Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore สร้างและพัฒนาหลักสูตร

สร้างและพัฒนาหลักสูตร

Published by นายคเณศ สมตระกูล, 2021-08-28 15:46:09

Description: ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2563

Keywords: หลักสูตร

Search

Read the Text Version

หลักสูตรกลุ่มสำระกำรเรียนรู้คณิตศำสตร์ ตำมหลักสูตรแกนกลำงกำรศึกษำข้นั พนื้ ฐำน พทุ ธศักรำช 2551 (ฉบบั ปรับปรุง 2560) กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โรงเรียนมัธยมวัดเบญจมบพิตร สำนักงำนเขตพืน้ ที่กำรศึกษำมธั ยมศึกษำกรุงเทพมหำนคร เขต ๑ สำนักงำนคณะกรรมกำรกำรศึกษำข้นั พน้ื ฐำน กระทรวงศึ กษำธิกำร

โครงสร้างรายวชิ า คาอธิบายรายวชิ าคณติ ศาสตร์เพิ่มเตมิ รหัสวชิ า ค23208 วิชาคณิตศาสตร์ความเปน็ เลศิ 6 ชน้ั มธั ยมศึกษาปที ี่ 3 จานวน 0.5 หน่วยกติ ภาคเรยี นท่ี 2 เวลา 20 ชั่วโมง ศกึ ษา พรอ้ มทัง้ ฝกึ ทกั ษะและกระบวนการทางคณติ ศาสตร์ในเน้อื หาสาระ ดงั นี้ O-NET ข้อสอบการทดสอบทางการศึกษาขัน้ พ้ืนฐานระดับชาติและขอ้ สอบสอบเข้าศึกษาตอ่ ข้อสอบเพื่อการศึกษาต่อ พัฒนา ทบทวน และเตรียมความพร้อมสาหรับการทดสอบ เรยี นรแู้ ละฝึกปฏบิ ตั ิเพ่อื ให้เห็น คณุ ค่าของการนาความรไู้ ปใชใ้ นการศกึ ษาต่อ โดยจัดประสบการณ์ให้ผ้เู รยี นไดพ้ ฒั นาทกั ษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ อันไดแ้ ก่ การ แกป้ ญั หา การสื่อสารและการสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์ การเชื่อมโยง การให้เหตุผล และการคิดสร้างสรรค์ การใชส้ ่ือ อุปกรณ์ เทคโนโลยี และแหลง่ ขอ้ มูล และนาประสบการณ์ ตลอดจนทักษะและ กระบวนการท่ีไดไ้ ปใชใ้ นการเรยี นรูต้ า่ งๆ และใช้ในชีวิตประจาวันอย่างสร้างสรรค์ รวมทัง้ เหน็ คุณค่าและมเี จตคติ ทด่ี ตี ่อคณติ ศาสตร์ สามารถทางานอย่างเป็นระบบ มีความรอบคอบ และมีวิจารณญาณ การวดั ประเมินผล ใชว้ ธิ ีการท่หี ลากหลายตามสภาพความเป็นจรงิ ใหส้ อดคลอ้ งกบั เน้ือหาและ ทกั ษะท่ตี อ้ งการวัด ผลการเรยี นรู้ 1. เขา้ ใจจานวนตรรกยะและความสมั พันธข์ องจานวนตรรกยะ และใชส้ มบัตขิ องจานวนตรรกยะ และใช้ สมบตั ิของจานวนตรรกยะในการแก้ปญั หาคณติ ศาสตร์และปญั หาในชวี ติ จรงิ 2. เขา้ ใจจานวนจริงและความสมั พันธข์ องจานวนจรงิ และใช้สมบตั ิของจานวนจรงิ ในการแก้ปัญหา คณิตศาสตรแ์ ละปัญหาในชวี ติ จริง 3. เขา้ ใจและใช้สมบัติของเลขยกกาลังทมี่ ีเลขชี้กาลังเปน็ จานวนเต็มบวกในการแก้ปัญหาคณติ ศาสตร์และ ปญั หาในชีวติ จริง 4. เข้าใจและประยุกตใ์ ช้อัตราส่วน สดั สว่ นและร้อยละในการแกป้ ญั หาคณติ ศาสตร์และปญั หาในชีวิตจริง 5. ประยกุ ต์ใช้ความรู้เร่อื งพนื้ ท่ีผิวของปรซิ ึมและทรงกระบอกในการแก้ปญั หาคณติ ศาสตร์และปัญหาในชวี ิต 6. ประยกุ ตใ์ ชค้ วามร้เู รื่องปรมิ าตรของปริซมึ และทรงกระบอกในการแก้ปัญหาคณติ ศาสตรแ์ ละปัญหาในชวี ิต 7. ประยุกตใ์ ชค้ วามรเู้ รื่องปริมาตรของพีระมิด กรวย และทรงกลม ในการแก้ปัญหาคณติ ศาสตรแ์ ละปัญหาใน ชีวติ จรงิ 8. ประยุกตใ์ ชค้ วามรเู้ รอื่ งพน้ื ทผี่ ิวของพรี ะมดิ กรวย และทรงกลม ในการแก้ปัญหาคณติ ศาสตรแ์ ละปญั หาใน ชีวติ จรงิ 9. เขา้ ใจและใช้ความรทู้ างเรขาคณิตในการวิเคราะห์หาความสมั พนั ธร์ ะหว่างรปู เรขาคณติ สองมิติและรูป เรขาคณิตสามมิติ 10. นาความรู้เกี่ยวกบั สมบตั ขิ องเสน้ ขนานและรูปสามเหลีย่ มไปใช้ในการแก้ปัญหาคณิตศาสตร์ 11. เข้าใจและใช้สมบัติของรปู สามเหลีย่ มท่ีเท่ากันทกุ ประการในการแกป้ ญั หาคณติ ศาสตรแ์ ละปัญหาใน ชวี ิตจริง 12. เขา้ ใจและใช้ความรู้เกี่ยวกับการแปลงทางเรขาคณติ ในการแกป้ ญั หาคณติ ศาสตรแ์ ละปญั หาในชวี ติ จรงิ

13. เข้าใจและใช้สมบตั ิของรูปสามเหล่ยี มที่คล้ายกนั ในการแก้ปญั หาคณติ ศาสตรแ์ ละปญั หาในชวี ติ จริง 14. เข้าใจและใช้ความรูท้ างเรขาคณิตในการวเิ คราะห์หาความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งรปู เรขาคณิตสองมติ ิ 15. เข้าใจและใช้สมบัติของการเท่ากนั และสมบัติของจานวน เพื่อวเิ คราะห์และแก้ปัญหาโดยใช้สมการเชงิ เสน้ ตวั แปรเดียว 16. เขา้ ใจและใช้ความรู้เกี่ยวกบั กราฟในการแก้ปัญหาคณิตศาสตรแ์ ละปญั หาในชวี ิตจรงิ 17. เขา้ ใจและใช้ความรเู้ ก่ียวกบั ความสมั พันธ์เชิงเสน้ ในการแกป้ ญั หาคณติ ศาสตร์และปญั หาในชีวิตจรงิ 18. ประยุกต์ใชร้ ะบบสมการเชงิ เส้นสองตัวแปรในการแกป้ ญั หาคณติ ศาสตร์ 19. เขา้ ใจและใช้สมบตั ิของการไม่เทา่ กนั เพือ่ วิเคราะหแ์ ละแก้ปัญหาโดยใชอ้ สมการเชิงเสน้ ตวั แปรเดยี ว 20. เข้าใจเกี่ยวกับการทดลองสุ่มและนาผลท่ไี ดไ้ ปหาความน่าจะเป็นของเหตุการณ์ 21. เข้าใจและใช้ความรทู้ างสถติ ิในการนาเสนอขอ้ มูลและวิเคราะหข์ อ้ มูลจากแผนภาพจุด แผนภาพต้น-ใบ ฮสิ โทแกรม และค่ากลางของขอ้ มูล และแปลความหมายผลลัพธ์รวมท้ังนาสถิตไิ ปใช้ในชวี ติ จรงิ โดยใช้ เทคโนโลยีที่เหมาะสม 22. เข้าใจและใช้ความรเู้ กี่ยวกบั อัตราสว่ นตรโี กณมติ ิในการแกป้ ัญหาคณติ ศาสตรแ์ ละปญั หาในชีวิตจรงิ 23. เข้าใจและใช้ทฤษฎบี ทเก่ยี วกบั วงกลมในการแก้ปัญหาคณติ ศาสตร์ 24. ประยกุ ตใ์ ชส้ มการกาลังสองตวั แปรเดียวในการแกป้ ัญหาคณติ ศาสตร์ 25. เข้าใจและใช้ทฤษฎีบทพที าโกรสั และบทกลับในการแกป้ ญั หาคณติ ศาสตรแ์ ละปัญหาในชีวิตจริง 26. ประยุกต์ใชค้ วามรเู้ รอ่ื งเวทคณิตในการดาเนินการทางคณิตศาสตร์ รวมทง้ั หมด 26 ผลการเรยี นรู้

โครงสร้างรายวิชา คาอธบิ ายรายวชิ าคณิตศาสตร์พ้นื ฐาน รหสั วิชา ค32102 วชิ าคณติ ศาสตร์พ้ืนฐาน 4 ช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 5 จานวน 1.0 หน่วยกติ ภาคเรียนท่ี 2 เวลา 40 ชว่ั โมง ศกึ ษา พร้อมทัง้ ฝกึ ทกั ษะและกระบวนการทางคณติ ศาสตร์ในเนื้อหาสาระ ดังน้ี ลาดับและอนกุ รม ลำดับ ควำมหมำยของลำดับ ลำดบั เลขคณติ ลำดบั เรขำคณติ อนุกรม อนุกรมเลขคณติ อนุกรมเรขำคณิต กำรประยกุ ตข์ องลำดับและอนุกรม โดยจัดประสบกำรณใ์ ห้ผเู้ รียนไดพ้ ฒั นำทกั ษะและกระบวนกำรทำงคณติ ศำสตร์ อนั ไดแ้ ก่ กำร แกป้ ัญหำ กำรสื่อสำรและกำรสอ่ื ควำมหมำยทำงคณิตศำสตร์ กำรเชื่อมโยง กำรใหเ้ หตุผล และกำรคิดสร้ำงสรรค์ กำรใชส้ ื่อ อุปกรณ์ เทคโนโลยี และแหลง่ ขอ้ มูล และนำประสบกำรณ์ ตลอดจนทกั ษะและ กระบวนกำรทไี่ ดไ้ ปใช้ในกำรเรียนรู้ต่ำงๆ และใชใ้ นชีวิตประจำวันอยำ่ งสรำ้ งสรรค์ รวมท้ังเหน็ คุณค่ำและมเี จตคติ ท่ีดตี อ่ คณติ ศำสตร์ สำมำรถทำงำนอยำ่ งเปน็ ระบบ มคี วำมรอบคอบ และมวี ิจำรณญำณ กำรวัดประเมนิ ผล ใช้วิธกี ำรท่หี ลำกหลำยตำมสภำพควำมเปน็ จริงใหส้ อดคล้องกบั เนื้อหำและ ทกั ษะทต่ี อ้ งกำรวดั ตวั ชีว้ ัด ค 1.2 ม.5/2 รวมทั้งหมด 1 ตัวชว้ี ัด

โครงสรา้ งรายวชิ า คาอธบิ ายรายวชิ าคณิตศาสตร์พ้ืนฐาน รหัสวชิ า ค32104 วิชาคณติ ศาสตร์ (ทวศิ กึ ษา) 4 ชน้ั มธั ยมศึกษาปที ่ี 5 จานวน 1.0 หนว่ ยกติ ภาคเรียนที่ 2 เวลา 40 ชัว่ โมง ศกึ ษา พร้อมท้ังฝกึ ทกั ษะและกระบวนการทางคณิตศาสตรใ์ นเนือ้ หาสาระ ดังน้ี ลาดบั และอนุกรม ลำดบั ควำมหมำยของลำดับ ลำดบั เลขคณติ ลำดบั เรขำคณิต อนกุ รม อนุกรมเลขคณติ อนุกรมเรขำคณิต กำรประยุกต์ของลำดบั และอนุกรม โดยจดั ประสบกำรณ์ให้ผเู้ รยี นไดพ้ ัฒนำทกั ษะและกระบวนกำรทำงคณิตศำสตร์ อันได้แก่ กำร แก้ปัญหำ กำรส่อื สำรและกำรสื่อควำมหมำยทำงคณิตศำสตร์ กำรเชอ่ื มโยง กำรใหเ้ หตุผล และกำรคิดสรำ้ งสรรค์ กำรใช้สือ่ อุปกรณ์ เทคโนโลยี และแหล่งขอ้ มูล และนำประสบกำรณ์ ตลอดจนทักษะและ กระบวนกำรทไี่ ดไ้ ปใช้ในกำรเรียนรู้ตำ่ งๆ และใช้ในชวี ิตประจำวันอยำ่ งสรำ้ งสรรค์ รวมท้งั เห็นคุณค่ำและมีเจตคติ ที่ดีต่อคณติ ศำสตร์ สำมำรถทำงำนอยำ่ งเป็นระบบ มคี วำมรอบคอบ และมีวจิ ำรณญำณ กำรวัดประเมนิ ผล ใชว้ ิธีกำรท่หี ลำกหลำยตำมสภำพควำมเปน็ จรงิ ใหส้ อดคล้องกับเนือ้ หำและ ทกั ษะทตี่ อ้ งกำรวดั ตัวช้วี ัด ค 1.2 ม.5/2 รวมทั้งหมด 1 ตัวชว้ี ัด

โครงสร้างรายวชิ า คาอธิบายรายวชิ าคณิตศาสตร์เพมิ่ เตมิ รหัสวิชา ค32202 วิชาคณติ ศาสตรเ์ พม่ิ เติม 4 ชนั้ มัธยมศกึ ษาปีท่ี 5 จานวน 2.0 หน่วยกติ ภาคเรียนท่ี 2 เวลา 80 ชัว่ โมง ศึกษา พรอ้ มทง้ั ฝกึ ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตรใ์ นเนือ้ หาสาระ ดังนี้ จานวนเชงิ ซอ้ น จำนวนเชงิ ซอ้ น สมบัติเชิงพีชคณติ ของจำนวนเชงิ ซ้อน รำกทีส่ องของจำนวน เชิงซ้อน กรำฟและค่ำสัมบรู ณข์ องจำนวนเชงิ ซอ้ น รูปเชงิ ขว้ั ของจำนวนเชิงซ้อน รำกที่ n ของจำนวนเชิงซอ้ น สมกำรพหุนำมตัวแปรเดยี ว หลักการนับเบ้ืองตน้ หลกั กำรบวกและหลักกำรคูณ กำรเรยี งสับเปลย่ี นเชิงเสน้ ของสงิ่ ของท่ี แตกต่ำงกนั ท้งั หมด กำรเรยี งสบั เปล่ียนเชงิ เสน้ ของสงิ่ ของทไี่ ม่แตกตำ่ งกันทั้งหมด กำรเรยี งสบั เปลีย่ นเชงิ วงกลม ของสิ่งของท่ีแตกต่ำงกนั ทง้ั หมด กำรจัดหม่ขู องสิง่ ของทีแ่ ตกต่ำงกนั ทั้งหมด ทฤษฎีบททวินำม ความนา่ จะเปน็ กำรทดลองสุ่มและเหตุกำรณ์ ควำมนำ่ จะเป็น กฎทส่ี ำคญั บำงประกำรของ ควำมน่ำจะเปน็ โดยจัดประสบกำรณใ์ ห้ผ้เู รียนได้พัฒนำทกั ษะและกระบวนกำรทำงคณติ ศำสตร์ อนั ไดแ้ ก่ กำร แกป้ ญั หำ กำรสอื่ สำรและกำรส่อื ควำมหมำยทำงคณติ ศำสตร์ กำรเชอื่ มโยง กำรใหเ้ หตุผล และกำรคิดสร้ำงสรรค์ กำรใช้ส่อื อุปกรณ์ เทคโนโลยี และแหล่งขอ้ มูล และนำประสบกำรณ์ ตลอดจนทักษะและ กระบวนกำรท่ีไดไ้ ปใชใ้ นกำรเรยี นรตู้ ่ำงๆ และใช้ในชีวติ ประจำวันอย่ำงสร้ำงสรรค์ รวมท้งั เห็นคุณค่ำและมเี จตคติ ทีด่ ตี ่อคณิตศำสตร์ สำมำรถทำงำนอย่ำงเป็นระบบ มคี วำมรอบคอบ และมีวจิ ำรณญำณ กำรวดั ประเมินผล ใช้วิธกี ำรท่ีหลำกหลำยตำมสภำพควำมเปน็ จรงิ ใหส้ อดคลอ้ งกับเนอื้ หำและ ทักษะทตี่ ้องกำรวดั ผลการเรยี นรู้ 1. เขำ้ ใจจำนวนเชงิ ซอ้ นและใช้สมบัติของจำนวนเชงิ ซอ้ นในกำรแก้ปัญหำ 2. หำรำกท่ี n ของจำนวนเชงิ ซอ้ น เมอื่ n เปน็ จำนวนนบั ทีม่ ำกกว่ำ 1 3. แกส้ มกำรพหนุ ำมตัวแปรเดยี วดีกรไี ม่เกนิ สี่ ท่มี ีสัมประสิทธเ์ิ ปน็ จำนวนเต็ม และนำไปใช้ในกำรแกป้ ัญหำ 4. เขำ้ ใจและใช้หลักกำรบวกและกำรคูณ กำรเรียงสับเปล่ียน และกำรจดั หมู่ ในกำรแกป้ ัญหำ 5. หำควำมน่ำจะเป็นและนำควำมร้เู ก่ยี วกับควำมน่ำจะเป็นไปใช้ รวมทัง้ หมด 5 ผลการเรียนรู้

ตารางการวเิ คราะห์หลักสตู รตามมาตรฐานและตัวชว้ี ดั หรอื ผลการเรียนรู้ รหสั วิชา ค32202 วชิ าคณติ ศาสตร์เพ่ิมเตมิ 4 ชัน้ มัธยมศกึ ษาปที ่ี 5 จานวน 2.0 หน่วยกติ ภาคเรียนที่ 2 เวลา 80 ชั่วโมง พฤติกรรม การวเิ คราะห์จุดประสงคเ์ ชิงพฤติกรรม อนั ดบั ความสาคญั K C A AN S E รวม 2 ผลการเรียนรู้ 2 10 10 10 10 10 10 3 1. เข้าใจจานวนเชิงซ้อนและใชส้ มบัตขิ อง 9 10 9 8 7 7 50 1 9 9 9 9 7 7 50 2 จานวนเชงิ ซ้อนในการแกป้ ัญหา 2. หารากที่ n ของจานวนเชงิ ซ้อน เมอ่ื n เป็นจานวนนับทม่ี ากกว่า 1 3. แก้สมการพหุนามตัวแปรเดียวดีกรีไม่เกนิ ส่ี ที่มีสัมประสทิ ธเ์ิ ป็นจานวนเตม็ และ 8 9 9 9 7 7 49 นาไปใช้ในการแกป้ ัญหา 4. เขา้ ใจและใช้หลกั การบวกและการคูณ การเรียงสบั เปล่ยี น และการจัดหมู่ ในการ 8 10 10 9 7 7 51 แก้ปัญหา 5. หาความนา่ จะเปน็ และนาความรู้เก่ียวกับ 8 9 10 9 7 7 50 ความนา่ จะเปน็ ไปใช้ รวม 42 47 47 44 35 35 250 อันดบั ความสาคญั 4 2 1 3 6 5 จากตารางการวิเคราะห์หลักสูตรตามมาตรฐานและตัวช้ีวัด หรือผลการเรียนรู้ รายวิชาคณิตศาสตร์ เพ่ิมเตมิ 4 (ค32202) ช้นั มธั ยมศึกษาปีท่ี 5 พบว่า รายวชิ าน้ีมจี ดุ มุ่งหมายท่มี ีผลการเรียนรู้จะใหเ้ กิดกับผู้เรียน เมือ่ เรียนจบ โดยเรยี งอันดับความสาคญั จากมากไปน้อย จะไดด้ ังน้ี อนั ดับที่ 1 นา้ หนกั เฉลย่ี รวม 51 1. เข้าใจและใชห้ ลักการบวกและการคณู การเรยี งสบั เปลย่ี น และการจดั หมู่ ในการแกป้ ญั หา อนั ดับท่ี 2 นา้ หนกั เฉล่ียรวม 50 1. เขา้ ใจจานวนเชิงซ้อนและใช้สมบัตขิ องจานวนเชงิ ซอ้ นในการแก้ปัญหา 2. หารากท่ี n ของจานวนเชงิ ซ้อน เมอื่ n เป็นจานวนนับทมี่ ากกว่า 1 3. หาความนา่ จะเปน็ และนาความร้เู กี่ยวกับความน่าจะเป็นไปใช้ อนั ดับที่ 3 น้าหนักเฉลยี่ รวม 49 1. แกส้ มการพหนุ ามตวั แปรเดียวดีกรไี ม่เกนิ ส่ี ท่ีมีสัมประสิทธ์ิเปน็ จานวนเต็ม และนาไปใชใ้ น การแกป้ ัญหา

ส่วนการวิเคราะห์จุดประสงค์เชิงพฤติกรรมในรายวิชาน้ี พบว่า มีจุดมุ่งหมายท่ีจะให้ผู้เรียนเกิด พฤติกรรมสาคัญ 3 อันดับแรก โดยน้าหนักเฉล่ียที่เท่ากันจะใช้ระดับของจุดประสงค์เชิงพฤติกรรมเป็นเกณฑ์ สาหรบั การจดั อนั ดับความสาคัญ จะไดด้ งั นี้ 1. การนาไปใช้ (A) นา้ หนกั เฉลี่ยรวม 47 สาคญั เปน็ อนั ดบั ที่ 1 2. ความเขา้ ใจ (C) น้าหนกั เฉลย่ี รวม 47 สาคญั เปน็ อันดับท่ี 2 3. การวเิ คราะห์ (AN) น้าหนักเฉลี่ยรวม 44 สาคัญเป็นอันดับท่ี 3

รหสั วิชา ค32202 ตารางการวิเคราะห์หลักสตู รตามเน้อื หา ชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ 5 จานวน 2.0 หน่วยกติ เวลา 80 ชวั่ โมง วชิ าคณติ ศาสตร์เพม่ิ เตมิ 4 ภาคเรยี นที่ 2 จดุ ม่งุ หมาย ความ ู้รความจา เนื้อหา ความเข้าใจ การนาไปใช้ การ ิวเคราะห์ การสังเคราะห์ การประเ ิมน ่คา รวม ลาดับความสา ัคญ 10 10 10 10 10 10 1. จานวนเชงิ ซ้อน 8 9 8 9 7 7 48 3 2. หลักการนบั เบอ้ื งต้น 8 9 9 9 7 7 49 2 3. ความนา่ จะเปน็ 8 9 10 9 8 8 52 1 รวม 24 27 27 27 22 22 149 ลาดบั ความสาคัญ 4 3 2 1 6 5 จากตารางการวเิ คราะห์หลักสูตรตามเนื้อหา รายวิชาคณติ ศาสตร์เพ่มิ เติม 3 (ค32201) ชน้ั มัธยมศึกษาปที ี่ 5 พบว่า รายวชิ าน้มี จี ุดมุ่งหมายด้านเน้ือหา โดยเรียงอันดบั ความสาคัญจากมากไปน้อย จะได้ ดงั นี้ อนั ดับท่ี 1 ความน่าจะเป็น นา้ หนกั เฉลี่ยรวม 52 อันดับที่ 2 หลกั การนับเบอ้ื งตน้ นา้ หนักเฉลีย่ รวม 49 อนั ดับที่ 3 จานวนเชงิ ซ้อน นา้ หนักเฉลี่ยรวม 48 ส่วนจุดมุ่งหมายเชิงพฤติกรรมด้านเนื้อหารายวิชาน้ี พบว่า มีจุดมุ่งหมายที่จะให้ผู้เรียนเกิดพฤตกิ รรม สาคญั 3 อันดบั แรก โดยนา้ หนักเฉลี่ยทีเ่ ท่ากนั จะใช้ระดับของจดุ ม่งุ หมายเชงิ พฤติกรรมเปน็ เกณฑ์สาหรับการ จัดอนั ดับความสาคญั จะไดด้ งั นี้ 1. การวเิ คราะห์ (AN) น้าหนกั เฉลี่ยรวม 27 สาคญั เปน็ อนั ดบั ท่ี 1 2. การนาไปใช้ (A) น้าหนกั เฉลยี่ รวม 27 สาคญั เปน็ อันดบั ท่ี 2 3. ความเขา้ ใจ (C) น้าหนกั เฉลย่ี รวม 27 สาคัญเป็นอนั ดับท่ี 3

ตารางการวิเคราะหห์ ลกั สตู รตามเน้ือหา แปลงหน่วยเป็น 1000 รหัสวิชา ค32202 วิชาคณติ ศาสตร์เพ่ิมเติม 4 ชัน้ มธั ยมศึกษาปที ่ี 5 จานวน 2.0 หน่วยกิต ภาคเรยี นที่ 2 เวลา 80 ชั่วโมง จุดมุ่งหมาย ความ ู้รความจา เนอ้ื หา ความเข้าใจ การนาไปใช้ การ ิวเคราะห์ การสังเคราะห์ การประเ ิมน ่คา รวม ลาดับความสา ัคญ 10 10 10 10 10 10 1. จานวนเชงิ ซ้อน 54 60 53 60 47 47 321 3 2 2. หลกั การนบั เบ้อื งตน้ 54 60 60 60 47 47 328 1 3. ความน่าจะเปน็ 54 60 67 60 54 54 349 รวม 162 180 180 180 148 148 998 ลาดับความสาคญั 4 3 2 1 6 5 จากตารางการวิเคราะห์หลักสูตรตามเน้ือหา แปลงหน่วยเป็น 1000 รายวิชาคณิตศาสตร์เพิ่มเติม 4 (ค32202) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 พบว่า ตารางดังกล่าวเกิดจากการแปลงค่าน้าหนักรวมให้เป็น 1000 โดยการ เทยี บบัญญัติไตรยางค์ ซง่ึ จะไดค้ า่ น้าหนกั ดังตอ่ ไปนี้ 1 หน่วย เทา่ กบั 6.71 2 หน่วย เท่ากับ 13.42 3 หนว่ ย เท่ากับ 20.13 4 หนว่ ย เท่ากบั 26.84 5 หน่วย เท่ากับ 33.55 6 หน่วย เทา่ กบั 40.26 7 หน่วย เท่ากับ 46.97 8 หนว่ ย เท่ากับ 53.68 9 หนว่ ย เท่ากับ 60.39 10 หนว่ ย เท่ากับ 67.10 เน่ืองจากเมื่อนาค่าน้าหนักที่แปลงแล้วไปเขียนลงในตารางการวิเคราะห์หลักสูตรตามเนื้อหา แปลงหน่วยเป็น 1000 โดยปัดให้เป็นจานวนเต็ม จะเห็นว่าผลรวมไม่เท่ากับ 1000 ซ่ึงขาดไปอยู่ 2 หน่วย ดังนั้นจึงต้องเพิ่มน้าหนัก 2 หน่วย เพื่อให้ได้ 1000 พอดี แต่ลาดับความสาคัญต้องไม่เปลี่ยนแปลง จึงเพิม่ จุดมงุ่ หมายดงั ตอ่ ไปน้ี ดา้ นการวิเคราะห์ ในบทที่ 2 เรื่อง หลกั การนับเบอ้ื งตน้ จาก 60 หน่วย เป็น 61 หนว่ ย ด้านการวเิ คราะห์ ในบทท่ี 3 เร่ือง ความน่าจะเป็น จาก 60 หนว่ ย เป็น 61 หนว่ ย ก็จะไดผ้ ลรวมเทา่ กับ 1000 พอดี

ตารางการวิเคราะหห์ ลกั สตู รตามเนือ้ หา แปลงหนว่ ยเปน็ 1000 (ปรับแลว้ ) รหสั วชิ า ค32202 วิชาคณติ ศาสตร์เพ่มิ เติม 4 ชน้ั มธั ยมศึกษาปที ี่ 5 จานวน 2.0 หนว่ ยกติ ภาคเรียนที่ 2 เวลา 80 ชัว่ โมง จุดมุ่งหมาย ความ ู้รความจา เน้ือหา ความเข้าใจ การนาไปใช้ การ ิวเคราะห์ การสังเคราะห์ การประเ ิมน ่คา รวม ลาดับความสา ัคญ 10 10 10 10 10 10 47 321 1. จานวนเชงิ ซอ้ น 54 60 53 60 47 47 329 3 54 350 2 2. หลักการนับเบือ้ งต้น 54 60 60 61 47 148 1000 1 5 3. ความนา่ จะเป็น 54 60 67 61 54 รวม 162 180 180 182 148 ลาดบั ความสาคัญ 4 3 2 1 6 จากตารางการวเิ คราะห์หลักสูตรตามเนือ้ หา แปลงหน่วยเป็น 1000 (ปรับแล้ว) รายวิชาคณิตศาสตร์ เพ่ิมเติม 4 (ค32202) ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 5 พบว่า เม่ือเพิ่มน้าหนักจุดมุ่งหมายด้านการวิเคราะห์ ในบทท่ี 2 เรื่อง หลักการนับเบื้องต้น จาก 60 หน่วย เป็น 61 หน่วย และด้านการวิเคราะห์ ในบทท่ี 3 เร่ือง ความน่า จะเป็น จาก 60 หน่วย เป็น 61 หน่วย ก็จะได้ผลรวมเท่ากับ 1000 พอดี ดังนั้นหากต้องการนาข้อมูลจาก ตารางดังกล่าวไปใช้ในการจัดการเรียนการสอน ใหใ้ สจ่ ดุ ทศนิยมลงไปก็จะได้ขอ้ สอบจานวน 100 ข้อทม่ี ีความ ตรงตามเน้ือหา และหากตอ้ งการข้อสอบจานวน 50 ขอ้ หรือ 30 ขอ้ กใ็ ห้ยอ่ ส่วนลงมา


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook