ .................. ปี 3. ระดบั การศกึ ษา ( ) ตํากวา่ ปริญญาตรี ( ) ปริญญาตรี ( ) ปริญญาโท ( ) ปริญญาเอก 4. ประเภทบุคลากร ( ) ข้าราชการ ( ) พนกั งานมหาวิทยาลยั ( ) พนกั งานราชการ ( ) อนื ๆ.............................................. 5. คณะหรือสํานกั ทีสงั กดั ..............................................................................................................
ตอนที 2 การเข้าใช้งานระบบสารสนเทศ คาํ ชแี จง โปรดทาํ เครืองหมาย ลงใน ( ) หรือใส่ตัวเลขให้ตรงกบั ความเป็ นจริงลงใน ( ) 1. ความถขี องการใช้งานระบบสารสนเทศของมหาวทิ ยาลยั ( ) สปั ดาห์ละ 1 ครัง ( ) สปั ดาห์ละ 2-3 ครัง ( ) สปั ดาห์ละ 4-5 ครัง ( ) ใช้ทกุ วนั 2. ช่วงเวลาทีทา่ นเข้าใช้บริการระบบสารสนเทศ (ตอบได้มากกว่า 1 ข้อ) ( ) เวลา 08.00-10.00 น. ( ) เวลา 10.00-12.00 น. ( ) เวลา 12.00-15.00 น. ( ) เวลา 15.00-17.00 น. ( ) เวลา 17.00-20.00 น. ( ) เวลา 20.00-00.00 น. ( ) เวลา 00.00-08.00 น. 3. ระบบสารสนเทศของมหาวทิ ยาลยั ทที า่ นใช้บอ่ ยทสี ดุ 3 อนั ดบั แรก ( ) ระบบเอกสารราชการ ( ) ระบบการลาออนไลน์ ( ) ระบบการบริหารงานพสั ดุ ( ) ระบบโครงการ (e-project) ( ) ระบบการบริหารงานประชมุ
ตอนที 3 ความพงึ พอใจต่อการใช้บริการระบบสารสนเทศ คําชแี จง โปรดทาํ เครืองหมาย ลงในช่องทตี รงกบั ความรู้สกึ มากทสี ุด ข้อความ ความพงึ พอใจ มากทสี ดุ มาก ปานกลาง น้อย น้อยทสี ดุ 1. ด้านการให้บริการของเจ้าหน้าที 1.1 ให้บริการด้วยความสภุ าพและเป็นมิตร 1.2 ดแู ล เอาใจใส่ เตม็ ใจให้บริการ 1.3 ให้คําแนะนํา หรือตอบข้อซกั ถามตรงประเด็น 1.4 มีเจ้าหน้าทีประจําหน่วยงานตลอดช่วยการ ให้บริการ 2. ด้านกระบวนการขนั ตอนการให้บริการ 2.1 ให้บริการอย่างเป็นระบบ และเป็นขนั ตอน 2.2 ความรวดเร็วในการให้บริการ 2.3 ข้อมลู ทีให้มคี วามชดั เจน ถกู ต้อง และเข้าใจงา่ ย
ตอนที 4 ข้อเสนอแนะ ................................................................................................................................. ................................................................................................................................. ................................................................................................................................. .................................................................................................................................
การสร้างรหสั สาํ หรับข้อมูล ตัวแปร ตวั แปร คือ ชือทใี ช้เรียกแทนข้อคําถามในเครืองมอื ทีเกบ็ ข้อมลู มกั จะตงั ชอื ตวั แปรเป็น ภาษาองั กฤษ และมีความยาวไม่เกนิ 8 ตวั อกั ขระ เพอื ให้โปรแกรม SPSS สามารถเข้าใจได้ ชนิดของตวั แปร ชนิดของตวั แปร แบง่ ออกเป็น 2 ชนิด คือ 1. ตวั แปรเชิงปริมาณ คอื ตวั แปรทีมีคา่ เป็นตวั เลข ทรี ะบไุ ด้วา่ มีคา่ มากหรือน้อย เช่น รายได้ อายุ นําหนกั ส่วนสงู ขนาดของตวั แปร รายได้มี 6 หลกั อายมุ ี 2 หลกั นําหนกั มี 3 หลกั สว่ นสงู มี 3 หลกั เป็ นต้น 2. ตวั แปรเชงิ คณุ ภาพหรือตวั แปรเชงิ กลมุ่ คือ ตวั แปรทีเป็นข้อความ หรือตวั แปรทีต้องใช้ตวั เลข แทนคา่ รหสั ของข้อมลู ซงึ ขนาดของตวั แปร ควรจะเท่ากบั จํานวนทางเลือกของคําตอบ เชน่ เพศ จาํ แนกเป็น 2 กลมุ่ คอื เพศชาย และเพศหญิง ระดบั ความคดิ เหน็ มี 5 ระดบั ขนาดของตวั แปรกําหนด เป็น 1 หลกั แตถ่ ้า ระดบั ความคิดเหน็ ม1ี 0 ระดบั ขนาดของตวั แปรควรกําหนดเป็น 2 หลกั เป็นต้น
การกาํ หนดรหสั โดยแบ่งตามชนิดของคาํ ถาม การกําหนดรหสั ของข้อมลู จะต้องคาํ นงึ ถึงชนิดของคําถาม โดยชนิดของคําถามแบ่งออกเป็น 1. คาํ ถามปลายปิ ด แบง่ ออกเป็น • คาํ ถามทมี คี าํ ตอบให้เลอื กเพียง 2 คาํ ตอบ เช่น เพศ มี 1) เพศชาย และ 2) เพศหญิง • คําถามทีมคี าํ ตอบให้เลือกหลายคาํ ตอบ เช่น ประเภทบคุ ลากร มี 1) ข้าราชการ 2) พนกั งานมหาวิทยาลยั 3) พนกั งานราชการ 4) อนื ๆ • คําถามทีสามารถเลอื กคําตอบได้หลายคาํ ตอบ หรือตอบได้มากกว่า 1 ข้อ เชน่ ช่วง ระยะเวลาทีใช้งานระบบสารสนเทศ โดยถ้าใช้งานข้อไหน ให้ใสต่ วั เลขเป็น 1 ถ้าไม่ตอบให้ใส่ 0 • คําถามทคี ําตอบให้ใสล่ ําดบั ที เชน่ ระบบสารสนเทศทีใช้งานบอ่ ยทีสดุ 3 อนั ดบั แรก โดย จะใสค่ า่ 1 หน้าระบบทีใช้งานบ่อยทีสดุ และจะใสค่ ่า 2 และ 3 หน้าระบบสารสนเทศทใี ช้งานบ่อยใน ลําดบั ถดั มา ถ้าระบบไหนทไี มไ่ ด้เลอื กให้ใสข่ ้อมลู เป็น 0 • คําถามทใี ห้แสดงระดบั มากน้อย เช่น ระดบั ความพงึ พอใจ แบ่งออกเป็น 5 ระดบั คอื 1 แทนด้วยพงึ พอใจน้อยทีสดุ 2 พงึ พอใจน้อย 3 พึงพอใจปานกลาง 4 พงึ พอใจมาก 5 พึงพอใจมากทสี ดุ
2. คาํ ถามปลายเปิ ด เช่น ข้อเสนอแนะ โปรแกรม SPSS จะสามารถพิมพ์ข้อความได้ยาวไม่ เกนิ 255 อกั ขระ และถ้าพิมพ์เป็นข้อความจะไมส่ ามารถนาํ มาประมวลผลได้ จงึ จาํ เป็นต้องสรุปข้อคาํ ตอบ นนั เป็นรหสั ตวั เลขแทนข้อความ 3. คําถามทไี ม่ได้รับคําตอบ (Missing data) จะแทนคา่ ด้วย 9, 99, 999 … ขนึ อยกู่ บั ขนาดของตวั แปรว่าใช้กีหลกั
ความรู้เบืองต้นเกียวกบั SPSS SPSS เป็ นเครืองมือสําหรับจัดกระทําข้อมูล สามารถนําข้อมูลจาก แฟ้ มข้ อมูลมาประมวลผลด้วยตาราง สร้ างกราฟ และวิเคราะห์ทางสถิติที หลากหลาย ถ้าผ้วู ิเคราะห์ต้องการใช้โปรแกรม SPSS ดําเนินการจดั การกบั ข้อมลู วิเคราะห์ข้อมูล และรายงานผลการวิเคราะห์ข้อมูล ผู้วิเคราะห์จะต้องเขียน โปรแกรมคําสงั เพอื สงั ให้โปรแกรม SPSS กระทําตามทีผ้วู เิ คราะห์ต้องการ
การนําเข้าข้อมูลสู่โปรแกรม SPSS สอนการใชง้ าน ป้ อนขอ้ มลู ใหม่ เปิ ดแฟ้ มขอ้ มลู ชนิด Database Query(*.spq) สร้าง query ใหม่โดยใช้ database Wizard เปิ ดแฟ้ มขอ้ มลู ชนิด SPSS (*.sav) เปิ ดแฟ้ มขอ้ มูลอืน ๆ (*) ไม่ตอ้ งการปรากฎหนา้ จอเริมตน้ การ ทาํ งานนีอีก
Title Bar ส่วนประกอบของหน้าจอ Menu Bar Variables = กาํ หนด ชอื ตัวแปร Cell Editors = กาํ หนดค่าตัวแปร Cases = ชุดของตวั แปร View Bar = Data View, Variable View
การใช้รูปแบบอกั ษรและขนาดในโปรแกรม spss จะกาํ หนดรูปแบบตวั อกั ษรและขนาดในโดยโปรแกรมได้ตามต้องการ โดยนาํ เม้าท์ไปคลกิ ทเี มนู หลกั View เมนรู อง Font ดงั ภาพ
การตงั ชือตัวแปรและกาํ หนดลักษณะของตวั แปรในหน้าต่าง Variable view การตงั ชอื อาจจะกําหนดเพือให้เข้าใจง่าย หรืออาจกําหนดเป็นตวั อกั ษรย่อกไ็ ด้ ตอนที 1 ข้อมลู พืนฐาน ข้อ 1 เพศ = sex ข้อ 2 อายุ = age ข้อ 3 ระดบั การศกึ ษา = educ (education) ข้อ 4 ประเภทบคุ ลากร = person1, person2 ข้อ 5 คณะหรือสาํ นกั ทสี งั กดั = agencies ตอนที 2 การเข้าใช้งานระบบสารสนเทศ ข้อ 1 ความถใี นการเข้าใช้งาน = freq_use ข้อ 2 เวลาในการเข้าใช้งาน = time1, time2, time3, time4, time5, time6, time7 ข้อ 3 ระบบสารสนเทศทีรู้จกั และใช้งาน = infor1, infor2, infor3, infor4
ตอนที 3 ความพึงพอใจ หวั ข้อที 1 ด้านการให้บริการ ข้อที 1.1 ให้บริการด้วยความสภุ าพและเป็นมติ ร = satisfy1.1 ข้อที 1.2 ดแู ล เอาใจใส่ เตม็ ใจให้บริการ = satisfy1.2 ข้อที 1.3 ให้คาํ แนะนํา หรือตอบข้อซกั ถามตรงประเดน็ = satisfy1.3 ข้อที 1.4 มเี จ้าหน้าทีประจําหน่วยงานตลอดช่วยการให้บริการ = satisfy1.4 หวั ข้อที 2 ด้านกระบวนการขนั ตอนการให้บริการ ข้อที 2.1 ให้บริการอยา่ งเป็นระบบ และเป็นขนั ตอน = satisfy2.1 ข้อที 2.2 ความรวดเร็วในการให้บริการ = satisfy2.2 ข้อที 2.3 ข้อมลู ทีให้มีความชดั เจน ถกู ต้อง และเข้าใจง่าย = satisfy2.3
Variable view • Variable view เป็นหน้าตา่ งสาํ หรับการกําหนดชือ และชนิด ลกั ษณะของตวั แปรแตล่ ะตวั Name = กาํ หนดชอื ตวั แปร ความยาวไม่เกิน 7-10 ตวั อักษร (ขนึ อย่กู ับ version) Type = กาํ หนดชนิดของตวั แปร Numeric ข้อมูลตัวเลข String ข้อมูลตวั อักษร Width = กาํ หนดความกว้างของค่าตัวแปรหรือจาํ นวนอกั ขระหรืออักษร Decimals = กาํ หนดจาํ นวนของจดุ ทศนยิ ม Label = คาํ อธบิ ายตัวแปร เช่น sex คาํ อธิบายคือ เพศ Values = การกาํ หนดค่าให้กับตัวแปร เช่น ตัวแปร เพศ กาํ หนดให้ชาย เท่ากบั 1 หญงิ เท่ากับ 2 Missing = ค่าขอข้อมูลทีแสดงว่าผู้ตอบแบบสอบถามไม่ได้ตอบ เช่น ตวั แปร เพศ กาํ หนดค่า missing = 9 Columns = กาํ หนดความกว้างของช่อง Columns สําหรับกรอกข้อมูล Align = กาํ หนดลักษณะการวางข้อมูลว่าจะให้ตัวแปรให้ชิดซ้าย กลาง หรือ ขวา Measure = กําหนดมาตราวัดของตัวแปรว่าเป็ นแบบใด ได้แก่ Scale, Ordinal หรือ Nominal
การลงข้อมูลตัวแปรใน Variable view 1. ลงชือตวั แปรทีชอ่ ง Name 2. Type โดยสว่ นใหญ่มกั กําหนด Numericc หรือ String
การเลือกชนิดของตวั แปร มีให้เลือก 8 ชนิด 1. Numeric สาํ หรับตวั แปรทเี ป็นตวั เลข 2. Comma สําหรับตวั แปรทีข้อมลู เป็นจาํ นวนเงนิ 3. Dot เป็นข้อมลู ทใี ช้จดุ คนั หลกั พนั และใช้จลุ ภาคคนั ตาํ แหน่งทศนยิ ม เชน่ ตงั 8 ตาํ แหนง่ กบั ทศนยิ ม 2 ตาํ แหน่ง ป้ อนข้อมลู 1234 จะได้คา่ 1.234,00 4. Scientific Notation สาํ หรับให้แสดงค่าข้อมลู ด้วยสญั ลกั ษณะทางคณิตศาสตร์ 5. Date สาํ หรับป้ อนข้อมลู ในรูปของวนั ที 6. Dollar สาํ หรับข้อมลู ในรูปของจํานวนเงินดอลล่าร์ โดยจะใสเ่ ครืองหมาย $ ให้หน้าตวั เลขที ป้ อน 7. Custom currency สาํ หรับข้อมลู เชิงปริมาณ 8. String สําหรับข้อมลู แบบตวั อกั ษร ตวั เลข หรือเครืองหมายตา่ ง ๆ ข้อมลู ชนดิ นีไมส่ ามารถ นํามาใช้ในการคาํ นวณได้ แต่สามารถหาความถีได้
3. Width และ Decimals โดยสว่ นใหญ่ไมต่ ้องกําหนดก็ได้ สว่ น Label คือการกําหนดข้อความขยายชอื ตวั แปร เพอื อธิบายชือตวั แปรและแสดงออกทางผลลพั ธ์ ให้พมิ พ์ตรงคอลมั น์ Label เช่น Sex โดยที Label นีจะแสดงผลในกราฟ 4. Value กําหนดคําอธิบายให้กบั คา่ ตวั แปร โดยให้คลกิ ทีป่ มุ สีเทา จากนนั จะพบกรอก Value Label ในช่อง Value กําหนดเป็น 1 และ Value Label กําหนดเป็น Male แล้วกดป่ มุ Add ส่วน Female กําหนดเป็น 2
5. Missing ใช้ในกรณีทีคาดว่าอาจจะมีข้อมลู องกลมุ่ ตวั อยา่ งบางคนไม่สมบรู ณ์ คือ ไมต่ อบมา หรือตอบมาไม่ ชดั เจน 6. Measure สําหรับกําหนดมาตรการวดั ของตวั แปรว่าจะเป็ น Nominal หรือ Ordinal หรือ Scale (Interval และ Ratio) โดยปกติจะกําหนดเป็ น Scale แม้ว่าตวั แปรจะอย่ใู นมาตรการวดั Nominal Scale ก็ตาม ทงั นีเพราะว่าการป้ อนข้อมลู นนั จะป้ อนเป็นตวั เลขรหสั 1 หรือ 2 หรือ 3 ดงั นนั จงึ ควรจะเลือกเป็ น Scale สาํ หรับ Nominal นนั เลอื กก็ต่อเมอื ต้องการป้ อนข้อมลู เป็นตวั อกั ษร
Data View เมือกําหนดชือตวั แปรและลกั ษณะของตวั แปรแล้ว ให้นําเม้าท์มาคลกิ ทีเมนู Data View แต่ละคอลมั ภ์ กจ็ ะปรากฏชือทตี งั ไว้ และจะเริมป้ อนข้อมลู ลงไปในแตล่ ะแถว
การบันทกึ แฟ้ มข้อมูล • ไปยงั File->Save As • กําหนดสถานทีจดั เกบ็ ข้อมลู ในชอ่ ง Save in และกําหนดชือ File ในชอ่ ง File name File ทไี ด้จะมนี ามสกลุ เป็น .sav
การเปิ ดแฟ้ มข้อมูล หากต้องการเรียกแฟ้ มข้อมลู ทีมีอย่แู ล้วออกมาแสดงเพือใช้ในการวเิ คราะห์หรือป้ อนข้อมลู เพมิ ให้ คลกิ ทีเมนู File เมนรู อง Open และเมนยู ่อย Data
Data View
Variable View
การวิเคราะห์ข้อมูล หลงั จากทตี รวจสอบความถูกต้องของแบบสอบถามเรียบร้อยแล้ว จะนําข้อมลู ในแบบสอบถามมา เปลยี นแปลงเป็นรหสั ตวั เลข (Code) แล้วบนั ทกึ รหสั ลงในเครืองคอมพวิ เตอร์ ด้วยโปรแกรม SPSS ลักษณะของการวเิ คราะห์ข้อมลู จะมขี ้อสงั เกตดังนี – แบบสอบถามเกียวกบั สถานภาพทวั ไป ใช้วิธีการหาคา่ ความถี (Frequency) โดยสรุปออกมาเป็น คา่ ร้อยละ (%) – แบบสอบถามทเี ป็นการสาํ รวจทศั นคติเกียวกบั ความพงึ พอใจ ใช้วธิ ีการหาค่าเฉลยี (X)และสว่ น เบียงเบนมาตรฐาน (S.D.) – แบบสอบถามทีเป็นข้อเสนอแนะ ใช้วธิ ีการหาความถี (Frequency)
การประมวลผลและวเิ คราะห์ข้อมูล (Analyze) การประมวลผลและวิเคราะห์ข้อมลู โดยใช้โปรแกรม SPSS มีหลายคําสงั ขึนอย่กู บั สถิติที ต้องการวิเคราะห์ การวิเคราะห์เบืองต้นทีต้องใช้ในทีนีคือ คําสงั Descriptive Statistics, Compare Means, Correlate และ Multiple Response ดงั แสดงรายละเอียดดงั นี
ความหมายของค่าสถิติ Mean คอื ค่าเฉลีย Median คือ ค่ามัธยฐาน Mode คือ ฐานนยิ ม Sum คอื ผลรวม Std.deviation คือ ความเบยี งเบนมาตรฐาน Variance คือ ค่าความแปรปรวน Range คอื ค่าพสิ ัย Minimum คือ ค่าตาํ สุด Maximum คอื ค่าสูงสุด S.E.mean คอื ค่าความคลาดเคลือนมาตรฐานของค่าเฉลีย Skewness คือ ค่าความเบ้ Kurtosis คือ ค่าความโด่ง
1. การใช้คาํ สงั Descriptive Statistics คาํ สัง Descriptive เป็นคาํ สงั ในการอธิบายตวั แปรเชงิ ปริมาณ ตามสถิตทิ ีต้องการวเิ คราะห์ เช่น Mean, Std. Deviation เช่น หาคา่ เฉลียของตวั แปรอายุ เลือกเมนู Analyze -> Descriptive Statistics -> Descriptives จากนนั จะ แสดงหน้าต่าง Descriptive ซงึ ด้านซ้ายประกอบด้วยตวั แปรตา่ ง ๆ เลือกเฉพาะตวั แปร age กดป่ มุ ลกู ศร ตวั แปรจะย้ายมาอยใู่ นกลอ่ ง Variable(s) กดป่ มุ Options เลือกคา่ สถิติทีต้องการ เช่น Mean ,Std. deviaton , Minimum, Maximum แล้วกดป่ มุ Continue กด OK โปรแกรมก็จะแสดงผลในหน้าจอ Output ดงั ภาพ
หน้าต่าง Descriptives Output
คาํ สัง Frequencies เป็ นคําสงั ในการอธิบายทงั ตวั แปรเชิงปริมาณ และตวั แปรเชิงกล่มุ โดยการแจกแจงความถีและคา่ ร้อยละแบบทางเดียว สาํ หรับตวั แปรเชงิ คณุ ภาพในตอนที 1 ในทนี ี คือ เพศ ระดบั การศกึ ษา ประเภทบคุ ลากร คณะ หรือสาํ นกั ทสี งั กดั เลอื กเมนู Analyze -> Descriptive Statistics -> Frequencies จากนนั จะ แสดงหน้าตา่ ง Frequencies ซึงด้านซ้ายประกอบด้วยตวั แปรตา่ ง ๆ เลอื กตวั แปร sex, educ, person1, person2, และ agencies กดป่ ุมลูกศร ตวั แปรจะย้ายมาอยู่ในกล่อง Variable(s) แล้วกดป่ มุ Continue กด OK โปรแกรมกจ็ ะแสดงผลในหน้าจอ Output ดงั ภาพ
การวเิ คราะห์หาค่าความถี
หน้าต่าง Frequencies การเลอื กตวั แปรหาค่าความถี และค่าสถติ พิ นื ฐาน
หน้าต่าง Output
หากต้องการสร้างกราฟให้ไปที Frequencies แล้วคลิกป่ มุ Charts จะปรากฏหน้าต่าง Frequencies : Charts เชน่ เลอื กตวั แปร person1 แล้วกดป่ มุ Charts เลอื กรูปแบบกราฟ
กราฟแท่งของตัวแปร person1
คําสัง Crosstabs เป็นคาํ สงั ในการอธิบายตวั แปรทงั เชิงปริมาณ และตวั แปรเชิงกลมุ่ โดยการ สร้างตารางแจกแจงความถีและคา่ ร้อยละ ตงั แต่ 2 ทางขนึ ไป เลอื ก เมนู Analyze -> Descriptive Statistics -> Crosstabs จากนนั จะแสดง หน้าต่าง Crosstabs ซึงด้านซ้ายประกอบด้วยตัวแปรต่าง ๆ ส่วนด้านขวามี 2 กล่อง ให้ใส่ตัวแปร ดงั นี 1) Row(s) จะใสต่ วั แปรเชิงปริมาณหรือตวั แปรเชิงกล่มุ ทีต้องการแจกแจงความถีและค่าร้อย ละตามแถว ในทีนีคอื ตวั แปรเพศ (sex) 2) Column(s) จะใสต่ วั แปรเชิงกลมุ่ ทตี ้องการจําแนกความถีและร้อยละตามคอมลมั ภ์ในทนี ี คอื ตวั แปรตอนที 2 ความถีในการใช้งาน (Freq_use) 3) เลือก Cells ซงึ จะแสดงหน้าตา่ ง Crosstabs : Cell Display ใช้ในการแสดงคา่ ร้อยละ จําแนกตามแถวหรือคอลมั ภ์ โดยสว่ นใหญ่จะจําแนกคา่ ร้อยละตามคอลมั ภ์ 4)
หน้าต่าง Crosstabs
Output
2. การใช้คาํ สัง Multiple Response Multiple Response : Define Sets เป็นคําสงั ทใี ช้ในการสร้าง Set ของตวั แปรทมี หี ลาย คําตอบ (ข้อคําถามทตี อบได้มากกวา่ 1 ข้อ) หลงั จากสร้าง Set ของตวั แปรแล้ว สามารถทาํ การวิเคราะห์ตวั แปร ชนดิ นีโดยการหาค่าความถี (Frequencies) คา่ ร้อยละ (Percentage) และการสร้างตารางไขว้ (Crosstab) เลอื กเมนู Multiple Response -> Define Variable sets จากนนั จะแสดงหน้าตา่ ง Define Multiple Response Sets วิธีการ คือ 1) เลือกตวั แปรทเี ป็นข้อคําถามตอบได้มากกวา่ 1 ข้อ คือ ช่วงเวลาทีใช้งานระบบ คอื time1…time7 คลกิ ลกู ศรเพือย้ายมาไว้ด้านขวามือ 2) ในกลอ่ ง Variables are Coded As ให้เลือก Dichotomies Counted Value ระบุ ค่าเป็น 1 3) ช่อง Name ให้ใส่ EXE ชอ่ ง Label ให้ใสช่ ือใหม่เป็น time 4) คลกิ ป่ มุ Add เพอื เพิมตวั แปรทีช่อง Multiple Response Sets คอื $EXE จากนนั เลือก Close ดงั ภาพ
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104