Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รายงานความฉลาดทางดิจิทัล

รายงานความฉลาดทางดิจิทัล

Published by khetsophon.wutthisit, 2021-08-24 05:28:03

Description: รายงานนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชา PC62506

Search

Read the Text Version

รายงาน เร่ือง ความฉลาดทางดิจทิ ลั (Digital Intelligence Quotient) เสนอ อาจารย์ สุธิดา ปรีชานนท์ จดั ทาโดย นาย เขตโสภณ วุฒสิ ิทธ์ิ ครุศาสตร์ ภาษาองั กฤษ ช้นั ปี 2 รหัส 634102001 มหาวิทยาลยั ราชภฏั หม่บู า้ นจอมบงึ สังกดั สานกั งานคณะกรรมการการอุดมศึกษา

คานา รายงานฉบบั น้ีเป็นส่วนหน่ึงของวชิ า นวตั กรรมและเทคโนโลยสี ารสนเทศ โดยมีจุดประสงค์ เพื่อ การศกึ ษาความรูท้ ไี่ ดจ้ ากเร่ือง ความฉลาดทางดิจิทลั ซ่ึงรายงานน้ีมีเน้ือหาเก่ียวกบั ความรู้ เรื่อง ความฉลาดทางดิจิทลั (Digital Intelligence Quotient) ผจู้ ดั ทาจะตอ้ งขอขอบคณุ อาจารย์ สุธิดา ปรีชานนท์ ผเู้ สนอรายงานฉบบั น้ี ผจู้ ดั ทาหวงั วา่ รายงาน ฉบบั น้ีจะใหค้ วามรู้ และเป็นประโยชน์แกผ่ ูอ้ ่านทุก ๆ ทา่ น ผจู้ ดั ทา นาย เขตโสภณ วุฒสิ ิทธ์ิ

สารบญั เร่ือง หนา้ ความฉลาดทางดิจทิ ลั (DQ: Digital Intelligence) คืออะไร 1 ทาไมตอ้ งเพม่ิ ทกั ษะ ความฉลาดทางดิจิทลั 2 ความเป็นพลเมืองดิจทิ ลั (Digital Citizenship) คืออะไร 3 ทกั ษะในการรกั ษาอตั ลกั ษณท์ ีด่ ีของตนเอง (Digital Citizen Identity) 4 ทกั ษะการคดิ วเิ คราะหม์ วี จิ ารณญาณทีด่ ี (Critical Thinking) 5 ทกั ษะในการรกั ษาความปลอดภยั ของตนเอง ในโลกไซเบอร์ (Cybersecurity Management) 6 ทกั ษะในการรกั ษาขอ้ มูลส่วนตวั (Privacy Management) 7 ทกั ษะในการจดั สรรเวลาหนา้ จอ (Screen Time Management) 8 ทกั ษะในการบริหารจดั การขอ้ มลู ท่ีผใู้ ชง้ าน มกี ารท้งิ ไวบ้ นโลกออนไลน์ (Digital Footprints) 9 ทกั ษะในการรับมือกบั การกลนั่ แกลง้ บนโลกไซเบอร์ (Cyberbullying Management) 10 ทกั ษะการใชเ้ ทคโนโลยอี ยา่ งมจี ริยธรรม (Digital Empathy) 11 บรรณานุกรม 12-13

ความฉลาดทางดิจิทลั (DQ: Digital Intelligence) คืออะไร ความฉลาดทางดิจทิ ลั (DQ: Digital Intelligence Quotient) คือ กล่มุ ความสามารถทางสังคม อารมณ์ และการรบั รู้ ท่จี ะทาให้คนคนหน่ึงสามารถเผชิญกบั ความทา้ ทายของชีวิตดิจิทลั และ สามารถ ปรบั ตวั ให้เขา้ กบั ชีวติ ดิจทิ ลั ได้ ความฉลาดทางดิจทิ ลั ครอบคลุมท้งั ความรู้ ทกั ษะ ทศั นคติ และค่านิยม ทีจ่ าเป็นตอ่ การใชช้ ีวติ ในฐานะสมาชิกของโลกออนไลน์ กล่าวอีกนยั หน่ึงคอื ทกั ษะ การใชส้ ื่อและ การเขา้ สงั คมในโลกออนไลน์ ความฉลาดทางดจิ ทิ ลั เป็นผลจากศึกษาและพฒั นา ของ DQ institute หน่วยงานทีเ่ กิดจากความ ร่วมมอื กนั ของภาครฐั และเอกชนทว่ั โลกประสานงาน ร่วมกบั เวลิ ดอ์ ีโคโนมกิ ฟอรม่ั (World Economic Forum) ทมี่ งุ่ มนั่ ให้เด็กๆ ทกุ ประเทศไดร้ ับ การศกึ ษาดา้ นทกั ษะพลเมืองดิจทิ ลั ท่ีมคี ุณภาพและใช้ชีวติ บนโลกออนไลนอ์ ยา่ งปลอดภยั ดว้ ย ความกา้ วหนา้ ของเทคโนโลยีสมยั ใหม่ อยา่ งไรกต็ าม ระดบั ทกั ษะ ความฉลาดทางดจิ ิทลั ของ เด็กไทยตามรายงาน DQ report 2018 ยงั อยูใ่ นระดบั ตา่ อยู่ ท้งั น้ีเนื่องจาก สานกั งานส่งเสริม เศรษฐกิจดิจิทลั (ดีป้า) กระทรวงดิจิทลั เพื่อเศรษฐกิจและสงั คม, สานกั งานคณะ กรรมการการศึกษา ข้นั พ้นื ฐาน (สพฐ.) กระทรวงศกึ ษาธิการ และ DQ Institue ร่วมกนั ทาโครงการ #DQEveryChild โดยศกึ ษาเดก็ ไทยอายุ 8-12 ปี ทวั่ ประเทศ 1,300 คน ผา่ นแบบสารวจออนไลน์ DQ Screen Time Test ชุดเดียวกนั กบั เดก็ ประเทศอื่นๆ รวมกล่มุ ตวั อยา่ งทวั่ โลกท้งั ส้ิน 37,967 คน ผลการศกึ ษาพบวา่ เดก็ ไทยมีความเส่ียงจากภยั ออนไลนถ์ ึง 60% ในขณะที่ค่าเฉล่ียของการศึกษา คร้ังน้ีอยทู่ ่ี 56% (จาก 29 ประเทศทว่ั โลก) ภยั ออนไลนท์ พ่ี บจากการศึกษาชดุ น้ีประกอบไปดว้ ย การกลน่ั แกลง้ บนโลก ออนไลน,์ ถกู ล่อลวงออกไปพบคนแปลกหนา้ จากสื่อสงั คมออนไลน์, ปัญหา การเล่นเกม เด็กติด เกม, ปัญหาการเขา้ ถงึ สื่อลามกอนาจาร, ดาวน์โหลดภาพหรือวดิ ีโอทย่ี วั่ ยุอารมณเ์ พศ และพดู คยุ เร่ืองเพศกบั คนแปลกหนา้ ในโลกออนไลน์ ดงั น้นั ทกั ษะความฉลาดทางดิจิทลั จงึ ควรท่ี จะถูก นามาใชใ้ นการพฒั นาคณุ ภาพและความสามารถของเยาวชนไทย

เดก็ ๆ และเยาวชนในยุคไอทเี ตบิ โตมาพร้อมกบั อุปกรณด์ ิจิทลั และอินเทอร์เนต็ ดว้ ยลกั ษณะ การส่ือสาร ทรี่ วดเร็ว อิสระ ไร้พรมแดน และไม่เห็นหนา้ ของอีกฝ่าย ทาให้การรับรู้และการใชช้ ีวิต ของเดก็ รุ่นใหม่ มลี กั ษณะทีแ่ ตกตา่ งจากเจนเนอเรชน่ั รุ่นกอ่ นๆ มาก ทกั ษะชีวติ ใหมๆ่ ตอ้ งไดร้ ับ การเรียนรูแ้ ละฝึกฝน เพ่อื ท่เี ด็กที่เติบโตมาในยุคท่ีเต็มไปดว้ ยขอ้ มลู ขา่ วสารและเทคโนโลยสี ามารถ นาไปใชใ้ นชีวติ ประจาวนั การใชช้ ีวิตของคนรุ่นใหม่ยงั ผกู ติดกบั เครือข่ายอนิ เทอร์เน็ตและสื่อ ออนไลนเ์ กือบตลอดเวลา ไม่วา่ จะเป็นการรับขา่ วสาร ความบนั เทิง หรือ การซ้ือขายสินคา้ และ บริการ และการทาธุรกรรมการเงนิ ในอดีต ตวั ช้ีวดั อยา่ ง IQ ไดถ้ กู นามาใชพ้ ฒั นาระดบั ทกั ษะทาง สตปิ ัญญาของมนุษย์ ในขณะที่ EQ ไดน้ ามาศกึ ษาเพอื่ พฒั นาระดบั ทกั ษะความฉลาดทางอารมณ์ แต่ ดว้ ยบริบททางสังคมทีเ่ ปล่ียนไป ปัจจบุ นั ทกั ษะความฉลาดทางปัญญาและทางอารมณ์ ไม่เพยี งพอ ต่อส่ิงท่ีเยาวชนตอ้ งเผชิญในโลก ไซเบอร์ ยง่ิ ไปกว่าน้นั อนิ เทอร์เน็ตและอปุ กรณด์ ิจิทลั ถึงแมจ้ ะ เพ่มิ ความสะดวกสบาย แต่ก็แฝงดว้ ยอนั ตราย เช่นกนั ไมว่ า่ จะเป็น อนั ตรายตอ่ สุขภาพ การเสพตดิ เทคโนโลยี หากใชง้ านส่ือดิจิทลั มากเกินไป หรือ อนั ตรายจากมิจฉาชีพออนไลน์ การคุกคามทางไซ เบอร์ และการกลน่ั แกลง้ ทางไซเบอร์ พลเมืองยุคใหม่ จงึ ตอ้ งรู้เทา่ ทนั ส่ือ สารสนเทศ และมีทกั ษะ ความฉลาดทางดจิ ทิ ลั เพือ่ ทจี่ ะใชช้ ีวติ อยใู่ นสังคมออนไลน์ และในชีวติ จริงโดยไม่ทาตวั เองและ ผอู้ ืน่ ให้เดือดร้อน ดงั น้นั ครอบครวั โรงเรียน ทางภาครฐั และ องคก์ รท่ีเก่ยี วของ ควรร่วมส่งเสริม ให้เยาวชนเป็น ‘พลเมืองดิจิทลั ’ ทีม่ ีความรู้ความเขา้ ใจในเรื่อง ทีเ่ ก่ียวขอ้ งกบั การใชง้ านอนิ เทอร์เน็ต

ความเป็นพลเมอื งดิจทิ ลั คือ พลเมืองผใู้ ชง้ านสื่อดิจิทลั และส่ือสังคมออนไลนท์ ่เี ขา้ ใจบรรทดั ฐานของ การปฏบิ ตั ติ วั ใหเ้ หมาะสม และมคี วามรับผิดชอบในการใชเ้ ทคโนโลยี โดยเฉพาะอยา่ งยิง่ การส่ือสาร ในยคุ ดิจิทลั เป็นการ สื่อสารท่ไี ร้พรมแดน สมาชิกของโลกออนไลนค์ อื ทุกคนที่ใชเ้ ครือขา่ ยอินเทอร์เนต็ บนโลกใบน้ี ผูใ้ ชส้ ่ือสงั คมออนไลนม์ ีความหลากหลายทางเช้ือชาติ อายุ ภาษา และวฒั นธรรม พลเมือง ดิจทิ ลั จึง ตอ้ งเป็นพลเมืองทม่ี ีความรบั ผดิ ชอบ มีจริยธรรม เห็นอกเห็นใจและเคารพผอู้ ื่น มีส่วนร่วม และ มงุ่ เนน้ ความเป็นธรรมในสังคม การเป็นพลเมืองในยคุ ดิจทิ ลั น้นั มีทกั ษะทส่ี าคญั 8 ประการ

1.ทกั ษะในการรกั ษาอตั ลกั ษณ์ท่ีดีของตนเอง (Digital Citizen Identity) สามารถสรา้ งและบริหารจดั การอตั ลกั ษณท์ ด่ี ีของตนเองไวไ้ ดอ้ ยา่ งดีท้งั ในโลก ออนไลน์และโลกความจริง อตั ลกั ษณท์ ด่ี ีคอื การทผ่ี ใู้ ชส้ ่ือดิจิทลั สร้างภาพลกั ษณ์ในโลก ออนไลน์ของตนเองในแงบ่ วก ท้งั ความคดิ ความรู้สึก และการกระทา โดยมวี ิจารณญานใน การรบั ส่งขา่ วสารและแสดงความคิดเห็น มีความเหน็ อก เหน็ ใจผรู้ ่วมใชง้ านในสงั คม ออนไลน์ และรู้จกั รับผดิ ชอบต่อการกระทา ไมก่ ระทาการที่ผดิ กฎหมาย และจริยธรรมใน โลกออนไลน์ เชน่ การละเมดิ ลขิ สิทธ์ิ การกลน่ั แกลง้ หรือการใชว้ าจาท่ีสรา้ งความ เกลยี ดชงั ผอู้ ่นื ทางส่ือออนไลน์

2. ทกั ษะการคิดวเิ คราะหม์ วี ิจารณญาณท่ดี ี (Critical Thinking) สามารถในการวเิ คราะหแ์ ยกแยะระหวา่ งขอ้ มูลทถี่ ูกตอ้ งและขอ้ มลู ท่ีผิด ขอ้ มูลท่มี ี เน้ือหาเป็นประโยชน์ และขอ้ มลู ทีเ่ ขา้ ขา่ ยอนั ตราย ขอ้ มลู ติดต่อทางออนไลน์ทน่ี ่าต้งั ขอ้ สงสัยและน่าเชื่อถอื ได้ เมื่อใชอ้ ินเทอร์เน็ต จะรู้ว่าเน้ือหาอะไร เป็นสาระ มปี ระโยชน์ รูเ้ ท่า ทนั สื่อและสารสนเทศ สามารถวิเคราะห์และประเมิน ขอ้ มูลจากแหล่งขอ้ มูลทห่ี ลากหลาย ได้ เขา้ ใจรูปแบบการหลอกลวงตา่ งๆ ในโลกไซเบอร์ เชน่ ขา่ วปลอม เวบ็ ปลอม ภาพตดั ตอ่ เป็ นตน้ การคดิ วเิ คราะห์มวี จิ ารณญาณท่ีดีมอี งคป์ ระกอบดงั น้ี 1. ความรู้ สามารถ อธิบายและจดจาขอ้ มูลได้ 2. ความเขา้ ใจ สามารถ จดั ระเบียบและเลอื กขอ้ เทจ็ จริง และความคิดออกมาใชไ้ ด้ 3. การประยกุ ต์ สามารถนา ขอ้ เทจ็ จริงและกฎขอ้ บงั คบั นา มาสรา้ งความคดิ ใหมๆ่ ได้ 4. การวเิ คราะห์ สามารถแยก ความคดิ และเร่ืองต่างๆออกมา เป็นขอ้ ยอ่ ยๆ ได้ 5. การสงั เคราะห์ สามารถ นาความคดิ ยอ่ ยๆ มารวม เป็นแนวคดิ ใหญๆ่ ได้ 6. การประเมิน สามารถพฒั นา ความคิดเห็น และจดั ลาดบั ความสาคญั ได้

3. ทกั ษะในการรักษาความปลอดภยั ของตนเอง ในโลกไซเบอร์ (Cybersecurity Management) สามารถป้องกนั ขอ้ มลู ดว้ ยการสรา้ งระบบความปลอดภยั ทเี่ ขม้ แขง็ และป้องกนั การโจรกรรม ขอ้ มูล หรือการโจมตอี อนไลนไ์ ด้ มีทกั ษะในการรกั ษาความปลอดภยั ของตนเองในโลกออนไลน์ การรกั ษา ความปลอดภยั ของตนเองในโลกไซเบอร์คอื การปกป้องอุปกรณ์ดิจทิ ลั ขอ้ มูลที่จดั เกบ็ และขอ้ มูลส่วนตวั ไมใ่ หเ้ สียหาย สูญหาย หรือถกู โจรกรรมจากผไู้ มห่ วงั ดีในโลกไซเบอร์ การรกั ษาความปลอดภยั ทาง ดจิ ทิ ลั มีความสาคญั ดงั น้ี 1. เพื่อรักษาความเป็นส่วนตวั และความลบั หากไมไ่ ดร้ ักษาความปลอดภยั ให้กบั อุปกรณ์ดิจิทลั ขอ้ มูลส่วนตวั และขอ้ มลู ที่เป็นความลบั อาจจะรวั่ ไหลหรือถกู โจรกรรมได้ 2. เพอ่ื ป้องกนั การขโมยอตั ลกั ษณ์ การขโมยอตั ลกั ษณเ์ ร่ิมมีจานวนที่มากข้ึนในยคุ ขอ้ มูล ขา่ วสาร เน่ืองจากมกี ารทาธุรกรรมทางออนไลนม์ ากยงิ่ ข้นึ ผคู้ นเร่ิมทาการชาระค่าสินคา้ ผ่าน สื่อ อินเทอร์เนต็ และทาธุรกรรมกบั ธนาคารทางออนไลน์ หากไมม่ ีการรักษาความปลอดภยั ท่ี เพยี งพอ มจิ ฉาชีพอาจจะลว้ งขอ้ มลู เกี่ยวกบั บตั รเครดิตและขอ้ มลู ส่วนตวั ของผใู้ ชง้ านไปสวมรอย ทา ธุรกรรมได้ เชน่ ไปซ้ือสินคา้ กูย้ ืมเงนิ หรือสวมรอยรบั ผลประโยชน์และสวสั ดิการ 3. เพือ่ ป้องกนั การโจรกรรมขอ้ มลู เน่ืองจากขอ้ มูลต่างๆ มกั เกบ็ รกั ษาในรูปของดิจทิ ลั ไมว่ ่าจะเป็น เอกสาร ภาพถ่าย หรือคลปิ วีดิโอ ขอ้ มลู เหลา่ น้ีอาจจะถกู โจรกรรมเพอ่ื นาไปขายตอ่ แบล็คเมล์ หรือ เรียกคา่ ไถ่ 4. เพ่อื ป้องกนั ความเสียหายของขอ้ มูลและอุปกรณ์ ภยั คุกคามทางไซเบอร์อาจส่งผลเสียต่อขอ้ มูล และ อุปกรณด์ ิจทิ ลั ได้ ผไู้ มห่ วงั ดีบางรายอาจมงุ่ หวงั ให้เกิดอนั ตรายต่อ ขอ้ มูลและอุปกรณ์ที่เกบ็ รักษามากกวา่ ท่ีจะ โจรกรรมขอ้ มลู น้นั ภยั คุกคามอยา่ งไวรสั คอมพวิ เตอร์ โทรจนั และมลั แวร์สรา้ งความเสียหาย รา้ ยแรงใหก้ บั คอมพิวเตอร์หรือระบบ ปฏบิ ตั กิ ารได้

4. ทกั ษะในการรกั ษาขอ้ มลู ส่วนตวั (Privacy Management) มีดุลพนิ ิจในการบริหารจดั การขอ้ มูลส่วนตวั รูจ้ กั ปกป้องขอ้ มูลความส่วนตวั ในโลกออนไลน์ โดยเฉพาะ การแชร์ขอ้ มลู ออนไลนเ์ พ่อื ป้องกนั ความเป็นส่วนตวั ท้งั ของตนเองและผูอ้ น่ื รูเ้ ทา่ ทนั ภยั คุกคามทาง อนิ เทอร์เนต็ เช่น มลั แวร์ ไวรัสคอมพวิ เตอร์ และกลลวงทางไซเบอร์ 1. ไม่ควรต้งั รหัสผา่ นของบญั ชีใชง้ านท่ีงา่ ยเกินไป 2. ต้งั รหัสผ่านหนา้ จอสมาร์ทโฟนอยูเ่ สมอ 3. แชร์ขอ้ มลู ส่วนตวั ในสื่อโซเชียลมเี ดียอยา่ งระมดั ระวงั Comment STEP 2 Share STEP 2 Like STEP 1 4. ใส่ใจกบั การต้งั ค่าความเป็นส่วนตวั ระมดั ระวงั ในการเปิ ดเผยชื่อและ ทีต่ ้งั ของเรา และปฏเิ สธ แอปที่พยายามจะเขา้ ถึงขอ้ มลู ส่วนตวั ของเรา 5. อยา่ ใชไ้ วไฟสาธารณะเมื่อตอ้ งกรอกขอ้ มูลส่วนตวั เชน่ ออนไลน์ชอปปิ้ง หรือธุรกรรมธนาคาร หรือการลงทะเบียนในสื่อสงั คมออนไลน์ 6. รู้เท่าทนั ภยั คกุ คามทางอนิ เทอร์เน็ต

5. ทกั ษะในการจดั สรรเวลาหนา้ จอ (Screen Time Management) สามารถในการบริหารเวลาท่ีใชอ้ ุปกรณ์ยคุ ดิจิทลั รวมไปถึงการควบคมุ เพอื่ ให้เกิดสมดุล ระหว่าง โลกออนไลน์ และโลกภายนอก ตระหนกั ถงึ อนั ตรายจากการใชเ้ วลาหนา้ จอนานเกินไป การทางาน หลายอยา่ งในเวลาเดียวกนั และผลเสียของการเสพติดส่ือดิจทิ ลั สานกั วิจยั สยามเทคโนโลยอี นิ เทอร์เนต็ โพลลร์ ะบุวา่ วยั รุ่นไทย เกือบ 40 % อยากใชเ้ วลาหนา้ จอ มากกว่าออกกาลงั กาย

6. ทกั ษะในการบริหารจดั การขอ้ มูลที่ผใู้ ชง้ าน มีการท้งิ ไวบ้ นโลกออนไลน์ (Digital Footprints) สามารถเขา้ ใจธรรมชาตขิ องการใชช้ ีวิตในโลกดิจิทลั วา่ จะหลงเหลอื ร่อยรอยขอ้ มูลทิง้ ไว้ เสมอ รวมไปถึง เขา้ ใจผลลพั ธ์ท่อี าจเกิดข้ึน เพอ่ื การดูแลสิ่งเหลา่ น้ีอยา่ งมคี วามรบั ผดิ ชอบ รอยเทา้ ดิจิทลั (Digital Footprints) คืออะไร รอยเทา้ ดจิ ทิ ลั คอื คาท่ใี ชเ้ รียกร่องรอยการกระทาตา่ งๆ ทผี่ ูใ้ ชง้ านทง้ิ รอยเอาไวใ้ นโลกออนไลน์ โซเชียล มีเดีย เวบ็ ไซตห์ รือโปรแกรมสนทนา เช่นเดียวกบั รอยเทา้ ของคนเดินทาง ขอ้ มูลดิจทิ ลั เช่น การลงทะเบยี น อเี มล การโพสตข์ อ้ ความหรือรูปภาพ เม่อื ถกู ส่งเขา้ โลกไซเบอร์แลว้ จะท้งิ ร่อยรอยขอ้ มลู ส่วนตวั ของ ผใู้ ชง้ านไวใ้ ห้ผอู้ ่นื ตดิ ตามไดเ้ สมอ แม้ ผใู้ ชง้ านจะลบไปแลว้ ดงั น้นั หากเป็นการกระทาท่ผี ดิ กฎหมาย หรือศลี ธรรม ก็อาจมีผลกระทบตอ่ ช่ือเสียงและภาพลกั ษณ์ของผกู้ ระทา กล่าวงา่ ยๆ รอยเทา้ ดิจทิ ลั คือ ทกุ ส่ิงทกุ อยา่ งในโลก อนิ เทอร์เนต็ ท่ีบอกเร่ืองของเรา เชน่ ขอ้ มูลส่วนตวั ทแี่ ชร์ ไวใ้ นบญั ชีสื่อสงั คม ออนไลน์ (Profile) รูปภาพ/ภาพถา่ ย ขอ้ มูลอนื่ ๆ ทเ่ี รา โพสต์ ไวใ้ นบลอ็ ก หรือเวบ็ ไซต์

7. ทกั ษะในการรับมือกบั การกลน่ั แกลง้ บนโลกไซเบอร์ (Cyberbullying Management) การกลนั่ แกลง้ บนโลกไซเบอร์คือ การใชอ้ นิ เทอร์เน็ตเป็นเคร่ืองมือหรือชอ่ งทางเพือ่ ก่อให้เกิดการคุกคาม ล่อลวงและการกลนั่ แกลง้ บนโลกอินเทอร์เน็ตและสื่อสังคมออนไลน์ โดย กลมุ่ เป้าหมายมกั จะเป็น กลมุ่ เด็กจนถึงเด็กวยั รุ่น การกลนั่ แกลง้ บนโลกไซเบอร์คลา้ ยกนั กบั การ กลนั่ แกลง้ ในรูปแบบอ่นื หากแตก่ ารกลนั่ แกลง้ ประเภทน้ีจะกระทาผา่ นสื่อออนไลนห์ รือส่ือดิจิทลั เช่น การส่งขอ้ ความทาง โทรศพั ท์ ผูก้ ลน่ั แกลง้ อาจจะเป็นเพ่ือนร่วมช้นั คนรู้จกั ในส่ือสังคม ออนไลน์ หรืออาจจะเป็นคน แปลกหนา้ ก็ได้ แตส่ ่วนใหญ่ผูท้ ี่กระทาจะรูจ้ กั ผทู้ ี่ถกู กลนั่ แกลง้ รูปแบบของการกลน่ั แกลง้ มกั จะเป็น 1.การวา่ รา้ ย ใส่ความขูท่ ารา้ ย หรือใชถ้ อ้ ยคาหยาบคาย 2. การคุกคามทางเพศ ผ่านส่ือออนไลน์ 3. การแอบอา้ ง ตวั ตนของผอู้ ่นื 4. การแบลก็ เมล์ การหลอกลวง การสร้างกลุ่มในโซเชียล เพอื่ โจมตี ดงั เช่น เคยมีกรณี เด็กผหู้ ญิง อายุ 11 ปี ไปเล่นอนิ เทอร์เน็ตทรี่ า้ นแลว้ ลืมออกจากบญั ชีการ ใชง้ าน เฟซบุก๊ ทาให้มคี นสวมรอยใชเ้ ฟซบ๊กุ ของเธอ ไปโพสตข์ อ้ มลู ตามกลมุ่ สนทนาทีข่ ายบริการ ทางเพศ มเี น้ือหาเชิงเชิญชวนวา่ ‘สาววยั ใสวยั ประถมยงั ไม่เคยเสียสาว สนใจติดตอ่ ผา่ นอินบ็อกซเ์ ฟ ซบ๊กุ น้ี’ ดว้ ยความท่เี ธอไม่รู้เร่ือง พอมีคนแอดเฟรนดม์ าก็รับเลย เนื่องจากไมไ่ ดค้ ิดถึงอนั ตรายหรือ ภยั ต่างๆ คดิ แค่อยากมีเพือ่ นเยอะๆ ตอ่ มาปรากฎวา่ ส่วนใหญ่จะเป็นผชู้ ายส่งขอ้ ความมาหา ซ่ึงตอน แรกกค็ ุยดีๆ ปกตธิ รรมดา สกั พกั ก็ถามวา่ อยทู่ ไี่ หน เคยรึยงั ขอเบอร์โทรตดิ ตอ่ หน่อยจะนดั ข้ึนห้อง ทาให้ เธอกลวั มาก แต่โชคดีทเี่ ธอมีสมั พนั ธภาพกบั พ่อแมค่ อ่ นขา้ งดี จงึ เล่าให้ผปู้ กครองฟังวา่ เกิด อะไรข้ึน แม่กร็ ับฟัง และ ชว่ ยกนั รบั มอื กบั การกลนั่ แกลง้ บนโลกออนไลน์น้ี วธิ ีจดั การเมือ่ ถกู กลน่ั แกลง้ บนโลกไซเบอร์ 1.หยดุ การตอบโตก้ บั ผูก้ ลน่ั แกลง้ Logout จากบญั ชีสื่อสังคมออนไลน์ หรือปิ ดเครื่องมือส่ือสาร 2.ปิ ดก้นั การสื่อสารกบั ผกู้ ลนั่ แกลง้ โดยการบล็อก จากรายช่ือผูต้ ิดต่อ 3.ถา้ ผูก้ ลน่ั แกลง้ ยงั ไมห่ ยดุ การกระทาอกี ควรรายงาน

8. ทกั ษะการใชเ้ ทคโนโลยีอยา่ งมจี ริยธรรม (Digital Empathy) มคี วามเห็นอกเห็นใจ และสร้างความสมั พนั ธ์ที่ดีกบั ผอู้ ืน่ บนโลกออนไลน์ แมจ้ ะเป็นการ สื่อสารท่ี ไมไ่ ดเ้ ห็นหนา้ กนั มปี ฏิสัมพนั ธ์อนั ดีตอ่ คนรอบขา้ ง ไม่ว่าพ่อแม่ ครู เพอื่ นท้งั ในโลก ออนไลนแ์ ละใน ชีวิตจริง ไม่ด่วนตดั สินผอู้ ืน่ จากขอ้ มลู ออนไลน์แต่เพยี งอยา่ งเดียว และจะเป็น กระบอกเสียงใหผ้ ทู้ ่ี ตอ้ งการความชว่ ยเหลือ คิดก่อนจะโพสตล์ งสงั คมออนไลน์ (Think Before You Post) ใคร่ครวญกอ่ นท่ีจะโพสตร์ ูปหรือขอ้ ความลงในส่ือออนไลน์ ไมโ่ พสตข์ ณะกาลงั อยูใ่ น อารมณ์โกรธ สื่อสารกบั ผอู้ ่ืนดว้ ยเจตนาดี ไม่ใชว้ าจาทส่ี ร้างความเกลียดชงั ทางออนไลน์ ไม่นาลว้ ง ขอ้ มูลส่วนตวั ของผอู้ ื่น ไมก่ ลน่ั แกลง้ ผูอ้ นื่ ผ่านสื่อดิจทิ ลั

บรรณานุกรม 6 เหตกุ ารณ์ สะเทอื นใจ!! จากภยั Cyberbullying. 4 มกราคม 2561, จากเวบ็ ไซต:์ http://www.js100.com/en/site/post_share/view/25700 9 ขอ้ ควรปฏิบตั ิของพลเมืองดิจทิ ลั ยคุ ใหม่. 2 มกราคม 2561, จากเวบ็ ไซต:์ http://www.okmd.or.th/ okmd-opportunity/digital-age/258 ดีป้าจบั มอื พนั ธมติ รขบั เคลื่อนความฉลาดทางดิจทิ ลั ให้เดก็ ไทยเทยี บเทา่ มาตรฐาน. 3 มนี าคม 2561, จากเวบ็ ไซต:์ http://www.ryt9.com/s/prg/2778991 โจ๋ไทยเมินออกกาลงั กาย 40% อยากเล่นเนต็ -เกมมากกว่า. 2 มกราคม 2561, จากเวบ็ ไซต:์ http://www. manager.co.th/qol/viewnews.aspx?NewsID=9560000154824 ผลวิจยั ช้ีวยั รุ่นอยู่ ‘หนา้ จอ’ นาน ยิ่งผกู พนั กบั พอ่ แม่-เพื่อนลดลง [Online]. 24 มกราคม 2561, จาก เวบ็ ไซต:์ http://www. manager.co.th/Around/ViewNews.aspx?NewsID=9530000030132 วิทยา ดารงเกียรตศิ กั ด์ิ.(2561). พลเมืองดิจทิ ลั , จากเวบ็ ไซต:์ http://www.infocommmju.com/icarticle/images/stories/icarticles/ajwittaya/digital/Digital_Citizen ship.pdf วิวรรณ ธาราหิรญั โชต.ิ (2561). ทกั ษะทางดิจติ อลท่ีจาเป็นสาหรับเดก็ ในอนาคต , จากเวบ็ ไซต:์ http://www.bangkokbiznews.com/blog/detail/642553 สานกั งานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทศั น์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาต.ิ คูม่ ือ Cyber Security สาหรบั ประชาชน. 12 มกราคม 2561, จากเวบ็ ไซต:์ https://www.nbtc.go.th/ getattachment/News/รวมบทความ-(1)/คมู่ อื -Cyber-Security-สาหรบั ประชาชน/คู่มือ-CyberSecurity-สาหรับประชาชน.pdf.aspx


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook