Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แผนปฏิบัติการประจำปีการศึกษา 2563

แผนปฏิบัติการประจำปีการศึกษา 2563

Published by Ne-Twos KS, 2020-12-06 04:14:18

Description: ita_65100773_1_20201020-184455

Search

Read the Text Version

ท่ี การดำเนินการและกิจกรรม ระยะเวลา งบประมาณ ผรู้ ับผดิ ชอบ ในงบ นอกงบ - จัดเกบ็ เครือ่ งมอื วดั ผลและประเมนิ ผลอย่าง ตลอดปี 500 - - อ.พรี กานต์ - ครทู ุกคน เปน็ ระบบทุกกลมุ่ สาระการเรียนรู้และ - 300 - - อ.พีรกานต์ ทกุ ระดับชั้น - - ครปู ยิ ะวรรณ 300 - จดั เกบ็ ปพ.5 และแบบประเมนิ ผลต่างๆ ตลอดปี 300 - - ครปู ยิ ะวรรณ - - ครูปยิ ะวรรณ อย่างเปน็ ระบบ 100 100 - - ครู.ปิยะ - จัดทำแบบประเมินและเกณฑ์การประเมนิ ก.ค.-ส.ค. - - ผู้บริหาร การอา่ น คิดวิเคราะห์ และเขียน(นกั เรยี นชนั้ ป. 63 - ครูปยิ ะวรรณ 1-ม.3) - แบบประเมินและเกณฑ์การประเมิน ก.ค.-ส.ค. คณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์(นักเรยี นช้ันป.1-ม.3) 63 - จดั ทำแบบประเมินและเกณฑก์ ารประเมิน ก.ค.-ส.ค. สมรรถนะสำคัญของผเู้ รยี น(นักเรียนชนั้ ป.1- 63 ม.3) - จดั ทำแบบประเมนิ สมรรถภาพทางกาย ปีละ 1ครงั้ (นกั เรียนช้นั ป.1-ม.3) 5 นิเทศ กำกับ ติดตาม ตรวจสอบประเมินผล ตลอดปี ปรับปรงุ งาน 6 สรุปรายงานผลการดำเนินงาน เม.ย.64 100 - - ครปู ิยะวรรณ 5. ทรพั ยากรทีต่ ้องการ 5.1 งบประมาณ รวมทัง้ สิ้น 74,100 บาท 5.1.1 ใช้เงนิ งบประมาณอดุ หนุนรายหัวนกั เรยี น เปน็ จำนวนเงนิ 74,100 บาท 5.1.2 ใชเ้ งนิ นอกงบประมาณ เปน็ จำนวนเงิน - บาท 5.2 บคุ ลากร ไดแ้ ก่ ผูบ้ รหิ าร คณะครู นกั เรยี น คณะกรรมการสถานศกึ ษาและบคุ คลในชมุ ชน 6. การวัดและประเมนิ ผล ตัวบ่งชีค้ วามสำเรจ็ วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมอื ประเมิน 1. ผู้เรยี นร้อยละ 85มีความสามารถในการอ่าน - ตรวจประเมินสรุปผลการ - แฟ้มสรุปผลการ และเขียนได้เหมาะสมตามระดับชัน้ ดำเนินงานโครงการ ดำเนนิ งานโครงการ (การประเมนิ การอ่านออกชั้นป.1/การประเมนิ การพฒั นาคณุ ภาพงาน การพฒั นาคณุ ภาพงาน การอา่ นการเขยี นภาษาไทยช้ันป.1-ป.6/การ วชิ าการระดบั การศึกษา วชิ าการระดับการศึกษา

ตัวบ่งชีค้ วามสำเร็จ วิธีการวดั และประเมนิ ผล เคร่ืองมอื ประเมนิ ประเมินผล การร้เู ร่ืองการอ่านตามแนวการ ข้ันพน้ื ฐาน ขน้ั พื้นฐาน ประเมินผลนกั เรียนนานาชาติ Pisa) - ดภู าพประกอบกจิ กรรม - ภาพประกอบกจิ กรรม 2. ผ้เู รียนรอ้ ยละ 85มีความสามารถในดา้ นการ - แบบประเมนิ ผลสำเรจ็ สอื่ สารทัง้ ภาษาไทยและภาษาองั กฤษ เหมาะสม - นกั เรียน คณะครู และ เชงิ ปรมิ าณและคณุ ภาพ ตามระดบั ช้ัน ชุมชน ประเมินผลสำเรจ็ 3. ผ้เู รียนร้อยละ 85 มคี วามสามารถในด้านการ ตามเป้าหมายเชงิ ปริมาณ คดิ คำนวณเหมาะสมตามระดับช้ัน และคุณภาพ 4. ผู้เรียนรอ้ ยละ 85มคี วามสามารถในการคิด วเิ คราะห์ คดิ วจิ ารณญาณ อภิปราย แลกเปลย่ี น ความคดิ เห็น แก้ปัญหาและนำไปประยุกต์ใชใ้ น สถานการณ์ต่างๆ อย่างเหมาะสม 5. ผเู้ รยี นร้อยละ 85 มคี วามสามารถในการใช้ เทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอื่ สารได้อยา่ ง เหมาะสมปลอดภัย มีประสิทธภิ าพ 6. ผู้เรยี นร้อยละ 85 มีความกา้ วหน้าจากพื้นฐาน เดิมในแต่ละปใี นดา้ นความรคู้ วามเข้าใจ และ ทกั ษะต่างๆ ตามหลักสูตร อย่างเป็นรูปธรรมและ ตอ่ เนอื่ ง 7. ผู้เรียนร้อยละ 85 มีค่าเฉลี่ยผลการทดสอบ ระดับชาตขิ องผู้เรยี นมีพัฒนาการสูงขึน้ หรือ คณุ ภาพเป็นไปตามเป้าหมาย(NT ชนั้ ป.3/O- NET ชั้นป.6 และ ม.3) 8. ผู้เรยี นร้อยละ 85มีความรู้ ทักษะ และ เจตคตทิ ่ีดีพร้อมทจ่ี ะศกึ ษาต่อในระดบั ช้ันท่ีสูงขึ้น หรอื มวี ฒุ ิภาวะทางอาชีพเหมาะสมกบั ช่วงวัย 9. สถานศึกษามีเปา้ หมาย วิสัยทัศน์ และพันธกจิ ท่ีกำหนดไวต้ รงกับวัตถุประสงค์ของแผนการ ศกึ ษาชาติ และสอดคลอ้ งกับความต้องการของ ชุมชน ทอ้ งถิน่ อยา่ งชดั เจนร้อยละ 85

ตวั บ่งชีค้ วามสำเร็จ วธิ ีการวัดและประเมินผล เคร่ืองมือประเมนิ 10. สถานศึกษาพัฒนาวิชาการท่ีเน้นผูเ้ รียนทุก กลุ่มเป้าหมาย ทุกคน และดำเนินการอย่างเปน็ รูปธรรมรอ้ ยละ 85 11. ครูและบุคลากร รอ้ ยละ 85ไดร้ ับการพฒั นา ใหม้ ีความเชี่ยวชาญทางวิชาชีพ มคี วามรู้ ความสามารถ และทักษะตามมาตรฐานตำแหนง่ 12.สถานศกึ ษาบรหิ ารจดั การขอ้ มูลสารสนเทศที่ มคี วามถูกตอ้ ง ครบถ้วน ทันสมยั นำไป ประยุกตใ์ ช้ได้ และดำเนนิ การอยา่ งเปน็ ระบบ รอ้ ยละ 85 13. สถานศึกษาจดั สภาพแวดลอ้ มทางกายภาพ และสงั คมทีด่ แี ละกระตนุ้ ใหผ้ ูเ้ รยี นใฝ่เรียนรทู้ วั่ ถงึ ทุกกลม่ เปา้ หมายร้อยละ 85 14. ผู้เกย่ี วขอ้ งทกุ ฝา่ ยร้อยละ 85 มีส่วนร่วมและ มีเครือข่ายความร่วมมอื ในการร่วมรับผดิ ชอบต่อ ผลการจดั การศึกษาให้มคี ุณภาพและได้ มาตรฐาน 15. สถานศึกษากำกับ ตดิ ตามและประเมินผล การบริหารและการจดั การศกึ ษา อยา่ งเหมาะสม ชัดเจน และเปิดโอกาสให้ผู้เกยี่ วข้องมสี ่วนรว่ ม ร้อยละ 85 16. ผเู้ รยี นร้อยละ 85 มสี ว่ นรว่ มในการวเิ คราะห์ ตนเอง กำหนดเน้ือหาสาระ กิจกรรมทีส่ อดคลอ้ ง กบั ความสนใจและความถนดั เป็น รายบคุ คลอยา่ งเป็นรปู ธรรมทั้งระบบ 17. ผ้เู รยี นร้อยละ 85 เรียนรูโ้ ดยผ่าน กระบวนการคิดไดป้ ฏิบัตจิ ริงด้วยวิธกี ารและ แหลง่ เรียนรทู้ ห่ี ลากหลาย สรปุ องค์ความรู้ และ สามารถนำไปใชใ้ นสถานการณ์ตา่ งๆ ได้เปน็ อย่างดี

ตัวบ่งชคี้ วามสำเร็จ วธิ ีการวดั และประเมินผล เครอ่ื งมอื ประเมนิ 18. ผเู้ รียนรอ้ ยละ 85ไดฝ้ กึ ทกั ษะ แสดงออก นำเสนอผลงาน แสดงความคิดเหน็ คิดเป็น ทำ เป็น รกั การอ่าน และแสวงหาความร้จู ากส่อื เทคโนโลยีด้วยตนเองอย่างเป็นรปู ธรรมและ ตอ่ เน่ือง 19. ผู้เรียนรอ้ ยละ 85ได้เรียนรโู้ ดยเช่ือมโยง บูรณาการสาระการเรียนรแู้ ละทักษะดา้ นตา่ งๆ 20. ผูเ้ รยี นร้อยละ 85มีส่วนร่วมในการจดั บรรยากาศ สภาพแวดล้อม สอ่ื การเรียน และ อำนวยความสะดวกที่เอื้อต่อการเรียนรู้ 21. ผู้เรยี นรอ้ ยละ 85ได้เรียนร้โู ดยใช้ กระบวนการวิจยั อยา่ งเป็นรูปธรรมและต่อเนื่อง 22. ผเู้ รียนรอ้ ยละ 85 ได้เรยี นรจู้ ากแหล่งเรยี นรู้ และภมู ิปัญญาท้องถนิ่ ในการจดั การเรียน การสอน 23. ชุมชนรอ้ ยละ 85 มีสว่ นรว่ มแสดงความ คดิ เห็นหรือรว่ มจัดกิจกรรมการเรยี นการสอน อย่างเป็นรูปธรรมและต่อเนื่อง 24. ครผู ู้สอนรอ้ ยละ 85 ประเมินผเู้ รยี นจาก สภาพจริง 25. ครผู ู้สอนรอ้ ยละ 85 มีขนั้ ตอนตรวจสอบและ ประเมนิ อยา่ งเปน็ ระบบ 26. ครูผูส้ อนร้อยละ 85 ใชเ้ ครอ่ื งมือและวิธกี าร วัดและประเมนิ ผลท่ีเหมาะสมกับเป้าหมายและ การจดั การเรยี นการสอน 27. นกั เรียนและผมู้ ีสว่ นเกยี่ วขอ้ งมรี ้อยละ 85 ส่วนร่วมในการวดั และประเมินผล 28. ผ้เู รียนรอ้ ยละ85ได้รบั ขอ้ มูลย้อนกลบั และ นำไปใชพ้ ัฒนาตนเอง 29. สถานศกึ ษาจัดวางระบบการประกันคุณภาพ

ตวั บง่ ช้คี วามสำเรจ็ วธิ ีการวดั และประเมนิ ผล เครื่องมอื ประเมิน ภายในของสถานศึกษาท่ีส่งผลต่อคุณภาพผเู้ รยี น อย่างเปน็ รปู ธรรม มีขั้นตอนอย่างชดั เจน และมี ความเป็นไปได้ในการปฏิบตั ริ ้อยละ 85 30. ผู้เก่ยี วขอ้ งทกุ ฝา่ ยร้อยละ 85ใหค้ วามรว่ มมือ ในการวางระบบและดำเนนิ งานประกันคุณภาพ ภายในของสถานศึกษาเปน็ อย่างดี 31.พ่อแม่ ผปู้ กครอง คณะกรรมการสถานศึกษา ชุมชน/ทอ้ งถน่ิ และผูม้ ีสว่ นเก่ยี วขอ้ งร้อยละ 85 มคี วามมน่ั ใจต่อระบบการบริหารและการจดั การ ของสถานศึกษาในระดับสูง 32. นกั เรยี น คณะครู และชุมชน ทมี่ คี วามพงึ - นักเรยี น คณะครู และ - แบบประเมินความพึง พอใจต่อโครงการการพัฒนาคุณภาพงานวิชาการ ชมุ ชน ประเมินความพึง พอใจ ระดับการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐานอยู่ในระดับดี-ดีมาก พอใจทม่ี ีต่อโครงการ 7. ผลท่ีคาดวา่ จะได้รับ 7.1 นกั เรียนรู้จักการศกึ ษาค้นควา้ หาความรู้จากแหลง่ เรียนรตู้ ่าง ๆ ท้งั ในและนอกโรงเรียน 7.2 นักเรียนมีนิสัยรกั การอ่านมีทกั ษะทางวชิ าการ และมีผลสมั ฤทธทิ์ างการเรียนสูงข้ึน 7.3 ครแู ก้ปญั หาการจดั การเรียนรโู้ ดยการจดั ทำวิจัยในชน้ั เรยี นอย่างสม่ำเสมอ 7.4 นักเรียนอ่านออก คิดวเิ คราะห์ และเขียนได้ มีคณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ท่ีดี มีสมรรถนะสำคัญ ของผเู้ รยี นมีคณุ ลกั ษณะโรงเรียนสุจริต และมสี มรรถภาพทางกายทด่ี ี 8. ปัญหาและอุปสรรคทเี่ กย่ี วข้องกับโครงการ 8.1............................................................................................................................................. 8.2 ............................................................................................................................. ............. 9. ขอ้ เสนอแนะและความต้องการในการพัฒนาโครงการ 9.1............................................................................................................................. .............. 9.2 .......................................................................................................................................... ลงช่ือ......................................หวั หน้าโครงการ ลงช่ือ...........................................ผอู้ นมุ ตั โิ ครงการ (นางปยิ ะวรรณ มคี ำ) (นายศรัณย์ ชูเวช) ครชู ำนาญการ ผ้อู ำนวยการโรงเรยี นชุมชนที่ 11 วัดสวุ รรณประดษิ ฐ์

ชอื่ โครงการ สง่ เสริมศักยภาพการใชค้ อมพิวเตอรเ์ พ่ือการเรียนรู้ กลมุ่ งาน วชิ าการ มาตรฐานการศกึ ษาข้ันพืน้ ฐาน มาตรฐานท่ี ๑ คณุ ภาพของผู้เรยี น มาตรฐานท่ี ๓ กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเปน็ สำคัญ ลักษณะโครงการ ตอ่ เนอื่ ง ชือ่ ครูผ้รู ับผิดชอบ นายปิยะ บวั แกว้ หนว่ ยงานทรี่ ับผดิ ชอบ โรงเรียนชมุ ชนท่ี 11 วดั สุวรรณประดิษฐ์ ระยะเวลาการดำเนินการ ปกี ารศึกษา 2563 1. หลักการและเหตุผล ความเจริญก้าวหนา้ ของเทคโนโลยีสมัยใหม่ในโลกปัจจบุ นั นี้ มีการเติบโตตอ่ เนื่องตลอดเวลา โดยเฉพาะเทคโนโลยีดา้ นคอมพวิ เตอร์ และระบบอนิ เตอรเ์ น็ตทีเ่ ชือ่ มโยงเครือข่าย ขอ้ มลู ความรู้ตา่ ง ๆ อย่างหลากหลาย สำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน ได้ตระหนักถึงประโยชนแ์ ละความสำคัญ ในการนำเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในด้านการจดั การศึกษา จากนโยบายดา้ นการศึกษาไดก้ ำหนดให้จดั การศกึ ษาเพื่อพฒั นาคนให้มีความรดู้ ้านเทคโนโลยที นั ตอ่ การเปลย่ี นแปลงของสงั คม จดุ เนน้ ใหเ้ พิ่ม ศกั ยภาพนักเรยี นในด้านเทคโนโลยี เพ่อื พฒั นาส่คู วามเปน็ หนึง่ ในสองของภูมภิ าคเอเชยี ตะวนั ออกเฉียงใต้ และตามพระราชบัญญตั ิการศึกษาแหง่ ชาติ พ.ศ. 2542 และท่แี กไ้ ขเพ่ิมเติม (ฉบบั ท่ี 2) พ.ศ.2545 หมวด 9 วา่ ดว้ ยเทคโนโลยกี ารศึกษามาตรา 66 “ผเู้ รียนมีสิทธิไดร้ บั การพฒั นาขดี ความสามารถในการใช้ เทคโนโลยเี พื่อการศึกษาในโอกาสแรกท่ีทำได้ เพ่ือให้มคี วามร้แู ละทักษะเพยี งพอทจี่ ะใช้เทคโนโลยเี พอื่ การศึกษาในการแสวงหาความรู้ด้วยตนเองได้อย่างตอ่ เน่อื งตลอดชวี ติ ” ดงั นั้นโรงเรยี นชมุ ชนท่ี 11 วดั สุวรรณประดิษฐ์ มหี น้าทดี่ ำเนินการจดั การศกึ ษาให้สอดคลอ้ งกับ นโยบายของรัฐ ด้วยการสง่ เสรมิ ให้นักเรียนมีทักษะดา้ นคอมพวิ เตอรแ์ ละสามารถใชเ้ ทคโนโลยีเพื่อ การศกึ ษา โดยมงุ่ พฒั นากระบวนการเรยี นรใู้ หท้ ันต่อการเปลย่ี นแปลงทางเทคโนโลยี เรียนรู้ไดด้ ว้ ยตนเอง จากแหล่งเรียนรู้ตา่ งๆ ได้อย่างหลากหลายต่อเน่ืองและทนั สมยั คณะครูและบุคลากรภายในโรงเรยี นปรับ ใชเ้ ทคโนโลยีคอมพิวเตอรแ์ ละอนิ เทอร์เน็ตในการปฏิบตั ิงาน ในกลมุ่ สาระการเรียนรู้ให้สามารถเข้าสรู ะบบ อนิ เทอรเ์ น็ตได้มีการพัฒนาและปรบั ปรงุ ระบบใหม้ ปี ระสทิ ธภิ าพ 2.วัตถปุ ระสงค์ 2.1 เพื่อส่งเสรมิ ใหน้ ักเรยี นช้ัน ป. 1 – ม. 3 ใชเ้ ทคโนโลยคี อมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้ในการ ทำงานโปรแกรมข้นั พืน้ ฐาน 2.2 เพือ่ ส่งเสริมนักเรยี นที่มีความสามารถพิเศษทางคอมพวิ เตอร์เข้ารว่ มประกวดในระดับต่างๆ ได้แก่ ระดบั โรงเรียน ระดับกลมุ่ โรงเรียนระดับเขตพ้นื ที่ ระดับภาค และระดับประเทศ 2.3เพอ่ื สง่ เสริมให้นักเรียนสามารถสืบค้นข้อมลู ความร้ทู าง Internet ไดด้ ว้ ยตนเอง 2.4เพอ่ื ส่งเสริมให้คณะครู และชมุ ชนท่สี นใจ มคี วามรู้ ความสามารถในการใช้สอื่ เทคโนโลยี คอมพวิ เตอร์ และสามารถสืบคน้ ขอ้ มูลความรู้ทาง Internet เพอื่ นำมาใช้ในการจัดการเรียนการสอน 2.5เพ่ือพัฒนาห้องเรยี นคอมพิวเตอร์ให้มีเคร่ืองคอมพิวเตอรท์ ม่ี ีประสทิ ธภิ าพสำหรบั การเรยี นรู้และ ระบบอนิ เตอร์เน็ตใชง้ านได้ดีอยู่เสมอ 2.6เพื่อพฒั นาห้องคอมพิวเตอรใ์ ห้มีบรรยากาศทีน่ า่ เรียน 2.7เพอื่ ศึกษาความพงึ พอใจของนักเรียน คณะครูและชุมชน ที่มตี อ่ โครงการสง่ เสริมศักยภาพ การใชค้ อมพวิ เตอร์เพอื่ การเรียนรู้

3. เปา้ หมายเชิงปริมาณและคุณภาพ 3.1 นักเรียนชัน้ ป. 1- ม.3 รอ้ ยละ 85 มคี วามรู้ ความสามารถในการใช้คอมพวิ เตอร์ขนั้ พ้นื ฐาน 3.2 นกั เรยี นทมี่ ีความสามารถพิเศษทางคอมพวิ เตอรร์ ้อยละ 85 เขา้ ร่วมประกวดในระดบั ตา่ งๆ ได้แก่ ระดบั โรงเรียน ระดับกลมุ่ โรงเรยี นระดบั เขตพ้นื ที่ ระดบั ภาค และระดับประเทศ 3.3 นกั เรยี นช้นั ป.1 - ม.3 รอ้ ยละ 85 ใช้ Internet เพอ่ื สบื คน้ ข้อมลู ความรู้ตา่ ง ๆ ตาม ความสนใจและตามศักยภาพของตนเอง 3.4 คณะครแู ละชุมชนทีส่ นใจ รอ้ ยละ 85 มีความรู้ ความสามารถในการใช้สอื่ เทคโนโลยีและ สามารถสบื คน้ ข้อมลู เพ่อื นำมาใชใ้ นการจดั กิจกรรมการเรยี นการสอน 3.5 หอ้ งเรียนคอมพิวเตอร์และระบบอินเตอร์เนต็ ร้อยละ 85 ได้รบั การพัฒนา บำรงุ รกั ษาใช้ งานไดด้ ีอยูเ่ สมอ 3.6 บรรยากาศหอ้ งเรยี นคอมพวิ เตอร์ ร้อยละ 85 ได้รับการพัฒนาใหน้ ่าเรยี น 3.7 นักเรยี น คณะครู และชุมชน ร้อยละ 85 มีความพงึ พอใจต่อโครงการสง่ เสริมศักยภาพ การใชค้ อมพวิ เตอรเ์ พอื่ การเรียนรู้ 4. การดำเนนิ การและกิจกรรม ท่ี การดำเนนิ การและกจิ กรรม ระยะเวลา งบประมาณ ผูร้ บั ผิดชอบ ในงบ นอกงบ 1 ประชุมวางแผนชี้แจงและ ก.ค. 63 - - - ผบู้ รหิ าร มอบหมายงาน 2 แตง่ ตง้ั คณะทำงานดำเนนิ งานตามโครงการ ก.ค. 63 - - - ผบู้ ริหาร 3 วางแผนการปฏิบัตงิ าน ก.ค. 63 - - - ผูบ้ รหิ าร 3.1 กำหนดเป้าหมาย - ฝา่ ยวชิ าการ 3.2 จัดลำดบั ความสำคญั ของเปา้ หมาย - อ.ปิยะ 3.3 กำหนดแนวทางการดำเนินงาน 3.4 กำหนดระยะเวลา 3.5 กำหนดงบประมาณ /ผู้รับผดิ ชอบ ท่ี การดำเนินการและกจิ กรรม ระยะเวลา งบประมาณ ผู้รบั ผดิ ชอบ ในงบ นอกงบ 4 ประสานงานผเู้ กีย่ วข้อง ก.ค. 63 - - - อ.ปิยะ 5 ดำเนนิ การทำกจิ กรรม ตามแผนงาน/โครงการฯ 5.1 กจิ กรรมอบรมคณะครูใช้สอื่ เทคโนโลยี ตลอดปี - - - อ.ปิยะ คอมพวิ เตอร์ - จัดอบรมคอมพิวเตอรใ์ ห้กับ คณะคร/ู ชมุ ชนทสี่ นใจ - การทำงานดว้ ยโปรแกรม คอมพิวเตอร์เบื้องตน้ - การใชอ้ นิ เตอร์เน็ตเบอ้ื งต้น

5.2 กจิ กรรมการเรยี นการสอนคอมพวิ เตอร์ ตลอดปี - - - อ.ปิยะ - นกั เรยี นชั้น ป.1-ม.3 เรยี นคอมพวิ เตอร์ - - ผู้บรหิ าร - จดั ซื้อสอ่ื วสั ดฝุ ึกการเรยี นการสอน - 3,000 - - อ.ปยิ ะ - มีผลงานท่ที ำดว้ ยคอมพิวเตอร์ - - - ใช้อนิ เตอรเ์ นต็ เพอ่ื สืบคน้ ข้อมลู - - อ.ปยิ ะ - - อ.ปยิ ะ 5.3 กจิ กรรมนกั เรยี นประกวดความสามารถใน ภาคเรียน - การใชค้ อมพวิ เตอร์ ที่ 1 1,000 - - ผูบ้ ริหาร - จัดประกวดทกั ษะการใช้คอมพวิ เตอร์และ - อ.ปยิ ะ Internet ในแต่ละชั้นเรียน พ.ย.63- 20,000 - ส่งประกวดในระดับกลมุ่ โรงเรยี นระดบั เขต ม.ค.64 1,000 - - อ.ปิยะ พื้นทรี่ ะดบั ภาค ตลอดปี 5.4 กจิ กรรมพฒั นาหอ้ งเรยี นคอมพิวเตอร์ - จดั หา/บำรุงรักษาเครอ่ื งคอมพวิ เตอร์ ตลอดปี ระบบ Internet ใชง้ านได้ดี -พฒั นาบรรยากาศหอ้ งเรยี นคอมพวิ เตอร์ให้น่า เรยี น ท่ี การดำเนินการและกจิ กรรม ระยะเวลา งบประมาณ ผรู้ บั ผิดชอบ 6 นเิ ทศ กำกับ ติดตาม ตรวจสอบประเมินผล เม.ย. 64 ในงบ นอกงบ 200 - - ผู้บรหิ าร - อ.ปยิ ะ - อ.รัญทม 7 นำผลการประเมนิ มาปรับปรงุ งาน เม.ย. 64 - - - ผู้บริหาร 7.1 ปรับปรุงแกไ้ ขการปฏิบัติงานของบุคลากร เม.ย. 64 - - - อ.ปิยะ 7.2 วางแผนการพัฒนาปรับปรงุ ในปกี ารศึกษา ตอ่ ไป เม.ย. 64 300 - - อ.ปิยะ 8 สรุปรายงานผลการดำเนินงาน 8.1 รวบรวมผลการดำเนนิ งาน 8.2สรุปรายงานผลการดำเนนิ งาน

5. ทรพั ยากรท่ีตอ้ งการ 5.1 งบประมาณ รวมทั้งส้นิ 25,500 บาท 5.1.1 ใช้เงินงบประมาณอุดหนุนรายหวั นักเรยี น เป็นจำนวนเงิน 25,500 บาท 5.1.2 ใช้เงนิ นอกงบประมาณ เป็นจำนวนเงิน - บาท 5.2 บคุ ลากร ได้แก่ ผ้บู รหิ าร คณะครู คณะกรรมการสถานศึกษา และวทิ ยากรทีช่ ำนาญธุรการ การเงิน พัสดุ 6. การวดั และประเมนิ ผล ตวั บ่งช้คี วามสำเร็จ วธิ กี ารวัดและประเมินผล เคร่ืองมือประเมิน 1. นักเรยี นชั้น ป. 1- ม.3 ร้อยละ 85 มีความรู้ - ตรวจประเมินสรปุ ผลการ - แฟ้มสรุปผลการ ความสามารถในการใชค้ อมพิวเตอรข์ ้ันพืน้ ฐาน ดำเนินงานโครงการส่งเสริม ดำเนนิ งานโครงการ 2. นักเรยี นท่ีมีความสามารถพิเศษทาง ศักยภาพการใชค้ อมพวิ เตอร์ สง่ เสริมศกั ยภาพการใช้ คอมพวิ เตอรร์ ้อยละ 85 เขา้ รว่ มประกวดใน เพ่ือการเรยี นรแู้ ละรปู ภาพ คอมพวิ เตอร์เพื่อการ ระดบั ตา่ ง ๆ ได้แก่ ระดบั โรงเรียน ระดับกลมุ่ ประกอบกิจกรรม เรยี นรู้ โรงเรียนระดบั เขตพืน้ ที่ ระดับภาค และ - รปู ภาพประกอบ ระดบั ประเทศ - ประเมนิ ผลสำเรจ็ ตาม กิจกรรม 3. นักเรยี นชัน้ ป. 1- ม.3 รอ้ ยละ 85 ใช้ เป้าหมายเชงิ ปริมาณและ - แบบประเมินผลสำเรจ็ Internet เพอ่ื สืบคน้ ข้อมลู ความรูต้ า่ ง ๆ ตาม คณุ ภาพ เชิงปริมาณและคุณภาพ ความสนใจและตามศักยภาพของตนเอง 4. คณะครูและชมุ ชนทสี่ นใจ ร้อยละ 85 ตัวบง่ ชีค้ วามสำเรจ็ วิธกี ารวดั และประเมินผล เครอื่ งมอื ประเมนิ มีความรู้ ความสามารถในการใช้สือ่ เทคโนโลยี และสามารถสบื คน้ ข้อมลู เพ่อื นำมาใช้ในการจัด กิจกรรมการเรยี นการสอน 5. ห้องเรยี นคอมพวิ เตอรแ์ ละระบบอินเตอรเ์ นต็ ร้อยละ 85 ไดร้ ับการพัฒนา บำรุงรกั ษาใชง้ าน ไดด้ อี ยเู่ สมอ 6.บรรยากาศห้องเรียนคอมพิวเตอร์ ร้อยละ 85 ไดร้ ับการพฒั นาใหน้ ่าเรียน 7. นกั เรยี น คณะครู และชมุ ชน มีความพึงพอใจ - นักเรยี น คณะครู และ - แบบประเมินความพงึ ต่อโครงการพัฒนางานแผนและธรุ การ การเงิน ชุมชน ประเมนิ ความพึง พอใจ พัสดุ อย่ใู นระดับดี-ดีมาก พอใจทีม่ ีต่อโครงการ 7. ผลท่คี าดว่าจะไดร้ ับ 7.1 นักเรยี นใช้เทคโนโลยีคอมพวิ เตอรร์ ะดบั ขั้นพ้นื ฐานเพื่อการเรยี นรแู้ ละสามารถสบื ค้นขอ้ มลู Internet ได้ด้วยตนเอง 7.2 นกั เรยี นมคี วามร้คู วามสามารถทางคอมพวิ เตอร์สามารถเขา้ ประกวดทักษะในระดับโรงเรียน ระดับกลุม่ โรงเรียนระดับเขตพนื้ ที่ ระดับภาค และระดับประเทศ 7.3 คณะครมู ีความรู้ความสามารถในการใชท้ ักษะคอมพวิ เตอร์เบ้อื งตน้ และชน้ั สงู

8. ปัญหาและอุปสรรคท่ีเกี่ยวข้องกับโครงการ 8.1 ................................................................................................................................................ 8.2 ........................................................................................................................ ........................ 8.3 ......................................................................................................................... ....................... 9. ขอ้ เสนอแนะและความต้องการในการพฒั นาโครงการ 9.1 ......................................................................................................................... ........................ 9.2 ................................................................................................................................................ 9.3 ......................................................................................................................... ....................... ลงชื่อ....................................หัวหนา้ โครงการ ลงชื่อ..........................................ผอู้ นุมตั ิโครงการ (นายปิยะ บวั แกว้ ) ( นายศรัณย์ ชูเวช ) ครูอัตราจ้าง ผู้อำนวยการโรงเรียนชุมชนที่ 11 วัดสุวรรณประดิษฐ์

ชือ่ โครงการ โครงการพัฒนาการคดิ วิเคราะห์โจทย์ปญั หาคณิตศาสตร์ ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 6 กลุ่มงาน งานวชิ าการ สนองกลยทุ ธ์ กลยุทธ์สถานศกึ ษาที่ ๑ , ๓ ลกั ษณะโครงการ โครงการใหม่ ผูร้ ับผดิ ชอบโครงการ นายกีรติ สุวรรณมาตย์ หน่วยงานทรี่ ับผดิ ชอบ โรงเรยี นชุมชนที่ ๑๑วดั สุวรรณประดิษฐ์ ระยะเวลาดำเนนิ การ ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๓ ๑. หลักการเหตุผล คณิตศาสตร์เป็นเครื่องมือสำคัญในการพัฒนาศักยภาพทางสมองในด้านความคิด การให้เหตุผล และการแก้ปัญหาอย่างมีระบบนอกจากน้ีคณิตศาสตร์ยังเป็นความรู้พื้นฐานของวิทยาการแขนงต่างๆ คณิตศาสตร์มีประโยชน์ต่อการดำรงชีวิต ช่วยพัฒนาคุณภาพชีวิต และช่วยพัฒนามนุษย์ให้สมบูรณ์มีความ สมดุลท้ังทางร่างกาย จิตใจ สติปัญญา และอารมณ์ สามารถคิดเป็น ทำเป็น แกป้ ัญหาเป็น และสามารถอยู่ ร่วมกับผ้อู ่นื ได้อย่างมีความสขุ ดังน้ันจึงเป็นความรับผิดชอบของสถานศึกษาท่ีจะต้องจัดสาระการเรียนรู้ท่ีเหมาะสมแก่ผู้เรียนแต่ ละคนทั้งน้ีเพื่อให้บรรลุมาตรฐานการเรียนรู้ท่ีกำหนดให้ผู้เรียนจะต้องมีความรู้ความเข้าใจใน เนื้อหาสาระ คณิตศาสตร์ มีทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ มีเจตคติท่ีดีต่อคณิตศาสตร์ และตระหนักถึงคุณค่าของ คณิตศาสตร์ และสามารถนำความรู้ทางคณิตศาสตร์ไปพัฒนาคุณภาพชีวิตตลอดจนสามารถนำความรู้ทาง คณิตศาสตรไ์ ปเป็นเครอ่ื งมอื ในการเรียนรขู้ องส่ิงต่างๆ และเป็นพื้นฐานในการศึกษาต่อในระดับที่สงู ขน้ึ การ ที่ผู้เรียนจะเกิดการเรียนรู้คณิตศาสตร์อย่างมีคุณภาพซึ่งจะต้องมีความสมดุลระหว่างสาระทางด้านความรู้ ทกั ษะกระบวนการ ควบคกู่ ับคณุ ธรรมจริยธรรม และค่านิยม ดังน้ี ๑. มีความรู้ความเข้าใจในคณิตศาสตร์พื้นฐานเก่ียวกับจำนวน และการดำเนินการ การวัด เรขาคณิต พชี คณติ การวิเคราะหข์ ้อมลู ความน่าจะเป็นพรอ้ มท้งั สามารถนำความรู้ไปประยุกตใ์ ชไ้ ด้ ๒. มีทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ท่ีจำเป็น ได้แก่ การพัฒนาความสามารถในการ แก้ปัญหาด้วยวิธีการที่หลากหลาย การใหเ้ หตุผล การสื่อสาร สื่อความหมายทางคณิตศาสตร์ และเช่ือมโยง คณิตศาสตรก์ ับศาสตรอ์ ื่นๆ ๓. มีความสามารถในการทำงานอย่างเป็นระบบ มีระเบียบวินัย มีความรอบคอบ มีความ รับผิดชอบ มีวิจารณญาณ มีความเชื่อมั่นในตนเอง พร้อมท้ังตระหนักในคุณค่า และมีเจตคติที่ดีต่อ คณติ ศาสตร์ ถึงแม้ว่าคณิตศาสตร์จะมีความสำคัญเป็นอย่างมากดังที่กล่าวมาแล้วข้างต้น แต่เท่าท่ีผ่านมาการ เรียนการสอนคณติ ศาสตร์ยงั ไม่บรรลเุ ป้าหมาย ดังจะเหน็ ไดจ้ ากการประเมินคุณภาพด้านผลสมั ฤทธิ์ทางการ เรียนคณิตศาสตร์ของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปีท่ี ๖ ประจำปีการศึกษา ๒๕๖๒ พบว่าผลสัมฤทธ์ิทางการ เรียนคณิตศาสตร์ระดับประเทศมีคะแนนเฉลี่ย ร้อยละ ๓๒.๙๐ ระดับจังหวัดพิษณุโลกมีคะแนนเฉล่ียร้อย ละ ๓๕.๓๙ และโรงเรยี นท่สี งั กดั ในเขตพ้นื ที่มีคะแนนเฉล่ยี ร้อยละ ๓๔.๕๗ โรงเรียนชุมชนที่ ๑๑ วดั สุวรรณ ประดิษฐ์เป็นโรงเรียนหนึ่งท่ีสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพิษณุโลก เขต ๑ ซึ่งในปี การศึกษา ๒๕๖๒ พบว่าคะแนนเฉล่ียที่ได้เพียงร้อยละ ๓๓.๑๘ และเม่ือพิจารณาด้านเนื้อหาพบว่า โจทย์ ปัญหาเป็นเร่ืองที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนต่ำที่สุด ปัญหาสำคัญที่ครูผู้สอนคณิตศาสตร์พบอยู่เสมอคือ

นกั เรียนสว่ นใหญ่มักจะทำโจทย์ปัญหาไม่ได้ การที่ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์ของนักเรียนยังไม่ดี เท่าทค่ี วรโดยเฉพาะในเร่ืองโจทยป์ ัญหา พบว่านักเรยี นไม่สามารถคิดวเิ คราะห์โจทยป์ ัญหาให้เข้าใจได้ จงึ ไม่ สามารถแก้โจทย์ปญั หาตามที่โจทย์ตอ้ งการไดอ้ ยา่ งถกู ต้อง จากสภาพปัญหาดังกล่าวครูผู้สอนจำเป็นจะต้องเปลี่ยนวิธีการสอน เทคนิคการสอนเพ่ือส่งเสริม ให้นักเรียนได้คิด วิเคราะห์รวมทงั้ เสริมสร้างบรรยากาศในการเรียนของนักเรยี นให้มีความกระตือรือรน้ และ มีเจตคตทิ ด่ี ตี อ่ การเรยี น เทคนิคการสอนรูปแบบหนึ่งท่ีครูสามารถนำมาใช้จัดการเรียนการสอนเพื่อแก้ปัญหาการเรียนรู้ เรื่อง โจทย์ปัญหาท่ีตอ้ งอาศยั ความสามารถในการอ่าน คิด วเิ คราะห์ของนักเรียนเป็นหลัก คือ การสอนโดย ใช้เทคนิค K-W-D-L ซ่ึงเทคนิค K-W-D-L นี้จะฝึกให้นักเรียนคิดวิเคราะห์โจทย์ปัญหาอย่างเป็นขั้นตอน ละเอยี ดถ่ีถ้วน และทำให้นักเรียนเข้าใจกับโจทย์ปัญหาได้อย่างชดั เจน นอกจากน้ยี ังฝึกใหน้ ักเรยี นหาวิธกี าร แก้ปัญหาได้อย่างหลากหลายอันจะส่งผลให้นักเรียนสามารถนำความรู้ไปประยุกตใ์ ช้ในสถานการณ์ต่างๆใน ชีวิตประจำวันของตนเองได้อย่างมีประสิทธิภาพ และเกิดประสิทธิผล สำหรับขั้นตอนการสอนโดยใช้ เทคนิค K-W-D-L นี้ ซ่ึงสามารถสรปุ ได้ ๔ ข้ันดงั นี้ ขนั้ ที่ ๑ K (What we know) เรารูอ้ ะไร หรือโจทยบ์ อกอะไรบา้ ง ข้ันที่ ๒ W (What we want to know) เราต้องการรู้ ต้องการทราบอะไร หรือโจทย์ให้หา อะไร มวี ธิ กี ารอย่างไร ใชว้ ิธีการอะไรได้บา้ ง ขั้นท่ี ๓ D (What we do to find out) เราทำอะไร อย่างไร หรือดำเนนิ ตามกระบวนการแก้ โจทยป์ ัญหา ขั้นท่ี ๔ L (What we learned) เราเรียนรู้อะไร หรือคำตอบที่ได้ และบอกวิธีคิดคำตอบ อย่างไร นอกจากขั้นตอนการสอนดังกล่าวได้มีนักการศึกษาปรับรูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนการ สอนให้เหมาะสมกบั กระบวนการแกโ้ จทย์ปัญหาโดยการแบง่ นักเรยี นเป็นกลมุ่ ๆละ ๔-๕ คน โดยแต่ละกลุ่ม ประกอบด้วยนักเรียนที่คละความสามารถ คือ นักเรียนท่ีเรยี นเก่ง นกั เรยี นท่ีเรียนปานกลาง นกั เรียนท่ีเรียน ออ่ น และมีการนำแผนผงั K-W-D-L บตั รกิจกรรม K-W-D-L มาชว่ ยในการจดั กิจกรรมการเรยี นการสอน ซึ่ง ทำใหน้ ักเรยี นมีผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรยี นคณิตศาสตร์ในเรอ่ื งโจทย์ปัญหาสงู ขึน้ ๒. วัตถปุ ระสงค์ ๒.๑ผลสมั ฤทธ์ทิ างวชิ าการของผ้เู รยี นสงู ขึน้ ๒.๒ ผู้เรยี นมีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิดอย่างมีวิจารณญาณ อภปิ รายแลกเปลยี่ น ความคิดเหน็ และแก้โจทย์ปัญหา ๓. เปา้ หมายชิงปริมาณและคณุ ภาพ ๓.๑ เชิงปรมิ าณ ๓.๑.๑ นกั เรยี นรอ้ ยละ ๑๐๐ มเี จตคติทดี่ ีตอ่ วชิ าคณติ ศาสตร์ ๓.๑.๒ นักเรยี นร้อยละ ๘๐ สามารถวิเคราะหโ์ จทย์ปัญหาท่ีกำหนดให้ได้ ๓.๑.๓ นักเรียนรอ้ ยละ ๘๐ สามารถนำทกั ษะจากการคิดวิเคราะห์นำไปใชใ้ น ชีวติ ประจำวันได้ ๓.๒ เชงิ คุณภาพ ๓.๒.๑ นกั เรยี นมีเจตคติที่ดตี ่อวิชาคณติ ศาสตร์

๓.๒.๒ นักเรยี นวเิ คราะห์โจทยป์ ญั หาที่กำหนดให้ได้ ๓.๒.๓ นักเรียนนำทักษะจากการคดิ วเิ คราะห์นำไปใชใ้ นชีวติ ประจำวนั ได้ ๔. ขนั้ ตอนการดำเนนิ งาน กจิ กรรม ระยะเวลาดำเนนิ งาน งบประมาณ ผรู้ ับผิดชอบ - ๑. ขัน้ เตรยี มการ กรกฎาคม ๒๕๖๓ นายกีรติ สวุ รรณมาตย์ - เสนอโครงการ/กิจกรรมและจัดสรรงบประมาณ สิงหาคม ๒๕๖๓ นายศรัณย์ ชูเวช - ประชมุ วางแผนการปฏบิ ตั งิ าน สงิ หาคม ๒๕๖๓ นายศรณั ย์ ชูเวช - มอบหมายการปฏบิ ัตงิ าน ส.ค.๖๓ - ๓๐ก.ย.๖๓ ๒,๔๒๕ นายกีรติ สวุ รรณมาตย์ ๒. ขั้นดำเนินการ (กิจกรรม) ส.ค.๖๓ - ๓๐ ก.ย.๖๔ - จัดซอ้ื วสั ดุ อุปกรณ์ ส.ค.๖๓ - ๓๐ ก.ย.๖๔ - - จดั สรา้ งคลังสอ่ื การจดั การเรียนการสอน นายศรัณย์ ชเู วช - ใชส้ ่ือการสอนผ่านคลงั สื่อ YouTube โดยใช้ ส.ค.๖๓ - ๓๐ ก.ย.๖๔ นายกีรติ สุวรรณมาตย์ รว่ มกับ Smart TV ในหอ้ งเรียน นายกีรติ สวุ รรณมาตย์ - จัดทำในรปู แบบเกมส์คณิตศาสตร์ ก.ย.๖๓ -ก.พ.๖๔ เม.ย..๖๔ - นายกีรติ สุวรรณมาตย์ ๓. ขั้นประเมนิ ผล พ.ค.๖๔ - กำกบั ดแู ลและตดิ ตามการดำเนินงาน ม.ิ ย.๖๔ - ประเมินผลและสรุปผลการดำเนินงาน - รายงานผลการดำเนินงาน ๔. ขน้ั ปรับปรุงแกไ้ ข - รับขอ้ คิดเห็น และข้อเสนอแนะจากผูเ้ กยี่ วขอ้ งเปน็ แนวทางในการดำเนินงาน/พัฒนางานต่อไป ๕. งบประมาณ งบประมาณ ตอบแทน งบดำเนนิ การ วัสดุ - - กิจกรรมการใช้งบประมาณ ๑,๐๐๐ - ใช้สอย ๑,๔๒๕ ๑,๔๒๕ ๑,๐๐๐ - ค่าเอกสาร ๒,๔๒๕ - ๑,๔๒๕ - คา่ วสั ดุ - ๑,๐๐๐ รวม หมายเหตุ คา่ วัสดสุ ามารถถั่วจ่ายทุกรายการ ๖. การประเมินผล แหลง่ ที่มาของข้อมูล เงอ่ื นไขความสำเร็จ ตวั ชี้วัดความสำเร็จ ทดสอบ ผลสัมฤทธท์ิ างวชิ าการท่ีสูงขนึ้ ๑. ผลสัมฤทธ์ทิ างวิชาการของผูเ้ รยี นสงู ขึน้ ทดสอบ ผูเ้ รยี นคดิ วเิ คราะห์ คิดอยา่ งมี ๒. ผเู้ รียนมคี วามสามารถในการคดิ วิเคราะห์ วจิ ารณญาณ และแก้โจทย์ คิดอยา่ งมีวิจารณญาณ อภิปรายแลกเปล่ยี น ความคดิ เหน็ และแก้โจทย์ปัญหา ปญั หาได้

๗. ปญั หาอุปสรรค และข้อเสนอแนะ ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชื่อ…………………………..…..…..ผ้เู สนอโครงการ ( นายกีรติ สุวรรณมาตย์ ) ลงช่อื ………….………….............…..ผู้อนมุ ตั ิโครงการ ( นายศรณั ย์ ชเู วช ) ผอู้ ำนวยการโรงเรยี นชุมชนที่ ๑๑วัดสุวรรณประดษิ ฐ์

โครงการ Good morning English แผนงาน บรหิ ารงานวชิ าการ หน่วยงานทรี่ ับผดิ ชอบ โรงเรยี นชมุ ชนที่ 11 วดั สวุ รรณประดิษฐ์ ผู้รับผดิ ชอบโครงการ นางปยิ ะวรรณ มคี ำ ลักษณะโครงการ โครงการต่อเน่ือง ระยะเวลาดำเนินการ พฤษภาคม 2563 – มีนาคม 2564 สนองกลยทุ ธ์ สพฐ. กลยทุ ธ์ท่ี 1 สอดคล้องมาตรฐานการศกึ ษาขัน้ พ้นื ฐาน มาตรฐานที่ ตวั บ่งชี้ท่ี 1,2 สนองมาตรฐาน สมศ. มาตรฐานท่ี 1,3 ................................................................................................................................................................... หลกั การและเหตุผล ตามนโยบายของรฐั บาล การขบั เคลื่อนทุกภาคสว่ นเพ่ือเตรียมความพร้อมสู่อาเซียนในปี พ.ศ. 2558 กระทรวงศึกษาเปน็ มหี นา้ ที่ในการเตรยี มบุคลากรของชาติให้มคี วามพรอ้ มรบั การเปลยี่ นแปลงและเพม่ิ ศักยภาพในการแขง่ ขนั โดยสถานศกึ ษาทุกแหง่ มีหนา้ ท่พี ัฒนาเดก็ และเยาวชน ใหม้ ีขดี ความสามารถในการ แข่งขนั ในระดบั อาเซียน และนานาชาติ โรงเรยี นชมุ ชนท1่ี 1วดั สวุ รรณประดิษฐ์มหี นา้ ที่ในการเตรียมความ พร้อมนักเรยี นเพอื่ การเขา้ สู่อาเซยี น จึงมีความจำเป็นในการพัฒนาทักษะการใชภ้ าษาอังกฤษเพ่ือการ สือ่ สาร จงึ ได้จัดทำโครงการ Good morning English ข้ึน วตั ถปุ ระสงค์ 1. เพอ่ื ใหน้ ักเรยี นมที ักษะในการใช้ภาษาองั กฤษเพอื่ การสอ่ื สาร 2. เพ่ือใหน้ ักเรยี นมที ักษะในการใช้ภาษาอังกฤษเป็นเครื่องมือการเรียนรู้ 3. เพอ่ื ให้นักเรียนมที ักษะในการใชภ้ าษาองั กฤษในชีวติ ประจำวนั เปา้ หมาย เชงิ ปรมิ าณ 1. นกั เรยี นโรงเรียนชมุ ชนท่1ี 1วดั สุวรรณประดิษฐท์ กุ คนมที ักษะการส่ือสารภาษาอังกฤษในการฟัง พูด อ่าน และเขยี น และนำไปใชใ้ นชีวติ ประจำวันได้ 80 % 2. นักเรยี นเห็นคณุ ค่าและเกิดเจตคติท่ีดีตอ่ การเรียนภาษาองั กฤษ 3. นักเรยี นใชภ้ าษาเปน็ เครอ่ื งมือในการแสวงหาความรู้ดว้ ยตนเอง เปน็ บคุ คลใฝร่ ใู้ ฝ่เรียนรู้ตลอดชีวติ 4. นกั เรยี นมีความรู้ความสามารถในการใช้ภาษาอังกฤษในระดับตน้ อย่างเพยี งพอเพ่ือการศกึ ษาต่อ

เปา้ หมายเชิงคุณภาพ 1. นกั เรียนเรยี นมีทักษะการใช้ภาษาอังกฤษ เป็นเคร่ืองมือในสามารถใช้ภาษาอังกฤษได้อย่าง ถูกตอ้ ง เหมาะสม คลอ่ งแคล่ว และมคี วามม่นั ใจในตนเอง วิธีดำเนินการ ระยะเวลาจัดกจิ กรรม ระยะเวลาในการดาเนินงาน ผ้รู ับผดิ ชอบ 1. นาเสนอโครงการ เมษายน 2563 นางปิ ยะวรรณ มีคา 2. ประชุมครูและวางแผนการดาเนินงาน กรกฎาคม 2563 ครูทกุ คน 3. ครูจดั เตรียมเอกสาร กรกฎาคม 2563 ครูทกุ คน 4. ดาเนินการตามโครงการ สิงหาคม 2563 – เมษายน 2564 นางปิ ยะวรรณ มีคา 5. นิเทศ ติดตาม เมษายน 2564 นางปิ ยะวรรณ มีคา 6. ประเมินผล เมษายน 2564 นางปิ ยะวรรณ มีคา 7. สรุป รายงานผลโครงการ เมษายน 2564 นางปิ ยะวรรณ มีคา ระยะเวลาดำเนินการ ตลอดปีการศึกษา สถานท่ดี ำเนินการ โรงเรียนชมุ ชนที่ 11 วดั สุวรรณประดิษฐ์ งบประมาณ เงินงบประมาณ 1,500 บาท

การประเมินผล ตวั ชี้วดั ความสำเรจ็ วิธีการวดั และประเมนิ ผล เครือ่ งมือวดั ผล 1. นักเรยี นสามารถใช้ 1. การสังเกต 1.แบบสังเกตความสนใจในการเรียน ภาษาอังกฤษได้อยา่ ง ถูกต้อง เหมาะสม คล่องแคล่ว 2.การสำรวจ / แบบสมั ภาษณน์ ักเรียน ภาษาต่างประเทศของนักเรียน 2.นักเรยี นมคี วามรู้ ความสามารถในการใช้ 3.แบบทดสอบผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรยี น 2.แบบสมั ภาษณน์ ักเรียน ภาษาอังกฤษในการ ติดตอ่ สื่อสารในชีวิตประจำวนั 4. การประเมนิ กิจกรรมการเรียนการ 3.แบบทดสอบวดั ผลสัมฤทธิท์ างการ และการเรยี นในโรงเรยี น สอน เรียน ผลท่คี าดวา่ จะได้รบั 1. นกั เรยี นโรงเรียนชมุ ชนที่ 11 วัดสุวรรณประดษิ ฐม์ ีทักษะในการใช้ภาษาองั กฤษเพอ่ื การเรยี นการสอน การตดิ ต่อส่อื สารในชีวิตประจำวนั ได้ 2. นักเรียนเรียนมีทักษะการใช้ภาษาองั กฤษเป็นเครื่องมือในการส่ือสาร สามารถใชภ้ าษาอังกฤษได้อย่าง ถกู ต้อง เหมาะสม คลอ่ งแคล่ว และมีความม่นั ใจในตนเอง ผเู้ สนอโครงการ ผู้อนมุ ตั โิ ครงการ (นางปิยะวรรณ มีคำ) (นายศรณั ย์ ชเู วช) ครูโรงเรียนชุมชนที่ 11 วดั สวุ รรณประดิษฐ์ ผู้อำนวยการโรงเรยี นชมุ ชนที่ 11 วดั สุวรรณประดิษฐ์

ชื่อโครงการ พฒั นารปู แบบการสอน STEM Education กล่มุ งาน วิชาการ สนองกลยุทธ์ กลยทุ ธ์สถานศึกษาท่ี 1,2,3,4 นโยบาย สพฐ. มาตรฐานท่ี ๑ คุณภาพของผู้เรยี น มาตรฐานที่ ๒ กระบวนการบรหิ ารและการจัดการของผบู้ ริหาร มาตรฐานที่ ๓ กระบวนการจัดการเรยี นการสอนทเี่ น้นผเู้ รียนเป็นสำคญั ลักษณะโครงการ โครงการใหม่ ผู้รบั ผดิ ชอบโครงการ นางสาวรสสุคนธ์ ชมศรี หน่วยงานที่รับผิดชอบ โรงเรียนชุมชนท่ี 11 วัดสวุ รรณประดิษฐ์ ระยะเวลาดำเนนิ การ ปีการศึกษา 2563 _________________________________________________________________________________ หลักการและเหตุผล ศตวรรษท่ี 21 สถานการณ์โลกมคี วามแตกตา่ งจากศตวรรษท่ี 20 และ 19 เป็นสังคมที่มกี าร เปล่ียนแปลงรวดเรว็ พลิกผัน และคาดไม่ถึง เยาวชนจะต้องมที ักษะสงู ในการเรยี นร้แู ละปรับตัว เพอ่ื การ ออกไปตำรงชีวติ ในโลกแหง่ ศตวรรษที่ 21 ซ่งึ การศกึ ษาในศตวรรษท่ี 21 ต้องเตรียมคนออกไปเป็น คนทำงานที่ ใชค้ วามรู้ (Knowledge Worker) และเป็นบคุ คลพร้อมเรียนรู้ (Learning Person) ไมว่ า่ จะประกอบ สัมมาชีพ ใด มนุษย์ในศตวรรษท่ี 21 ต้องเป็นบุคคลพร้อมเรยี นรู้ และเปน็ คนทำงานท่ีใช้ความรู้ ตังนน้ั การเรียนรใู้ น ศตวรรษที่ 21 ต้องก้าวข้าม \"สาระวชิ า\" ไปสูก่ ารเรียนรู้ \"ทกั ษะแห่งศตวรรษที่ 21\" (21st Century Skills) ที่เยาวชนควรมีและเปน็ เพ่อื ใช้ในการตำรงชีวิตในสังคมแห่งความเปลีย่ นแปลงในปจั จุบัน ไตแ้ ก่ ทักษะการ เรียนรแู้ ละนวตั กรรม หรอื 3R และ 8C ซึง่ มีองค์ประกอบ ตังนี้ 3Rได้แก่ การอา่ นออก (Reading), การ เขยี นได้ (Writing) และคดิ เลขเปน็ (Arithmetic) และ 8C ได้แก่ การดิตอย่างมวี จิ ารณญาณ แก้ไขปญั หาไต้ (Critical Thinking and Problem Solving), การคิดอย่างสร้างสรรค์ คิดเชิงนวตั กรรม (Creativity and Innovation), ความเข้าใจความแตกต่างทางวัฒนธรรม กระบวนการคดิ ขา้ มวัฒนธรรม (Cross-cultural Understanding), ความร่วมมือ การทำงานเปน็ ทมี และภาวะผนู้ ำ (Collaboration Teamwork and Leadershio) ทักษะในการสอ่ื สาร และการเทา่ ทนั ส่ือ (Communications Information and Media Literacy), ทกั ษะการใช้คอมพวิ เตอร์ และการรูเ้ ท่าทนั เทคโนโลยี (Computing and ICT Literacy), ทักษะ ทางอาชพี และการเรยี นรู้ (Career and Learning Skills) และความมีคุณธรรม มีเมตตา กรุณา มี ระเบียบ วนิ ัย (Compassion) ซึ่งเปน็ คุณลักษณะพน้ื ฐานสำคญั ของทักษะข้ันตน้ ทั้งหมด และเป็น คณุ ลักษณะทีเ่ ยาวชน จำเป็นตอ้ งมี ซง่ึ ครจู ะเป็นผสู้ อนตอ้ งให้นกั เรยี นเปน็ ผู้เรยี นรูด้ ว้ ยตนเอง (Constructivism) โดยครจู ะออกแบบ การเรียนรู้ ฝึกฝนใหต้ นเองเป็นโค้ช (Coach) และอ านวยความ สะดวก (Facilitator) ในการจัดกระบวนเรียนรู้แบบ STEM ศกึ ษาเป็นนวัตกรรมการเรียนรู้รปู แบบหนึง่ ทบี่ ูรณาการ วทิ ยาศาสตร์ (Science) เทคโนโลยี (Technology) วศิ วกรรมศาสตร์ (Engineering) และคณิตศาสตร์ (Mathematics) ดว้ ยกนั เพือ่ ให้ผู้เรยี นนำความรู้ไปใช้แก้ปัญหาในชีวติ จรงิ รวมทง้ั การพัฒนากระบวนการ หรอื ผลผลติ ให่มทเ่ี ปนประโยชน์ต่อการดำเนินชีวติ และการประกอบอาชีพ ผ่านประสบการณในการทำ

กิจกรรมการ เรียนรแู บบโครงงานเป็นฐาน (Project-Based Learning) หรอื กจิ กรรมการเรียนร้แู บบชนั้ ปัญหาเป็นฐาน (Problem-Based Learning) ด้วยเหตนุ ้ี โรงเรียนชมุ ชนที่ 11 วัดสุวรรณประดิษฐ์ ได้จัดทำโครงการพัฒนารปู แบบการสอน STEM Education เพอื่ พฒั นาผู้เรียนได้เต็มตามศักยภาพ ตามแนวทางการจดั ทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษท่ี 21 และ มุ่งสูม่ าตรฐานการศึกษาทีค่ ุณภาพต่อไป วัตถุประสงค์ 1. เพอ่ื สง่ เสรมิ ให้เกิดความร่วมมอื ของคณะครูและนกั เรยี นในการดำเนนิ งานโครงการพัฒนารูปแบบการ สอน STEM Education 2.เพื่อส่งเสริมใหน้ ักเรียนมีความตระหนักและเข้าใจในการจดั การเรยี นรดู้ ้วยกจิ กรรมการเรียนรู้ STEM ศกึ ษาในโรงเรยี น 3. เพือ่ ใหผ้ ้เู รยี นมีทักษะการคิดวิเคราะห์ และสรา้ งนวัตกรรมใหมๆ่ ท่ีใช้วทิ ยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ เทคโนโลยี และกระบวนการออกแบบทางวศิ วกรรม เป็นพื้นฐาน 4. เพ่อื ให้ครผู ู้สอนสามารถจัดการเรียนรูแ้ ละเชื่อมโยงกันระหว่างกลมุ่ สาระวิชาได้ 5. ครูผสู้ อนสามารถจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามแนว STEM ศึกษาไดอยางมปี ระสิทธิภาพได้ 6. เพอ่ื ศึกษาความพงึ พอใจของนกั เรยี น คณะครู ที่มตี ่อโครงการพัฒนารปู แบบการสอน STEM Education เป้าหมายเชิงปริมาณและคุณภาพ 1. คณะครูและนักเรียน ร้อยละ 85ให้ความร่วมมือของคณะครูและนักเรียนในการดำเนินงานโครงการ พฒั นารปู แบบการสอน STEM Education 2.นักเรยี น ร้อยละ 80 มคี วามตระหนกั และเขา้ ใจในการจัดการเรียนรดู้ ้วยกจิ กรรมการเรียนรู้ STEM ศกึ ษา ในโรงเรยี น 3. นกั เรียนร้อยละ 80มที ักษะการคดิ วิเคราะห์ และสรา้ งนวัตกรรมใหม่ๆ ทใ่ี ช้วทิ ยาศาสตร์ คณติ ศาสตร์ เทคโนโลยี และกระบวนการออกแบบทางวิศวกรรม เป็นพ้ืนฐาน 4.ครูผสู้ อนรอ้ ยละ85 สามารถจัดการเรียนรูแ้ ละเชือ่ มโยงกันระหว่างกลุ่มสาระวิชาได้ 5. ครูผู้สอนร้อยละ 85 สามารถจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามแนว STEM ศกึ ษาไดอยางมปี ระสิทธิภาพได้ 6. นกั เรยี นและคณะครู มีความพึงพอใจของตอ่ โครงการพฒั นารูปแบบการสอน STEM Education วิธีดำเนนิ การ กิจกรรม/ขั้นตอนการดำเนนิ การ ระยะเวลา ดำเนินการ งบประมาณ ผู้รับผิดชอบ 1. จัดทำโครงการเพอ่ื ขออนุมัตจิ ากผูบ้ รหิ ารโรงเรียน ก.ค.2563 ครรู สสุคนธ์ 2. จัดทำคำส่งั ส.ค. 2563 3. ประชุมคณะกรรมการเพือ่ วางแผนการดำเนนิ งาน ส.ค. 2563 5,000 ครภู ูมิ 4. ประชาสมั พนั ธ์กิจกรรมของโครงการแกค่ รูผูส้ อน ก.ย. – พ.ย. 2563 ครกู รี ติ 5. รวบรวมแผนการจดั การเรียนรู้ STEM ศึกษาของแต่ละ พ.ย.– ธ.ค.2563 กลุ่มสาระการเรยี นรู้ 6. ดำเนนิ การสอนดว้ ย STEM ธ.ค - ม.ค. 2563

7.จดั นิทรรศการและการแสดงผลงานของนักเรียน ม.ค.- ก.พ. 2563 8. สรปุ ผลการดำเนนิ งานและจัดทำรายงาน มี.ค. 2563 ระยะเวลาและสถานทดี่ ำเนนิ การ กรกฎาคม 2563 -มีนาคม 2564 สถานทด่ี ำเนินการ โรงเรยี นชมุ ชนที่ 11 วัดสุวรรณประดษิ ฐ์ งบประมาณ จำนวน 5,000 บาท การวัดและประเมินผล ตัวบง่ ชี/้ ความสำเรจ็ วธิ ปี ระเมนิ เครือ่ งมอื ประเมนิ 1. คณะครูและนักเรียน รอ้ ยละ 85ให้ความ - ตรวจประเมินสรปุ ผลการ - สรุปผลการดำเนินงาน ร่วมมือของคณะครูและนกั เรียนในการ ดำเนนิ งานรายงานโครงการ รายงานโครงการพฒั นา ดำเนนิ งานโครงการพฒั นารูปแบบการสอน พฒั นารปู แบบการสอน STEM Education STEM Educationและ รปู แบบการสอน STEM 2.นักเรยี น รอ้ ยละ 80 มีความตระหนักและ รูปภาพประกอบกจิ กรรม Education เข้าใจในการจดั การเรยี นรู้ด้วยกจิ กรรมการ -รปู ภาพประกอบกจิ กรรม เรยี นรู้ STEM ศกึ ษาในโรงเรียน - ประเมนิ ผลสำเร็จตาม 3. นักเรียนร้อยละ 80มีทักษะการคิดวิเคราะห์ เปา้ หมายเชิงปริมาณและ -แบบประเมนิ ผลสำเรจ็ และสร้างนวัตกรรมใหม่ๆ ทใ่ี ช้วิทยาศาสตร์ คณุ ภาพ เชิงปริมาณและคณุ ภาพ คณิตศาสตร์ เทคโนโลยี และกระบวนการ ออกแบบทางวิศวกรรม เปน็ พ้ืนฐาน 4.ครูผูส้ อนร้อยละ85 สามารถจัดการเรียนรู้ และเชื่อมโยงกันระหว่างกลมุ่ สาระวชิ าได้ 5. ครูผ้สู อนร้อยละ 85 สามารถจัดกิจกรรมการ เรยี นรู้ตามแนว STEM ศึกษาไดอยางมี ประสทิ ธิภาพได้ ตัวบ่งชี้/ความสำเรจ็ วิธปี ระเมิน เครื่องมือประเมนิ 6. นกั เรียนและคณะครู มีความพึงพอใจของต่อ - ตรวจประเมนิ สรปุ ผลการ - สรปุ ผลการดำเนินงาน โครงการพัฒนารปู แบบการสอน STEM ดำเนินงานรายงานโครงการ รายงานโครงการพัฒนา Education พัฒนารปู แบบการสอน รูปแบบการสอน STEM STEM Educationและ Education รูปภาพประกอบกิจกรรม -รปู ภาพประกอบกิจกรรม - ประเมินความพึงพอใจ - แบบประเมนิ ความพึงพอใจ ผลทค่ี าดวา่ จะไดร้ บั 1. ผเู้ รียนได้รบั การพฒั นาเตม็ ศักยภาพ และมีความสามารถในการคดิ วิเคราะห์ไดห้ ลากหลาย 2. โรงเรยี นมกี ระบวนการการจดั กิจกรรมการเรียนร้บู รู ณาการในการพัฒนาตน้ แบบโรงเรียนสู่ความเปน็ เลิศ

ปญั หาและอุปสรรคที่เกย่ี วขอ้ งกับโครงการ 1. ................................................................................................................................................. 2. ............................................................................................................................. ................... 3. ................................................................................................................................................ ข้อเสนอแนะและความต้องการในการพัฒนาโครงการ 1. ............................................................................................................................. .................... 2. ................................................................................................................................................ 3. ............................................................................................................................. ................... ลงช่ือ.........................................หวั หน้าโครงการ ลงช่อื .........................................ผ้อู นุมตั ิโครงการ (นางสาวรสสคุ นธ์ ชมศรี) (นายศรัณย์ ชูเวช) ตำแหนง่ ครู ผู้อำนวยการโรงเรียนชุมชนท่ี 11 วดั สวุ รรณประดิษฐ์

ช่ือโครงการ โครงการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนเด็กทมี่ ีความต้องการพิเศษ กลมุ่ งาน งานวชิ าการ ลกั ษณะโครงการ โครงการตอ่ เน่ือง สนองกลยุทธ์ กลยุทธส์ ถานศึกษาที่ 1,2,4 สอดคล้องกับมาตรฐานการเรยี นรวมมาตรฐานท่ี 1,2,3 ชอ่ื ผรู้ ับผดิ ชอบโครงการ นางหทัย แงวกดุ เรอื และนางสาววัชรี จอมคำ หน่วยงานท่รี บั ผดิ ชอบ โรงเรยี นชมุ ชนท่ี 11 วัดสุวรรณประดิษฐ์ ระยะเวลาดำเนนิ การ ปีการศึกษา 2563 ______________________________________________________________________________ 1.หลกั การและเหตุผล เนือ่ งจากโรงเรียนชมุ ชนท่ี11 วัดสวุ รรณประดษิ ฐ์ มีเด็กท่ีมีความบกพร่องทางการเรยี นรู้ จากแบบ คดั กรองของคณะครู ทำให้การจัดการเรยี นการสอนของครตู อ้ งคำนึงถึงความสามารถและความแตกต่างใน การรบั รขู้ องเด็กแต่ละประเภท และต้องเขา้ ใจในพฤติกรรมและอารมณ์ การใหค้ วามดแู ล ช่วยเหลอื ในการ อยรู่ ่วมกนั ระหวา่ งเด็กปกติและเด็กท่มี ีความตอ้ งการพเิ ศษ และให้ได้รบั สื่อ สงิ่ อำนวยความสะดวก(คูปอง การศกึ ษา) ซึง่ ทางโรงเรยี นชมุ ชนที่ 11 สุวรรณประดิษฐ์ ได้ตระหนักในกระบวนการจดั การเรยี นการสอน เฉพาะรายบุคคล สำหรบั ครูท่ีเก่ยี วข้องได้รบั ความรูค้ วามเข้าใจให้มากยิ่งข้นึ ไดด้ ำเนนิ การโครงการดงั กลา่ ว ในการพัฒนากระบวนจดั กจิ กรรมการเรียนการสอนเด็กท่ีมีความต้องการพเิ ศษ 2.วตั ถปุ ระสงค์ 2.1 เพื่อจัดการเรียนการสอนให้เด็กท่ีมคี วามต้องการพเิ ศษตามความสามารถรายบคุ คล 2.2 เพอ่ื ดำเนนิ การคดั กรองประเภทของเด็กแตล่ ะประเภทไดถ้ ูกต้อง 2.3 เพ่อื ให้ความดแู ลช่วยเหลอื และมที ักษะในการใชช้ ีวิตประจำวนั ดีขึ้น 2.4 เพอื่ ให้เดก็ ท่ีบกพรอ่ งการเรียนรู้สามารถพัฒนาการเรยี นรูด้ ้านการอา่ น เขียน คิดคำนวณได้ ตามศกั ยภาพของแตล่ ะบุคคล 3. เป้าหมายของโครงการ เชิงปรมิ าณ นักเรยี นทมี่ ีความต้องการพิเศษตั้งแตช่ ้นั ประถมศึกษาปีที่ 2 ถึงชนั้ มธั ยมศึกษาปีท่ี 3 ไดร้ ับการพฒั นาดา้ นการเรียนรแู้ ละทักษะชวี ติ สงั คม รอ้ ยละ 80 เชิงคุณภาพ นกั เรียนที่มีความต้องการพิเศษตง้ั แตช่ น้ั ประถมศึกษาปีท่ี 2ถงึ ชนั้ มัธยมศึกษาปที ี่ 3 มที ักษะการพฒั นาด้านการเรียนรแู้ ละทักษะชีวิต สงั คม ร้อยละ 80 4. กิจกรรมและการดำเนินการ ระยะเวลา งบประมาณ ผ้รู ับผดิ ชอบ ในงบ นอกงบ ที่ การดำเนินการและกิจกรรม ก.ค. 63 -ผู้บริหาร ก.ค. 63 -- -ผบู้ รหิ าร 1 ประชมุ วางแผนชีแ้ จงและมอบหมายงาน ก.ค. 63 -- -ผู้บรหิ าร 2 แต่งต้ังคณะทำงานดำเนินงานตามโครงการ -- -ฝา่ ยวชิ าการ 3 วางแผนการปฏบิ ัติงาน -อ.หทยั -อ.วชั รี 3.1 กำหนดเป้าหมาย 3.2 จัดลำดับความสำคญั ของเปา้ หมาย 3.3 กำหนดแนวทางการดำเนินงาน

3.4 กำหนดระยะเวลา ก.ค. 63 - - -อ.หทยั 3.5 กำหนดงบประมาณ -อ.วชั รี 3.6 กำหนดผ้รู บั ผดิ ชอบ 4 ประสานงานผู้ทเ่ี กี่ยวขอ้ ง 5 กิจกรรมสำคัญ (ตัวช้ีวัดระหวา่ งทาง) 5.1 แตง่ ตั้งคณะกรรมการคดั กรองแต่ละระดับช้ันและ ก.ค.63 200 - -อ.หทยั ดำเนินการคัดกรองนักเรยี น -อ.วชั รี -อ.นนั ท์นภัส -อ.ปยิ ะวรรณ -อ.อรวรรณ 5.2ประชมุ ครู ผู้ปกครองและบคุ ลากรที่เกย่ี วข้อง ก.ค.63 - - -อ.หทัย -อ.วชั รี -อ.นันทน์ ภสั -อ.ปยิ ะวรรณ -อ.อรวรรณ 5.3 ตรวจวัด IQ และขอใบรบั รองแพทย์ ส.ค.-มี.ค. - - -ผู้ปกครอง 64 5.4 การจัดกจิ กรรมการเรยี นการสอนเด็กท่ีมีความต้องการ ตลอดปี 2,000 - -อ.หทัย พิเศษแตล่ ะระดบั ชัน้ -คณะครู -กิจกรรมเสริมทกั ษะ -กจิ กรรมเสรมิ อาชพี ที่ การดำเนินการและกิจกรรม ระยะเวลา งบประมาณ ผ้รู บั ในงบ นอกงบ ผดิ ชอบ 5.5การวดั ผลประเมนิ ผล เด็กท่ีมีความต้องการพเิ ศษแต่ ตลอดปี 200 - -อ.หทัย ละระดับชน้ั -คณะครู 6 นิเทศ กำกบั ติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผล ตลอดปี - - -ผบู้ ริหาร 6.1 วางกรอบการประเมนิ เม.ย. 64 - - -อ.หทยั 6.2 จัดทำเครอ่ื งมือ (แบบประเมินความพงึ พอใจและแบบ เม.ย. 64 100 - -อ.วชั รี ประเมนิ เปา้ หมายเชงิ ปริมาณและคณุ ภาพ) 6.3 เกบ็ ข้อมลู /วิเคราะห/์ แปลผล/ประเมนิ สรปุ ผล เม.ย. 64 - - 6.4 ตรวจสอบหาจดุ เดน่ และจดุ ทีค่ วรพฒั นาของทุกๆ เม.ย. 64 - - ข้นั ตอน - - -ผู้บริหาร เม.ย. 64 7 นำผลการประเมินมาปรับปรุงงาน -อ.หทยั 7.1 ปรับปรุงแกไ้ ขการปฏิบตั ิงานของบุคลากร -อ.วัชรี 7.2 วางแผนพัฒนาปรับปรุงในปีการศกึ ษาต่อไป

8 สรปุ รายงานผลการดำเนินการ เม.ย. 64 200 - -อ.หทัย 8.1 รวบรวมผลการดำเนนิ งานผลการประเมินและภาพ -อ.วัชรี กิจกรรม 8.2 สรปุ รายงานผลการดำเนินงาน 8.3จัดเก็บข้อมูลท้ังหมดใสแ่ ฟ้มเสนอต่อผบู้ ริหาร 5.ทรพั ยากรท่ตี อ้ งการ 5.1 งบประมาณ รวมท้ังส้นิ 2,700 บาท 5.1.1 ใช้เงนิ งบประมาณอุดหนนุ รายหัวนักเรยี น เป็นจำนวนเงิน 2,700 บาท 5.1.2 ใช้เงินนอกงบประมาณ เป็นจำนวนเงนิ - บาท 5.2 บคุ ลากร ผู้บรหิ าร คณะครู นกั เรยี น คณะกรรมการสถานศกึ ษาและบุคคลในชุมชน 6. การวัดผลและประเมนิ ผล ตัวบง่ ชี้ความสำเรจ็ วิธกี ารวดั และประเมนิ ผล เครอื่ งมอื ประเมนิ 1.ทดสอบความก้าวหน้าของ -ตรวจประเมินทดสอบเดก็ ที่มี -แบบทดสอบ ผเู้ รียน ร้อยละ 80ได้รับการ ความตอ้ งการพเิ ศษ -แฟม้ สรปุ ผลการดำเนินงาน พัฒนา -ประเมนิ ผลสำเร็จตามเป้าหมาย รายงานโครงการส่งเสรมิ การใช้ เชงิ ปริมาณและคุณภาพ ห้องสมดุ -รูปภาพประกอบกิจกรรม ตวั บ่งชีค้ วามสำเร็จ วธิ กี ารวัดและประเมินผล เครอื่ งมอื ประเมนิ 5.นกั เรียน คณะครู และชมุ ชน มี -ตรวจประเมนิ สรุปผลการ -แบบประเมนิ ผลสำเร็จเชิง ความพึงพอใจตอ่ โครงการ ดำเนนิ งานรายงานโครงการ ปริมาณและคุณภาพ พฒั นาการจดั การเรยี นการสอน พัฒนาการจดั การเรียนการสอน เดก็ ท่ีมีความต้องการพิเศษ เดก็ ที่มีความต้องการพเิ ศษ -แฟม้ สรุปผลการดำเนินงาน และรูปภาพประกอบกิจกรรม รายงานโครงการส่งเสริมการใช้ -ประเมนิ ความพงึ พอใจ ห้องสมดุ -รูปภาพประกอบกจิ กรรม -แบบประเมินความพึงพอใจ 7. ผลทคี่ าดว่าจะได้รับ 7.1 นกั เรยี นทีม่ ีความต้องการพิเศษมกี ารพฒั นาการตามศักยภาพของแตล่ ะบคุ คลมากข้ึน 7.2 บุคลากรทเ่ี กยี่ วข้อง สามารถดำเนนิ การจดั การเรียนการสอนบรรลตุ ามวตั ถปุ ระสงค์ทวี่ างไว้ 8. ปญั หาและอุปสรรคทีเ่ กยี่ วข้องกับโครงการ ………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………… 9. ข้อเสนอแนะและความต้องการในการพฒั นาโครงการ ………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………

ลงช่อื .......................................หวั หน้าโครงการ ลงชือ่ ...........................................ผ้อู นุมัติโครงการ (นางหทยั แงวกดุ เรือ) (นายศรณั ย์ ชเู วช) ครชู ำนาญการพเิ ศษ ผู้อำนวยการโรงเรยี นชุมชนท่ี11วดั สุวรรณประดิษฐ์

ชื่อโครงการ โครงการสง่ เสริมการใช้ห้องสมุด กลุ่มงาน งานวชิ าการ ลกั ษณะโครงการ โครงการตอ่ เน่ือง สนองกลยทุ ธ์ กลยุทธ์สถานศึกษาท่ี 1,2,4 มาตรฐานการศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน มาตรฐานท่ี ๑ คุณภาพของผู้เรียน มาตรฐานท่ี ๒ กระบวนการบรหิ ารและการจดั การของผบู้ รหิ าร สถานศึกษา มาตรฐานที่ ๓ กระบวนการจัดการเรียนการสอนทเี่ นน้ ผเู้ รียนเปน็ สำคัญ ช่ือผู้รบั ผิดชอบโครงการ นางหทยั แงวกดุ เรอื และ นางสาวรสิตา บวั ประทมุ หนว่ ยงานทีร่ บั ผิดชอบ โรงเรยี นชมุ ชนที่ 11 วัดสวุ รรณประดิษฐ์ ระยะเวลาดำเนนิ การ ปกี ารศกึ ษา 2563 1.หลกั การและเหตุผล การพัฒนาการศึกษาในปัจจบุ ัน เนน้ การสง่ เสรมิ ให้ผู้เรยี นไดร้ ู้จักแสวงหาความร้แู ละสร้างองค์ ความรู้ดว้ ยตนเอง แหล่งเรียนรู้ต่างๆจงึ มีความจำเป็นอย่างยง่ิ ห้องสมดุ โรงเรียนนบั ว่าเป็นแหล่งเรียนรทู้ ี่ ผู้เรยี นสามารถคน้ คว้าองค์ความรทู้ ่ีหลากหลายดว้ ยตนเอง เป็นการใช้เวลาวา่ งให้เกิดประโยชนแ์ ก่ตนเอง และเปน็ การปลูกฝงั การมีนิสัยรกั การอา่ น ปลูกฝงั การแสวงหาความรู้ ดังนน้ั ห้องสมุดโรงเรียน จงึ พัฒนาและปรบั ปรงุ ให้มีมาตรฐานอยา่ งต่อเนอื่ ง สม่ำเสมอเพื่อทจ่ี ะ ให้บริการหนงั สอื ส่ือและเทคโนโลยี ทเ่ี อ้ือต่อการเรยี นร้ดู ว้ ยตนเองของผเู้ รียน และหรือเรยี นรู้แบบมีสว่ น รว่ มกบั ผอู้ นื่ อย่างมปี ระสทิ ธิภาพ 2. วัตถุประสงค์ ส่งเสรมิ การใชห้ ้องสมุด 2.1 เพอื่ พัฒนาบรรยากาศสภาพแวดลอ้ มในห้องสมุดให้น่าอยนู่ ่าใช้บรกิ าร 2.2 เพื่อสง่ เสริมการจัดหนังสือในหอ้ งสมุดให้เป็นระบบ หมวดหมู่ สะดวกต่อการรับและให้บริการ 2.3 เพอ่ื ปลูกฝงั ใหน้ กั เรยี นมีนิสยั รกั การอา่ นจากการคน้ คว้าทางหนังสือ เอกสารต่างๆและจากทาง อินเตอรเ์ น็ท 2.4 เพอื่ ปลูกฝังให้นกั เรียนแสวงหาความรู้ด้วยตนเองหรือเรยี นรูแ้ บบมสี ว่ นร่วมกับผ้อู น่ื ทง้ั ทาง หนังสือ เอกสารต่างๆ อนิ เตอรเ์ น็ท และจากการเข้ารว่ มกจิ กรรมของหอ้ งสมุด 2.5 เพื่อสง่ เสรมิ ให้นักเรยี นเข้าร่วมกจิ กรรมการประกวดผลงานทางวิชาการในวันสำคัญตา่ งๆของ หอ้ งสมุด 2.6 เพื่อส่งเสริมใหน้ ักเรยี น คณะครู และชุมชนเข้าร่วมกิจกรรมต่างๆของหอ้ งสมุด 2.7 เพือ่ ศกึ ษาความพึงพอใจของนกั เรยี น คณะครู และชุมชนทมี่ ีต่อโครงการสง่ เสริมการใชห้ อ้ งสมุด 3. เป้าหมายของโครงการ 3.1 บรรยากาศสภาพแวดลอ้ มในหอ้ งสมุดร้อยละ 85ไดร้ ับการพัฒนาปรับปรุงให้น่าอยู่น่าใช้บริการ 3.2 หนังสือในห้องสมุดรอ้ ยละ85ไดร้ ับการจดั ใหเ้ ป็นระบบ หมวดหมู่ สะดวกต่อการรับและใหบ้ ริการ 3.3 นักเรียนร้อยละ 85 มีนิสัยรักการอ่านจากการคน้ คว้าทางหนังสือ เอกสารต่างๆ และจาก อนิ เตอรเ์ น็ท

3.4 นกั เรยี นรอ้ ยละ 85แสวงหาความรู้อ่นื ๆ ดว้ ยตนเอง และหรือเรียนรแู้ บบมีส่วนร่วมกับผู้อนื่ ท้ัง จากทางหนังสือ เอกสารตา่ งๆ อนิ เตอร์เน็ท และจากการเข้าร่วมกจิ กรรมของห้องสมดุ 3.5 นักเรียน ร้อยละ 85เขา้ รว่ มกิจกรรมการประกวดผลงานทางวชิ าการในวันสำคัญต่างๆของ หอ้ งสมุด 3.6 นกั เรยี น คณะครู และชมุ ชนรอ้ ยละ 83 เขา้ รว่ มกิจกรรมตา่ งๆของห้องสมุด(บช.3.1-3.3) 3.7 นกั เรยี นคณะครแู ละชุมชน มีความพึงพอใจต่อโครงการส่งเสริมการใช้ห้องสมุดอยูใ่ นระดับดี-ดมี าก 4. กจิ กรรมและการดำเนนิ การ ท่ี การดำเนนิ การและกิจกรรม ระยะเวลา งบประมาณ ผรู้ บั ผิดชอบ ในงบ นอกงบ 1 ประชุมวางแผนชแ้ี จงและมอบหมายงาน ก.ค. 63 - - -ผบู้ รหิ าร 2 แตง่ ต้ังคณะทำงานดำเนินงานตามโครงการ ก.ค. 63 - - -ผบู้ รหิ าร 3 วางแผนการปฏบิ ัตงิ าน ก.ค. 63 - - -ผู้บรหิ าร 3.1 กำหนดเปา้ หมาย -ฝา่ ยวิชาการ 3.2 จดั ลำดับความสำคัญของเปา้ หมาย -อ.หทัย 3.3 กำหนดแนวทางการดำเนินงาน -อ.รสิตา 3.4 กำหนดระยะเวลา 3.5 กำหนดงบประมาณ 3.6 กำหนดผู้รบั ผิดชอบ 4 ประสานงานผู้ที่เกี่ยวขอ้ ง ก.ค. 63 - - -อ.หทยั ก.ค. 63 1,500 -อ.รสติ า 5 5.1 กจิ กรรมพัฒนาหอ้ งสมดุ ให้มบี รรยากาศ สภาพ นา่ ใช้บรกิ าร - -อ.หทัย -อ.รสติ า -บรรณารกั ษน์ อ้ ย ท่ี การดำเนนิ การและกจิ กรรม ระยะเวลา งบประมาณ ผรู้ บั ผิดชอบ 5.2 กจิ กรรมประกวดผลงานทางวิชาการในวนั ในงบ นอกงบ สำคญั ตา่ งๆ -อ.หทยั 5.3 กิจกรรมรถเขน็ รกั การอ่าน ตลอดปี 500 - -อ.รสติ า -คณะครู 5.4กจิ กรรมสปั ดาห์ห้องสมุด ตลอดปี - - -อ.หทยั ปีละ 1ครง้ั 1,500 - -อ.รสิตา 6 นเิ ทศ กำกับ ตดิ ตาม ตรวจสอบ ประเมนิ ผล ตลอดปี - - -บรรณารักษน์ ้อย -อ.หทยั -อ.รสิตา -บรรณารกั ษน์ ้อย -ผบู้ รหิ าร

6.1 วางกรอบการประเมนิ เม.ย. 64 - - -อ.หทัย 6.2 จัดทำเครื่องมือ (แบบประเมินความพงึ เม.ย. 64 200 - -อ.รสติ า พอใจและแบบประเมินเปา้ หมายเชงิ ปริมาณ และคุณภาพ) เม.ย. 64 - - 6.3 เกบ็ ข้อมลู /วเิ คราะห์/แปลผล/ประเมิน เม.ย. 64 - - สรปุ ผล 6.4 ตรวจสอบหาจุดเดน่ และจุดที่ควรพัฒนา เม.ย. 64 - - -ผู้บริหาร ของทุกๆข้นั ตอน -อ.หทยั เม.ย. 64 300 -อ.รสติ า 7 นำผลการประเมินมาปรบั ปรุงงาน 7.1 ปรบั ปรุงแก้ไขการปฏบิ ัติงานของบุคลากร - -อ.หทยั 7.2 วางแผนพัฒนาปรบั ปรุงในปีการศกึ ษา -อ.รสติ า ต่อไป 8 สรปุ รายงานผลการดำเนินการ 8.1 รวบรวมผลการดำเนินงาน 8.2สรุปรายงานผลการดำเนินงาน 5.ทรัพยากรท่ตี ้องการ 5.1 งบประมาณ รวมทั้งสนิ้ 4,000 บาท 5.1.1 ใชเ้ งนิ งบประมาณอุดหนุนรายหัวนกั เรยี น เป็นจำนวนเงิน 4,000 บาท 5.1.2 ใช้เงินนอกงบประมาณ เป็นจำนวนเงิน -บาท 5.2 บคุ ลากร ไดแ้ ก่ ผูบ้ รหิ าร คณะครู นกั เรียน คณะกรรมการสถานศกึ ษาและชุมชน 6. การวดั ผลและประเมินผล ตัวบง่ ชีค้ วามสำเร็จ วิธกี ารวดั และประเมนิ ผล เครื่องมือประเมิน 1. บรรยากาศสภาพแวดลอ้ มในหอ้ งสมดุ ร้อยละ -ตรวจประเมนิ สรุปผลการ -แฟ้มสรุปผลการ 85ได้รับการพฒั นาปรับปรุงให้น่าอยนู่ ่าใช้บรกิ าร ดำเนนิ งานโครงการสง่ เสริม ดำเนนิ งานโครงการ 2. หนงั สือในห้องสมุดร้อยละ 85 ไดร้ ับการจัดให้ การใช้ห้องสมุดและรูปภาพ สง่ เสริมการใชห้ ้องสมุด เป็นระบบ หมวดหมู่ สะดวกต่อการรับและ ประกอบกิจกรรม -รูปภาพประกอบกิจกรรม ให้บริการ -แบบประเมนิ ผลสำเร็จเชิง 3. นกั เรยี นรอ้ ยละ 85 มนี สิ ยั รักการอา่ นจาก - นักเรยี น คณะครู และ ปริมาณและคุณภาพ การค้นคว้าทางหนงั สอื เอกสารต่างๆ และจาก ชุมชน ประเมินผลสำเร็จ อนิ เตอร์เน็ท ตามเป้าหมายเชงิ ปริมาณ 4. นักเรียนร้อยละ 85 แสวงหาความรู้อื่นๆดว้ ย และคณุ ภาพ ตนเอง และหรือเรยี นรู้แบบมีสว่ นรว่ มกบั ผอู้ ื่นทัง้ จากทางหนงั สือ เอกสารต่างๆ อนิ เตอรเ์ น็ท และ จาก การเขา้ รว่ มกิจกรรมของห้องสมดุ 5.นกั เรยี น รอ้ ยละ 85เขา้ ร่วมกิจกรรม การประกวดผลงานทางวิชาการในวนั สำคัญ

ตา่ งๆของหอ้ งสมดุ - นักเรยี น คณะครู และ - แบบประเมินความ 6. นักเรียน คณะครู และชุมชนรอ้ ยละ 83 ชุมชน ประเมินความ พงึ พอใจ เข้าร่วมกจิ กรรมตา่ งๆของห้องสมุด พงึ พอใจท่ีมตี ่อโครงการ 7.นักเรียน คณะครู และชมุ ชน มคี วามพงึ พอใจ ตอ่ โครงการส่งเสริมการใชห้ ้องสมุด อยูใ่ นระดบั ดี-ดมี าก 7. ผลท่คี าดวา่ จะไดร้ ับ 7.1 ห้องสมุดโรงเรยี นมคี ุณภาพมาตรฐาน 7.2 ห้องสมุดใหบ้ รกิ ารและเป็นแหล่งเรียนรูข้ องครู นักเรียน และบุคคลในชุมชนท้องถน่ิ 7.3 ช่วยปลกู ฝงั ใหน้ กั เรียนมีนสิ ัยรักการอา่ น 7.4 นกั เรยี นเห็นคุณค่าของห้องสมดุ 8. ปญั หาและอปุ สรรคทเี่ กยี่ วข้องกบั โครงการ 8.1 ........................................................................................................................ .................... 8.2 .......................................................................................................................................... .. 9. ข้อเสนอแนะและความต้องการในการพฒั นาโครงการ 9.1 ............................................................................................................................................ 9.2 ......................................................................................................................... ................... 9.3 ............................................................................................................................................ ลงชอ่ื .......................................หวั หน้าโครงการ ลงชือ่ ...........................................ผู้เสนอโครงการ (นางหทยั แงวกุดเรือ) (นางสาวรสติ า บัวประทมุ ) ครูชำนาญการพเิ ศษ ครูอัตราจา้ ง ลงชอื่ ...........................................ผอู้ นุมัติโครงการ (นายศรณั ย์ ชูเวช ) ผูอ้ ำนวยการโรงเรยี นชุมชนท่ี 11วัดสุวรรณประดษิ ฐ์

ช่อื โครงการ การแนะแนวการศึกษา กลมุ่ งาน วชิ าการ สนองกลยทุ ธ์กลยุทธ์สถานศึกษาท่ี 1,2,3,4 นโยบาย สพฐ.(15 มาตรฐาน) มาตรฐานดา้ นคุณภาพผู้เรียน มาตรฐานที่ 1 ลกั ษณะโครงการ ต่อเน่อื ง ผู้รับผิดชอบโครงการ ว่าที่ ร.ต. ภูมิ คำยอด หน่วยงานที่รับผดิ ชอบ โรงเรยี นชุมชนท่ี 11 วดั สวุ รรณประดิษฐ์ ระยะเวลาดำเนนิ การ ปีการศกึ ษา 2563 1. หลักการเหตผุ ล สภาพปัญหาการขาดแคลนแรงงานในประเทศไทย มีสาเหตุและปัจจยั หลายประการท้ังสาเหตุจาก ประเทศไทยมีการผลิตกำลังแรงงานไม่ตรงกับความต้องการของตลาดแรงงาน สังคมไทยเร่ิมเข้าสู่สังคม ผสู้ ูงอายุ และขาดการเตรยี มความพร้อมให้กับกำลังแรงงานก่อนเข้าสู่ตลาดแรงงานในแต่ละช่วงวัยและช่วง การศึกษา ท้าให้กำลังแรงงานเลือกศึกษาต่อและเลือกประกอบอาชีพอย่างไร้ทิศทาง ส่งผลให้เกิดความไม่ สอดคล้องในตลาดแรงงาน และปัญหาการวา่ งงาน การแนะแนวอาชีพและการส่งเสริมการประกอบอาชีพ เป็นกระบวนการสำคัญท่ีจะสามารถช่วย แก้ไขปัญหาดังกล่าว โดยการเตรยี มคนในด้านความรู้ ความสามารถ ความสนใจ ความถนัด และบคุ ลิกภาพ เพอื่ ให้สอดคล้องกบั ความต้องการของตลาดแรงงาน หากนกั เรียน นักศึกษา ผวู้ ่างงานได้เลือกศึกษาต่อหรือ ประกอบอาชีพตรงกับความรู้ ความสามารถ ความสนใจ ความถนัด และบุคลิกภาพของตนเองก็จะท้างาน ได้อย่างมีความสุข ลดปัญหาการเปล่ียนแปลง หรือออกจากงาน ท้าให้ประสบผลสำเร็จมีความก้าวหน้าใน อาชีพและมีรายได้ทเี่ หมาะสม การเลือกอาชีพท่ีเหมาะสมกับความสามารถ ความสนใจ ความถนัดของแต่ละบุคคลมีความสำคัญ อย่างย่ิง คนที่เลือกประกอบอาชีพท่ีเหมาะสมกับตนเองย่อมส่งผลให้มีความสุขในการท้างาน และ ความสำเร็จในการประกอบอาชีพนั้น ๆ การแนะแนวมีบทบาทสำคัญที่ช่วงส่งเสริมสนับสนุนให้ผู้เรียนก้าว เขา้ สูโ่ ลกของการมีอาชีพและทา้ งานได้อย่างมคี ุณภาพ 2. วัตถปุ ระสงค์ 2.1. เพื่อให้คณะครูให้คำปรึกษาและแนะแนวทางแก้ไขปัญหาให้กับนักเรียนทั้งด้านการเรียนและ คณุ ภาพชวี ิตดว้ ยความเสมอภาค 2.2. เพื่อให้นักเรียนรู้จักตนเองเข้าใจสภาวะของตนเอง เข้าใจปัญหาท่ีตนเองประสบอยู่ ตลอดจนเข้าใจบุคคลและสภาพแวดล้อม กล้าตัดสินใจ เลือกวิธีแก้ปัญหาได้อย่างเหมาะสม สามารถ ปรบั ตวั อยใู่ นสังคมได้อย่างมคี วามสขุ 2.3. เพือ่ แนะแนวทางในการศึกษาต่อใหน้ ักเรียนเม่ือจบการศึกษาในระดับช้ันมธั ยมศกึ ษาปีที่3 2.4. เพ่ือส่งเสริมให้นักเรียนมีส่วนร่วมในกิจกรรมต่างๆท่ีตรงกับความถนัด ความสามารถและ ความสนใจ มีการวางแผนการทำงาน ทำงานอย่างมีความสุข มุ่งม่ันพัฒนางาน ภูมิใจในผลงานของ ตนเองและ ทำงานร่วมกบั ผ้อู น่ื ไดอ้ ย่างมคี วามสขุ

2.5. เพ่ือส่งเสริมให้นักเรียนต้ังแต่ช้ันปฐมวัย– ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ได้รับความช่วยเหลือ และ ส่งเสริมอย่างถกู วิธี ตรงตามพฒั นาการตามวยั ด้วยกระบวนการแนะแนวและพัฒนา 3. เปา้ หมายชิงปริมาณและคุณภาพ เปา้ หมายเชิงปรมิ าณ นกั เรียนรอ้ ยละ 90 เขา้ ร่วมโครงการแนะแนวการศกึ ษา ประกอบดว้ ย นกั เรยี นระดบั ชนั้ ปฐมวยั – นกั เรยี นระดบั ชัน้ มัธยมศึกษาปที ี่ 3 เปา้ หมายเชิงคุณภาพ นกั เรยี นมีทักษะในดา้ นอาชพี และมที ัศนคติท่ดี ตี ่อการเลือกอาชีพที่เหมาะสม 4. ข้นั ตอนการดำเนินงาน กจิ กรรม ระยะเวลาดำเนนิ งาน ผู้รับผดิ ชอบ 1.เสนอขออนุมตั ิโครงการ 16 เมษยายน 2563 ว่าท่ี ร.ต. ภูมิ คำยอด 2.ประชมุ มอบหมายงาน 1 กรกฎาคม 2563 ผ.อ.ศรัณย์ ชูเวช 3.ประชาสัมพันธ์นกั เรียนระดับชัน้ ท่ี ตลอดปีการศกึ ษา 2563 คณุ ครูประจำชนั้ เกีย่ วขอ้ งในการศึกษาตอ่ ครูประจำวชิ าแนะแนวทกุ ระดับ 4.ดำเนินงานตามแผนและกำหนดการ ตลอดปกี ารศกึ ษา 2563 ครปู ระจำวิชาแนะแนวทกุ ระดบั 5.ประเมนิ ผล เมษยน 2564 ว่าที่ ร.ต. ภูมิ คำยอด 5. งบประมาณ 3,000 บาท 6. การประเมินผล ประเมินจากการเข้ารว่ มกจิ กรรม แบบประเมนิ การเข้าร่วมโครงการ 7. ผลทีค่ าดว่าจะได้รบั 7.1คณะครใู หค้ ำปรึกษาและแนะแนวทางแก้ไขปญั หาใหก้ บั นักเรยี นท้งั ดา้ นการเรยี นและคุณภาพ ชีวติ ดว้ ยความเสมอภาค 7.2นกั เรียนรจู้ ักตนเองเข้าใจสภาวะของตนเอง เข้าใจปญั หาทต่ี นเองประสบอยู่ ตลอดจนเขา้ ใจ บุคคลและสภาพแวดล้อม กล้าตดั สนิ ใจ เลือกวิธแี ก้ปัญหาไดอ้ ย่างเหมาะสม สามารถปรบั ตัวอยู่ในสังคม ได้อย่างมคี วามสุข 7.3นักเรยี นเม่ือจบการศึกษาในระดบั ชน้ั มัธยมศึกษาปีท่ี 3มีสถานศึกษาต่ออยา่ งเหมาะสม 7.4นกั เรียนมสี ว่ นร่วมในกิจกรรมตา่ งๆท่ตี รงกบั ความถนดั ความสามารถและความสนใจ มีการ วางแผนการทำงาน ทำงานอยา่ งมีความสุข มุ่งมั่นพัฒนางาน ภูมิใจในผลงานของตนเองและ ทำงานร่วมกบั ผู้อนื่ ได้อย่างมคี วามสุข 7.5 นกั เรียนตงั้ แต่ชั้นปฐมวยั – ชัน้ มธั ยมศึกษาปีที่ 3 ไดร้ บั ความช่วยเหลือ และส่งเสรมิ อยา่ งถูก วธิ ี ตรงตามพัฒนาการตามวัยด้วยกระบวนการแนะแนวและพัฒนา

ว่าที่ ร.ต. …………………………..…..…..ผู้เสนอโครงการ ( นายภูมิ คำยอด ) ลงช่ือ………….………….............…..ผู้อนุมตั ิโครงการ ( นายศรณั ย์ ชเู วช ) ผอู้ ำนวยการโรงเรียนชมุ ชนที่ 11 วัดสวุ รรณประดิษฐ์

ชอ่ื โครงการ ค่ายวทิ ยาศาสตร์ กลุ่มงาน วชิ าการ สนองกลยุทธ์กลยุทธส์ ถานศึกษาท่ี 1,2,3,4 มาตรฐานการศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรยี น มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนทีเ่ นน้ ผู้เรียนเป็นสำคญั ลักษณะโครงการ ใหม่ ผรู้ ับผดิ ชอบโครงการ ว่าที่ ร.ต. ภมู ิ คำยอด หนว่ ยงานท่รี บั ผดิ ชอบ โรงเรียนชมุ ชนท่ี 11 วัดสุวรรณประดิษฐ์ ระยะเวลาดำเนินการ ปกี ารศึกษา 2563 1. หลกั การเหตุผล การให้การศึกษาคือการสร้างสรรค์ความรู้ความคิด พร้อมท้ังคุณสมบัติและจิตใจท่ีสมบูรณ์ ทำให้ เกิดขึ้นในตัวบุคคล เพ่ือช่วยให้เขาสามารถดำรงชีวิตอยู่ได้อย่างม่ันคงราบร่ืน ทั้งสามารถบำเพ็ญประโยชน์ สขุ เพ่ืองาน เพ่ือส่วนรวม ได้ตามควรแก่อัตภาพ (พระบรมราโชวาท พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 9) การจัดการศึกษาในปัจจุบันได้มุ่งเน้นให้ผู้เรียนได้เรียนรู้เร่ืองราวต่างๆ ตามสภาพแวดล้อมท่ีเป็น จริงจากประสบการณ์ของตนเอง โดยผสมผสานความรู้ต่างๆ อย่างสมดุล มุ่งเน้นในเรื่องของความรู้ คุณธรรมกระบวนการเรียนรู้และบูรณาการความรู้ต่างๆตามความเหมาะสม รวมทั้งจดั กิจกรรมให้ผู้เรียนได้ เรียนรจู้ ากประสบการณ์จริงโดยผสมผสานสาระความรู้ในดา้ นตา่ งๆ อย่างได้สัดส่วนและสมดลุ กนั การพัฒนาประเทศให้มีความยั่งยืน และทันต่อการเปล่ียนแปลงอย่างรวดเร็วของโลก จำเป็นต้อง อาศยั ความรูจ้ ากการพฒั นาวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยีเป็นพืน้ ฐานสำคัญ มปี ัจจยั หลายประการทจ่ี ะนำไปสู่ ความสำเร็จต่อการพัฒนาทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี แต่ปัจจัยพ้ืนฐานท่ีสำคัญต้องอาศัยบุคลากรที่มี ศักยภาพและความสามารถ ดังนั้น การจัดเข้าค่ายผู้นำวิทยาศาสตร์ จึงเป็นกิจกรรมที่เตรียมความพร้อมให้ นักเรียนผู้นำได้มาฝึกฝนทดลอง เรียนรู้พื้นฐานและทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์อย่างหลากหลาย เพื่อจะได้มาถ่ายทอดใหเ้ พื่อนเป็นการพฒั นาและเพม่ิ พูนศักยภาพทางวิทยาศาสตร์อยา่ งต่อเน่ืองท่ีมีคณุ ภาพ ของประเทศ 2. วัตถุประสงค์ 2.1 เพ่ือส่งเสริมการศึกษาค้นคว้า ความคิดริเร่ิมสร้างสรรค์ และใช้ทักษะกระบวนการ วทิ ยาศาสตรใ์ นการแก้ปัญหาของนกั เรียน 2.2 เพื่อกระตุ้นให้นักเรียนคิดค้นผลงานทางด้านวิทยาศาสตร์ อีกทั้งมีเจตคติท่ีดีต่อวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี 2.3 เพ่ือให้นักเรียนท่ีมีความสนใจทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีได้มีโอกาสแลกเปล่ียน ประสบการณแ์ ละความคดิ เหน็ ซง่ึ กันและกัน 2.4 เพอื่ ให้นกั เรยี นเกิดการเรยี นรดู้ ว้ ยตนเองมากขนึ้ 2.5 เพือ่ ใหน้ กั เรยี นทำกจิ กรรมร่วมกันในโรงเรยี น และใช้เวลาวา่ งให้เกิดประโยชน์ 3. เป้าหมายชงิ ปรมิ าณและคณุ ภาพ เปา้ หมายเชิงปรมิ าณ

นักเรียนรอ้ ยละ 90 เข้ารว่ มโครงการค่ายวทิ ยาศาสตร์ ณ โรงเรยี นชุมชนที่ 11 วัดสุวรรณ ประดิษฐ์ ประกอบดว้ ย นักเรียนระดบั ชน้ั ประถมศึกษา 4 – นกั เรียนระดับชน้ั มธั ยมศึกษาปีที่ 3 เปา้ หมายเชิงคณุ ภาพ นักเรยี นมที ักษะในดา้ นวชิ าการและประสบการณใ์ นการแลกเปล่ยี นเรียนร้มู ากขึ้น 4. ขน้ั ตอนการดำเนินงาน กจิ กรรม ระยะเวลาดำเนนิ งาน ผรู้ บั ผดิ ชอบ 1.เสนอขออนุมตั โิ ครงการ 16 เมษยายน 2563 ว่าที่ ร.ต. ภมู ิ คำยอด ผ.อ.ศรัณย์ ชเู วช 2.ประชุมมอบหมายงาน 1 กรกฎาคม 2563 วา่ ที่ ร.ต. ภมู ิ คำยอด 3.ประสานคณะวทิ ยากร คณะครุศาสตร์ 15 กรกฎาคม 2563 ว่าท่ี ร.ต. ภมู ิ คำยอด ว่าท่ี ร.ต. ภูมิ คำยอด มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั พิบลู สงคราม 4.ดำเนินงานตามแผนและกำหนดการ ภายในเดอื น กันยายน 2563 5.ประเมินผล กนั ยายน 2563 ฐานกจิ กรรมวิทยาศาสตร์ ฐานที่ 1 กิจกรรมสเี ตน้ ระบำ ฐานท่ี 2 กจิ กรรมภูเขาไฟลาวา ฐานที่ 3 กจิ กรรมแป้งโดว์ ฐานท่ี 4 กจิ กรรมฟองสบู่แสนกล ฐานท่ี 5 กิจกรรมทรายเลน่ สี ฐานที่ 6 กจิ กรรมรถพลงั ลกู โป่ง ตารางกิจกรรมคา่ ยวิทยาศาสตร์ 08.00 – 08.30 น. ลงทะเบียนรบั ป้ายชื่อ (6 ส)ี 08.30 – 09.00 น. ละลายพฤติกรรม สันทนาการ โดย นักศึกษาคณะครุศาสตร์ มร.พส. 09.00 – 09.15 น. พธิ เี ปิด โดย ผู้อำนวยการโรงเรยี นชมุ ชนท่ี 11 วัดสวุ รรณประดษิ ฐ์ 09.30 – 10.15 น. กิจกรรมฐานที่ 1 10.30 – 11.15 น. กจิ กรรมฐานท่ี 2 11.30 – 12.15 น. กิจกรรมฐานที่ 3 12.15 – 12.50 น. พักรับประทานอาหารกลางวัน 12.50 – 13.00 น. สันทนาการ โดย นักศึกษาคณะครุศาสตร์ มร.พส. 13.00 – 13.45 น. กิจกรรมฐานที่ 4 14.00 – 14.45 น. กจิ กรรมฐานที่ 5 15.00 – 15.45 น. กิจกรรมฐานท่ี 6 15.45 – 16.30 น. สรุปรวบยอดความคดิ สะทอ้ นคิด แบง่ ออกเป็น 3 ประเดน็ รู้สึก ได้ ใช้ 16.30 น. เสรจ็ กิจกรรม 5. งบประมาณ 5,000 บาท -เงนิ ค่าวทิ ยากร

-เงนิ ค่าอปุ กรณ์ในฐานกิจกรรม 2,000 บาท -เงนิ ค่ากระดาษป้ายคล้องคอนักเรยี น 6 สี 500 บาท -อาหารว่างสำหรบั นกั เรียน ภาคบ่าย 2,500 บาท 10,000 บาท รวมเปน็ เงนิ ทั้งสนิ้ 6. การประเมินผล ประเมนิ จากการเข้าร่วมกจิ กรรม แบบประเมินการเข้ารว่ มโครงการ 7. ผลที่คาดวา่ จะได้รบั 7.1 นักเรียนมคี วามคิดริเร่ิม และสรา้ งสรรค์ผลงานด้วยความภาคภูมใิ จ ร้อยละ 80 7.2 นกั เรียนคดิ คน้ ผลงานทางดา้ นวิทยาศาสตร์ อีกทั้งมีเจตคตทิ ดี่ ตี ่อวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี รอ้ ยละ80 7.3 นกั เรียนที่มีความสนใจทางดา้ นวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยไี ดม้ ีโอกาสแลกเปลย่ี น ประสบการณ์และความคดิ เห็นซ่งึ กนั และกนั 7.4 นักเรยี นเกดิ การเรียนรดู้ ้วยตนเองมากขน้ึ และมีผลงานเป็นของตนเอง 7.5 นักเรียนวางแผนการทำงานและดำเนินการจนสำเร็จ และทำงานร่มกับผ้อู นื่ ได้ ว่าท่ี ร.ต. …………………………..…..…..ผู้เสนอโครงการ (นายภมู ิ คำยอด) ลงชื่อ………….………….............…..ผูอ้ นุมัตโิ ครงการ (นายศรัณย์ ชูเวช) ผอู้ ำนวยการโรงเรยี นชุมชนท่ี 11 วัดสุวรรณประดิษฐ์

ชื่อโครงการ เสริมสรา้ งคณุ ธรรม จรยิ ธรรม และหลักธรรมาภบิ าล ในสถานศึกษา “โรงเรียนสจุ ริต” กลุ่มงาน วชิ าการ สนองกลยุทธ์ กลยุทธส์ ถานศึกษาที่ 1,2 มาตรฐานการศึกษาขัน้ พ้ืนฐาน มาตรฐานท่ี ๑ คุณภาพของผู้เรยี น มาตรฐานท่ี ๒ กระบวนการบริหารและการจดั การของผู้บริหาร สถานศกึ ษา มาตรฐานที่ ๓ กระบวนการจัดการเรยี นการสอนที่เนน้ ผเู้ รียนเปน็ สำคัญ ลกั ษณะโครงการ ต่อเนื่อง หัวหนา้ โครงการ นางเตือนใจ ประดิษฐ์ หนว่ ยงานที่รับผิดชอบ โรงเรียนชุมชนท่ี 11 วดั สุวรรณประดิษฐ์ ระยะเวลาดำเนนิ การ ปีการศึกษา 2563 1. หลักการและเหตุผล การพฒั นาเทคโนโลยแี ละข้อมูลข่าวสารในปัจจุบนั ซึง่ เป็นยุคโลกาภิวัตน์(Globalization) กอ่ ใหเ้ กิดการแพร่กระจายวัฒนธรรมท่รี วดเร็วและรนุ แรง สง่ ผลต่อการเปลี่ยนแปลงวถิ ีการดำเนนิ ชวี ติ สภาพเศรษฐกิจ สภาพสังคม และสภาพแวดล้อมของสังคมไทย ทำให้เด็กและเยาวชนเปิดรับวฒั นธรรม และเจตคติใหมใ่ นการดำเนนิ ชีวติ ทเ่ี ปน็ กระแสการบริโภคนิยม เดก็ และเยาวชนซง่ึ เป็นบคุ คลท่ีอย่ใู นวยั เรียนรแู้ ละพร้อมท่จี ะรบั การเปลยี่ นแปลง ประกอบกับการขาดองค์ความรู้ ผลักดนั ให้รับคา่ นิยมและ วฒั นธรรมใหม่ และปฏเิ สธค่านยิ มดัง้ เดิม เกิดพฤติกรรมการดำรงชวี ิตท่มี กี ารบรโิ ภคเกินฐานะ คา่ นิยม การแต่งกายการใชส้ ่ิงของตามแฟชั่น ม่วั สมุ การพนนั หรือเสี่ยงโชค และการกู้หนยี้ ืมสิน กอ่ ใหเ้ กิดปญั หา ทางสงั คมและเศรษฐกิจตามด้วยปัญหาอาชญากรรมและการทุจรติ คดโกงในทส่ี ดุ การสร้างภมู คิ มุ้ กันในการดำรงชีวติ ให้กบั เด็กและเยาวชน โดยการปลกู ฝังคณุ ลักษณะ โรงเรยี นสจุ ริต 5 ด้าน คอื มที ักษะกระบวนการคดิ ความมวี นิ ยั ความซอื่ สตั ยส์ จุ รติ อยู่อย่างพอเพียง มจี ิตสาธารณะ จึงเปน็ สง่ิ สำคัญทคี่ วรสนับและส่งเสริมมากที่สุดในสถานศึกษา 2. วตั ถุประสงค์ 2.1 เพอ่ื พฒั นาส่งเสริมให้คณะครู นักเรยี น และชุมชนมีความรู้ความเข้าใจถึงคุณลักษณะโรงเรยี น สจุ ริต 2.2 เพ่อื พฒั นา สง่ เสรมิ และปลกู ฝงั ให้คณะครู นักเรียน และชมุ ชนมคี ุณลักษณะโรงเรยี น สุจริต 5 ด้าน คอื 1) มีทักษะกระบวนการคิด 2) มีวินยั 3) ซือ่ สัตย์สจุ ริต 4) อยู่อยา่ งพอเพียง 5) มจี ิต สาธารณะ 2.3 เพอ่ื พฒั นาสง่ เสรมิ ให้คณะครูใช้แผนการจัดการเรยี นรู้หลกั สูตรต้านทุจริตสอนในชัง่ โมงลดเวลา เรยี นเพ่มิ เวลารู้ 2.4 เพือ่ พัฒนาส่งเสริมใหค้ ณะครู นกั เรียน และชุมชน มีความรู้ความเข้าใจเก่ยี วกบั การปฏบิ ตั ติ น ตามปฏญิ ญาของโรงเรียนสุจริตคือ ปลกู ฝัง ป้องกนั และการสร้างเครือข่าย 2.5 เพอื่ ขยายผลการเสริมสร้างคณุ ธรรม จรยิ ธรรม และหลกั ธรรมาภิบาลในสถานศกึ ษา “โรงเรยี นสจุ รติ ”สู่บา้ น ชุมชน และโรงเรียนเครอื ข่าย

2.6 เพื่อศกึ ษาความพึงพอใจของนักเรยี น คณะครู และชุมชน ท่มี ีต่อโครงการการเสริมสร้าง คณุ ธรรม จริยธรรม และหลกั ธรรมาภิบาลในสถานศึกษา “โรงเรียนสจุ ริต 3. เป้าหมายเชิงปริมาณและคุณภาพ 3.1 นกั เรียน คณะครู และชุมชน รอ้ ยละ 80 มีความรู้ความเข้าใจถึงคุณลักษณะโรงเรียนสจุ ริต 3.2 นกั เรยี น คณะครู และชุมชน ร้อยละ 80 มีคุณลักษณะโรงเรยี นสุจริต 5 ด้าน คอื 1) มที กั ษะ กระบวนการคดิ 2) มีวินัย 3) ซือ่ สตั ยส์ จุ ริต 4) อยู่อย่างพอเพียง 5) มจี ติ สาธารณะ 3.3 คณะครู รอ้ ยละ 80 ใช้แผนการจดั การเรียนรู้หลกั สูตรตา้ นทจุ รติ สอนในชง่ั โมงลดเวลา เรียนเพิม่ เวลารู้ 3.4 นกั เรียน คณะครู และชมุ ชน รอ้ ยละ 80 มีความรู้ความเข้าใจเก่ยี วกบั การปฏิบัติตน ตามปฏญิ ญาของโรงเรยี นสุจริตคือ ปลูกฝงั ปอ้ งกัน และการสรา้ งเครือขา่ ย 3.5 ป.ป.ช. สพฐ.น้อย ป.ป.ช. สพฐ.ชุมชน และคณะครูร้อยละ 80 ร่วมกันขยายผลการ เสริมสร้างคณุ ธรรม จรยิ ธรรม และหลักธรรมาภิบาลในสถานศึกษา “โรงเรยี นสุจริต”สู่บา้ น ชุมชน และ โรงเรยี นเครอื ข่าย 3.6 นกั เรยี น คณะครู และชุมชน มคี วามพงึ พอใจต่อโครงการการเสรมิ สรา้ งคุณธรรม จรยิ ธรรม และหลกั ธรรมาภิบาลในสถานศกึ ษา “โรงเรยี นสุจรติ ” อยู่ในระดบั ดี-ดีมาก 4. การดำเนินการและกิจกรรม ท่ี การดำเนนิ การและกิจกรรม ระยะเวลา งบประมาณ ผู้รับผิดชอบ ในงบ นอกงบ 1 ประชมุ วางแผนช้ีแจงและมอบหมายงาน พ.ค.63 - - - ผ้บู ริหาร 2 แต่งต้ังคณะทำงานดำเนินงานตามโครงการ พ.ค.63 - - - ผูบ้ รหิ าร 3 วางแผนการปฏิบัตงิ าน พ.ค.63 - - - ผบู้ ริหาร 3.1 กำหนดเปา้ หมาย - อ.เตอื นใจ 3.2 จัดลำดบั ความสำคัญของเปา้ หมาย - อ.พีรกานต์ 3.3 กำหนดแนวทางการดำเนินงาน - อ.หทยั 3.4 กำหนดระยะเวลา - อ.ปิยะวรรณ 3.5 กำหนดงบประมาณ 3.6 กำหนดผรู้ บั ผิดชอบ 4 ประสานงานผเู้ ก่ยี วข้อง พ.ค.62 - - - อ.เตอื นใจ ที่ กิจกรรม ระยะเวลา งบประมาณ ผรู้ ับผดิ ชอบ ในงบ นอกงบ 5 ดำเนนิ การทำกจิ กรรม ตามแผนงาน/โครงการฯ - ผู้บรหิ าร 5,000 - - อ.เตือนใจ 5.1จดั กจิ กรรมสง่ เสรมิ ใหค้ ณะครูนักเรยี น และ - - อ.พรี กานต์ - อ.หทยั ชมุ ชนมคี วามร้คู วามเข้าใจถงึ คุณลกั ษณะ ภาคเรยี น - อ.ปยิ ะวรรณ โรงเรียนสจุ รติ ท่ี 1 5.2 จดั กิจกรรมสง่ เสริมใหน้ ักเรยี นมี

คุณลักษณะโรงเรยี นสุจรติ ตลอดปี - - ฝ่ายวชิ าการ - - คณะครู - ครจู ดั ทำแผนการจัดการเรียนรู้ โดย - - อ.เตอื นใจ การบูรณาการคุณลักษณะโรงเรยี นสุจรติ - อ.พีรกานต์ ในข้นั การจัดกระบวนการเรียนรู้ - อ.หทยั - อ.ปิยะวรรณ - - ฝา่ ยวิชาการ - คณะครู - จัดตง้ั บรษิ ัทสร้างการดี สำหรับผลิตหรือจดั หา ตลอดปี - 5,000 - อ.เตือนใจ สินค้ามาจำหนา่ ย มีการบริหารงานโดยนักเรียน - - อ.พรี กานต์ พร้อมกับนำผลกำไรไปทำกจิ กรรมจิตอาสาในร.ร. - อ.หทยั และชมุ ชน - อ.ปิยะวรรณ 5.3 จดั กิจกรรมเสริมสร้างปฏิญญาของโรงเรยี น สุจริต - - ผบู้ รหิ าร - ป.ป.ช. สพฐ.นอ้ ย ป.ป.ช. สพฐ.ชุมชนและ ตลอดปี - อ.เตือนใจ คณะครูรว่ มกันขยายผลการเสริมสร้างคุณธรรม - อ.พรี กานต์ จรยิ ธรรม และหลกั ธรรมาภบิ าลในสถานศึกษา - อ.หทัย “โรงเรียนสุจรติ ”ส่บู า้ น ชมุ ชน และโรงเรยี น - อ.ปิยะวรรณ เครือข่าย ที่ การดำเนนิ การและกจิ กรรม ระยะเวลา งบประมาณ ผู้รบั ผิดชอบ ตลอดปี ในงบ นอกงบ 6 นิเทศ กำกบั ตดิ ตาม ตรวจสอบประเมินผล ม.ค.63 - ผบู้ ริหาร 6.1 วางกรอบการประเมนิ ม.ค.63 -- - อ.เตอื นใจ 6.2 จัดทำเครอื่ งมือ(แบบประเมนิ ความพงึ -- - อ.พีรกานต์ พอใจและแบบประเมนิ มี.ค.63 200 - - อ.หทัย เป้าหมายเชิงปรมิ าณและคณุ ภาพ) ม.ี ค.63 - อ.ปิยะวรรณ 6.3 เกบ็ ข้อมลู /วเิ คราะห์/แปลผล/ประเมิน -- - อ.กีรติ สรปุ ผล ม.ี ค.63 -- 6.4 ตรวจสอบหาจุดเด่นและจดุ ท่คี วรพฒั นา มี.ค.63 - ผบู้ รหิ าร ของทกุ ๆ ข้นั ตอน -- - อ.เตอื นใจ -- - อ.พีรกานต์ 7 นำผลการประเมนิ มาปรบั ปรุงงาน 7.1 ปรบั ปรงุ แก้ไขการปฏบิ ตั ิงานของบคุ ลากร 7.2 วางแผนการพัฒนาปรับปรุง ในปีการศึกษาต่อไป

- อ.หทยั - อ.ปยิ ะวรรณ 8 สรุปรายงานผลการดำเนินงาน ม.ี ค.63 300 - - อ.เตือนใจ 8.1 รวบรวมผลการดำเนินงาน 8.2สรุปรายงานผลการดำเนนิ งาน 5. ทรพั ยากรท่ตี อ้ งการ 5.1 งบประมาณ รวมท้ังสิน้ 10,500 บาท 5.1.1 ใชเ้ งนิ งบประมาณอุดหนนุ รายหัวนกั เรียน เป็นจำนวนเงิน 5,500 บาท 5.1.2 ใช้เงนิ นอกงบประมาณ เป็นจำนวนเงิน 5,000 บาท 5.2 บคุ ลากร ได้แก่ ผู้บริหาร คณะครู นักเรียน คณะกรรมการสถานศึกษาและบุคคลในชุมชน 6. การวดั และประเมนิ ผล ตวั บ่งชี้ความสำเร็จ วธิ ีการวัดและประเมินผล เครอื่ งมือประเมิน 1. นักเรียน คณะครู และชุมชน รอ้ ยละ 80 2. - ตรวจประเมินสรปุ ผล - แฟม้ สรุปผลการ มีความรคู้ วามเขา้ ใจถงึ คุณลักษณะโรงเรยี นสุจร3ิต. การดำเนินงานโครงการ ดำเนินงานโครงการ 2. นักเรยี น คณะครู และชมุ ชน ร้อยละ 80 4. การเสรมิ สรา้ งคุณธรรม 6. การเสริมสรา้ งคุณธรรม มคี ณุ ลักษณะโรงเรียนสุจริต 5 ด้าน คือ 1) มี 5. จริยธรรม และหลกั 7. จริยธรรม และหลกั ตัวบง่ ชค้ี วามสำเรจ็ วิธกี ารวดั และประเมินผล เครอ่ื งมือประเมิน ทักษะกระบวนการคิด 2) มีวินยั 3) ซ่ือสัตย์ 8. ธรรมาภบิ าลในสถานศึกษา10. ธรรมาภบิ าลในสถานศกึ ษา สุจริต 4) อยู่อย่างพอเพยี ง 5) มจี ิตสาธารณะ 9. “โรงเรียนสจุ รติ ” 11. “โรงเรยี นสจุ รติ ” 3. คณะครู ร้อยละ 80 จดั ทำแผนการจดั การ - รูปภาพประกอบ เรียนรู้ โดยการบูรณาการคุณลกั ษณะโรงเรยี น กจิ กรรม สจุ ริตในขั้นการจดั กระบวนการเรยี นรู้ - นกั เรียน คณะครู และ - แบบประเมนิ ผลสำเร็จ 4. นักเรียน คณะครู และชมุ ชน ชมุ ชน ประเมินผลสำเรจ็ เชงิ ปรมิ าณและคุณภาพ ร้อยละ 80 มีความรูค้ วามเขา้ ใจเกี่ยวกบั การ ตามเป้าหมายเชงิ ปริมาณ ปฏบิ ตั ติ นตามปฏิญญาของโรงเรยี นสุจรติ คอื และคุณภาพ ปลกู ฝงั ปอ้ งกนั และการสร้างเครือข่าย 5. นักเรยี น คณะครู และชมุ ชนมคี วามพึงพอใจ - นกั เรยี น คณะครู และ - แบบประเมนิ ความพึง ต่อโครงการการเสรมิ สรา้ งคุณธรรม จรยิ ธรรม ชุมชน ประเมินความพงึ พอใจ และหลักธรรมาภิบาลในสถานศกึ ษา “โรงเรียน พอใจท่ีมีต่อโครงการ สุจรติ ” 7. ผลทค่ี าดวา่ จะได้รบั คณะครู นักเรียน และชมุ ชนมีคณุ ลกั ษณะโรงเรยี นสุจรติ 8. ปัญหาและอุปสรรคท่ีเกีย่ วข้องกบั โครงการ 8.1 ........................................................................................................................ .................... 8.2 ..................................................................................................................................... ....... 8.3 ............................................................................................................................................

9. ขอ้ เสนอแนะและความต้องการในการพัฒนาโครงการ 9.1 ......................................................................................................................... ................... 9.2 ............................................................................................................................................ 9.3 ......................................................................................................................... ................... ลงชือ่ ........................................หวั หน้าโครงการ ลงชือ่ ..............................................ผู้อนมุ ตั ิโครงการ (นางเตือนใจ ประดิษฐ์) ( นายศรัณย์ ชูเวช ) ครชู ำนาญการพเิ ศษ ผู้อำนวยการโรงเรยี นชุมชนท่ี 11 วดั สุวรรณประดษิ ฐ์

ช่ือโครงการ โครงการชีววถิ เี พ่อื อาหารกลางวนั นักเรยี นตามแนวคดิ เศรษฐกิจพอเพียง กลมุ่ งาน บรหิ ารทัว่ ไป มาตรฐานการศึกษาข้ันพืน้ ฐาน มาตรฐานที่ 1 คณุ ภาพของผู้เรียน มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบริหารและการจดั การ มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรยี นการสอนท่ีเนน้ ผูเ้ รียนเปน็ สำคญั ลกั ษณะโครงการ ตอ่ เนอ่ื ง ผู้รับผิดชอบโครงการ นายบรรจง ฝน้ั คำมี และนางพีรกานต์ ฝนั้ คำมี หนว่ ยงานทีร่ ับผิดชอบ โรงเรียนชมุ ชนท่ี 11 วดั สวุ รรณประดิษฐ์ ระยะเวลาดำเนนิ การ ปีการศกึ ษา 2563 1. หลกั การและเหตผุ ล การเรยี นรู้เกยี่ วกบั การดำรงชีวิตท่ดี ี จำเป็นตอ้ งมีการสง่ เสริมให้นกั เรยี นรูจ้ ักศึกษาค้นควา้ วิชาการ และนำไปปฏบิ ัติฝึกฝน เพ่อื ใหเ้ กดิ ทกั ษะในการปฏิบัตงิ าน มีความชำนาญ มีความรบั ผิดชอบ มที ศั นคตทิ ่ี ดี เห็นคุณคา่ และประโยชน์ของการทำงานและการประกอบอาชีพทีส่ ุจรติ ตลอดจนการมแี นวทาง วิธกี าร ในการเลอื กบริโภคอาหารทด่ี ีมปี ระโยชนแ์ ละปลอดภัย โดยยึดหลักการสำคัญตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียงของพระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยหู่ ัวภูมิพลอดลุ ยเดชมหาราช (รชั กาลที่ 9) เปน็ หลกั สำคัญในการ ดำเนนิ ชีวติ ประจำวันอย่างมีความสุข ดังนั้นทางโรงเรียนจงึ ควรส่งเสรมิ ใหค้ ณะครู นักเรยี น และชมุ ชนมคี วามตระหนกั มีความรู้ความ เขา้ ใจเก่ียวกับหลกั ในการดำเนินชีวิตความเปน็ อยทู่ ่ปี ลอดภัยและมีความสุข 2. วตั ถุประสงค์ 2.1 เพือ่ พฒั นาสง่ เสริมให้นักเรียนชัน้ ประถมศึกษาปีที่ 1 ถงึ ชน้ั มธั ยมศึกษาปีที่ 3 มีความ ตระหนกั และมคี วามรู้ความเขา้ ใจเกีย่ วกบั หลักความพอเพียง จากกิจกรรมการออมทรัพยว์ นั ละ 1 บาท 2.2เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนช้นั ประถมศึกษาปีที่ 1 ถึงชัน้ มธั ยมศึกษาปีที่ 3 มีความตระหนกั และมี ความรู้ความเข้าใจและนำหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงไปใช้ในชีวติ ประจำวนั ได้ 2.3 เพ่อื สง่ เสริมให้นักเรยี นชั้นประถมศึกษาปที ี่ 6 ถึงชั้นมธั ยมศึกษาปีท่ี 3 มีทักษะในการ ทำงาน มคี วามขยนั อดทน มวี ินยั ทำงานร่วมกบั ผอู้ นื่ ได้มีทศั นคติท่ีดีต่อการทำงานและการประกอบ อาชพี ต่างๆ ท่สี ุจริต จากการเรยี นรโู้ ครงการชวี วิถเี พอ่ื อาหารกลางวันนกั เรียนตามแนวคิดเศรษฐกิจ พอเพียง 2.4 เพอื่ ส่งเสริมให้คณะครู ผู้บรหิ าร ชมุ ชน และนักเรยี นรว่ มกันพฒั นาส่งเสรมิ งานอาชีพ ตาม หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งจากการเรียนร้โู ครงการชวี วถิ ีเพ่อื อาหารกลางวันนกั เรียนตามแนวคิด เศรษฐกจิ พอเพียง 2.5 เพอ่ื พัฒนาสง่ เสรมิ ให้คณะครจู ดั ทำแผนการจดั การเรียนรแู้ ละจัดกจิ กรรมการเรียนการสอน โดยบรู ณาการหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งในทุกรายวชิ าอยา่ งน้อยคนละ 1 หน่วย ต่อ 1 ภาคเรยี น 2.6 เพอ่ื ศกึ ษาความพงึ พอใจของนักเรยี น คณะครู และชุมชน ทม่ี ีต่อโครงการชวี วถิ ีเพื่ออาหาร กลางวนั ตามแนวคดิ เศรษฐกิจพอเพียง 2.7 เพื่อให้นักเรียนช้ันอนุบาล 2 ถึงชัน้ ประถมศกึ ษาปที ี่ 6 ไดร้ บั ประทานอาหารกลางวันและ อาหารเสริมนมตลอดปีการศกึ ษา 2563

3. เปา้ หมายของโครงการ 3.1 นกั เรียนชนั้ ประถมศกึ ษาปีที่ 1 ถงึ ชนั้ มัธยมศกึ ษาปีท่ี 3 ร้อยละ 85 มคี วามตระหนัก และมีความร้คู วามเขา้ ใจเกย่ี วกับหลักความพอเพยี ง จากกิจกรรมการออมทรัพยว์ นั ละ 1 บาท 3.2 นกั เรยี นชน้ั ประถมศึกษาปีที่ 1 ถึงช้ันมธั ยมศึกษาปีที่ 3 รอ้ ยละ 85 มีความตระหนัก และมี ความรคู้ วามเข้าใจและนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้ในชีวิตประจำวันได้ 3.3 นักเรียนชนั้ ประถมศกึ ษาปีท่ี 6 และชนั้ มธั ยมศึกษาปที ่ี 3 ร้อยละ 85 มีทักษะในการ ทำงาน มคี วามขยนั อดทน มีวนิ ัย ทำงานรว่ มกบั ผ้อู นื่ ได้มที ศั นคติทด่ี ตี ่อการทำงานและการประกอบ อาชพี ตา่ งๆ ท่ีสจุ รติ จากการเรยี นรโู้ ครงการชีววถิ ีเพ่อื อาหารกลางวันนกั เรยี นตามแนวคิดเศรษฐกิจ พอเพยี ง 3.4 นกั เรยี นชั้นอนบุ าล 2 ถงึ ประถมศกึ ษาปีที่ 6 ได้รับประทานอาหารกลางวันท่ีมีคุณค่าทาง โภชนาการครบหา้ หมู่ รวมท้ังอาหารเสริม(นม) ในทุกๆ วนั ที่เปิดเรยี น 3.5 คณะครู ผู้บรหิ าร ชมุ ชน และนักเรียน รอ้ ยละ 85 รว่ มกนั พฒั นาส่งเสรมิ งานอาชีพตาม หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง 3.6 นักเรียน คณะครู และชุมชน มีความพึงพอใจตอ่ โครงการชีววิถีเพอ่ื อาหารกลางวนั นกั เรยี น ตามแนวคดิ เศรษฐกิจพอเพียง อยู่ในระดับดี-ดมี าก 4. การดำเนินการและกิจกรรม ระยะเวลา งบประมาณ ผู้รับผิดชอบ พ.ค.63 ในงบ นอกงบ ที่ การดำเนินการและกจิ กรรม พ.ค.63 พ.ค.63 - - - ผู้บรหิ าร 1 ประชมุ วางแผนชีแ้ จงและ มอบหมายงาน พ.ค.63 - - - ผู้บริหาร ตลอดปี 2 แตง่ ต้งั คณะทำงานดำเนนิ งานตาม - - - ผ้บู รหิ าร โครงการ - ฝา่ ยวิชาการ - อ.บรรจง 3 วางแผนการปฏบิ ตั งิ าน - อ.พรี กานต์ 3.1 กำหนดเปา้ หมาย 3.2 จัดลำดับความสำคญั ของเปา้ หมาย - - - อ.บรรจง 3.3 กำหนดแนวทางการดำเนินงาน 3.4 กำหนดระยะเวลา 5,000 - อ.บรรจง 3.5 กำหนดงบประมาณ 500 - อ.พรี กานต์ 3.6 กำหนดผู้รับผดิ ชอบ 10,000 4,000 - อ.สกุ ัญญา 4 ประสานงานผู้เกยี่ วข้อง 2,000 5 ดำเนนิ การทำกจิ กรรม ตามแผนงาน/ 1,000 โครงการฯ 5.1 กิจกรรมการเลี้ยงปลา 5.2 กจิ กรรมการปลกู ผกั สวนครวั 5.3 กจิ กรรมการเลีย้ งไกไ่ ข่ 5.4 กิจกรรมการเพาะเห็ดนางฟา้ 5.5กิจกรรมการเลย้ี งไกพ่ น้ื เมือง 5.6กิจกรรมศกึ ษาจากแหลง่ เรียนรู้ใน

ชมุ ชน ตลอดปี - อ.บรรจง 5.7 กิจกรรมบรกิ ารอาหารกลางวนั และ - 620,000 - อ.พีรกานต์ อาหารเสริมนม ม.ี ค.64 5.8 กิจกรรมออมทรพั ย์วนั ละ 1 บาท มี.ค.64 - ครูประจำ ม.ี ค.64 ชั้นป.1 – ม.3 6 นิเทศ กำกับ ติดตาม ตรวจสอบ มี.ค.64 -- ประเมินผล - - - ผบู้ รหิ าร 7 นำผลการประเมนิ มาปรบั ปรุงงาน - อ.บรรจง 7.1 ปรบั ปรุงแกไ้ ขการปฏิบตั งิ านของ บคุ ลากร - - - อ.พรี กานต์ 7.2 วางแผนการพัฒนาปรับปรงุ ใน ปกี ารศกึ ษาต่อไป 200 - - อ.บรรจง - อ.พีรกานต์ 8 สรุปรายงานผลการดำเนินการ 8.1 รวบรวมผลการดำเนนิ งาน ผลการ ประเมินและภาพกจิ กรรม 5. ทรัพยากรท่ตี ้องการ 5.1 งบประมาณ รวมทั้งสนิ้ 642,700บาท 5.1.1 ใชเ้ งินงบประมาณอุดหนุนรายหวั นักเรยี น เปน็ จำนวนเงิน 22,700 บาท 5.1.2 ใช้เงินนอกงบประมาณ เป็นจำนวนเงนิ 620,000 บาท 5.2 บุคลากร ผ้บู ริหาร คณะครู นักเรียน คณะกรรมการสถานศกึ ษาและบุคคลในชมุ ชน 6. การวดั และประเมนิ ผล ตวั บ่งช้ีความสำเร็จ วิธีการวัดและประเมนิ ผล เครอ่ื งมอื ประเมิน - แฟ้มสรปุ ผลการดำเนนิ งาน 6.1 นักเรียนช้ันประถมศกึ ษาปที ี่ 1 - ตรวจประเมินสรุปผลการ รายงานโครงการส่งเสริม งานอาชพี (ตามหลักปรชั ญา ถงึ ช้นั มธั ยมศกึ ษาปีที่ 3 รอ้ ยละ ดำเนนิ งานรายงานโครงการ ของเศรษฐกิจพอเพียง) - รูปภาพประกอบกิจกรรม 85 มคี วามตระหนกั และมีความรู้ สง่ เสริมงานอาชีพ (ตามหลัก - แบบประเมินผลสำเร็จ ความเขา้ ใจเกยี่ วกบั หลกั ความ ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง) เคร่อื งมือประเมนิ - แฟม้ สรปุ ผลการดำเนนิ งาน พอเพียง จากกิจกรรมการออม และรูปภาพประกอบกิจกรรม รายงานโครงการสง่ เสริม งานอาชพี (ตามหลกั ปรัชญา ทรัพย์วนั ละ 1 บาท - ประเมนิ ผลสำเรจ็ ตาม ของเศรษฐกิจพอเพยี ง) 6.2 นกั เรียนชนั้ ประถมศกึ ษาปที ี่ 1 ถงึ ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีที่ 3 ร้อยละ 85 มีความตระหนัก และมคี วามรู้ความ เขา้ ใจเก่ียวกับหลกั ความพอเพยี ง ตัวบ่งชค้ี วามสำเรจ็ วิธกี ารวัดและประเมินผล จากการเรยี นรู้โครงการ ชีววิถีตาม - ตรวจประเมินสรปุ ผลการ แนวคิดเศรษฐกจิ พอเพียงเพ่ืออาหาร ดำเนนิ งานรายงานโครงการ กลางวัน ส่งเสรมิ งานอาชีพ (ตามหลัก 6.3 นักเรียนชน้ั ประถมศึกษาปที ่ี 6 ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง)

และช้นั มธั ยมศึกษาปีท่ี 3 ร้อยละ และรูปภาพประกอบกิจกรรม - รูปภาพประกอบกิจกรรม 85 มีทักษะในการทำงาน มีความ - ประเมินความพงึ พอใจ - แบบประเมนิ ความพงึ พอใจ ขยนั อดทน มวี ินยั ทำงานร่วมกบั ผ้อู ่ืนได้มีทัศนคตทิ ด่ี ีต่อการทำงาน และการประกอบอาชีพตา่ งๆ ท่ี สุจรติ จากการเรียนรโู้ ครงการ ชวี วถิ เี พอื่ อาหารกลางวนั 6.4 คณะครู ผ้บู ริหาร ชุมชน และนกั เรียน รอ้ ยละ 85 รว่ มกนั พัฒนาสง่ เสริมงานอาชพี ตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง 6.5 นักเรียน คณะครู และชุมชน มีความพึงพอใจต่อโครงการการ ส่งเสริมอาชพี ตามหลกั ปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง อยู่ในระดับดี-ดี มาก 6.6 นกั เรียนชน้ั อนุบาล 2 ถงึ ช้นั ประถมศกึ ษาปีท่ี 6 ได้รับบริการ อาหารกลางวนั และอาหารเสริม(นม) ตลอดปกี ารศกึ ษา 2563 7. ผลที่คาดว่าจะไดร้ บั 7.1 คณะครู นกั เรยี น และชุมชนมีความตระหนักมีความรคู้ วามเขา้ ใจเกี่ยวกับหลกั ความพอเพียง 7.2 นักเรยี นมีทัศนคตทิ ่ดี ตี ่อการทำงาน และการประกอบอาชีพตา่ งๆ ที่สจุ รติ 7.3 นักเรยี นมที ักษะในการทำงาน มีความขยนั อดทน มวี ินยั ทำงานร่วมกบั ผ้อู ืน่ ได้ 7.4 นกั เรียนอนบุ าล 2 – ป. 6 ได้รบั อาหารท่มี ีคุณค่าทางโภชนาการ เจรญิ เตบิ โตสมวยั 7.3คณะครู นักเรียน และชุมชนยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเป็นหลักสำคญั ในการ ทำงาน การดำเนินชวี ติ ประจำวัน และการประกอบกิจกรรมตา่ งๆ 8. ปัญหาและอุปสรรคทีเ่ ก่ียวขอ้ งกับโครงการ 8.1 ................................................................................................................................................. 8.2 ........................................................................................................................ ........................ 8.3 ..................................................................................................................................... ........... 9. ขอ้ เสนอแนะและความต้องการในการพัฒนาโครงการ 9.1 ......................................................................................................................... ........................ 9.2 ................................................................................................................................................. 9.3 ......................................................................................................................... ........................

ลงช่อื ..................................หวั หนา้ โครงการ ลงชือ่ ...............................................ผ้รู ับผิดชอบร่วม (นายบรรจง ฝ้นั คำม)ี (นางพรี กานต์ ฝน้ั คำมี) ครูชำนาญการพิเศษ ครชู ำนาญการพเิ ศษ ลงชื่อ...............................................ผูอ้ นุมตั ิโครงการ (นายศรัณย์ ชเู วช) ผู้อำนวยการโรงเรียนชุมชนที่ 11 วัดสุวรรณประดษิ ฐ์

ช่ือโครงการ การพฒั นางานบคุ ลากร กล่มุ งาน งานบุคลากร ลกั ษณะโครงการ ตอ่ เนือ่ ง สนองกลยทุ ธโ์ รงเรียน กลยทุ ธ์สถานศึกษาที่ 2,3 มาตรฐานการศึกษาขน้ั พนื้ ฐาน มาตรฐานท่ี ๒ กระบวนการบริหารและการจดั การของผู้บรหิ ารสถานศกึ ษา ช่ือครทู ี่รบั ผิดชอบ นายศรณั ย์ ชูเวช , นางเตอื นใจ ประดิษฐ์ หน่วยงานที่รบั ผดิ ชอบ โรงเรียนชุมชนท่ี 11 วัดสุวรรณประดิษฐ์ ระยะเวลาดำเนนิ การ ปีการศกึ ษา 2563 1. หลกั การและเหตุผล ทรพั ยากรการบริหารอนั ประกอบด้วยคน เงนิ วสั ดุ และการบริหารจัดการ (4M) เปน็ องค์ประกอบทีจ่ ะทำให้การบริหารองค์กรประสบความสำเรจ็ มีความกา้ วหน้า โรงเรยี นมีแนวคิดวา่ คนเป็น ทรพั ยากรทส่ี ำคญั ทส่ี ุดทงั้ ผู้บริหารและคณะครู ในด้านผ้บู รหิ าร การบริหารจัดการองค์กรในปัจจบุ ันมกี าร เปล่ยี นแปลงและการแขง่ ขนั สูง ดงั นั้นผูบ้ ริหารท่มี ผี ลการปฏบิ ตั งิ าน (Performance) ท่เี ปน็ เลิศ มี ความสามารถปรบั ตวั ไวตอ่ การเปลี่ยนแปลงดังกล่าว มักจะเกดิ จากคุณสมบัติของบคุ คลท่ีเรียกว่า ความสามารถสมั ฤทธิ์ (Competency) รวมท้ังคณุ สมบัติพ้ืนฐานสำคญั ทีจ่ ำเปน็ ต้องมีในเรอ่ื งการมีคณุ ธรรม จริยธรรม มีความมุ่งมน่ั และการอทุ ิศตนในการทำงานเพื่อองค์กร ดา้ นครผู สู้ อนกม็ คี วามสำคญั ไมน่ อ้ ยกว่า กนั เน่อื งจากการจดั กิจกรรมการเรยี นการสอนและการจดั การศกึ ษารปู แบบตา่ งๆจำเป็นตอ้ งอาศัยคนเป็น ผู้ดำเนนิ การ เป็นผ้รู วบรวมข้อมูล สารสนเทศ ตา่ ง ๆ ของนักเรียน ต้องรูจ้ กั ใชเ้ ทคนิคกระบวนการ วิธีการ และเทคโนโลยีทางการศึกษาที่เหมาะสม เพอ่ื ให้เกิดประโยชน์สงู สดุ ตอ่ นักเรยี น เพราะฉะนัน้ โรงเรียนจงึ ใหค้ วามสำคัญมาก ที่จะต้องพฒั นาผู้บรหิ าร คณะครู และบคุ ลากร ทางการศึกษา ใหม้ ีการพฒั นาความสามารถสัมฤทธ์ิและการปลกู ฝงั พัฒนาคุณธรรม จริยธรรมพ้ืนฐาน การพัฒนาจดั การศึกษานักเรียน เพื่อนำองค์กรสถานศึกษาไปส่เู ปา้ หมายทีว่ างไว้ 2. วัตถุประสงค์ 2.1 เพอื่ ส่งเสริมผู้บรหิ าร คณะครูและบคุ ลากรทางการศึกษาให้มีความรู้ ความเขา้ ใจ ใน กระบวนการพัฒนา ตนเองและบรหิ ารจัดการองค์กรโดยยึดหลกั การมสี ่วนรว่ มท่ใี ช้โรงเรียนเปน็ ฐาน และหลักธรรมาภิบาล 2.2 เพอ่ื ส่งเสริมผู้บริหาร คณะครูและบุคลากรทางการศึกษาให้มีภาวะความเป็นผู้นำมวี ิสยั ทัศน์ มี ความคดิ ริเร่ิม และมคี วามสามารถในการบริหารจัดการองค์กร บุคลากรและพฒั นาเนน้ ผ้เู รยี น ที่มปี ระสทิ ธิภาพ 2.3 เพื่อส่งเสรมิ ผบู้ ริหาร คณะครูและบคุ ลากรทางการศึกษาเพอ่ื สง่ เสริมผู้บรหิ าร คณะครูและบุคลากร ทางการศึกษา ให้มคี วามสามารถในการบริหารจดั การศึกษาใหบ้ รรลเุ ป้าหมายท่ีกำหนดไวใ้ นแผนปฏบิ ัตกิ าร ประจำปี 2.4 เพื่อส่งเสรมิ ผู้บรหิ าร คณะครูและบคุ ลากรทางการศึกษา ให้มีคณุ ธรรม จรยิ ธรรม มคี วามมุ่งมั่นและ อุทิศตนในการทำงาน 2.5 เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนให้คณะครู ไดร้ ับการอบรม และเรยี นรู้ผา่ นออนไลน์ พัฒนาใหม้ ี ทศั นคติทด่ี ี และมีความรู้ความสามารถ ในการจัดกจิ กรรมการเรยี นการสอนนักเรยี น 2.6 เพื่อสง่ เสรมิ และสนับสนุนให้คณะครูจัดการเรยี นการสอนทเี่ น้นผู้เรียนเป็นสำคัญ อยา่ งมี ประสิทธิภาพ

2.7 เพื่อสง่ เสริมให้คณะครูและบุคลากรทางการศึกษา ได้ไปศกึ ษาดูงานและนำส่ิงท่ีไดพ้ บเหน็ จากการศกึ ษา ดงู านมาพฒั นางานในหนา้ ที่ของตน 2.8 เพือ่ ส่งเสรมิ ให้คณะครูพัฒนาและแก้ปญั หาการจัดการเรียนการสอน โดยการจัดทำวิจยั ในช้นั เรยี น 2.9 เพื่อสง่ เสรมิ ให้คณะครูพัฒนาตนเองโดยการสง่ ผลงานเข้าประกวดตามหน่วยงานตา่ ง ๆ 2.10 เพื่อสง่ เสรมิ ให้คณะครมู ีขวัญและกำลงั ใจในการทำงาน 2.11 เพอ่ื ศึกษาความพงึ พอใจของนักเรยี น คณะครู และชุมชน ทมี่ ีตอ่ โครงการพฒั นางาน บคุ ลากร 3. เปา้ หมายเชิงปริมาณและคณุ ภาพ 3.1 ผู้บรหิ าร คณะครูและบุคลากรทางการศกึ ษา รอ้ ยละ 85 มีความรู้ ความเข้าใจ ใน กระบวนการพัฒนา ตนเองและบริหารจดั การองค์กรโดยยึดหลกั การมสี ว่ นร่วมทีใ่ ชโ้ รงเรียนเป็นฐาน และหลักธรรมาภบิ าล 3.2 ผบู้ รหิ าร คณะครูและบุคลากรทางการศกึ ษา รอ้ ยละ 85 มภี าวะความเป็นผ้นู ำมวี ิสัยทศั น์ มี ความคดิ รเิ ร่ิม และมีความสามารถในการบรหิ ารจดั การองค์กร บคุ ลากรและพัฒนาเนน้ ผู้เรยี น ท่ีมปี ระสทิ ธิภาพ 3.3 ผู้บริหารคณะครูและบคุ ลากรทางการศึกษา ร้อยละ 85 มคี วามสามารถในการบริหารจดั การศกึ ษา ใหบ้ รรลุเปา้ หมายทีก่ ำหนดไว้ในแผนปฏบิ ัตกิ ารประจำปี 3.4 ผู้บริหาร คณะครูและบุคลากรทางการศกึ ษา รอ้ ยละ 85 มีคุณธรรม จรยิ ธรรม มคี วามมุ่งมั่นและ อุทศิ ตนในการทำงาน 3.5 คณะครูร้อยละ 85 ได้รับการอบรม และเรียนรผู้ ่านออนไลน์ พฒั นาให้มที ัศนคติทีด่ ี และมี ความรคู้ วามสามารถ ในการจดั กิจกรรมการเรียนการสอนนักเรียน 3.6 คณะครรู ้อยละ 85 จัดการเรยี นการสอนท่เี นน้ ผู้เรยี นเป็นสำคัญ อยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ 3.7 คณะครูและบุคลากรทางการศึกษา ร้อยละ 85 ได้ไปศกึ ษาดูงานและนำสิง่ ที่ได้พบเห็นจากการศึกษาดู งานมาพฒั นางานในหนา้ ที่ของตน 3.8 คณะครูรอ้ ยละ 85 ได้พฒั นาและแก้ปัญหาการจดั การเรยี นการสอน โดยการจดั ทำวจิ ัยในช้ัน เรยี น 3.9 คณะครรู ้อยละ 85 พัฒนาตนเองโดยการสง่ ผลงานเข้าประกวดตามหนว่ ยงานต่าง ๆ 3.10 คณะครูและบุคลากรทางการศึกษา ร้อยละ 85 มีขวญั และกำลงั ใจในการทำงาน 3.11 นกั เรยี น คณะครู และชุมชน มีความพึงพอใจต่อโครงการพฒั นางานบุคลากร อยใู่ นระดับ ดี-ดมี าก

4. กจิ กรรมและการดำเนนิ การ ที่ การดำเนินการและกจิ กรรม ระยะเวลา งบประมาณ ผรู้ ับผดิ ชอบ ในงบ นอกงบ - ผู้บริหาร 1 ประชุมวางแผนชี้แจงและมอบหมายงาน พ.ค. 63 - ผูบ้ รหิ าร -- - ผบู้ รหิ าร 2 แต่งตงั้ คณะทำงานดำเนนิ งานตามโครงการ พ.ค. 63 -- - ฝ่ายงาน -- บุคลากร 3 วางแผนการปฏิบตั งิ าน พ.ค. 63 - ครูเตือนใจ -- 3.1 กำหนดเป้าหมาย - ครเู ตอื นใจ 1,500 - 3.2 จดั ลำดับความสำคัญของเปา้ หมาย 1,500 - - ผบู้ รหิ าร 3.3 กำหนดแนวทางการดำเนินงาน -- - ผบู้ รหิ าร 3.4 กำหนดระยะเวลา 500 - - ครูเตอื นใจ - ผบู้ รหิ าร 3.5 กำหนดงบประมาณ - วชิ าการ 3.6 กำหนดผู้รบั ผดิ ชอบ - ครเู ตอื นใจ 4 ประสานงานผู้เกย่ี วข้อง พ.ค. 63 5 ดำเนนิ การทำกิจกรรม ตามแผนงาน/ โครงการฯ 5.1 กิจกรรมพัฒนาศักยภาพครูผ้สู อนและ ผ้บู ริหารโรงเรยี น - โรงเรียนประชุมให้ความรูฯ้ ครู ใน ทุกเดือน การประชุมต่าง ๆ เชน่ ประจำเดือน/ประชุม พเิ ศษ/และหรือส่งครูอบรมเฉพาะกิจ - โรงเรียนส่งเสรมิ สนับสนนุ ผ้บู รหิ ารและคณะ ตลอดปี ครศู ึกษาหาความรูด้ ้วยตนเอง และการเขา้ รบั การประชุมอบรมสมั มนาฯ /คน้ ควา้ Internet เรียนรผู้ ่านระบบ ออนไลน์TEPE - ส่งเสรมิ ครูเข้ารว่ มประกวด/แข่งขันทาง ตลอดปี วชิ าการ - ครจู ัดการเรียนการสอนนักเรยี นฯ ท่ีมี ตลอดปี ประสิทธิภาพ - จดั ทำเอกสาร(แผนพับ)เสนอความรแู้ กค่ รู ภาคเรียนละ อยา่ งน้อยภาคเรยี นละ 1 ครั้ง 1 คร้ัง ที่ การดำเนินการและกิจกรรม ระยะเวลา งบประมาณ ผูร้ ับผดิ ชอบ ในงบ นอกงบ 5 5.2 กจิ กรรมเสรมิ สรา้ งวนิ ัยและจิตสำนกึ ความ - ผู้บริหาร เปน็ ครู -- - ครูเตือนใจ - ตรวจสอบการลงเวลา การลา ใหเ้ ป็นไปตาม ตลอดปี - ผ้บู ริหาร

ระเบียบราชการ - ยอกย่อง ชมเชยครูทีป่ ระพฤติตนตาม ตลอดปี - คณะครู - ครเู ตอื นใจ จรรยาบรรณวชิ าชพี ครู - คณะครู - ส่งเสรมิ ครทู ำบญุ รักษาศีล เป็นแบบอยา่ งท่ี ตลอดปี ดีแก่นกั เรียน (ดา้ นการปฏิบตั ิตามคุณธรรม จริยธรรม) ตลอดปี - ครูประพฤติตนเป็นแบบอยา่ งทด่ี ี/เปน็ สมาชิก ท่ดี ีของโรงเรยี น 5.3 กจิ กรรมพัฒนางานสวัสดิการครภู ายใน ตลอดปี โรงเรยี น - จัดบริการสวัสดกิ ารกาแฟ น้ำดื่ม (หอ้ งธรุ การ) ตลอดปี 5.4 กิจกรรมเสริมสรา้ งขวัญกำลงั ใจครู ตลอดปี - - - ครูเตอื นใจ 1,000 - คณะครู ภายในโรงเรยี น - - - ครูเตือนใจ - สง่ การ์ดอวยพรวนั เกิด โดยฝา่ ยบุคลากร ตลอดปี - ร่วมงานทำบุญ งานมงคล งานอวมงคล ที่ ตลอดปี เก่ยี วเนื่องกบั ครแู ละผู้บิหารโดยตรง - 10,000 - รว่ มงานแสดงมทุ ิตาจติ ครู(เกษียณ) ตลอดปี - ผบู้ รหิ าร 20,000 - ครเู ตอื นใจ 5.5 ศึกษาดูงาน ปีละ 1 ครงั้ 20,000 -

ท่ี กจิ กรรม ระยะเวลา งบประมาณ ผู้รบั ผดิ ชอบ ในงบ นอกงบ - ผูบ้ รหิ าร 6 นิเทศ กำกบั ติดตาม ตรวจสอบประเมนิ ผล ตลอดปี - ครเู ตือนใจ -- - ครรู ัญทม 6.1 วางกรอบการประเมนิ ม.ค. 64 -- 200 - - ผู้บริหาร 6.2 จดั ทำเครอื่ งมือ(แบบประเมนิ ความพึงพอใจ ม.ค. 64 - ครเู ตอื นใจ -- และแบบประเมนิ เปา้ หมายเชิงปริมาณและ -- - ครูเตอื นใจ -- คณุ ภาพ) 300 - 6.3 เกบ็ ข้อมลู /วิเคราะห์/แปลผล/ประเมนิ ม.ี ค. 64 สรปุ ผล 6.4 ตรวจสอบหาจุดเด่นและจดุ ที่ควรพฒั นาของ ม.ี ค. 64 ทกุ ๆ ขั้นตอน 7 นำผลการประเมนิ มาปรับปรุงงาน มี.ค. 64 7.1 ปรับปรุงแกไ้ ขการปฏบิ ัตงิ านของบคุ ลากร 7.2 วางแผนการพัฒนาปรับปรงุ ในปกี ารศึกษาต่อไป 8 สรุปรายงานผลการดำเนินงาน มี.ค. 64 8.1 รวบรวมผลการดำเนนิ งาน 8.2สรุปรายงานผลการดำเนนิ งาน 5. ทรัพยากรท่ตี อ้ งการ 5.1 งบประมาณ รวมทั้งส้นิ ......55,000.... บาท เงินงบประมาณเงินอุดหนนุ รายหวั นกั เรียน รวมเงนิ .....25,000.. บาท เงินนอกงบประมาณ รวมเงิน .....30,000.. บาท 5.2 บคุ ลากร ไดแ้ ก่ คณะครู นักการภารโรง คณะกรรมการสถานศึกษา วิทยากรพิเศษ 6. การวดั และประเมนิ ผล ตวั บ่งชค้ี วามสำเรจ็ วธิ ีการวัดและประเมินผล เครื่องมือประเมิน 1. ผบู้ ริหารและรองผู้บริหารสถานศึกษาร้อยละ - ตรวจประเมินสรปุ ผลการ - แฟม้ สรปุ ผลการ 85 มคี วามรู้ ความเขา้ ใจ ในกระบวนการพัฒนาตนดำเอเนงนิ งานโครงการพัฒนา ดำเนินงานโครงการพัฒนา และบรหิ ารจดั การองค์กรโดยยดึ หลกั การมี งานบคุ ลากรและรูปภาพ งานบุคลากร สว่ นร่วมท่ใี ชโ้ รงเรยี นเป็นฐาน และหลัก ประกอบกจิ กรรม ธรรมาภบิ าล ตวั บง่ ชี้ความสำเร็จ วธิ ีการวัดและประเมนิ ผล เครื่องมือประเมนิ 2. ผู้บริหารและรองผ้บู รหิ ารสถานศึกษาร้อยละ - นักเรียน คณะครู และ - รูปภาพประกอบ 85 มภี าวะความเปน็ ผนู้ ำมีวิสยั ทศั น์ มีความคิด ชุมชน ประเมนิ ผลสำเร็จ กิจกรรม รเิ ร่มิ และมคี วามสามารถในการบรหิ ารจัดการ ตามเปา้ หมายเชิงปริมาณ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook