Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore งานฝึกฝีมือ1

งานฝึกฝีมือ1

Published by นายมนตรี มุ่นเชย, 2019-03-14 22:40:14

Description: งานฝึกฝีมือ1

Search

Read the Text Version

งานฝกฝม อื 1 วทิ ยา ทองขาว

งานฝกึ ฝีมือ 1 โดย วทิ ยา ทองขาว สงวนลิขสิทธใิ์ นประเทศไทยตาม พ.ร.บ. ลขิ สทิ ธิ์ © พ.ศ. 2556 โดย วิทยา ทองขาว และคณะ หามคัดลอก ลอกเลียน ดัดแปลง ท�ำซ้�ำ จดั พมิ พ์ หรอื กระท�ำอ่ืนใด โดยวธิ ีการใดๆ ในรูปแบบใดๆ ไม่วา่ ส่วนหนึง่ สว่ นใดของหนังสอื เล่มนี้ เพอื่ เผยแพร่ในสอ่ื ทุกประเภท หรอื เพือ่ วัตถุประสงค์ใดๆ นอกจากจะไดรบั อนญุ าต ขอ มูลทางบรรณานุกรมของหอสมุดแหง ชาติ วิทยา ทองขาว. งานฝึกฝีมอื . -- กรงุ เทพฯ : ซีเอด็ ยเู คช่ัน, 2556. 1. ช่างกล. 1. เคร่อื งมอื กล. I. ชอื่ เรื่อง. 621.902 ISBN (e-book) : 978-616-08-1927-0 ผลติ และจดั จำ� หนา่ ยโดย อาคารทีซไี อเอฟ ทาวเวอร ชั้น 19 เลขที่ 1858/87-90 ถนนบางนา-ตราด แขวงบางนา เขตบางนา กรงุ เทพฯ 10260 โทรศพั ท 0-2739-8000 [หากมีค�ำแนะน�ำหรือติชม สามารถติดตอไดท่ี comment@se–ed.com]

2100-1003 งานฝึกฝีมือ 1 จุดประสงค์รายวิชา 1. รู้และเข้าใจเกี่ยวกับการใช้งานบ�ำรุงรักษาเครื่องมือและเคร่ืองมือกลเบื้องต้น 2. มีทักษะเก่ียวกับการปฏิบัติงานผลิตช้ินงานตามขั้นตอน แก้ปัญหา และน�ำไปประยุกต์ ใช้กับงานอ่ืนได้ 3. มีเจตคติและกิจนิสัยที่ดีในการท�ำงานด้วยความอดทน ปลอดภัย ผลงานประณีตเรียบร้อย ละเอียดรอบคอบ เป็นระเบียบ สะอาด ตรงต่อเวลา มีความซื่อตรง รับผิดชอบ และ รักษาสภาพแวดล้อม สมรรถนะรายวชิ า 1. เตรียมเคร่อื งมือและเครอ่ื งมือกลเบือ้ งต้นตามคู่มือ 2. วดั และรา่ งแบบชน้ิ งานโลหะ 3. แปรรปู และประกอบชน้ิ งานโลหะด้วยเครื่องมอื กลท่ัวไป 4. ลบั คมตดั เครื่องมอื กลทั่วไป 5. หล่อชิ้นงานตามแบบก�ำหนด ค�ำอธิบายรายวิชา ปฏิบัติเก่ียวกับการใช้ การบ�ำรุงรักษาเครื่องมือและเครื่องกลเบื้องต้น ความปลอดภัยใน การปฏิบัติงาน งานวัดและตรวจสอบ งานร่างแบบ งานเล่ือย งานสกัด งานตะไบ งานเจาะ งาน ลับคมตัด งานท�ำเกลียว งานหล่อเบ้ืองต้น งานเคร่ืองมือกลเบ้ืองต้น และงานประกอบ

ค�ำน�ำ วิชา งานฝึกฝมี อื 1 (รหัส 2100 – 1003) เล่มน้ี ผู้เขียนไดร้ วบรวมและเขยี นขนึ้ ตรงตาม คู่มือการเรียนการสอนและใบงานของนักศึกษาระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) พ.ศ. 2556 หมวดวชิ าชีพพื้นฐาน ประเภทวิชาช่างอุตสาหกรรมทกุ สาขา ตรงตามจดุ ประสงคร์ ายวิชา มาตรฐานรายวิชาและค�ำอธิบายรายวิชา มีเน้ือหาเก่ียวกับงานโลหะ วิธีการใช้และบ�ำรุงรักษา เคร่อื งมือ วิธีการใช้และบ�ำรุงรักษาเคร่ืองมอื วดั และเครื่องมอื ตัดทุกชนดิ ท่ีท�ำงานดว้ ยมอื เทคนคิ การปฏบิ ัตงิ านตะไบ งานเลอ่ื ยงานสกัด งานเจาะรู งานควา้ นรูเรียบ งานขูด งานปรับ งานตีขนึ้ รูปโลหะ งานตดั งานพบั งานดัด งานย้�ำหมุด และงานยึดดว้ ยสลกั เกลยี วและนอต ซึง่ เป็นความ รู้พ้ืนฐาน สามารถน�ำความรู้ไปใช้ปฏิบัติงานได้ถูกต้อง ถูกวิธี มีความปลอดภัยในการท�ำงาน ก่อประโยชนแ์ ก่ตนเอง เพอื่ นร่วมงาน และประเทศชาติ ความดีของหนังสือเล่มนี้ ผู้เขียนขอมอบให้ผู้มีพระคุณต่อผู้เขียน อันได้แก่ บิดา มารดา และผู้บังคบั บัญชาทกุ ทา่ น วทิ ยา ทองขาว

สารบัญ บทท่ี 1 โต๊ะปฏิบตั ิงานในโรงงานช่างโลหะ............................................... 11 1.1 ความปลอดภัยในการท�ำงาน.........................................................................12 1.2 เครอ่ื งหมายเตือนในบริเวณหน่วยงานท่ีอาจเกดิ อบุ ัติเหตุ...............................14 แบบฝึกหัดท้ายบท.............................................................................................20 บทที่ 2 การวดั ความยาวและวดั มมุ ......................................................... 23 2.1 ความรู้ทวั่ ไปเกีย่ วกับงานวัดและการทดสอบ..................................................24 2.2 เคร่ืองมอื ทดสอบทใ่ี ชว้ ดั ในงานผลติ ...............................................................40 2.3 เครอื่ งมือวดั และเครอื่ งมอื ทดสอบที่บอกขนาดได.้ ..........................................41 2.4 กฎการปฏิบตั งิ านวัดและทดสอบดว้ ยเครือ่ งมือวดั ..........................................63 แบบฝกึ หัดท้ายบท.............................................................................................73 บทท่ี 3 การขีดหมาย การนำ� ศนู ย์ และการตอกเครือ่ งหมาย.................. 85 3.1 การขดี หมาย................................................................................................86 3.2 เครอ่ื งมอื ส�ำหรับขีดหมาย.............................................................................86 3.3 กฎการปฏิบตั งิ านขณะท�ำงานขดี หมาย.........................................................89 3.4 การน�ำศนู ย์..................................................................................................95 3.5 เครื่องมือส�ำหรับใชน้ ำ� ศนู ย.์...........................................................................96 3.6 กฎการปฏบิ ัติการตอกน�ำศูนย.์......................................................................97 3.7 การตอกเคร่อื งหมาย..................................................................................100 แบบฝึกหัดทา้ ยบท...........................................................................................103

8 งานฝึกฝมี อื 1 บทท่ี 4 งานสกดั ..................................................................................... 109 4.1 วิธกี ารสกัด.................................................................................................110 4.2 ลักษณะการท�ำงานของคมสกดั ...................................................................111 4.3 เคร่อื งมือในงานสกดั ...................................................................................114 4.4 กฎการปฏิบตั ิงานดว้ ยสกัด.........................................................................115 แบบฝกึ หดั ทา้ ยบท...........................................................................................122 บทท่ี 5 งานเลือ่ ย.................................................................................... 129 5.1 เครื่องมอื ส�ำหรับงานเล่อื ย...........................................................................131 5.2 กฎการปฏิบัติงานตัดด้วยเล่ือย....................................................................136 แบบฝึกหัดท้ายบท...........................................................................................142 บทท่ี 6 งานตะไบ.................................................................................... 149 6.1 เครื่องมือส�ำหรับงานตะไบ...........................................................................151 6.2 การจำ� แนกชนดิ ของตะไบ...........................................................................156 6.3 เครอ่ื งตะไบ................................................................................................158 6.4 กฎการปฏิบตั ิงานตะไบ...............................................................................161 6.5 การปฏบิ ัตงิ านตะไบ...................................................................................167 6.6 การบ�ำรงุ รกั ษาตะไบ...................................................................................169 แบบฝกึ หดั ท้ายบท...........................................................................................171 บทที่ 7 งานขูดผวิ ................................................................................... 177 7.1 เครอื่ งมอื งานขดู .........................................................................................179 7.2 กฎการปฏิบัติงานขดู ..................................................................................180 แบบฝึกหดั ทา้ ยบท...........................................................................................184 บทที่ 8 งานตัดโลหะดว้ ยกรรไกร........................................................... 189 8.1 เครื่องมอื และอุปกรณ์ส�ำหรบั งานตัด............................................................191 8.2 กรรไกรชนิดต่างๆ......................................................................................195 8.3 กฎการปฏบิ ัตงิ านตัดดว้ ยกรรไกร................................................................198 แบบฝกึ หัดท้ายบท...........................................................................................203

สารบัญ 9 บทท่ี 9 งานดัดและงานพบั .................................................................. 211 9.1 วิธกี ารดัดและพับ.....................................................................................212 9.2 เคร่ืองมอื และอุปกรณ์สำ� หรับงานดัด.........................................................216 9.3 กฎการปฏบิ ตั ิงานดดั ...............................................................................221 9.4 กฎการปฏบิ ัติงานในการม้วนสปรงิ ...........................................................227 9.5 กฎการปฏบิ ัติงานของงานดดั ...................................................................229 แบบฝึกหัดทา้ ยบท.........................................................................................233 บทที่ 10 งานตีขึ้นรูปโลหะ..................................................................... 239 10.1 การตขี ึน้ รปู โลหะ (Forging)....................................................................240 10.2 การตีข้ึนรปู บนท่ัง..................................................................................245 10.3 กฎการปฏิบัตงิ านตขี ้ึนรูป.......................................................................248 10.4 การพจิ ารณาคุณภาพงานตขี ้นึ รปู โลหะ...................................................254 แบบฝกึ หดั ทา้ ยบท.........................................................................................255 บทท่ี 11 งานเจาะรดู ว้ ยดอกสวา่ น......................................................... 263 11.1 เครอื่ งมอื ส�ำหรับงานเจาะรู.....................................................................265 11.2 เครอ่ื งเจาะ............................................................................................270 11.3 กฎการปฏบิ ัตงิ านเจาะ...........................................................................274 11.4 ข้อมูลตา่ งๆ ในการปฏบิ ตั งิ านเจาะร.ู ......................................................278 แบบฝึกหัดท้ายบท.........................................................................................283 บทที่ 12 งานควา้ นปากร.ู ....................................................................... 297 12.1 เคร่ืองมอื ส�ำหรับคว้านปากร.ู..................................................................298 12.2 กฎการปฏิบตั ิงานควา้ นร.ู ......................................................................300 แบบฝกึ หดั ท้ายบท.........................................................................................301 บทท่ี 13 งานควา้ นผิวรูเจาะเรียบ.......................................................... 305 13.1 เครื่องมอื ส�ำหรบั งานควา้ นผิวรูเจาะเรียบ................................................306 13.2 ความเรว็ ตดั และการหล่อเยน็ ..................................................................309 13.3 กฎการปฏิบตั ิงานควา้ นรูเจาะเรยี บ.........................................................310 แบบฝกึ หัดทา้ ยบท.........................................................................................314

10 งานฝึกฝมี อื 1 บทที่ 14 งานตดั เกลยี วด้วยมอื ................................................................321 14.1 ลักษณะการเกดิ เกลยี ว.............................................................................322 14.2 เครื่องมอื สำ� หรบั ตดั เกลยี ว.......................................................................327 14.3 กฎการปฏบิ ตั งิ านตัดเกลยี ว.....................................................................333 แบบฝกึ หดั ทา้ ยบท...........................................................................................338 บทท่ี 15 งานยดึ ชิ้นงานดว้ ยสลักเกลยี ว.................................................. 347 15.1 ชนดิ ของสลกั เกลยี วและประโยชนก์ ารใช้งาน.............................................349 15.2 การป้องกันรอยตอ่ ยดึ ชิน้ งานดว้ ยสลักเกลยี วให้ปลอดภยั ในการใช้งาน.......354 15.3 เคร่อื งมอื สำ� หรบั ขันยดึ สลกั เกลยี วสกรูและนอต.........................................357 15.4 กฎการปฏิบัตงิ านยึดชน้ิ งานดว้ ยสลักเกลียว.............................................360 แบบฝึกหัดทา้ ยบท...........................................................................................368 บทที่ 16 งานยำ�้ หมุด................................................................................375 16.1 ชนิดของหมดุ ย้�ำและลกั ษณะรอยต่อ.........................................................377 16.2 เครือ่ งมอื ส�ำหรับงานย�้ำหมุด.....................................................................379 16.3 กฎการปฏิบตั งิ านย้�ำหมุด.........................................................................381 แบบฝึกหัดท้ายบท...........................................................................................389 บทท่ี 17 งานเจยี ระไน..............................................................................395 17.1 ความหมายของการเจยี ระไน....................................................................396 17.2 ลกั ษณะงานเจียระไน...............................................................................397 17.3 เครื่องเจียระไน (Grinding Machine)........................................................398 17.4 องค์ประกอบของหนิ เจยี ระไน...................................................................401 17.5 วธิ ีลับคมเคร่ืองมอื ....................................................................................409 17.6 กฎการปฏิบัติงานในการลับคม.................................................................410 17.7 งานเจียระไนผิวงานทขี่ รขุ ระให้เรียบ.........................................................410 17.8 การหล่อเยน็ งานเจียระไน.........................................................................411 17.9 กฎการปฏิบตั งิ านเพอ่ื ความปลอดภยั ในงานเจยี ระไน................................412 แบบฝกึ หัดท้ายบท...........................................................................................414 บรรณานกุ รม............................................................................................415

1 โต๊ะปฏิบัติงานในโรงงานช่างโลหะ สาระสำ� คัญ โตะ๊ ปฏบิ ตั งิ านเปน็ โตะ๊ ทมี่ คี วามทนทานตอ่ การทำ� งานดว้ ยมอื เปน็ โตะ๊ ทมี่ พี นื้ ผวิ เรยี บงา่ ย อาจ จะปูพ้ืนโต๊ะจากวัสดุต่างๆ เช่น โลหะ ไม้ หรือหิน ซึ่งจะขึ้นอยู่กับความต้องการของการท�ำงาน โต๊ะปฏบิ ตั งิ านมขี นาดแตกต่างกันไป ตัง้ แต่ขนาดเลก็ ไปจนขนาดใหญ่ โต๊ะปฏบิ ตั งิ าน จะมคี วาม สงู แตกตา่ งกนั ข้นึ อยู่กับลักษณะการท�ำงานวา่ น่ังท�ำงานหรอื ยนื ท�ำงาน จุดประสงค์ทัว่ ไป 1. เพอื่ ใหม้ คี วามรคู้ วามเขา้ ใจในการทำ� งานบนโตะ๊ ปฏบิ ตั งิ านในโรงงานชา่ งโลหะใหป้ ลอดภยั 2. เพ่อื ใหม้ คี วามรู้ความเข้าใจในเคร่ืองหมายเตือนในบรเิ วณหนว่ ยงานท่ีอาจเกดิ อุบตั เิ หตุ จุดประสงคเ์ ชงิ พฤตกิ รรม 1. สามารถอธบิ ายวธิ กี ารท�ำงานบนโตะ๊ ปฏบิ ตั งิ านในโรงงานชา่ งโลหะใหป้ ลอดภยั ไดอ้ ยา่ งถกู ต้อง 2. สามารถอธบิ ายเครอื่ งหมายเตอื นในบริเวณหนว่ ยงานทอี่ าจเกิดอุบัติเหตไุ ดอ้ ยา่ งถูกต้อง 3. ทำ� แบบฝกึ หดั และปฏบิ ตั งิ านบนโตะ๊ ปฏบิ ตั งิ านในโรงงานชา่ งโลหะ ใหป้ ลอดภยั และสำ� เรจ็ ภายในเวลาท่กี �ำหนดอย่างมเี หตุและผลตามหลักปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียง เนื้อหาสาระ ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับการท�ำงานบนโต๊ะปฏิบัติงานในโรงงานช่างโลหะให้ปลอดภัย และ เครื่องหมายเตอื นในบรเิ วณหนว่ ยงานที่อาจเกิดอบุ ตั ิเหตุ

12 งานฝกึ ฝีมือ 1 1.1 ความปลอดภยั ในการทำ� งาน การปฏบิ ตั ิงานในโรงงานอาจจะเกิดอุบตั ิเหตขุ น้ึ ได้หลายลกั ษณะ ผเู้ ร่มิ ปฏิบัติงานใหมม่ กั คาดคะเนอบุ ตั เิ หตทุ ีจ่ ะเกดิ ข้ึนได้ยาก ฉะนั้นในระหว่างทฝี่ กึ หดั งานจงึ เกิดอบุ ตั ิเหตุข้นึ บอ่ ยๆ กฎ โรงงานท่ีส�ำคัญในการป้องกันอุบัติเหตุโดยส่ิงแรกก็คือ เคร่ืองแต่งกายและการใช้เครื่องแต่งกาย เพือ่ ป้องกันอบุ ตั เิ หตุ 1. ชดุ เสอื้ ผา้ สำ� หรบั สวมใสใ่ นระหวา่ งปฏบิ ตั งิ าน การเลอื กชดุ ทใี่ ชส้ วมใสใ่ นระหวา่ ง ปฏบิ ตั งิ าน ควรเลอื กเสอ้ื ท่ีมชี ่วงแขนแคบรัดตัว ข้อมือเส้อื มีกระดุมกลัดรัดกุมเรยี บรอ้ ย ดังแสดง ในรูปท่ี 1.1 2. ชุดป้องกันผม ส�ำหรับผู้ที่ไว้ผมยาว ให้ใช้ตาข่ายคลุมผมชนิดสวมศีรษะหรือสวม หมวกรดั ผมให้มดิ ชิด เพราะถา้ ไม่ใชต้ าข่ายคลมุ ผม ผ้ทู ่ไี วผ้ มยาวจะไม่ปลอดภยั ในการปฏิบตั ิงาน ดังแสดงในรปู ที่ 1.2 รปู ท่ี 1.1 ชดุ เส้อื ผ้าส�ำหรบั ปฏิบตั ิงาน รูปท่ี 1.2 ชุดปอ้ งกันผม 3. หมวกนริ ภยั การปฏบิ ตั ิงานประกอบในหนว่ ยงานก่อสร้าง เพอื่ ปอ้ งกนั อบุ ัติเหตุจาก สิง่ ของท่ตี กจากที่สงู ให้สวมหมวกนริ ภัยหรือหมวกกันนอ็ คเสมอ ดงั แสดงในรปู ท่ี 1.3 4. รองเทา้ นริ ภยั รองเทา้ นริ ภยั จะชว่ ยปอ้ งกนั เทา้ ไมใ่ หไ้ ดร้ บั อนั ตรายถงึ ขนั้ บาดเจบ็ จาก สิ่งของท่ีตกลงมาทับเท้า ลักษณะภายนอกของรองเท้าจะเหมือนกับรองเท้าท่ีใช้สวมใส่ตามปกติ แตกต่างกันตรงที่ภายในจะมเี หลก็ ปดิ หวั รองเท้าไว้ ดังแสดงในรูปท่ี 1.4

บทท่ี 1 โต๊ะปฏิบัตงิ านในโรงงานชา่ งโลหะ 13 รูระบายอากาศ กรอบหมวก เหลก็ ปิดหวั หน้าหมวก ภายนอก รองเทา้ สายรัดหน้าผาก แผ่นรองดา้ นใน พ้นื กนั ล่นื พืน้ ยางอัดกาวแน่น ยางจะแขง็ มาก เหลก็ สายรดั ศรี ษะ หรือตะปูไมส่ ามารถ รางน้�ำฝน ทิ่มตำ� ได้ สายรดั ท้ายทอย รปู ท่ี 1.4 รองเท้านริ ภยั รูปที่ 1.3 หมวกนิรภัย (แสดงรปู ตดั ) 5. โต๊ะปฏิบัตงิ าน – เคร่ืองมือ ในการปฏิบตั งิ านช่างเทคนิคขั้นพืน้ ฐานเป็นการท�ำงาน ด้วยมือ ท่ีโต๊ะปฏิบัติงานจะมีปากกาจับเหล็กปากขนานติดต้ังอยู่ เพื่อใช้จับชิ้นงานขณะท�ำงาน อย่างม่ันคงแน่นหนา เครื่องมือท่ีจ�ำเป็น เช่น เครื่องมือวัดและทดสอบ ควรวางเก็บอยู่ในล้ินชัก ของโตะ๊ ทำ� งานหรอื วางอยใู่ นหบี เครอื่ งมอื สว่ นเครอื่ งมอื ชนดิ พเิ ศษทใี่ ชง้ านรว่ มกนั จะเกบ็ ไวใ้ นหอ้ ง เคร่ืองมือของหนว่ ยงานนั้นๆ ดงั แสดงในรูปท่ี 1.5 และ 1.6 กระบะไม้ เครอ่ื งมอื วดั โตะ๊ ทำ� งาน เคร่อื งมือ ปากกา จับเหลก็ (ปากขนาน) ลน้ิ ชกั วางเครือ่ งมือ รูปที่ 1.5 การเกบ็ เครื่องมือในโตะ๊ ทำ� งานสำ� หรับงานตะไบ รปู ท่ี 1.6 การเกบ็ เคร่อื งมอื ในกลอ่ งเคร่อื งมือ และงานปรบั ดว้ ยเครอ่ื งมือ

14 งานฝกึ ฝมี อื 1 1.2 เครื่องหมายเตือนในบรเิ วณหน่วยงานทอ่ี าจเกิดอุบัตเิ หตุ บริเวณท่ีอาจเกิดอุบัติเหตุในโรงงานจะมีแผ่นป้ายเคร่ืองหมายเตือนไว้ ดังแสดงในรูปท่ี 1.7 เคร่ืองหมายบางอันมีลักษณะเหมือนกับเครื่องหมายจราจร ซึ่งการปฏิบัติตามค�ำเตือนที่ เคร่อื งหมายก�ำหนดไวน้ น้ั เป็นสิ่งที่จ�ำเป็นอย่างย่งิ แผน่ ป้ายแนะน�ำ (สีนำ้� เงิน - ขาว) สวมอปุ กรณ์ สวมหน้ากากปดิ จมกู สวมหมวก สวมอปุ กรณ์ ป้องกันตา ปอ้ งกันระบบทางเดนิ ปอ้ งกันศีรษะ ปอ้ งกันหู หายใจ แผน่ ปา้ ยหา้ ม (ขอบเสน้ สแี ดง) ห้ามทว่ั ไป ห้ามสูบบุหรี่ ห้ามจุดไฟและทำ� ให้ หา้ มเดินผา่ น เกิดประกายไฟ แผน่ ปา้ ยเตือน (สเี หลอื ง - ด�ำ) ระวงั อนั ตรายจาก ระวังพ้ืนลื่น ระวงั อนั ตราย ระวงั วัตถุระเบดิ นำ�้ หนักแขวนในท่สี ูง จากจากไฟฟ้า รูปที่ 1.7 แผน่ ป้ายเตอื นในลกั ษณะตา่ งๆ

บทที่ 1 โต๊ะปฏบิ ตั ิงานในโรงงานชา่ งโลหะ 15 ผู้เริ่มปฏิบัติงานส่วนมากยังไม่รู้จักเคร่ืองมือและอุปกรณ์ในการปฏิบัติงานมากพอ จึง จ�ำเป็นต้องศึกษาและเรียนรู้ช่ือทางช่างเทคนิค รูปร่างของเคร่ืองมือ และเทคนิคการใช้งานอย่าง ถูกต้อง การศึกษาวิธีการใช้เคร่ืองมือต้องฝึกทบทวนหลายคร้ังจนเกิดความช�ำนาญ ดังแสดงใน รูปท่ี 1.8 เปน็ ลกั ษณะของเคร่อื งมือและอุปกรณ์ในการปฏิบัตงิ าน ค้อน ปลายคอ้ นดา้ นแหลม หัวคอ้ น ดา้ ม พลาสตกิ ล่ิม หนา้ คอ้ น ดา้ ม คอ้ นตเี หล็ก คอ้ นพลาสติก เครอ่ื งมอื ทำ� เคร่อื งหมาย ลำ� ตวั เหล็กขีด ปลายวงเวียน ปลายเหลก็ ขดี แขนวงเวียน เหล็กขดี วงเวียน หัวนำ� ศูนย์ เล่อื ย แขนฉากหนา้ ปะทะ ลำ� ตัว ฉาก ปลายนำ� ศูนย์ เหล็กนำ� ศูนย์ ทย่ี ดึ ใบเล่อื ย โครงเลือ่ ย ด้ามจบั หูจบั ด้านมือจบั ใบเลอื่ ย นอตปกี นก ใบเล่ือยเซาะรอ่ ง ด้ามจับ สำ� หรับยึดใบเลือ่ ย เล่ือยเซาะรอ่ ง เลื่อยโครง รูปท่ี 1.8 ลกั ษณะของเคร่อื งมอื และอุปกรณใ์ นการปฏบิ ตั งิ าน

16 งานฝึกฝีมือ 1 สกดั คมสกัด หวั สกดั คมสกัด หัวสกัด ล�ำตวั สกดั ลำ� ตวั สกัด สกัดแบน สกดั ขวาง (สกดั เซาะร่อง) หวั สกัด ล�ำตัว หัวสกดั ลำ� ตัว คมสกดั คมปลายมนโคง้ สกดั เซาะรอ่ งนำ้� มัน สกัดโลหะแผ่น ผิวตะไบและฟันตะไบ ตะไบ กนั่ ตะไบ ด้ามจับ ภาพตดั ของตะไบ ตะไบแบน ตะไบครึง่ วงกลม (ท้องปลิง) ตะไบสเ่ี หล่ียม ตะไบสามเหลยี่ ม ตะไบกลม มีลักษณะภาพตดั หลายลักษณะ ตะไบเล็ก ตะไบเข็มหรือตะไบกุญแจ แปรงท�ำความสะอาดตะไบ รูปที่ 1.8 (ตอ่ ) ลักษณะของเครอ่ื งมือและอปุ กรณ์ในการปฏิบัตงิ าน

บทท่ี 1 โตะ๊ ปฏบิ ัติงานในโรงงานช่างโลหะ 17 เหล็กขดู คมขูด ดา้ มจบั ปลายเหล็กขูดคารไ์ บด์ ด้ามจบั ปากคมี เหลก็ ขูดสามเหลยี่ ม เหลก็ ขูดแบน คีมจับ, คมตดั แขนโยก คมตดั คมี ตดั ลวด (ด้านข้าง) คมตดั จดุ หมนุ คีมปากนกแก้ว ปากจบั งานกลม งปาานกแจบบั น คมตัด ปากมว้ นลวด คมี อเนกประสงค์ คีมมว้ นลวด (ปลายแหลม) ปากจบั แบน รปู รับขนาดจับชิน้ งาน คีมปลายแหลม (ปากแบน) คมี เลอ่ื น (งานทอ่ ) คมตัด คันโยกผอ่ นแรง คมตดั คมี ตัดลวด (โยกตดั บงั คับด้วยสปรงิ ) คีมตัดลวด (ดา้ นหนา้ ) รปู ท่ี 1.8 (ต่อ) ลกั ษณะของเคร่อื งมือและอุปกรณใ์ นการปฏิบัติงาน

18 งานฝกึ ฝมี ือ 1 ไขควง ปากแบน มอื จับ ไขควงปากแบน (ชนิดธรรมดา) มอื จับ ลำ� ตวั ปากแฉก ไขควงตัวแอล (ปลายงอฉาก) ไขควงปากแฉก (ดอกมะยม) ประแจกชนดิ ต่างๆ ตัวเลขบอกขนาดปากประแจ ปาก 14 12 ล�ำตัว ประแจตวั แอล (หกเหลีย่ มใน) ประแจปากตาย ตัวเลขบอกขนาด ตวั เลขบอกขนาด รสู �ำหรบั ใช้สลกั ขันประแจ ประแจแหวน (ด้ามจับตรงและดา้ มจบั งอ) ประแจบ็อกซ์ ปากตาย ปากเลอ่ื ยได้ เกลียวปรบั ประแจตะขอ ประแจเลอ่ื น รปู ท่ี 1.8 (ตอ่ ) ลกั ษณะของเครื่องมือและอปุ กรณ์ในการปฏบิ ัติงาน

บทท่ี 1 โตะ๊ ปฏบิ ัตงิ านในโรงงานชา่ งโลหะ 19 เคร่ืองมือวดั และทดสอบ แบ่งระยะเป็นเซนติเมตร ระยะระหว่างขีด แบ่งขีดเป็นมิลลิเมตร บรรทัดพบั บรรทดั เหล็ก ปากวดั ใน หนา้ แกนวัด สเกลวัด ปลอกวดั สกรปู รบั ยดึ วัดระยบะรรทดั เลอื่ น ปะทะวดั สเกลเวอร์เนียร์ 0 – 0.5 mm คนั โยกล็อค มอื จบั หมนุ วดั ปากวดั นอกเล่อื นได้ ระยะตวั โครง หรือแรตเซต ปากวัดนอกตายตัว เวอร์เนียร์ ขนาดวัด 0.5 mm โครง สเกลวัดปรับค่ามมุ สเกลวดั มุมตายตวั ไมโครมเิ ตอร์ แขนฉาก แขนวดั ตายตวั ฉากแบน แขนวัดปรบั มุมได้ ยางรองจบั โปรแทรกเตอรป์ รบั วดั มมุ คมวดั และทดสอบ แขนฉาก คมวัดและทดสอบ ฉากเส้นผม (คมขีด) บรรทัดเสน้ ผม (คมมดี ) รปู ที่ 1.8 (ต่อ) ลักษณะของเครอ่ื งมอื และอปุ กรณ์ในการปฏิบตั ิงาน


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook